12.07.2015 Views

From Bed Bath to Best Practice : เลิกบุหรี่เพื่อชีวีเป็นสุข

From Bed Bath to Best Practice : เลิกบุหรี่เพื่อชีวีเป็นสุข

From Bed Bath to Best Practice : เลิกบุหรี่เพื่อชีวีเป็นสุข

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

48Vol.2 No. 2 July-December 2008Siriraj Nursing Journal<strong>From</strong> <strong>Bed</strong> <strong>Bath</strong> <strong>to</strong> <strong>Best</strong> <strong>Practice</strong>เลิกบุหรี่เพื่อชีวีเปนสุข*จงจิต หงษเจริญ**, วท.ม.เสาวภา อินผา***, วท.ม.* ไดรับทุนสนับสนุนจากเครือขายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบสมาคมพยาบาลแหงประเทศไทย** พยาบาล ระดับ 6 และหัวหนาหอผูปวยเฉลิมพระเกียรติ 11*** พยาบาลวิชาชีพ 6 หอผูปวยสลากกินแบง 5งานการพยาบาลศัลยศาสตรและศัลยศาสตรออรโธปดิกสฝายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราชการสูบบุหรี่เปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญปญหาหนึ่ง คนจํานวนมากสูบบุหรี่และตองสูญเสียคาใชจายจํานวนมาก เมื่อเปรียบเทียบระหวางคาใชจายในการสูบบุหรี่กับรายรับจากการจัดเก็บภาษีพบวาคาใชจายสูงกวา ดวยเหตุนี้การรณรงคดานสุขภาพทั่วโลกจึงมีนโยบายการควบคุมการบริโภคยาสูบ เนื่องจากเปนปจจัยเสี่ยงกอใหเกิดโรครายที่สามารถปองกันได เชน โรคถุงลมโปงพอง โรคระบบหลอดเลือดและหัวใจ และโรคมะเร็งหลายชนิดปจจุบันโรคหัวใจวายเปนสาเหตุการเสียชีวิตสูงอันดับสามในคนไทย โดยสวนใหญเปนเสนเลือดหัวใจตีบ ซึ่งเปนผลจากการสูบบุหรี่ นอกจากนี้หากเกิดกับเสนเลือดที่ไปเลี้ยงสมองก็จะทําใหสมองขาดออกซิเจนเปนผลใหสมองเสื่อมสภาพและนําไปสูการเปนอัมพฤกษอัมพาต หากเกิดกับเสนเลือดที่แขนขาอาจนําไปสูการเนาของแขนขาถึงกับตองตัดขาได พยาบาลในฐานะที่เปนบุคลากรสวนใหญในวิชาชีพสุขภาพนับวามีสวนสําคัญในการรณรงคและสงเสริมใหประชาชนเลิกสูบบุหรี่ การถามประวัติการสูบบุหรี่ของผูรับบริการและครอบครัว และการสงเสริมใหความมั่นใจรวมทั้งวิธีการเลิกหรือสรางแรงจูงใจในการเลิกบุหรี่แกผูสูบบุหรี่ตามระยะความตองการการเลิกของเขา เปนการชวยใหเลิกสูบบุหรี่และปองกันการกลับมาสูบอีกพยาบาลมีบทบาทในการปองกันการสูบบุหรี่และชวยใหคนเลิกสูบบุหรี่ได จากการสํารวจของมหาวิทยาลัยจอหนฮอบกินส พบวา รอยละ 70 ของผูสูบบุหรี่ที่ตองการหยุดสูบ รอยละ 35 หยุดสูบอยางนอยปละ 1 วัน นอยกวารอยละ 10 ที่สามารถหยุดไดจงจิต หงษเจริญ และเสาวภา อินผา


ปที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม-ธันวาคม 2551วารสารพยาบาลศิริราช49อยางตอเนื่องในแตละป รอยละ 50 ของคนที่เคยสูบบุหรี่เคยลองหยุด สวนมากของผูที่หยุดไดตองใชความพยายามหลายครั้งกวาจะสําเร็จ และโปรแกรมการอดบุหรี่ที่ดีสามารถชวยเพิ่มโอกาสหยุดสูบบุหรี่ถึงรอยละ20-40 เทียบไดวาการใชกระบวนการพยาบาลเปนโปรแกรมอดบุหรี่อยางหนึ่งที่มีประสิทธิภาพ (กรองจิตวาทีสาธกกิจ, 2549) และจากการศึกษาของ Moller A.et al. (2002) ประเทศเดนมารก ไดศึกษาการสูบบุหรี่กับภาวะแทรกซอนหลังผาตัดพบวา คนที่สูบบุหรี่มีภาวะเสี่ยงสูงตอการเกิดภาวะแทรกซอนทางหัวใจปอด และบาดแผล ภายหลังผาตัดมากกวาคนที่ไมสูบบุหรี่ โดยอัตราการเกิดภาวะแทรกซอนในกลุมทดลองที่เลิกบุหรี่รอยละ18 และกลุมควบคุมรอยละ 52 การเกิดภาวะแทรกซอนของแผลพบรอยละ 5 ในคนที่เลิกสูบ ขณะที่คนสูบบุหรี่มีภาวะแทรกซอนของแผลรอยละ15 ภาวะแทรกซอนของหลอดเลือดหัวใจไมมีเลยในคนเลิกสูบบุหรี่ ขณะที่คนสูบบุหรี่มีความเสี่ยงรอยละ 10คาเฉลี่ยระยะเวลาที่อยูโรงพยาบาล 11 วัน (7-55 วัน)ในกลุมเลิกบุหรี่ และ 13 วัน (8-65 วัน) ในกลุมสูบบุหรี่(ผองศรี ศรีมรกต, 2550) ผูจัดทําโครงการและคณะฯซึ่งปฏิบัติงานในหอผูปวยศัลยศาสตรและศัลยศาสตร-ออรโธปดิกสพบวา ผูปวยที่มีประวัติสูบบุหรี่จะใชเวลาในการฟนฟูสภาพรางกายคอนขางนาน แผลหายชาและอาจเกิดภาวะแทรกซอนเชน ปอดติดเชื้อ ปอดแฟบ ทําใหเกิดความเครียดหงุดหงิดเบื่อหนายที่นอนโรงพยาบาลนาน ดังนั้นจึงไดจัดทําโครงการเลิกบุหรี่เพื่อชีวีเปนสุขขึ้น เพื่อชวยใหผูปวยลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ โดยผสมผสานเขาเปนสวนหนึ่งของแผนการใหสุขศึกษา ในการเตรียมผูปวยในระยะกอนและหลังผาตัด พรอมทั้งติดตามประเมินผลและเสริมกําลังใจใหผูปวยสามารถเลิกบุหรี่ได และสามารถเลิกไดอยางตอเนื่องวัตถุประสงค1. เพื่อใหผูปวยเลิกสูบบุหรี่2. เพื่อใหผูปวยลดจํานวนการสูบบุหรี่เปาหมายผูปวยเลิกสูบบุหรี่ > รอยละ 50 หรือ ลดจํานวนการสูบบุหรี่ > รอยละ 50เครื่องชี้วัดอัตราผูปวยเลิกสูบบุหรี่ > รอยละ 50 หรือ ลดอัตราจํานวนการสูบบุหรี่ > รอยละ 50ระยะเวลาดําเนินการวันที่ 1 เดือนกันยายน 2550 – วันที่ 30 เดือนมิถุนายน 2551การดําเนินงาน1.ขั้นตอนการวางแผน1.1 รวบรวมบุคลากรของงานการพยาบาลศัลยศาสตรและศัลยศาสตรออรโธปดิกสที่ผานการอบรมเครือขายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบ1.2 ประชุมและระดมสมองบุคลากรที่ผานการอบรมเพื่อศึกษาปญหา ขอมูลพื้นฐานของผูปวยที่มีประวัติการสูบบุหรี่ แลวนํามาวิเคราะหสาเหตุและหาแนวทางการแกไข1.3 ประสานงานกับแพทยในหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อใหทราบวัตถุประสงคและวิธีปฏิบัติกิจกรรม1.4 แจงใหบุคลากรทราบถึงวัตถุประสงคของการดําเนินงาน รวมทั้งวิธีปฏิบัติกิจกรรม1.5 จัดประชุมใหความรูแกบุคลากรในหนวยงานเกี่ยวกับวิธีการชวยใหผูปวยเลิกสูบบุหรี่1.6 สรางแบบบันทึกและรูปแบบวิธีการดําเนินกิจกรรมเลิกบุหรี่เพื่อชีวีเปนสุข


50Vol.2 No. 2 July-December 2008Siriraj Nursing Journal2. ขั้นตอนการลงมือปฏิบัติ2.1 สํารวจและคัดเลือกกลุมเปาหมายโดยดูจากการซักประวัติผูปวยตามแบบประเมินผูปวยเมื่อแรกรับที่มีประวัติการสูบบุหรี่2.2 ใชหลัก 5A ในการชวยใหเลิกบุหรี่ (กรองจิตวาทีสาธกกิจ, 2550)A1 = Ask ถามเกี่ยวกับสถานภาพการสูบบุหรี่เพื่อจําแนกกลุมผูปวยและสภาวะการสูบบุหรี่A2 = Advice แนะนําเพื่อกระตุนใหตัดสินใจเลิกบุหรี่A3 = Assess ประเมินวาผูปวยมีความพรอมที่จะเลิกสูบบุหรี่หรือไม และสามารถเลิกบุหรี่ดวยวิธีการใด โดยพิจารณาจากประวัติความพยายามเลิกบุหรี่ ซึ่งเปนการประเมินความตั้งใจในการเลิกบุหรี่A4 = Assist การชวยใหเลิกสูบบุหรี่โดยอธิบายวิธีการเลิกบุหรี่ที่เหมาะสมกับระยะความตองการเลิกและระดับการติดนิโคติน เพื่อใหความพยายามเลิกบุหรี่เกิดขึ้นและมอบการดโครงการเพื่อเสริมกําลังใจใหสามารถเลิกบุหรี่ได และนําไปสูความสําเร็จในการเลิกสูบบุหรี่อยางตอเนื่องและยาวนานที่สุดA5 = Arrange การวางแผนติดตามเนื่องจากการอดบุหรี่จะมีอาการขาดนิโคตินมากในชวง3-7 วันแรก การวางแผนติดตามที่ดีจะชวยเพิ่มแรงจูงใจใหเลิกตอไปไดอยางถาวรในที่สุด การติดตามจึงเปนหัวใจสําคัญของการชวยใหเลิกไดอยางถาวร2.3 ใหความรูเกี่ยวกับโทษและพิษภัยของบุหรี่รวมทั้งวิธีปฏิบัติตนเพื่อเลิกสูบบุหรี่และเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับผูปวยแตละราย ซึ่งผูรับผิดชอบผูปวยในทีมที่ไดรับมอบหมายเปนผูใหขอมูลและดําเนินกิจกรรมตามวิธีปฏิบัติ โดยมีการประยุกตใชแนวคิดทฤษฏี Stage of change Model ซึ่งมีดวยกัน 5 ระยะดังนี้ (กรองจิต วาทีสาธกกิจ, 2550)1. Precontemplation หมายถึง ระยะนี้ยังไมตระหนักหรือยังไมเต็มใจที่จะเปลี่ยนแปลง ไมมีความคิดที่จะเลิกบุหรี่ในระยะ 6 เดือนขางหนานี้เปาหมาย เพื่อชวยใหผูสูบบุหรี่เริ่มตนคิดอยางจริงจังเกี่ยวกับการเลิกสูบบุหรี่กิจกรรม ซักถามเกี่ยวกับความรูสึกจากการสูบบุหรี่ ตลอดจนผลไดผลเสียที่เกิดจากการสูบบุหรี่และแนะนําใหพิจารณาเลิกบุหรี่ดวยการแจกเอกสารขอมูลและเสนอใหความชวยเหลือ2. Contemplation หมายถึง ระยะที่มีความลังเล ไมแนใจ แตคิดเกี่ยวกับการเลิกบุหรี่ภายใน 1เดือนเปาหมาย เพื่อชวยใหผูสูบบุหรี่ปรับเปลี่ยนจากการยังไมตัดสินใจมาเปนตัดสินใจเขารับการบําบัดเพื่อการเลิกบุหรี่ และชวยเสริมใหผูเลิกบุหรี่มีความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้นกิจกรรม ซักถามเกี่ยวกับผลดี และผลเสียเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ตอเนื่อง และการเลิกบุหรี่ พูดคุยเกี่ยวกับความไมแนใจ ลังเลวาเกิดจากเหตุผลใดเสนอใหความชวยเหลือโดยเสริมกําลังใจใหยอมรับเหตุผลดานการเปลี่ยนแปลง และสํารวจแนวทางใหมๆ ตั้งขอสังเกตวาจะคอยๆลดลง หรือกําหนดวันเลิกบุหรี่ใหชัดเจน การชวยเหลือโดยการเสนอการเยี่ยมเยียนเพื่อติดตาม และใหขอมูลเพิ่มเติม3. Preparation หมายถึง ระยะนี้มีความพรอมที่จะเลิกบุหรี่ภายใน 30 วันขางหนานี้ มีกําหนดเวลาเลิกบุหรี่สําหรับตนเองแลว และสามารถระบุไดวาจะเลิกบุหรี่ไดภายใน 24 ชั่วโมง ใหยาวนานตอเนื่องอยางนอย 12 เดือนจงจิต หงษเจริญ และเสาวภา อินผา


ปที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม-ธันวาคม 2551วารสารพยาบาลศิริราช51เปาหมาย เพื่อชวยใหผูสูบบุหรี่เตรียมพรอมกับการเลิกบุหรี่ และคาดการณกําหนดวันเลิกบุหรี่และผลเชิงบวกจากการเลิกบุหรี่กิจกรรม ซักถามเกี่ยวกับสิ่งที่เปนกังวลการเตรียมตัวเลิก และประสบการณที่เคยเลิกบุหรี่มากอน แนะนําใหทบทวนอุปสรรคที่คาดวาจะเกิดขึ้นและเตรียมการแกไขอุปสรรคนั้นๆ และเสนอการชวยเหลือโดยแจกคูมือ สมุดบันทึก แผนการเลิกที่จะทําหรือการใชสารทดแทนนิโคติน กําหนดวันเวลาที่เลิกชัดเจน4. Action หมายถึง ระยะนี้พรอมเลิกบุหรี่ภายใน 6 เดือนนี้ และมีสวนรวมอยางกระตือรือรนในการพัฒนาทักษะที่จําเปนตามแผนการเลิกบุหรี่เปาหมาย เพื่อชวยผูเลิกบุหรี่ใหเลิกบุหรี่ไดอยางตอเนื่องและปองกันการหวนกลับไปสูบบุหรี่ใหมกิจกรรม ซักถามถึงสิ่งที่ผูเลิกบุหรี่ตองการทําเพื่อปองกันการหวนกลับไปสูบบุหรี่ใหม การดํารงสภาพไมสูบบุหรี่ใหตอเนื่องและยาวนานที่สุด ดวยวิธีการตางๆ ซึ่งอาจรวมไปถึงการใชยาชวยดวยนอกจากนี้ยังตองย้ําการแนะนําใหเลิกบุหรี่ และเตรียมหาแนวทางปองกันการหวนกลับไปสูบบุหรี่ใหมน้ําหนักตัวที่จะเพิ่มมากขึ้นหรือสิ่งรบกวนตางๆ พรอมทั้งเสนอใหความชวยเหลือเพื่อเสริมความสําเร็จสงเสริมการใหรางวัลกับตัวเอง และเพิ่มแรงสนับสนุนใหกับตัวเอง เมื่อแกไขปญหานี้ได5. Maintenance หมายถึง ระยะนี้เลิกบุหรี่ไดอยางตอเนื่องนานเกิน 6 เดือนมาแลว สามารถผสมผสานการดํารงชีวิตอยูในสิ่งแวดลอมที่ปลอดบุหรี่ไดแลวเปาหมาย เพื่อชวยใหผูเลิกสูบบุหรี่ดํารงสภาพการไมสูบบุหรี่ใหเปนสวนหนึ่งในการดํารงชีวิตประจําวันกิจกรรม ซักถามเกี่ยวกับสิ่งที่ตั้งใจกระทําในสถานการณเสี่ยงที่จะทําใหหวนกลับไปสูบใหม และใหการชวยเหลือโดยตั้งขอสังเกตชวงเวลาที่อาจประสบความยุงยากทั้งความคิด ความรูสึก และพฤติกรรมการแสดงการชื่นชมยินดีที่เลิกบุหรี่ไดตอเนื่องยาวนานและสามารถเอาชนะ ทําใหผานพนอาการไมสุขสบายจากการถอนนิโคตินได2.4 มีการบันทึกขอมูลลงในแบบบันทึกกิจกรรมการชวยใหผูปวยเลิกบุหรี่และบันทึกลงในบันทึกความกานหนาทางการพยาบาล รวมทั้งมีการติดตามประเมินผลอยางตอเนื่อง3. ผลการดําเนินงานติดตามประเมินผลภายหลังเขารวมโครงการโดยการโทรศัพทซักถามขอมูลหลังจากผูปวยจําหนายออกจากโรงพยาบาล (แบบติดตามประเมินผลการเลิกสูบบุหรี่ ภายหลังผูปวยจําหนายออกจากโรงพยาบาล)ผลของการดําเนินการ แยกตามหอผูปวย ไดดังนี้หอผูปวย 72/7 ชายใต มีผูปวยที่มีประวัติสูบบุหรี่ทั้งหมด 101 ราย สามารถเลิกสูบบุหรี่ได 81 รายคิดเปนรอยละ 80.1 และไมมีผูปวยที่สามารถลดจํานวนการสูบบุหรี่ได โดยจําแนกลักษณะการเจ็บปวยพบวากลุมโรคเรื้อรังที่รักษาไมหายขาดไดแก โรคมะเร็ง โรคระบบหลอดเลือด มีผูปวยที่สูบบุหรี่จํานวน 50 ราย สามารถเลิกสูบบุหรี่ไดอยางเด็ดขาด คิดเปนรอยละ 100 กลุมโรคฉุกเฉินมีผูปวยที่สูบบุหรี่จํานวน 31 ราย สามารถเลิกสูบบุหรี่ไดจํานวน 22 ราย คิดเปนรอยละ 70.9 และกลุมโรคไมฉุกเฉินมีผูปวยที่สูบบุหรี่จํานวน 20 ราย สามารถเลิกสูบบุหรี่ไดจํานวน 9 ราย คิดเปนรอยละ 45 ดังนั้นจะเลิกบุหรี่เพื่อชีวีเปนสุข


52Vol.2 No. 2 July-December 2008Siriraj Nursing Journalพบวาผูปวยกลุมโรคเรื้อรังจะไดรับความสําเร็จในการเลิกสูบบุหรี่และไมหวนกลับไปสูบบุหรี่ใหมอีก ทั้งนี้เนื่องจากโรคที่เปนสวนใหญมีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่ทั้งสิ้น ผูปวยไดเห็นกรณีตัวอยางความรุนแรงของโรค ระยะเวลาที่ผูปวยอยูโรงพยาบาลนาน พยาบาลมีโอกาสใหความรูความเขาใจในเรื่องพิษภัยบุหรี่ การเสริมกําลังใจ และไดกําลังใจจากญาติพี่นอง ทําใหผูปวยมีแรงผลักดันและมุงมั่นที่จะเลิกบุหรี่สวนลักษณะการเจ็บปวยกลุมโรคฉุกเฉินและไมฉุกเฉินสวนใหญไมสามารถเลิกสูบบุหรี่ได อาจเนื่องมาจากโรคที่เปนไมไดมีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่ทําใหไมเห็นความสําคัญ และระยะเวลาที่อยูโรงพยาบาลคอนขางนอย ทําใหพยาบาลมีโอกาสใหขอมูลเรื่องพิษภัยบุหรี่ การเสริมกําลังใจกับผูปวยและญาติ คอนขางนอย และทําใหผูปวยหวนกลับไปสูบบุหรี่ใหมอีกตารางที่ 1 จํานวนผูปวยที่เลิก / ลดจํานวนการสูบบุหรี่ลักษณะการเจ็บปวยจํานวนผูปวยที่เลิก/ลดจํานวนการสูบบุหรี่ (จํานวนผูปวยทั้งหมด)พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.เลิก ลด เลิก ลด เลิก ลด เลิก ลด เลิก ลด เลิก ลด เลิก ลด เลิก ลด เลิก ลดโรคระบบกระดูก 1(6)3(6)1(4)2(4)1(6)4(6)0(5)4(5)1(2)1(2)2(2)0(2)0(2)2(2)0(2)2(2)0(3)3(3)Chronic Case(โรคมะเร็งและระบบหลอดเลือด)8(8)- 4(4)- 7(7)- 8(8)- 5(5)- 3(3)- 5(5)- 4(4)- 6(6)-Emergency Case(เชน ไสติ่งอักเสบกระเพาะทะลุ)Non - EmergencyCase (เชน ไสเลื่อนนิ่ว)6(7)- 3(5)- - 1(1)- 1(2)- 2(4)- - - 1(3)- 6(8)- 1(2)- 2(3)- 4(6)- 2(3)- 0(3)- 0(1)- 0(2)- 0(2)- 2(3)--จงจิต หงษเจริญ และเสาวภา อินผา


ปที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม-ธันวาคม 2551วารสารพยาบาลศิริราช53หอผูปวยสลากกินแบง 5 มีผูปวยที่มีประวัติสูบบุหรี่ทั้งหมด 32 ราย สามารถเลิกสูบบุหรี่ได 11ราย คิดเปนรอยละ 34.4 และสามารถลดจํานวนการสูบบุหรี่ได 18 ราย คิดเปนรอยละ 56.3 แตพบวามีรอยละ9.3 ที่ไมสามารถเลิกและลดจํานวนการสูบบุหรี่ไดเลยซึ่งอาจเปนเพราะวาผูปวยสวนใหญเปนวัยรุนและวัยผูใหญรอยละ 90 และเจ็บปวยจากโรคอื่นที่ไมใชผลจากการสูบบุหรี่ ทําใหไมเห็นความสําคัญของการเลิกสูบบุหรี่และไมสามารถเลิกหรือลดการสูบบุหรี่ได อีกทั้งบุคลากรบางคนยังขาดทักษะและประสบการณในการใหขอมูลเพื่อใหผูปวยเลิกบุหรี่ และผูปวยบางรายมีระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาลนอยทําใหการประเมินและการใหขอมูลเพื่อเลิกบุหรี่ยังไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร4. การสรางมาตรฐานในหนวยงานภายหลังไดผลตามเปาหมาย จึงกําหนดมาตรฐานการดําเนินงานและปฏิบัติงานตามมาตรฐานดังนี้4.1 หนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก หอผูปวยในงานการพยาบาลศัลยศาสตรและศัลยศาสตรออรโธ-ปดิกส4.2 สามารถนําแนวทางปฏิบัติในการชวยใหผูปวยเลิกบุหรี่มาใชในหนวยงานที่มีลักษณะคลายคลึงกันได โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้4.2.1 สํารวจและคัดเลือกกลุมเปาหมายโดยดูจากการซักประวัติผูปวยตามแบบประเมินผูปวยเมื่อแรกรับที่มีประวัติการสูบบุหรี่4.2.2 ใชหลัก 5 A ในการชวยใหเลิกบุหรี่A1 = Ask ถามเกี่ยวกับสถานภาพการสูบบุหรี่A2 = Advice แนะนําเพื่อกระตุนใหตัดสินใจเลิกบุหรี่A3 = Assess ประเมินวาผูปวยมีความพรอมที่จะเลิกสูบบุหรี่หรือไมA4 = Assist การชวยใหเลิกสูบบุหรี่A5 = Arrange การวางแผนติดตาม4.2.3 ใหความรูเกี่ยวกับโทษและพิษภัยของบุหรี่ รวมทั้งวิธีปฏิบัติตนเพื่อเลิกสูบบุหรี่และเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับผูปวยแตละราย โดยมีการประยุกตใชแนวคิดทฤษฏี Stage of change Model4.2.4 มอบการดโครงการเลิกบุหรี่เพื่อชีวีเปนสุขใหกับผูปวย เพื่อใหผูปวยมีความมุงมั่นและมีความตั้งใจที่จะเลิกบุหรี่เพื่อตัวเองและคนที่เขารัก โดยใหเขียนคํามั่นสัญญาภายในการดวาตัวผูปวยนั้นมีความตั้งใจที่จะเลิกสูบบุหรี่แนนอนและใหเขียนเหตุผลวาเพื่อใครและเพื่ออะไร4.2.5 มีการบันทึกขอมูลลงในแบบบันทึกกิจกรรมการชวยใหผูปวยเลิกบุหรี่ และบันทึกลงในบันทึกความกาวหนาทางการพยาบาล รวมทั้งมีการติดตามประเมินผลอยางตอเนื่อง4.2.6 ติดตามประเมินผลภายหลังเขารวมโครงการ โดยการโทรศัพทซักถามขอมูล หลังจากผูปวยจําหนายออกจากโรงพยาบาลขอเสนอแนะ1. ควรใหบุคลากรทุกคนไดรับการอบรม การพัฒนาศักยภาพพยาบาลในการควบคุมการบริโภคยาสูบ เพื่อใหมีความตระหนัก ความเปนผูรอบรู และทักษะ ทั้งนี้เพื่อใหขอมูลแกผูปวยและญาติอยางมีประสิทธิภาพ2. การประเมินอยางมีขั้นตอนและครอบคลุมปจจัยตางๆที่มีอิทธิผลตอการเลิกสูบบุหรี่เปนสิ่งสําคัญในการใหคําแนะนํา เพราะพยาบาลสามารถนําขอมูลเหลานี้มาใชในการดูแลผูปวยอยางตอเนื่อง แตเนื่องดวยระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลมีจํากัดและภาระงานที่มากอาจทําใหไดขอมูลไมครบถวนซึ่งสงผลตอเลิกบุหรี่เพื่อชีวีเปนสุข


54Vol.2 No. 2 July-December 2008Siriraj Nursing Journalประสิทธิภาพในการดูแลผูปวยเพื่อใหเลิกสูบบุหรี่ดังนั้นจึงควรสงเสริมใหมีหนวยงานที่ดูแลผูปวยที่สูบบุหรี่โดยตรงหรือคลินิกงดบุหรี่เพื่อใหสามารถดูแลผูปวยที่สูบบุหรี่ใหสามารถเลิกบุหรี่ไดอยางมีประสิทธิภาพ3. ควรใหพยาบาลไดรับการอบรมเรื่อง เทคนิคการใหคําปรึกษาเกี่ยวกับ “บุหรี่”4. ควรมีการนัดประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเครือขายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบอยางตอเนื่องที่ปรึกษาโครงการรองศาสตราจารย ดร.ผองศรี ศรีมรกตอาจารยประจําคณะพยาบาลศาสตรมหาวิทยาลัยมหิดลนางสาวสุพร ลิลิตธรรมหัวหนางานการพยาบาลศัลยศาสตรฯฝายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราชนางสาวสุมาลี อยูผองหัวหนาหอผูปวย 72/7 ชายใตงานการพยาบาลศัลยศาสตรฯฝายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราชนางสาวเสาวนีย ปรัชญาโณทัยหัวหนาหอผูปวย สลากกินแบง5งานการพยาบาลศัลยศาสตรฯฝายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราชเอกสารอางอิงกรองจิต วาทีสาธกกิจ.(2549). พยาบาลกับบุหรี่.(พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพพิมพดี.กรองจิต วาทีสาธกกิจ. (2550). คูมือปฏิบัติการพยาบาล: การสงเสริมการเลิกสูบบุหรี่ในงานประจํา. (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพพิมพดี.จิราภรณ เนียมกุญชร.(2548). ผลของการใชโปรแกรมสงเสริมการสูบบุหรี่ตามทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตอพฤติกรรมการเลิกบุหรี่ของผูปวยในแผนกอายุรกรรม. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, สาขาพยาบาลศาสตร คณะพยาบาลศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.ผองศรี ศรีมรกต.(2550). การบําบัดเพื่อชวยใหเลิกบุหรี่. (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: กรรมการเครือขายพยาบาลเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่สมาคมพยาบาลแหงประเทศไทยฯ.ผองศรี ศรีมรกต, นภาพร วาณิชยกุล, อรุณี หลอนิล.(2550).การพัฒนาโปรแกรมการอดบุหรี่ในผูปวยศัลยกรรม โรงพยาบาลอุทัยธานีและสถาบันโรคทรวงอก กระทรวงสาธารณสุข.(พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: กรรมการเครือขายพยาบาลเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ สมาคมพยาบาลแหงประเทศไทยฯ.สถิรกร พงศพานิช.(2549). การศึกษาเปรียบเทียบคาใชจายในปจจุบันและอนาคตทางดานสุขภาพของโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่กับรายรับของรัฐจากภาษีบุหรี่ในประเทศไทย. รายงานการวิจัยวิทยาลัยสาธารณสุข จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.Møller AM, Villebro N, Pedersen T, Tønnesen H.(2002). Effect of preoperative smokingintervention on pos<strong>to</strong>perative complications: arandomized clinical trial. Lancet. 2002 Jan 12;359 (9301):114-7.จงจิต หงษเจริญ และเสาวภา อินผา


ปที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม-ธันวาคม 2551วารสารพยาบาลศิริราช55แบบบันทึกกิจกรรมโครงการ “เลิกบุหรี่ เพื่อชีวีเปนสุข”ชื่อ .................................... สกุล ............................ อายุ ........ ป ระดับการศึกษา ...................... อาชีพ .................................น้ําหนัก ........................... สวนสูง ............................... ที่อยู ....................................................................................................โทรศัพท ..................................................................วันที่ admit ..................................... วันที่D/C ...........................................โรค .........................................................................การผาตัด......................................................... วันที่ผาตัด .......................บุคคลที่ติดตอได .............................................. ความสัมพันธ ....................................... โทรศัพท ...........................................วัน เดือนปวันที่ประเมินผลภายหลังประเมิน 5AD/CAsk Advise Assess Assist Arrange 3 7 14 30หมายเหตุเลิกบุหรี่เพื่อชีวีเปนสุข


56Vol.2 No. 2 July-December 2008Siriraj Nursing Journalแบบติดตามประเมินผลการเลิกสูบบุหรี่ ภายหลังผูปวยจําหนายออกจากโรงพยาบาลการติดตามครั้งที่............ชื่อ – นามสกุลผูปวย.........................................................................................โทรศัพท................................................วันที่ติดตาม................................ชื่อ – นามสกุลผูติดตาม.....................................ผูใหขอมูล..........................................การติดตาม 1). ติดตามไมไดเนื่องจาก.....................................................................................................................2). ติดตามได: ผลการติดตาม (Repeat Address and Ask)1. ผูปวยยังสูบบุหรี่อยูหรือเปลา ไมสูบ เพราะ ............................................................................................................. (ถามขอ 2, 3, 4) สูบ เพราะ ................................................................................................................ (ถามขอ 5, 6)2. ผูปวยมีอาการไมสุขสบายจากการไมสูบบุหรี่อยางไรบาง.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................3. ใหคําแนะนําแกผูปวยตามอาการ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................4. ผูปวยมีเคล็ดลับอะไรบางที่ทําใหเลิกสูบบุหรี่ไดนอกจากคําแนะนําที่ให..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................5. ผูปวยกลับไปสูบบุหรี่ใหมเพราะ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................…………………………………………………………………………………………………..…………………………………6. ใหคําแนะนําแกผูปวยตามสาเหตุ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................หมายเหตุ หากติดตามครั้งที่ 1 ไมได ใหทําการติดตามซ้ําอยางนอย 3 ครั้งในวันเดียวกัน หรือ ในวันรุงขึ้น หรือ ติดตามผานทางญาติที่ใหที่อยูไวในครั้งแรกของการประเมินจงจิต หงษเจริญ และเสาวภา อินผา


ปที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม-ธันวาคม 2551วารสารพยาบาลศิริราช57เลิกบุหรี่เพื่อชีวีเปนสุข

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!