12.07.2015 Views

From Bed Bath to Best Practice : เลิกบุหรี่เพื่อชีวีเป็นสุข

From Bed Bath to Best Practice : เลิกบุหรี่เพื่อชีวีเป็นสุข

From Bed Bath to Best Practice : เลิกบุหรี่เพื่อชีวีเป็นสุข

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม-ธันวาคม 2551วารสารพยาบาลศิริราช49อยางตอเนื่องในแตละป รอยละ 50 ของคนที่เคยสูบบุหรี่เคยลองหยุด สวนมากของผูที่หยุดไดตองใชความพยายามหลายครั้งกวาจะสําเร็จ และโปรแกรมการอดบุหรี่ที่ดีสามารถชวยเพิ่มโอกาสหยุดสูบบุหรี่ถึงรอยละ20-40 เทียบไดวาการใชกระบวนการพยาบาลเปนโปรแกรมอดบุหรี่อยางหนึ่งที่มีประสิทธิภาพ (กรองจิตวาทีสาธกกิจ, 2549) และจากการศึกษาของ Moller A.et al. (2002) ประเทศเดนมารก ไดศึกษาการสูบบุหรี่กับภาวะแทรกซอนหลังผาตัดพบวา คนที่สูบบุหรี่มีภาวะเสี่ยงสูงตอการเกิดภาวะแทรกซอนทางหัวใจปอด และบาดแผล ภายหลังผาตัดมากกวาคนที่ไมสูบบุหรี่ โดยอัตราการเกิดภาวะแทรกซอนในกลุมทดลองที่เลิกบุหรี่รอยละ18 และกลุมควบคุมรอยละ 52 การเกิดภาวะแทรกซอนของแผลพบรอยละ 5 ในคนที่เลิกสูบ ขณะที่คนสูบบุหรี่มีภาวะแทรกซอนของแผลรอยละ15 ภาวะแทรกซอนของหลอดเลือดหัวใจไมมีเลยในคนเลิกสูบบุหรี่ ขณะที่คนสูบบุหรี่มีความเสี่ยงรอยละ 10คาเฉลี่ยระยะเวลาที่อยูโรงพยาบาล 11 วัน (7-55 วัน)ในกลุมเลิกบุหรี่ และ 13 วัน (8-65 วัน) ในกลุมสูบบุหรี่(ผองศรี ศรีมรกต, 2550) ผูจัดทําโครงการและคณะฯซึ่งปฏิบัติงานในหอผูปวยศัลยศาสตรและศัลยศาสตร-ออรโธปดิกสพบวา ผูปวยที่มีประวัติสูบบุหรี่จะใชเวลาในการฟนฟูสภาพรางกายคอนขางนาน แผลหายชาและอาจเกิดภาวะแทรกซอนเชน ปอดติดเชื้อ ปอดแฟบ ทําใหเกิดความเครียดหงุดหงิดเบื่อหนายที่นอนโรงพยาบาลนาน ดังนั้นจึงไดจัดทําโครงการเลิกบุหรี่เพื่อชีวีเปนสุขขึ้น เพื่อชวยใหผูปวยลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ โดยผสมผสานเขาเปนสวนหนึ่งของแผนการใหสุขศึกษา ในการเตรียมผูปวยในระยะกอนและหลังผาตัด พรอมทั้งติดตามประเมินผลและเสริมกําลังใจใหผูปวยสามารถเลิกบุหรี่ได และสามารถเลิกไดอยางตอเนื่องวัตถุประสงค1. เพื่อใหผูปวยเลิกสูบบุหรี่2. เพื่อใหผูปวยลดจํานวนการสูบบุหรี่เปาหมายผูปวยเลิกสูบบุหรี่ > รอยละ 50 หรือ ลดจํานวนการสูบบุหรี่ > รอยละ 50เครื่องชี้วัดอัตราผูปวยเลิกสูบบุหรี่ > รอยละ 50 หรือ ลดอัตราจํานวนการสูบบุหรี่ > รอยละ 50ระยะเวลาดําเนินการวันที่ 1 เดือนกันยายน 2550 – วันที่ 30 เดือนมิถุนายน 2551การดําเนินงาน1.ขั้นตอนการวางแผน1.1 รวบรวมบุคลากรของงานการพยาบาลศัลยศาสตรและศัลยศาสตรออรโธปดิกสที่ผานการอบรมเครือขายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบ1.2 ประชุมและระดมสมองบุคลากรที่ผานการอบรมเพื่อศึกษาปญหา ขอมูลพื้นฐานของผูปวยที่มีประวัติการสูบบุหรี่ แลวนํามาวิเคราะหสาเหตุและหาแนวทางการแกไข1.3 ประสานงานกับแพทยในหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อใหทราบวัตถุประสงคและวิธีปฏิบัติกิจกรรม1.4 แจงใหบุคลากรทราบถึงวัตถุประสงคของการดําเนินงาน รวมทั้งวิธีปฏิบัติกิจกรรม1.5 จัดประชุมใหความรูแกบุคลากรในหนวยงานเกี่ยวกับวิธีการชวยใหผูปวยเลิกสูบบุหรี่1.6 สรางแบบบันทึกและรูปแบบวิธีการดําเนินกิจกรรมเลิกบุหรี่เพื่อชีวีเปนสุข

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!