08.06.2013 Views

1. (Company Profile) . . 1988 Food and Beverage 90 800 392/56-57 ...

1. (Company Profile) . . 1988 Food and Beverage 90 800 392/56-57 ...

1. (Company Profile) . . 1988 Food and Beverage 90 800 392/56-57 ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

บริษัท อําพลฟูดส์ โพรเซสซิ ง จํากัด<br />

<strong>1.</strong> ประวัติบริษัท (<strong>Company</strong> <strong>Profile</strong>)<br />

บริษัท อําพลฟูดส์ โพรเซสซิง<br />

จํากัด เริมก่อตังมาตังแต่ปี<br />

ค.ศ. <strong>1988</strong> ซึ งเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมผู้ผลิต<br />

“<strong>Food</strong> <strong>and</strong><br />

<strong>Beverage</strong>” โดยมีทุนจดทะเบียน <strong>90</strong> ล้านบาท และมีพนักงานทังสิ นประมาณ <strong>800</strong> คน ซึ งมีสํานักงานใหญ่อยู ่ที<br />

<strong>392</strong>/<strong>56</strong>-<strong>57</strong> ซอยปรีชาพาณิชย์ ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพ และมีโรงงานตังอยู ่ที <strong>57</strong><br />

หมู ่ 3 ตําบลกระทุ่มล้ม<br />

อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73220 โทร (02) 811-8550-3 Website : ampolfood.com<br />

บริษัท อําพลฟูดส์ โพรเซสซิง<br />

จํากัด มีวิสัยทัศน์ที จะเป็นผู้นํานวัตกรรมอาหารไทยสู ่ตลาดโลก ด้วยความ<br />

รับผิดชอบต่อสังคมและสิงแวดล้อม<br />

โดยมีภารกิจดังนี คือ<br />

<strong>1.</strong> สร้างนวัตกรรม ด้วยการวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื อความได้เปรียบทางการแข่งขัน<br />

<strong>1.</strong>1 ผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว<br />

<strong>1.</strong>2 อาหารไทยพร้อมปรุง<br />

<strong>1.</strong>3 เครื องดื มเพื อสุขภาพ<br />

<strong>1.</strong>4 เครื องปรุงรสเพื อสุขภาพ<br />

2. เพิมศักยภาพการผลิต<br />

ด้วยระบบการจัดการและเทคโนโลยีที ทันสมัย<br />

3. เสริมสร้างให้พนักงานมีความรู้ ความเข้าใจและเชี ยวชาญในการปฏิบัติงาน อีกทังยังสร้างบรรยากาศให้<br />

เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม<br />

4. สร้างความพึงพอใจให้กับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และดูแล รับผิดชอบ ต่อสังคม ชุมชน และสิงแวดล้อม<br />

เพื อภาพลักษณ์ที ดีขององค์การ<br />

และมีนโยบายคุณภาพ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร มาตรฐานอาหารฮาลาล มาตรฐานห้องปฏิบัติการ<br />

การอนุรักษ์พลังงาน สิงแวดล้อม<br />

มาตรฐานแรงงาน ความรับผิดชอบ ทางสังคม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย<br />

บริษัท อําพลฟูดส์ โพรเซสซิง<br />

จํากัด มีตราสินค้าเป็นของตนเอง ได้แก่<br />

นอกจากนี<br />

บริษัทยังได้รับการรับรองมาตรฐานต่าง ๆ มากมายอาทิเช่น ISO 22000, ISO <strong>90</strong>01:2000, ISO<br />

14001:2004, TIS/OHSAS 1<strong>800</strong>1:1999, HACCP, GMP, SA <strong>800</strong>0 และ CSR-DIW.


2. โครงสร้าง Lean Team และอาจารย์ทีปรึกษา<br />

3. การคัดเลือกหัวข้อปัญหา<br />

จากการทํากิจกรรมการเดินหาความสูญเปล่า (Wastes Walk) ในกระบวนการผลิตทังหมด ตลอดจนการเขียน<br />

แผนภาพ VSM ในสภาพปัจจุบันและการวิเคราะห์หาความสูญเปล่าจาก VSM สภาพปัจจุบันที เขียนขึ นมา ทําให้สามารถ<br />

ค้นพบความสูญเปล่าเป็นจํานวนมาก ซึ งจะนําไปสู ่โอกาสในการปรับปรุงต่อไป โดยทีมงานได้ทําการคัดเลือกหัวข้อที จะทํา<br />

การปรับปรุงมาทังหมด 18 หัวข้อ ดังตารางที 1<br />

No Lean Project ฝ่ าย รายชือ<br />

เครืองมือ<br />

1 ลดเวลาในการล้ างเครืองจักรไลน์ห้องคัน<br />

ผลิต นายไกรวุฒิ หลักคํา SMED<br />

2 ลดเวลาในการล้ างเครืองจักรไลน์<br />

UHT ผลิต นายไกรวุฒิ หลักคํา SMED<br />

3 ลดการใช้กระบะเหลืองใส่มะพร้าวดํา ผลิต นายไกรวุฒิ หลักคํา SMED<br />

4 ลดเวลาการรับสินค้าของรถขนส่งช่วง คลังสินค้าและจัดส่ง นายคําพันธ์ ขันทะหัตถ์ Leveling/Kanban<br />

5 ลดเวลาการรับสินค้าของรถ TCC คลังสินค้าและจัดส่ง นายคําพันธ์ ขันทะหัตถ์ Leveling/Kanban<br />

6 ลดเวลาการจ่ายวัตถุดิบเข้าไลน์ผลิต คลังสินค้าและจัดส่ง นายคําพันธ์ ขันทะหัตถ์ Kanban<br />

7 ลดเวลาการเปลี ยนใบมีดเครืองกระเทาะกะลา<br />

(PM) วิศวกรรม นายจําลอง พึงประยูร<br />

SMED<br />

8 ลดเวลา setup เครืองมือสอบเทียบ<br />

ประกันคุณภาพ น.ส.ขนิษฐา เลิกชัยภูมิ SMED<br />

9 ลดต้นทุนการผสมสารกลุ ่มทีมีนํ<br />

าตาลเป็ น carrier วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ น.ส.วรรณี จตุรจําเริญชัย Value Analysis(VA),<br />

Batch size reduction<br />

10 ลดระยะเวลาการตรวจสอบวัตถุดิบ ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ น.ส.นพลักษณ์ ไกรวาสชัยวงษ์ Batch size reduction/<br />

Process Flow Anaiysis<br />

11 โปรแกรม e-office (ลดเวลางานซ่อมสร้างในด้านเอกสาร) เทคโนโลยีสารสนเทศ นายกฤษฎา โสภา Lean Office (IT)<br />

12 เพิมประสิทธิภาพในกระบวนการพยากรณ์ยอดขาย<br />

การตลาด นายกฤษฎา โสภา QC Problem solving<br />

13 ลดระยะเวลาการจัดการของเสีย สิงแวดล้<br />

อมและความปลอดภัย น.ส.กรณ์กณิศ แสงดี Process Flow Anaiysis<br />

14 ลดเวลากระบวนการแก้ไขและป้ องกัน บริหารระบบคุณภาพ น.ส.ชุติเนตร บัวเผือน<br />

St<strong>and</strong>ardized Work<br />

15 ลดเวลาในการอนุมัติใบลา ทรัพยากรบุคคล น.ส.ชุติเนตร บัวเผือน<br />

Process Flow Anaiysis<br />

16 ลดของเสียจากการรับคืนสินค้า ขายในประเทศ นายสนทยา วระวงษ์ QC Problem solving<br />

17 ลดเวลาการเก็บหนี บัญชีและการเงิน นางสุมาลี บัวขาว Process Flow Anaiysis<br />

18 ลดเวลาในการเปิด P/O จัดซื อ นางสุมาลี บัวขาว Process Flow Anaiysis<br />

ตารางที<br />

1 หัวข้อเรืองทีจะทําการปรับปรุง<br />

จากหัวข้อการปรับปรุงทั งหมด ดังนั นจะขอนําเสนอรายละเอียดการปรับปรุงเพียงสองหัวข้อเพื อเป็ นแนวทางให้กับผู้ทีสนใจ<br />

ต่อไปดังนี <br />

4. ตัวอย่างการดําเนินการปรับปรุงในหัวข้อเรือง<br />

“การลดเวลาการล้างเครื องจักรกระบวนการคั น”<br />

มูลเหตุจูงใจและความเป็ นมา : ในสภาพปัจจุบัน (ก่อนการปรับปรุง), การทําความสะอาดเครื องจักรใน Line คั น จะใช้เวลา<br />

ในการทําความสะอาด 3 ชั วโมง/ครั ง ซึ งจากข้อมูลดังกล่าวพบว่า มีการสูญเสียเวลาในการทําความสะอาดทั งสิน 36 ชัวโมง/<br />

สัปดาห์ ซึ งเป็ นเวลาการทํางานทีไม่ก่อให้เกิดมูลค่า<br />

ดังนั น ถ้าสามารถปรับปรุงเวลาในการทําความสะอาดเครื องจักรใน Line<br />

คั นให้เร็วขึ นได้ก็จะสามารถรองรับกําลังการผลิตทีเพิ<br />

มขึ นตามความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ และนอกจากนั น<br />

ในฝ่ ายผลิตของบริษัทเองก็ยังมีกระบวนการผลิตทีคล้าย<br />

ๆ กันทีสามารถนําเครืองมือการลดเวลาอย่างนี<br />

ไปประยุกต์ต่อได้อีก<br />

ดังนั น ทีมงานจึงเลือกหัวข้อปัญหานี มาทําการศึกษาและปรับปรุงเป็ นอันดับแรก ๆ


สภาพปัจจุบันและการตั งเป้ าหมาย : จากการศึกษาข้อมูลและสภาพการทํางานในปัจจุบันจะพบว่าปัจจุบันการทําความ<br />

สะอาดเครืองจักร<br />

Line คั น จะสูญเสียเวลา 3 ชั วโมง/ครั ง โดยจะทําความสะอาดเครื องจักรทุก ๆ 8 ชั วโมงหลังจากเริ มเดิน<br />

เครืองจักรในการผลิต<br />

ซึ งสามารถแสดงรายละเอียดการทํางานได้ตาม Flow การทําความสะอาดดังนี <br />

และสามารถเขียนเป็ นขั นตอนการทําความสะอาดเครื องจักรทุกขั นตอนได้ดังนี คือ<br />

ลําดับ ขั นตอน<br />

เวลา<br />

(min.)<br />

1 ไล ่กาก 10<br />

2 ล้างสายพานคัดมะพร้าว 30<br />

3 ล้างสกรูลําเลียงกาก1,2 30<br />

4 ล้างลูกขูด1,2 30<br />

5 ล้างสกรูลําเลียงกาก3,4 30<br />

6 ล้างลูกขูด3,4 30<br />

7 ล้างสกรูเข้า Urschel 1 30<br />

8 ล้าง Mash pump 30<br />

9 ล้างสกรูเข้า Urschel 3 30<br />

10 ล้างผ้า Belt 1 30<br />

11 ล้างผ้า Belt 2 30<br />

12 ล้างผ้า Belt 3 30<br />

13 ล้างผ้า Belt 4 30<br />

14 ล้างสกรูเข้า Urschel 2 30<br />

15 ล้างสกรูเข้า Urschel 4 30<br />

16 ถอด Sweco และต่อท่อ 15<br />

17 ล้าง Sweco 20<br />

18 ล้างอ ่าง 500 L. 10<br />

19 ล้างอ ่าง 1000 L. 10<br />

20 ล้างรางส่ง Product 10<br />

21 ล้างพืน<br />

30<br />

22 ประกอบ Sweco และต่อท่อ 20<br />

23 ล้างผ้า Belt 45<br />

เวลา (min.)<br />

10 20 30 40 50 60 70 80 <strong>90</strong> 100 110 120 130 140 150 160 170 180


จากขั นตอนการทําความสะอาดเครื องจักรทั งหมดจะพบว่า สูญเสียเวลาในการทําความสะอาด 180 นาที/ครั ง และจะทําความ<br />

สะอาดทุก ๆ 8 ชั วโมงหลังการผลิต ดังนั น ทางทีมงานจึงได้ตั งเป้ าหมายโดยจะทําการลดเวลาการทําความสะอาดเครื องจักรให้<br />

เหลือไม่เกิน 153 นาทีต่อครั ง หรือลดลง 15%<br />

การวิเคราะห์ : จากการศึกษาขั นตอนและเวลาการทํางานในแต่ละขั นตอนในการทําความสะอาดเครื องจักรทั งหมดในสภาพการ<br />

ทํางานในปัจจุบัน (ก่อนการปรับปรุง) อย่างละเอียดโดยใช้เครืองมือทีเรียกว่า<br />

SMED มาประยุกต์ใช้ทําให้พบว่า ขั นตอนทั งหมด<br />

23 ขั นตอนนั นเป็ นการปรับตั งภายในทั งหมด แต่การทําความสะอาดในแต่ละขั นตอนนั นยังไม่สอดประสานงานกันอย่างลงตัว<br />

กล่าวคือ จะทําความสะอาดเป็ นขั นตอนต่อเนืองกันไปเลือย<br />

ๆ ทําให้ต้องใช้เวลาในการทําความสะอาดนานเกินความจําเป็ น และ<br />

บางขั นตอนก็ยังสามารถจะปรับปรุงการปรับตั งภายในให้เปลียนไปเป็<br />

นภายนอกได้อีกเช่นกัน ดังนั นจึงได้ทําการปรับปรุงใน 2<br />

ประเด็นหลัก ๆ ได้ดังนี คือ<br />

แนวทางการปรับปรุงที 1 : การปรับปรุงการปรับตั งภายใน (ต้องหยุดเครืองจักรในขณะทําการล้าง)ให้เปลียนไปเป็<br />

นการ<br />

ปรับตั งภายนอก (ไม่ต้องหยุดเครื องจักรในขณะทําการล้าง) โดยการจัดเตรียมอุปกรณ์สํารองสําหรับประกอบ Sweco และท่อ<br />

ไว้ล่วงหน้าอีกหนึ งชุดเพือลดเวลาการล้าง<br />

Sweco และการรอคอยให้ Sweco แห้งก่อนการประกอบ Sweco เข้ากับโครงเครื อง<br />

ก่อนการปรับปรุง<br />

สําหรับหลังการปรับปรุงนั น เราจะนําแผ่นกรองที เตรียมไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว นํามาประกอบเข้ากับตัวโครงเครื องเลยหลังจาก<br />

ล้างตัวโครงเครื องเสร็จแล้ว และหลังจากเดินสายการผลิตแล้ว เราก็จะนําแผ่นกรองชุดเดิมไปล้างและจัดเก็บเป็ น Spare ต่อไป<br />

หลังการปรับปรุง


แนวทางการปรับปรุงที<br />

2 : การลดเวลาการปรับตั งภายใน (ต้องหยุดเครืองจักรในขณะทําการล้าง)โดยใช้หลักการการทํางาน<br />

เป็ นทีม หรือทีเรียกว่า<br />

Team Approach และการทํางานในแต่ละขั นตอนทีสอดประสานงานกันอย่างลงตัวโดยทํางานในแต่ละ<br />

ขั นตอนให้ขนานกันหรือพร้อมกันให้มากทีสุดเท่าที<br />

จะทําได้เพื อลดเวลาการรอคอยระหว่างขั นตอนต่าง ๆ ดังจะเห็นได้จาก<br />

ตารางการทําความสะอาดเครื องจักรใหม่ดังนี <br />

ลําดับ ขั นตอน<br />

เวลา<br />

(min.)<br />

1 ไล่กาก 10<br />

2 ล้างสายพานคัดมะพร้าว 30<br />

3 ล้างสกรูลําเลียงกาก1,2 30<br />

4 ล้างลูกขูด1,2 30<br />

5 ล้างสกรูลําเลียงกาก3,4 30<br />

6 ล้างลูกขูด3,4 30<br />

7 ล้างสกรูเข้า Urschel 1 30<br />

8 ล้าง Mash pump 30<br />

9 ล้างสกรูเข้า Urschel 3 30<br />

10 ล้างผ้า Belt 1 30<br />

11 ล้างผ้า Belt 2 30<br />

12 ล้างผ้า Belt 3 30<br />

13 ล้างผ้า Belt 4 30<br />

14 ล้างสกรูเข้า Urschel 2 30<br />

15 ล้างสกรูเข้า Urschel 4 30<br />

16 ถอด Sweco และต่อท่อ 15<br />

17 ล้าง Sweco 20<br />

18 ล้างอ ่าง 500 L. 10<br />

19 ล้างอ ่าง 1000 L. 10<br />

20 ล้างรางส่ง Product 10<br />

21 ล้างพืน<br />

30<br />

22 ประกอบ Sweco และต่อท่อ 20<br />

23 ล้างผ้า Belt 45<br />

เวลา (min.)<br />

10 20 30 40 50 60 70 80 <strong>90</strong> 100 110 120 130 140 150 160 170 180<br />

เส้นบนหรือเส้นสีดําในแต่ละขั นตอนจะแสดงถึงขั นตอนก่อนการปรับปรุง ส่วนเส้นล่างหรือเส้นสีแดงในแต่ละขั นตอนจะ<br />

แสดงถึงขั นตอนใหม่หลังการปรับปรุง ซึ งทางทีมงานก็ได้จัดทําเป็ นมาตรฐานในการทําความสะอาดเครื องจักร Line คั นใหม่<br />

ตลอดจนได้นํามาตรฐานใหม่นี ไปฝึ กสอนให้กับผู้ปฏิบัติงานโดยตรงอีกด้วย<br />

สรุปผลการปรับปรุง : หลังจากทําการปรับปรุงตามแนวทางการปรับปรุงดังกล่าวข้างต้นแล้วทั งหมด และทําการเก็บข้อมูล<br />

ทั งหมดหลังการปรับปรุง จะพบว่าเวลาการทําความสะอาดเครื องจักร Line คั นลดลง <strong>57</strong> นาที/ครั ง หรือลดลงไป 32% โดยเหลือ<br />

เพียง 123 นาที/ครั ง ซึ งได้ผลลัพธ์เกินกว่าเป้ าหมายทีตั<br />

งไว้<br />

ซึ งทําให้สามารถเพิ มผลผลิตขึ นมาได้ถึง 4,416,000 ลิตร/ปี และสามารถลดต้นทุนการผลิตลงได้ถึง 158,976,600 บาทต่อปี<br />

ตัวอย่างการดําเนินการปรับปรุงในหัวข้อเรือง<br />

“การลดเวลาการเปลียนใบมีดเครืองกะเทาะกะลา”<br />

มูลเหตุจูงใจและความเป็ นมา : ในสภาพปัจจุบัน (ก่อนการปรับปรุง), กระบวนการกะเทาะกะลาต้องสูญเสียเวลาในการลับ<br />

คมของใบมีดอยู ่ตลอดเวลาเพือให้การกะเทาะกะลานั<br />

นมีประสิทธิภาพในการกะเทาะ ทําให้กระบวนการผลิตต้องหยุดชะงัก<br />

ระหว่างการเปลียนใบมีด<br />

ซึ งในกระบวนการกะเทาะกะลานั นก็มีเครืองกะเทาะกะลาอยู<br />

่เป็ นจํานวนมาก ดังนั นถ้าสามารถ<br />

ปรับปรุงเพือลดเวลาการเปลียนใบมีดลงไปได้ก็จะสามารถเพิ<br />

มกําลังการผลิตทีกระบวนการกะเทาะกะลาได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

อย่างมาก ดังนั น ทีมงานจึงเลือกหัวข้อปัญหานี มาทําการศึกษาและปรับปรุงต่อไป


สภาพปัจจุบันและการตั งเป้ าหมาย : จากการศึกษาข้อมูลและสภาพการทํางานในปัจจุบันจะพบว่าปัจจุบันการเปลี ยนใบมีด<br />

เครืองกะเทาะกะลานั<br />

น จะสูญเสียเวลา 50 นาที/ครั ง โดยจะทําการเปลี ยนใบมีดกะละครั งหรือ 3 ครั ง/วัน ดังนั น ทางทีมงานจึง<br />

ได้ตั งเป้ าหมายโดยจะทําการลดเวลาการเปลี ยนใบมีดเครืองกะเทาะกะลาให้เหลือไม่เกิน<br />

42.5 นาที/ครั ง หรือลดลง 15%<br />

การวิเคราะห์ : จากการศึกษาขั นตอนและเวลาการทํางานในแต่ละขั นตอนในการเปลียนใบมีดเครืองกะเทาะกะลาทั<br />

งหมดใน<br />

สภาพการทํางานในปัจจุบัน (ก่อนการปรับปรุง) อย่างละเอียดโดยใช้เครืองมือทีเรียกว่า<br />

SMED มาประยุกต์ใช้ทําให้พบว่า มี<br />

ขั นตอนทั งหมด 27 ขั นตอน โดยใช้เวลาในการเปลี ยนใบมีด 50 นาที/ครั ง ซึ งจากการวิเคราะห์ขั นตอนในแต่ละขั นตอนก็จะ<br />

พบว่าแต่ละขั นตอนนั นเป็ นการปรับตั งภายในทั งสิน แต่ก็ยังสามารถทีจะทําการเปลียนจากการปรับตั<br />

งภายในให้เป็ นการปรับตั ง<br />

ภายนอกได้เหมือนกันแต่ต้องทําการ Kaizen อุปกรณ์เครืองมือบางอย่าง<br />

ดังนั น ทางทีมงานจึงได้ทําการปรับปรุงดังนี <br />

<br />

<br />

No.<br />

ขั นตอนการ Pm ถอดเปลียนชุดใบคัดเตอร์<br />

เครืองกะเทาะกะลา<br />

ขั นตอน เวลา<br />

1 ขันน็อตตัวแรกออก<br />

1 นาที<br />

2 ขันสกรูยึดแท่งเขียใยออก<br />

1 นาที<br />

3 ขยับแท่งเขี ยใยลงด้านล่าง<br />

30 วินาที<br />

4 จับประแจอีก 1 ตัวมาขันสกรูทียึดใบคัดเตอร์ออก<br />

1 นาที<br />

5 ขันสกรูยึดใบคัดเตอร์ทั ง 6 ตัวออก<br />

5 นาที<br />

6 ขันสกรูยึดชุดใบคัดเตอร์ 1 ตัวออก<br />

1 นาที<br />

7 จับสกรูยึดชุดใบคัดเตอร์ทีขันออกไปวางใว้<br />

30 วินาที<br />

8 ถอดใบคัดเตอร์ใบที 1 ออก<br />

30 วินาที<br />

9 ถอดชุดจับยึดใบคัดเตอร์ออก<br />

1 นาที<br />

10 ถอดใบคัดเตอร์ใบที 2 ออก<br />

30 วินาที<br />

11 เช็ดล้างทําความสะอาดใบคัดเตอร์ทีถอดออก<br />

5 นาที<br />

12 เช็ดล้างทําความสะอาดชุดจับใบคัดเตอร์ทีถอดออก<br />

3.30 วินาที<br />

13 เดินไปหยิบจับชุดใบคัดเตอร์ทีลับคมแล้วออกมา<br />

1 นาที<br />

14 คลายสกรูจับใบคัดเตอร์ทีลับคมแล้วออก<br />

2ตัว<br />

1 นาที<br />

<br />

<br />

<br />

No.<br />

ขั นตอน เวลา<br />

15 ใส่ใบคัดเตอร์ใบที 1<br />

30 วินาที<br />

16 ใส่ชุดประกบใบคัดเตอร์<br />

2 นาที<br />

17 ใส่ใบคัดเตอร์ใบที 2<br />

30 วินาที<br />

18 ใส่สกรูทั ง 6 ตัว<br />

1 นาที<br />

19 ขันยึดสกรูทั ง 6 ตัว<br />

5 นาที<br />

20 ขันยึดสกรูยึดชุดใบคัดเตอร์ 1 ตัว<br />

1 นาที<br />

21 ขันคลายสกรูแทงเขี ยใยออก<br />

1 นาที<br />

22 ขยับแท่งเขี ยใยขึ นพร้อมทั งขันสกรูยึด<br />

1 นาที<br />

23 เปิ ดเครืองพร้อมทั<br />

งตรวจเช็คระบบการทํางาน<br />

1 นาที<br />

24 ถอดฝาครอบมอเตอร์ออกโดยขันสกรูยึดทั ง 4ตัว<br />

2 นาที<br />

25 ล้างทําความสะอาดฝาครอบ<br />

5 นาที<br />

26 ทําความสะอาดมอเตอร์ขับใบคัดเตอร์ทั งหมด<br />

6 นาที<br />

27 ประกอบฝาครอบมอเตอร์<br />

30 วินาที<br />

รวม 50 นาที<br />

แนวทางการปรับปรุงที 1 : การปรับปรุงการปรับตั งภายใน (ต้องหยุดเครืองจักรในขณะทําการเปลี<br />

ยนใบมีด)ให้เปลียนไป<br />

เป็ นการปรับตั งภายนอก (ไม่ต้องหยุดเครื องจักรในขณะทําการเปลี ยนใบมีด) ซึ งก่อนการปรับปรุงนั นจะต้องถอดชุดใบมีดออก<br />

จากเครืองจักรทีละชินและก็นําใบมีดชุดใหม่ประกอบกลับเข้าไปกับเครื<br />

องจักรทีละชินอีกเช่นเดียวกัน ดังแสดงในรูปด้านล่าง<br />

เครืองกะเทาะกะลา<br />

ชุดใบมีด<br />

ก่อนการปรับปรุง


สําหรับหลังการปรับปรุงนั น เราจะสามารถการปรับปรุงการปรับตั งภายใน (ต้องหยุดเครืองจักรในขณะทําการเปลี<br />

ยนใบมีด)<br />

ตั งแต่ขั นตอนที<br />

4 – 19 จากตารางเวลาด้านบนให้เปลียนไปเป็<br />

นการปรับตั งภายนอก (ไม่ต้องหยุดเครื องจักรในขณะทําการ<br />

เปลียนใบมีด)<br />

โดยการจัดเตรียมชุดใบมีดไว้ก่อนล่วงหน้าดังรูปด้านล่าง ซึ งหลังจากถอดชุดใบมีดชุดเดิมออกมาจากเครื อง<br />

กะเทาะกะลา เราก็สามารถนําชุดใบมีดชุดใหม่ประกอบเข้ากับเครื องกะเทาะกะลาได้ในทันทีเลย<br />

ทํา Jig ยึดชุดใบมีด ชุดใบมีดชุดใหม่<br />

หลังการปรับปรุง<br />

สรุปผลการปรับปรุง : หลังจากทําการปรับปรุงตามแนวทางการปรับปรุงดังกล่าวข้างต้นแล้วทั งหมด และทําการเก็บข้อมูล<br />

หลังการปรับปรุง จะพบว่าเวลาในเปลียนใบมีดลดลง<br />

30 นาที/ครั ง หรือลดลงไป 60% โดยเหลือเพียง 20 นาที/ครั ง<br />

ซึ งทําให้ได้เนื อมะพร้าวขาวเพิ มขึ น 62,400 กิโลกรัม/ปี และสามารถลดต้นทุนลงได้ 2,496,000 บาทต่อปี<br />

สรุปผลการปรับปรุงทั งหมด :<br />

จากการให้คําปรึกษาแนะนําตลอดโครงการจะพบว่าผู้เข้าร่วมฝึ กอบรมให้ความร่วมมือเป็ นอย่างดีและมีความ<br />

กระตือรือร้นทีจะเรียนรู้อยู<br />

่ตลอดเวลา ตลอดจนการให้การสนับสนุนอย่างจริงจังของผู้บริหารระดับสูงทําให้ทีมงานสามารถที<br />

จะส่งมอบงานทีได้รับมอบหมายจากทีปรึกษาได้ตามกําหนดเวลา<br />

จนส่งผลทําให้สามารถที จะทําการปรับปรุงได้ทั งหมด 18<br />

หัวข้อ และทําให้สามารถลดต้นทุนการผลิตลงได้ทั งสิน 299,048,280 บาท/ปี ดังรายละเอียดในตารางด้านล่าง


No Lean Project ฝ่ าย รายชือ<br />

เครืองมือ<br />

1 ลดเวลาในการล้ างเครืองจักรไลน์ห้องคั<br />

น ผลิต นายไกรวุฒิ หลักคํา SMED<br />

2 ลดเวลาในการล้ างเครืองจักรไลน์<br />

UHT ผลิต นายไกรวุฒิ หลักคํา SMED<br />

3 ลดการใช้กระบะเหลืองใส่มะพร้าวดํา ผลิต นายไกรวุฒิ หลักคํา SMED<br />

4 ลดเวลาการรับสินค้าของรถขนส่งช่วง คลังสินค้าและจัดส่ง นายคําพันธ์ ขันทะหัตถ์ Leveling/Kanban<br />

5 ลดเวลาการรับสินค้าของรถ TCC คลังสินค้าและจัดส่ง นายคําพันธ์ ขันทะหัตถ์ Leveling/Kanban<br />

6 ลดเวลาการจ่ายวัตถุดิบเข้าไลน์ผลิต คลังสินค้าและจัดส่ง นายคําพันธ์ ขันทะหัตถ์ Kanban<br />

7 ลดเวลาการเปลี ยนใบมีดเครืองกระเทาะกะลา<br />

(PM) วิศวกรรม นายจําลอง พึงประยูร<br />

SMED<br />

8 ลดเวลา setup เครืองมือสอบเทียบ<br />

ประกันคุณภาพ น.ส.ขนิษฐา เลิกชัยภูมิ SMED<br />

9 ลดต้นทุนการผสมสารกลุ ่มทีมีนํ<br />

าตาลเป็ น carrier วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ น.ส.วรรณี จตุรจําเริญชัย Value Analysis(VA),<br />

Batch size reduction<br />

10 ลดระยะเวลาการตรวจสอบวัตถุดิบ ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ น.ส.นพลักษณ์ ไกรวาสชัยวงษ์ Batch size reduction/<br />

Process Flow Anaiysis<br />

11 โปรแกรม e-office (ลดเวลางานซ่อมสร้างในด้านเอกสาร) เทคโนโลยีสารสนเทศ นายกฤษฎา โสภา Lean Office (IT)<br />

12 เพิมประสิทธิภาพในกระบวนการพยากรณ์ยอดขาย<br />

การตลาด นายกฤษฎา โสภา QC Problem solving<br />

13 ลดระยะเวลาการจัดการของเสีย สิงแวดล้<br />

อมและความปลอดภัย น.ส.กรณ์กณิศ แสงดี Process Flow Anaiysis<br />

14 ลดเวลากระบวนการแก้ไขและป้ องกัน บริหารระบบคุณภาพ น.ส.ชุติเนตร บัวเผือน<br />

St<strong>and</strong>ardized Work<br />

15 ลดเวลาในการอนุมัติใบลา ทรัพยากรบุคคล น.ส.ชุติเนตร บัวเผือน<br />

Process Flow Anaiysis<br />

16 ลดของเสียจากการรับคืนสินค้า ขายในประเทศ นายสนทยา วระวงษ์ QC Problem solving<br />

17 ลดเวลาการเก็บหนี บัญชีและการเงิน นางสุมาลี บัวขาว Process Flow Anaiysis<br />

18 ลดเวลาในการเปิ ด P/O จัดซื อ นางสุมาลี บัวขาว Process Flow Anaiysis<br />

บทสรุปผุ ้บริหารในการเข้าร่วมโครงการ การเพิมประสิทธิภาพการผลิตเพือมุ<br />

่งสู ่มาตรฐานการผลิตแบบ Lean<br />

(Lean Manufacturing St<strong>and</strong>ard)<br />

บริษัท อําพลฟูดส์โพรเซสซิ ง จํากัด เป็ นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหาร จากวัตถุดิบทางการเกษตร เช่น กะทิสําเร็จรูป ตรา<br />

ชาวเกาะ เครืองดืมเพือสุขภาพ<br />

นํ านมข้าวกล้อง ตราวีฟิ ทนํ าแกงพร้อมปรุง ตรารอยไทย เครืองปรุงรสเพือสุขภาพ<br />

ตรา กู ๊ดไรท์<br />

ในปัจจุบัน บริษัทฯ ประสบปัญหาทางด้านวัตถุดิบทางการเกษตรขาดแคลน ราคาเพิ มสูงขึ นมาก และต้นทุนด้านแรงงานมี<br />

แนวโน้มปรับตัวสูงขึ นอย่างรวดเร็ว และในขณะเดียวกันตลาดก็มีการแข่งขันอย่างรุนแรง ทําให้บริษัทฯ ไม่สามารถปรับราคา<br />

สินค้าได้ตามต้นทุนทีเพิ<br />

มขึ น บริษัทฯ จึงจําเป็ นต้องปรับตัวให้สามารถรองรับการแข่งขันของตลาดได้ ด้วยการลดต้นทุน และ<br />

เพิมประสิทธิภาพในดําเนินงาน<br />

บริษัทฯ มีการนําระบบ และเครืองมือการจัดการต่างๆ<br />

เข้ามาประยุกต์ใช้ เช่น 5s Kaizen QCC TPM ISO <strong>90</strong>01 ISO<br />

14001 ISO 22000 ฯลฯ ทําให้บริษัทฯ สามารถลดต้นทุนการผลิต และเพิ มประสิทธิภาพในการทํางานได้ และทางบริษัทฯ มีการ<br />

พัฒนาอย่างต่อเนื อง ดังนั นในปี นี บริษัทฯ มีความสนใจที จะนําแนวความคิดแบบ Lean เข้ามาประยุกต์ใช้ ขึงได้เข้าร่วม<br />

โครงการฯ กับสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี ปุ ่ น (สสท.)<br />

จากการเข้าร่วมโครงการฯ ทําให้บริษัทฯ มีการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้เกี ยวกับแนวคิดของ Lean และการนําไป<br />

ประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง ซึ งทําให้บริษัทฯ สามารถลดต้นทุน และเพิ มประสิทธิภาพการผลิต โดยการลดระยะเวลาการทํางาน<br />

ลดขั นตอนทีสูญเปล่า<br />

ลดของเสียจากการดําเนินงาน เป็ นต้น ถึงแม้ระยะเวลาในการดําเนินงานของการเข้าร่วมโครงการเป็ น<br />

เพียงระยะสั น แต่ผลทีได้รับก็เป็<br />

นรูปธรรมทีชัดเจน<br />

และสามารถนําแนวคิดไปขยายผลต่อไปได้ ทําให้บริษัทฯ เกิดการเรียนรู้<br />

และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื อง ซึ งเป็ นสิ งสําคัญในการดําเนินธุรกิจในสถานการณ์ปัจจุบัน และทีจะดําเนินต่อไปในอนาคต

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!