05.05.2015 Views

Heat Pipe Dehumidification - กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ ...

Heat Pipe Dehumidification - กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ ...

Heat Pipe Dehumidification - กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

ผศ.ดร.พิชัย กฤชไมตรี<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

1


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

หลักการทํางาน<br />

• ฮีทไปป คือ อุปกรณที่ใชในการสงถายความรอนไดโดยไมตองใช<br />

พลังงานจากภายนอก ประกอบดวยทอโลหะปดหัวทายภายในเปน<br />

สุญญากาศที่มีสารทําความเย็นบรรจุอยูภายใน<br />

• การทํางานของฮีทไปปอาศัยหลักการเปลี่ยนสถานะจากการระเหย<br />

และควบแนนรวมกับแรงโนมถวงของสารทํางาน<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

2


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

หลักการทํางาน<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

3


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

หลักการทํางาน<br />

• การติดตั้งฮีทไปปครอมคอยลเย็น (Cooling Coil) ของระบบปรับ<br />

อากาศ ฮีทไปปจะ Precool อากาศกอนเขาคอยลเย็นทําใหคอยลเย็น<br />

ดึงความชื้นไดมาก<br />

• สารทําความเย็นภายในตัวฮีทไปปจะระเหยและพาความรอนที่ไดรับ<br />

จากอากาศรอนนั้นไปยังฮีทไปปสวนที่สอง เมื่ออากาศจากคอยลเย็น<br />

ผานฮีทไปปสวนที่สอง ก็จะไดรับความรอนจากฮีทไปปสวนนี้ ทําให<br />

อากาศที่ผานระบบมีอุณหภูมิที่พอเหมาะ<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

4


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

หลักการทํางาน<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

5


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

การใชทดแทนเทคโนโลยีเดิม<br />

• ใชสําหรับการควบคุมความชื้นของพื้นที่ปรับอากาศ ทดแทนการลด<br />

อุณหภูมิอากาศใหต่ํา (Overcooling) เพื่อกําจัดความชื้น แลวคอย<br />

เพิ่มอุณหภูมิอากาศ (Reheat) อีกครั้งดวยการใชไฟฟาหรือพลังงาน<br />

ความรอนซึ่งใชพลังงานสูง<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

6


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

ระบบเดิมที่ใช Overcool & Reheat<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

7


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

ระบบ <strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

8


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

ศักยภาพการประหยัดพลังงาน<br />

•<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> สามารถลดการใชพลังงานในการลดความชื้นได 30-50%<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

9


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

ศักยภาพการประหยัดพลังงาน<br />

•<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> สามารถลดการใชพลังงานในการลดความชื้นได 30-50%<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

10


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

ศักยภาพการประหยัดพลังงาน<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

11


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

ศักยภาพการประหยัดพลังงาน<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

12


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

สภาพที่เหมาะสมกับการใชเทคโนโลยี<br />

• เหมาะสําหรับการควบคุมความชื้นในพื้นที่ปรับอากาศใหอยูในชวง<br />

40-60%RH โดยสามารถติดตั้งกับ Fresh Air Unit หรือ Air<br />

Handling Unit<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

13


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

กลุมเปาหมาย<br />

• โรงงานผลิตชิ้นสวนเครื่องจักร<br />

• โรงงานผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส<br />

• โรงงานผลิตอาหาร<br />

• โรงงานผลิตยา<br />

• หองเก็บผลิตภัณฑ<br />

• หองควบคุมกระบวนการผลิต (Control Room)<br />

• หองเครื่องมือสื่อสาร (Communication Room)<br />

• หองผาตัดในโรงพยาบาล<br />

• หองพักของโรงแรม<br />

• ฯลฯ<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

14


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

ราคาของเทคโนโลยี<br />

• จากขอมูลของผูจําหนายในประเทศไทย ราคาเฉลี่ยของอุปกรณรวม<br />

การติดตั้งของฮีทไปปซึ่งติดตั้งกับคอยลเย็นของเครื่องสงลมเย็นหรือ<br />

เครื่องเติมอากาศของระบบปรับอากาศ จะอยูที่ประมาณ 15,000 บาท<br />

ตอตันความเย็น โดยมีอายุใชงานประมาณ 20 ป<br />

ระยะเวลาคืนทุน<br />

• จากขอมูลจากกรณีศึกษาในตางประเทศและกรณีศึกษาการติดตั้งใช<br />

ระบบลดความชื้นดวยฮีทไปปในประเทศไทย เทคโนโลยีการลด<br />

ความชื้นดวยฮีทไปปสามารถใหผลประหยัดซึ่งมีระยะเวลาคืนทุน<br />

ประมาณไมเกิน 1 ป<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

15


<strong>Heat</strong> <strong>Pipe</strong> <strong>Dehumidification</strong><br />

ผลกระทบสิ่งแวดลอม<br />

• เนื่องจากฮีทไปปเปนทอปดและไมมีสวนเคลื่อนที่ จึงมีโอกาสนอย<br />

มากที่จะเกิดการรั่วไหลของสารทําความเย็นออกสูสิ่งแวดลอม<br />

• ผูผลิตสวนใหญในปจจุบันไดเปลี่ยนมาใชสารทําความเย็น R-134a<br />

ทดแทน R-22 เพื่อใหเปนไปตามพิธีสารมอนทรีออลในการควบคุม<br />

ปริมาณการใชสารทําความเย็นที่มีผลตอการทําลายโอโซนในชั้น<br />

บรรยากาศ<br />

24/03/51<br />

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

29 กุมภาพันธ 2551<br />

16

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!