05.05.2015 Views

APPENDIX A, B & C (Part 1) - กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ ...

APPENDIX A, B & C (Part 1) - กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ ...

APPENDIX A, B & C (Part 1) - กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

ภาคผนวก ก<br />

แนวทางการคัดเลือกกังหันลม<br />

ตามที่ไดคัดเลือกตํ าแหนงศักยภาพพลังงานลมที่ดีจํ านวน 3 ตํ าแหนงในบทที่ 7 ใน<br />

ภาคผนวกนี้จะแสดงแนวทางการคัดเลือกกังหันลมสํ าหรับตํ าแหนงดังกลาวโดยวิธีการดังตอไปนี้<br />

ก.1 วิธีการคัดเลือกกังหันลมและการคํ านวณพลังงานไฟฟาที่กังหันลมผลิตได<br />

(1) กําหนดตําแหนงที่จะติดตั้งกังหันลม และ ตรวจสอบความเร็วลมเฉลี่ยจากตาราง<br />

Wind Power Class ในแผนที่ศักยภาพพลังงานลม<br />

(2) เลือกขนาดของเครื่องกํ าเนิดไฟฟาของกังหันลมจากขอมูลของผูผลิตซึ่งจะมี<br />

Power Curve มาใหดวย<br />

(3) คํานวณพลังงานไฟฟาที่กังหันลมผลิตไดในรอบปโดยใช Rayleigh Distribution<br />

(K=2) หาความถี่ของลมที่เกิดขึ้นในรอบป (8,760 ชั่วโมง) จากสมการ<br />

Accumulative time at U or below = 1 – e[-π/4 (U/[U a ]) 2 ] ………………(ก. 1)<br />

โดยที่ U คือ Bin Speed ตั้งแต 1-25 m/s<br />

U a คือความเร็วลมเฉลี่ยทั้งปที่ Lower Limit จากตาราง Wind Power Class<br />

ตัวอยางที่ 1<br />

(1) ที่บริเวณ บานปากระวะ อํ าเภอ ระโนด จังหวัดสงขลา ( ตํ าแหนงที่ 1) มีกํ าลัง<br />

ลม ระดับ 4 (Class 4 ) ความเร็วลมอยูระหวาง 7.0-7.5 m/s ที่ความสูง 50 เมตร<br />

(2) เลือกขนาดเครื่องกํ าเนิดไฟฟา 750 kW (Generic) ซึ่งมี Power Curve ดังนี้<br />

ตาราง ที่ ก1 Power Curve ของ กังหันลมขนาด 750 kW (Generic)*<br />

Speed, m/s<br />

Power, kW<br />

4<br />

15.10<br />

5<br />

45.30<br />

6<br />

84.90<br />

7<br />

128.3<br />

* ที่มาจาก ขอมูลใน โปรแกรม WindMap TM<br />

150


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

ตาราง ที่ ก1 Power Curve ของ กังหันลมขนาด 750 kW (Generic)*(ตอ)<br />

Speed, m/s<br />

Power, kW<br />

8<br />

9<br />

10<br />

11<br />

12<br />

13<br />

14<br />

15<br />

16<br />

17<br />

18<br />

19<br />

20<br />

21<br />

22<br />

23<br />

24<br />

25<br />

212.0<br />

305.9<br />

411.1<br />

514.2<br />

602.2<br />

663.9<br />

707.9<br />

736.0<br />

747.5<br />

750.0<br />

744.8<br />

735.9<br />

725.6<br />

715.7<br />

706.6<br />

700.3<br />

699.2<br />

701.6<br />

(3) คํานวณพลังงานไฟฟาที่กังหันลมที่ผลิตไดในรอบปโดยใช Rayleigh Distribution<br />

และสราง ตาราง Histogram จะไดพลังงานไฟฟาประมาณ 2,030,007 kWh<br />

( ดู ตาราง ที่ ก2 ) และสามารถคํ านวณ Capacity Factor ไดดังนี้<br />

สมมุติให Availability Factor = 95%<br />

2,030,007 x 0.95<br />

Capacity Factor = x 100 %<br />

= 29.35 %<br />

750 x 8,760<br />

151


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

Annual<br />

Wind Speed, m/s<br />

ตารางที่ ก2 ตาราง Histogram โดย Rayleigh Distribution ที่ความเร็วลม 7.0 m/s<br />

Bin<br />

Speed,<br />

m/s<br />

Accumulative<br />

Frequency,<br />

p.u<br />

Frequency<br />

Distribution,<br />

%<br />

Hr<br />

Distribution<br />

Turbine Power<br />

Curve<br />

(750 kW<br />

Generic),<br />

kW<br />

Energy Production<br />

kWh<br />

7.0 1 0.0159 1.59% 139<br />

2 0.0621 4.62% 405<br />

3 0.1343 7.22% 633<br />

4 0.2262 9.19% 805 15.10 12,153.09<br />

5 0.3302 10.39% 911 45.30 41,248.91<br />

6 0.4384 10.83% 949 84.90 80,528.02<br />

7 0.5441 10.56% 925 128.30 118,715.22<br />

8 0.6415 9.74% 854 212.00 180,954.00<br />

9 0.7270 8.55% 749 305.90 229,133.72<br />

10 0.7987 7.17% 628 411.10 258,104.80<br />

11 0.8562 5.75% 504 514.20 259,176.48<br />

12 0.9006 4.43% 388 602.20 233,871.22<br />

13 0.9334 3.28% 288 663.90 190,954.36<br />

14 0.9568 2.34% 205 707.90 145,116.23<br />

15 0.9729 1.61% 141 736.00 103,577.20<br />

16 0.9835 1.06% 93 747.50 69,611.96<br />

17 0.9903 0.68% 59 750.00 44,578.28<br />

18 0.9944 0.42% 37 744.80 27,265.12<br />

19 0.9969 0.25% 22 735.90 16,017.19<br />

20 0.9984 0.14% 12 725.60 9,067.93<br />

21 0.9991 0.08% 7 715.70 4,960.85<br />

22 0.9996 0.04% 4 706.60 2,624.77<br />

23 0.9998 0.02% 2 700.30 1,347.32<br />

24 0.9999 0.011% 1 699.20 673.46<br />

25 1.0000 0.005% 0.47 701.60 327.07<br />

TOTAL 100% 8,760 2,030,007.20<br />

152


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

ตัวอยางที่ 2<br />

(1) ที่บริเวณ บานรังมดแดง อํ าเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี (ตําแหนงที่ 2 ) และ แหลม<br />

ตาชี จังหวัดปตตานี (ตําแหนงที่ 3) มีกําลังลม ระดับ 3 (Class 3 ) (Class 4 )<br />

ความเร็วลมอยูระหวาง 6.4-7.0 m/s ที่ความสูง 50 เมตร<br />

(2) เลือกขนาดเครื่องกํ าเนิดไฟฟา 750 kW (Generic) ซึ่งมี Power Curve ตามตาราง ที่<br />

ก1<br />

(3) คํานวณพลังงานไฟฟาที่กังหันลมที่ผลิตไดในรอบปโดยใช Rayleigh Distribution<br />

และสราง ตาราง Histogram จะไดพลังงานไฟฟาประมาณ 1,698,490 kWh ( ดู<br />

ตารางที่ ก3 )และสามารถคํ านวณ Capacity Factor ไดดังนี้<br />

สมมุติให Availability Factor = 95%<br />

1,698,490 x 0.95<br />

Capacity Factor = x 100 %<br />

= 24.56 %<br />

750 x 8,760<br />

153


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

Annual<br />

Wind Speed, m/s<br />

ตารางที่ ก3 ตาราง Histogram โดย Rayleigh Distribution ที่ความเร็วลม 6.40 m/s<br />

Bin<br />

Speed,<br />

m/s<br />

Accumulative<br />

Frequency,<br />

p.u<br />

Frequency<br />

Distribution,<br />

%<br />

Hr<br />

Distribution<br />

Turbine Power<br />

Curve<br />

(750 kW<br />

Generic),<br />

kW<br />

Energy Production<br />

kWh<br />

6.40 1 0.0190 1.90% 166<br />

2 0.0738 5.48% 480<br />

3 0.1585 8.47% 742<br />

4 0.2642 10.57% 926 15.10 13,981.10<br />

5 0.3808 11.66% 1,022 45.30 46,280.70<br />

6 0.4986 11.77% 1,031 84.90 87,569.05<br />

7 0.6092 11.06% 969 128.30 124,339.59<br />

8 0.7069 9.77% 856 212.00 181,406.89<br />

9 0.7884 8.15% 714 305.90 218,494.41<br />

10 0.8530 6.46% 566 411.10 232,646.34<br />

11 0.9017 4.87% 427 514.20 219,445.98<br />

12 0.9368 3.50% 307 602.20 184,851.83<br />

13 0.9609 2.41% 211 663.90 140,014.98<br />

14 0.9767 1.58% 139 707.90 98,093.85<br />

15 0.9866 0.99% 87 736.00 64,143.66<br />

16 0.9926 0.60% 53 747.50 39,248.23<br />

17 0.9961 0.35% 30 750.00 22,739.92<br />

18 0.9980 0.19% 17 744.80 12,505.04<br />

19 0.9990 0.10% 9 735.90 6,563.85<br />

20 0.9995 0.05% 5 725.60 3,299.57<br />

21 0.9998 0.03% 2 715.70 1,592.82<br />

22 0.9999 0.01% 1 706.60 739.00<br />

23 1.0000 0.01% 0.47 700.30 330.56<br />

24 1.0000 0.002% 0.20 699.20 143.08<br />

25 1.0000 0.001% 0.09 701.60 59.80<br />

TOTAL 100% 8,760 1,698,490.25<br />

154


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

ภาคผนวก ข<br />

การสอบเทียบผลวิเคราะห<br />

ข.1 การสอบเทียบผลวิเคราะหโดยเทคนิค การวิเคราะหเสนความถดถอย<br />

UNOCAL<br />

LAEM<br />

PROMTHEP<br />

DEDP’S NAKON<br />

SRI THAMMARAT<br />

รูปที่ ข1 แสดงสถานีหลัก (Reference) ที่ อ.หัวไทร ยูโนแคล และ แหลมพรหมเทพ<br />

ในการศึกษาครั้งนี้ไดนํ าผลวิเคราะห (Predicted) และผลจากการตรวจวัด (Measured) ของ<br />

ความเร็วลมของสถานีหลัก (Reference) จํ านวน 4 โซน ตามที่แสดงในรูปที่ ข1 มาเปรียบเทียบความถูก<br />

ตองแมนยําของผลวิเคราะหโดยใชเทคนิคการวิเคราะหเสนความถดถอย (Regression Line) โดยใช<br />

โปรแกรม MS Excel TM หาคา R-Square ซึ่งเปนเครื่องมือตรวจสอบความถูกตองที่ยอมรับโดยทั่ว<br />

ไป กลาวคือ คา R-Square ที่ใกล 1 มากที่สุดจะแสดงผลการวิเคราะหที่แมนยํ ามากที่สุด โดยไดผล<br />

ลัพธตามที่แสดงในตารางดังนี้<br />

ตารางที่ ข1 การเปรียบเทียบคา R-Square ในการสอบเทียบผลวิเคราะห<br />

โซน ชื่อสถานี R-Square<br />

34a<br />

34b<br />

4a<br />

4b<br />

34a+34b+4a+4b<br />

อ.หัวไทร<br />

ยูโนแคล<br />

แหลมพรหมเทพ<br />

ยูโนแคล<br />

รวม<br />

0.6044<br />

0.9757<br />

0.6589<br />

0.9801<br />

0.7077<br />

155


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

Predicted Speed (m/s)<br />

6<br />

5<br />

4<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

DEDP NAKON SRI THAMMARAT<br />

Zone 34a<br />

y = 0.8651x<br />

R 2 = 0.6044<br />

0 1 2 3 4 5 6<br />

Measured Speed (m/s)<br />

รูปที่ ข2 เสนความถดถอยและคา R-Square ของ สถานี อ.หัวไทร<br />

Predicted Speed (m/s)<br />

6<br />

5<br />

4<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

y = 1.0489x<br />

R 2 = 0.9757<br />

UNOCAL GAS PLATFORM<br />

Zone 34b<br />

0 1 2 3 4 5 6<br />

Measured Speed (m/s)<br />

รูปที่ ข3 เสนความถดถอยและคา R-Square ของ สถานี UNOCAL (Zone 34b)<br />

156


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

Predicted Speed (m/s)<br />

6<br />

5<br />

4<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

EGAT's LAEM PROM THEP<br />

Zone 4a<br />

y = 0.8598x<br />

R 2 = 0.6589<br />

0 1 2 3 4 5 6<br />

Measured Speed (m/s)<br />

รูปที่ ข4 เสนความถดถอยและคา R-Square ของ สถานี แหลมพรหมเทพ<br />

Predicted Speed (m/s)<br />

6<br />

5<br />

4<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

y = 0.9943x<br />

R 2 = 0.9801<br />

UNOCAL GAS PLATFORM<br />

Zone 4b<br />

0 1 2 3 4 5 6<br />

Measured Speed (m/s)<br />

รูปที่ ข5 เสนความถดถอยและคา R-Square ของ สถานี UNOCAL (Zone 4b)<br />

157


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

Predicted Speed<br />

UNOCAL + NAKRON + LAEM PROMTHEP<br />

Zone 34a, 34b, 4a, 4b<br />

10<br />

9<br />

8<br />

7<br />

6<br />

5<br />

4<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

y = 0.9142x<br />

R 2 = 0.7077<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10<br />

Measured Speed (m/s)<br />

รูปที่ ข.6 เสนความถดถอยและคา R-Square ของ สถานี อ.หัวไทร UNOCAL และ แหลมพรหมเทพ<br />

ผลการสอบเทียบพบวาผลวิเคราะหของสถานี UNOCAL มีความถูกตองแมนยํ ามากที่สุด<br />

เนื่องจากเปนสถานีที่ติดตั้งอยูกลางทะเลในอาวไทยและของสถานีแหลมพรหมเทพ มีความถูกตอง<br />

แมนยํารองลงมา ทั้งนี้อาจเนื่องจากเปนสถานีที่อยูบนแผนดิน (วิเคราะหโดยนํ าผลการตรวจวัดที่ความ<br />

สูง 20 เมตร) ความเร็วลมไดรับอิทธิพลจากความขรุขระของผิวพื้นและสิ่งกีดขวางตามธรรมชาติและ<br />

จากสิ่งกอสราง และที่สถานี อ.หัวไทร มีความแมนยํานอยที่สุดทั้งนี้อาจเนื่องจากเปนสถานีที่อยูบน<br />

แผนดินที่ทํ าการตรวจวัดที่ความสูง 10 เมตร<br />

อยางไรก็ตามผลการวิเคราะหรวม 3 สถานี (4 โซน) ก็ใหผลวิเคราะหที่อยูในเกณฑยอมรับได<br />

(R-Square = 0.7077) โดยความเร็วลมที่ไดจาการวิเคราะหจะมีคานอยกวาความเร็วลมที่ไดจากการ<br />

ตรวจวัดประมาณ 8.6 เปอรเซ็นต<br />

158


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

ข.2 การสอบเทียบผลวิเคราะหโดยการคํ านวณพลังงานที่ผลิตไดในรอบป<br />

จากขอมูลการผลิตไฟฟาจากกังหันลม Nordtank-150 (Hub Height = 30 เมตร) ซึ่งมีกํ าลังผลิตสูงสุด<br />

150 kW ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยที่ติดตั้งที่ แหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต สามารถแสดง<br />

พลังงานไฟฟาที่ผลิตไดระหวางป 1997-1998 ไดตามตารางที่ ข2<br />

ตารางที่ ข2 พลังงานไฟฟาที่ผลิตได (kWh) ระหวางป 1997-1998 จากกังหันลม Nordtank - 150<br />

MONTH 1997 1998 AVG.<br />

JAN 19,195 17,970 18,583<br />

FEB 10,147 15,276 12,712<br />

MAR 6,653 12,666 9,660<br />

APR 5,202 14,076 9,639<br />

MAY 22,814 4,446 13,630<br />

JUN 13,371 23,922 18,647<br />

JUL 12,119 18,882 15,501<br />

AUG 35,976 11,958 23,967<br />

SEP 11,965 18,360 15,163<br />

OCT 5,980 30,012 17,996<br />

NOV 11,145 15,336 13,241<br />

DEC 16,974 14,436 15,705<br />

TOTAL 171,541 197,340 184,441<br />

ในการศึกษาสอบเทียบผลวิเคราะหไดใชโปรแกรม WindMap TM วิเคราะหพลังงานที่ผลิตไดที่<br />

ระดับความสูงเดียวกับความสูงของกังหันลมคือที่ 30 เมตรของโซน 4a ซึ่งมีสถานีแหลมพรหมเทพเปน<br />

สถานีอางอิงและกํ าหนดคาตัวแปรตาง ๆ เชน ความสมดุลของสภาพอากาศในแตละเดือน ขอมูล DEM<br />

และ Roughness Map ที่เปนคาเดียวกันกับคาที่ใชทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมในบทที่ 6 แตไดเพิ่ม<br />

ขอมูล Turbine Power Curve จากกังหันลมรุน Nordtank-150 แลวทํ าการวิเคราะหหาผลลัพธไดคา<br />

พลังงานไฟฟาที่ผลิตไดเฉลี่ยทั้งป เทากับ 170 MWh (ดูรูปที่ ข7) ซึ่งนอยกวาคาเฉลี่ยที่ไดจากการ<br />

ตรวจวัดจริง 184 MWh ประมาณ 7.8 เปอรเซ็นต<br />

159


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

MWh<br />

29-66<br />

66-102<br />

102-139<br />

139-175<br />

175-212<br />

212-248<br />

248-285<br />

285-321<br />

รูปที่ ข7 พลังงานไฟฟาที่ผลิตไดในรอบป หนวย MWh โดยใชโปรแกรม WindMap TM<br />

ข.3 การสอบเทียบผลวิเคราะหจากแผนที่ศักยภาพพลังงานลม<br />

จากแผนที่ศักยภาพพลังงานลมพบวาที่ความสูง 30 เมตร ที่แหลมพรหมเทพมีศักยภาพพลังงานลม<br />

ระดับ 1.3 หรือมีกํ าลังลมที่คา Upper Limit เทากับ 150 W/m 2 และความเร็วลมที่คา Upper Limit เทากับ<br />

4.7 m/s จากขอมูลการตรวจวัดของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยพบวาที่ระดับความสูง 36 เมตร มี<br />

ความเร็วลมเทากับ5.2 m/s เมื่อปรับระดับความเร็วลมที่เพิ่มขึ้นตามความสูงตามสูตรV1/V2 =[H1/H2] 1/7<br />

สามารถหาความเร็วลมที่ระดับความสูง 36 เมตร เทากับ 4.8 m/s ซึ่งนอยกวาคาที่จากการตรวจวัดจริง<br />

ประมาณ 7.7 เปอรเซ็นต<br />

160


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

ภาคผนวก ค<br />

หลักการทํ างานของโปรแกรม WindMap TM<br />

ค.1 หลักเกณฑการออกแบบ<br />

โปรแกรม WindMap TM อางอิงแบบจํ าลองอนุรักษมวล (Mass-Conserving Model) ชื่อ<br />

NOABL (Numerical Observation Atmospheric Boundary Layer) แบบจํ าลองนี้ไดถูกพัฒนาขึ้นในป<br />

1970 โดยกระทรวงพลังงานของสหรัฐอเมริกา (US Department of Energy – DOE )<br />

เชนเดียวกับแบบจํ าลองอนุรักษมวลอื่น (เชน NUATMOS) แบบจํ าลองนี้สามารถวิเคราะห<br />

สถานะของผลรวมของความเร็วลมที่ขนาดเล็กที่สุดเทาที่จะเล็กไดในทุกทิศทางที่สอดคลองและเปนไป<br />

ตามกฎของสมการของความตอเนื่อง (Equation of Continuity)โดยมีปจจัยสํ าคัญที่มีผลกระทบตอการ<br />

ทํ างานของโปรแกรม WindMap TM คือ<br />

(1) ขอมูลจากการตรวจวัดจะถูกนํ าไปสรางความเร็วลมเริ่มตน (Initial Winds) ถาขอมูล<br />

นั้นมีความถูกตองมากเทาไรความเร็วลมเริ่มตนจะมีความถูกตองมากเทานั้น กลาวคือแบบจํ าลองจะ<br />

สรางตาราง (Mesh) หรือ เซลลจํ านวนมาก (ดูรูปที่ ค.1) ครอบคลุมพื้นที่ที่ตองการศึกษาและสราง<br />

ความเร็วเริ่มตนโดยมีจุดอางอิงในตํ าแหนงจุดศูนยกลางของเซลลแตละเซลล (ดูรูปที่ ค.2) หลังจากนั้น<br />

โปรแกรมจะเริ่มทํ าการคํ านวณซํ้ ากันหลายครั้ง (Iteration) จนไดความเร็วลมสุดทาย (Final Winds) ที่<br />

มีคาความผิดพลาดที่อยูในเกณฑที่สามารถยอมรับได<br />

รูปที่ ค1 ตาราง (Mesh) หรือ เซลลที่แบบจํ าลองสรางขึ้น<br />

161


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

รูปที่ ค2 จุดอางอิงของความเร็วที่อยูในตํ าแหนงศูนยกลางของเซลล<br />

(2) ความสัมพันธระหวางความเร็วลมในแนวดิ่ง และ แนวนอน ซึ่งเกี่ยวของกับอัตราสวนของ<br />

ความสมดุลของสภาพอากาศหรือสภาพความสมดุลความรอนที่อยูบริเวณพื้นผิวโลกในสภาพอากาศ<br />

Neutral อัตราสวนของความสมดุล จะมีคาเทากับ 1 ซึ่งในสภาพดังกลาว อนุภาพของอากาศจะเคลื่อนที่<br />

ในแนวดิ่งไดสะดวกเชนเดียวกับการเคลื่อนที่ในแนวนอน กลาวคือ ความเร็วจะไมเปลี่ยนแปลงตาม<br />

ความสูงมากเทากับในสภาพอากาศทรงตัว(Stable)ซึ่งอัตราสวนของความสมดุลมีคานอยกวา 1 ใน<br />

สภาพอากาศทรงตัวดังกลาวแรงลอยตัวพยายามจะสรางความสมดุลของอากาศที่ระดับความสูงหนึ่ง<br />

เหนือระดับพื้นผิวโลกซึ่งทํ าใหความเร็วลมมีความเร็วเพิ่มขึ้นเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น ในกรณีที่อัตราสวน<br />

ของความสมดุลมีคานอยกวา 1 มากๆ จะยิ่งทําใหความเร็วเพิ่มขึ้นเมื่อความสูงเพิ่มขึ้นมากเชนในบริเวณ<br />

ภูมิประเทศหุบเหว เมื่อเทียบกับยอดเขาสูง<br />

โดยการปรับแตงอัตราสวนของความสมดุลและสภาพแวดลอมตางๆ เพื่อการกํ าหนดความเร็ว<br />

เริ่มตน ทํ าใหสามารถทํ าการวิเคราะหผลลัพธที่ดีที่สุด (Optimum) ที่สามารถเปรียบเทียบความถูกตอง<br />

ระหวางผลวิเคราะหตามทฤษฎีกับขอมูลที่ไดจากการตรวจวัดจริง โดยมีความผิดพลาดประมาณ 8-10<br />

เปอรเซ็นต<br />

ค.2 สมการของความตอเนื่อง (Equation of Continuity)<br />

โปรแกรม WindMap TM จะทําการวิเคราะหใหไดความเร็วสุดทายที่มีเงื่อนไขและสอดคลอง<br />

สมการของความตอเนื่อง ที่มีรายละเอียดดังนี้<br />

จากรูปที่ ค3 ปริมาณของไหลซึ่งเทากับ ρu ∆ x∆y∆z∆t<br />

ที่ไหลจากผิวทางดานซายไปดานขวาในชวง<br />

ระยะเวลา ∆ t คือ<br />

( ρu)<br />

⎡<br />

⎢ ρ ∂ ⎤<br />

u ∆x<br />

∆y∆z∆t<br />

x<br />

⎥<br />

⎣ ∂ ⎦<br />

+ ----------------------- (ค.1)<br />

ดังนั้น ปริมาณมวลทั้งหมดของไหลในชวงระยะเวลา ∆t<br />

เทากับ<br />

-<br />

( u)<br />

∂ρ<br />

∂x<br />

∆x∆y∆z∆t<br />

----------------------- (ค.2)<br />

162


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

y<br />

ρu<br />

∆ x∆y∆z<br />

∆x<br />

∆z<br />

∆y<br />

( ρu)<br />

⎡<br />

⎢ ρ ∂ ⎤<br />

u + ∆x<br />

∆y∆z<br />

x<br />

⎥<br />

⎣ ∂ ⎦<br />

x<br />

z<br />

รูปที่ ค3 รูปแสดงการไหลของเหลวใน Rectangular Coordinate System<br />

ซึ่งปริมาณดังกลาวจะกระจายในปริมาณเทาๆกันในพื้นผิวดานอื่นดวย ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของปริมาณ<br />

มวลทั้งหมดเนื่องจากปริมาณกระแสสุทธิ (Net flux) เทากับ<br />

⎡ ∂<br />

− ⎢<br />

⎣∂x<br />

∂<br />

∂y<br />

∂<br />

∂z<br />

( ρu) + ( ρv) + ( ρw) ∆x∆y∆z∆t<br />

⎥ ⎦<br />

⎤<br />

----------------------(ค.3)<br />

โดยที่ปริมาณมวลเริ่มตนเทากับ ρ ∆ x∆y∆z∆t<br />

และการเพิ่มปริมาณมวลที่ระยะเวลา ∆t<br />

เทากับ<br />

( ∂ ρ / ∂t) ∆x∆y∆z∆t<br />

ดังนั้นโดยการแทนคาในสมการที่ ค.3 จะได<br />

⎛ ∂ρ<br />

⎞<br />

⎡ ∂ ∂ ∂ ⎤<br />

- ⎜ ⎟( ∆x∆y∆z∆t<br />

) = − ( ρu) + ( ρv) + ( ρw) ( ∆x∆y∆z∆t<br />

)<br />

⎝ ∂t<br />

⎠<br />

⎢<br />

⎣ ∂x<br />

∂y<br />

หรือโดยการปรับปรุงใหงาย (Simplify) จะได<br />

ซึ่งอาจเขียนสมการใหมเปน<br />

โดยที่ d/dt คือ Operator ของ<br />

∂<br />

∂t<br />

∂z<br />

⎥<br />

⎦<br />

----- (ค.4)<br />

ρ ∂ ∂ ∂<br />

+ ( ρu) + ( ρv) + ( ρw) = 0 ---------- (ค.5)<br />

∂x<br />

∂y<br />

∂z<br />

1 dρ<br />

∂u<br />

∂v<br />

∂w<br />

+ + + = 0<br />

ρ dt ∂x<br />

∂y<br />

∂z<br />

∂ ∂ ∂<br />

+ u + v + w<br />

∂t<br />

∂x<br />

∂y<br />

∂z<br />

----------------- (ค.6)<br />

∂ ---------------------(ค.7)<br />

สมการที่ ค.5 และ ค.6 เรียกวา สมการของความตอเนื่อง (Equation of Continuity)<br />

โดยสมมุติฐานวา อากาศมีคุณสมบัติเชนเดียวกับของเหลว กลาวคือมีสถานะเปนมวลเดียวกัน<br />

(Homogeneous) ในสถานภาพที่ไมมีแรงกด และ มีความหนาแนนเทากันหมดดังนั้นเพื่อใหสะดวก<br />

ตอการวิเคราะห สามารถเขียนสมการของความตอเนื่องเปน<br />

∂ ----------------------- (ค.8)<br />

u ∂v<br />

∂w<br />

+ + = 0<br />

∂x<br />

∂y<br />

∂z<br />

สมการดังกลาวจะใชในการคํ านวณความเร็วเริ่มตนใหเปนความเร็วสุดทายในโปรแกรม WindMap TM<br />

163


กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน โครงการจัดทํ าแผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย<br />

ค.3 แผนภูมิการทํ างาน (Flow Diagram)<br />

ผูพัฒนาโปรแกรม WindMap TM คือ Dr.Michael Brower แหง Brower & Company*<br />

โปรแกรม WindMap TM ในรุ นปจจุบันเปนรุน (Version) 2.20 b โปรแกรมดังกลาวไดถูกออกแบบใหใช<br />

กับระบบปฏิบัติการMS Window 95/98 หรือ NT โดยไดกํ าหนดใหใชงานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร<br />

ที่มีหนวยความจํ าอยางนอย 64 MB และหนวยประมวลผลภาพที่สามารถแสดงสีได16 bit (High Color)<br />

หรือ 24 bit (True Color) ที่มีความละเอียดเทากับ 1024 x 768 pixels.<br />

ผู พัฒนาโปรแกรมใชโปรแกรม Delphi TM * เปนเครื่องมือในการพัฒนาโดยมีแผนภูมิการทํ างาน<br />

หลักของโปรแกรม แสดงในรูปที่ ค4-ค19 จํานวน 16 รูปซึ่งประกอบดวย<br />

(1) รูปที่ ค4 MAIN WINDOW Flow Diagram 1<br />

(2) รูปที่ ค5 MAIN WINDOW Flow Diagram 2<br />

(3) รูปที่ ค6 MAIN WINDOW – ELEVATION & ROUGHNESS Flow Diagram<br />

(4) รูปที่ ค7 MAIN WINDOW – RUN Flow Diagram<br />

(5) รูปที่ ค8 MAIN WINDOW – FILE Flow Diagram<br />

(6) รูปที่ ค9 MAIN WINDOW – EXPORT Flow Diagram<br />

(7) รูปที่ ค10 MAIN WINDOW – MOSAIC Flow Diagram<br />

(8) รูปที่ ค11 MAIN WINDOW – SURFACE DATA Flow Diagram 1<br />

(9) รูปที่ ค12 MAIN WINDOW – SURFACE DATA Flow Diagram 2<br />

(10) รูปที่ ค13 MAIN WINDOW– UPPER AIR DATA Flow Diagram<br />

(11) รูปที่ ค14 OPTION – GEOMETRY Flow Diagram<br />

(12) รูปที่ ค15 OPTION – ATMOSPHERE Flow Diagram<br />

(13) รูปที่ ค16 OPTION – POWER Flow Diagram<br />

(14) รูปที่ ค17 OPTION – INITIALIZATION Flow Diagram<br />

(15) รูปที่ ค18 OPTION – ROUGHNESS Flow Diagram<br />

(16) รูปที่ ค19 OPTION – ITERATION Flow Diagram<br />

* Brower & Company : 154 Main Street Andover, MA, USA 01810 Tel: +1-978-749-9591, Fax: +1-978-749 -9713<br />

E-mail: mbrower@mediaone.net<br />

*Borland Software Corp. 100 Enterprise Way Scotts Valley, CA 95066-3249 Tel: 831-431-1000 www.borland.com<br />

164

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!