20.01.2015 Views

บทที่ 1 - มหาวิทยาลัยบูรพา

บทที่ 1 - มหาวิทยาลัยบูรพา

บทที่ 1 - มหาวิทยาลัยบูรพา

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

1<br />

บทที่ 1<br />

1.1 ที่มาของโครงงาน<br />

ในปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจําวันอย่างมากมาย เพื่อช่วยอํานวยความ<br />

สะดวกต่าง ๆ ให้แก่ผู้ใช้ในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็ นการสืบค้นข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล การดําเนินการต่าง<br />

ๆ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ถูกต้อง สามารถลดขั ้นตอน ลดความซํ ้าซ้อน และลดความผิดพลาดในการ<br />

ทํางานของบุคลากรเอง ช่วยให้ผู้ใช้ทํางานต่าง ๆ ได้เร็วขึ ้น และลดเวลาของผู้ใช้ด้วย<br />

และเนื่องจากในพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา (บางเเสน) ซึ ่งเป็ น<br />

พิพิธภัณฑ์สัตว์นํ ้า ที่มีสัตว์นํ ้าทางทะเลชนิดต่างๆ มากมาย หากมีการนํามาวิจัยเเละเผยแพร่ เพื่อเป็ น<br />

การศึกษาและการเรียนรู้ ซึ่ งเป็ นการให้ความรู้อย่างหนึ ่ง ทําให้ผู้อื่นได้มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องสัตว์นํ ้าทาง<br />

ทะเลมากขึ ้น เเละหากเราพบเจอสัตว์นํ ้าทางทะเลใหม่ๆ ก็สามารถเพิ่มไปในฐานความรู้ได้ เพื่อเป็ นการ<br />

สะสมความรู้และยังเผยแพร่ความรู้ให้ผู้อื่นได้อีกด้วย<br />

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน<br />

1. เพื่อเป็ นแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ ซึ ่งจะเก็บข้อมูลทั ้งหมดเกี่ยวกับสัตว์นํ ้าที่มีอยู ่ในพิพิธภัณฑ์<br />

วิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา (บางแสน)<br />

2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์ระบบนิเวศวิทยาชายฝั่งทะเลและ<br />

ในทะเล เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน<br />

3. เพื่อเป็ นการส่งเสริมศักยภาพ ทางด้านการเผยแพร่ความรู้ ทางด้านสัตว์นํ ้าทางทะเล ใน<br />

พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา (บางแสน)<br />

1.3 ขอบเขตในการพัฒนาระบบ<br />

ศึกษาและวิจัยพันธุ์สัตว์นํ ้าที่มีอยู ่ภายในพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล(บางเเสน)<br />

ประกอบด้วย<br />

1. จัดเก็บรวบรวมข้อมูลสัตว์นํ ้าทางทะเล<br />

2. แสดงข้อมูลสัตว์นํ ้าทางทะเล<br />

3. ผู้ใช้งานมีส่วนในการเพิ่มฐานความรู้<br />

จะ


2<br />

1.4 แนวทางการพัฒนาระบบ<br />

ศึกษาและวิจัยพันธุ์สัตว์นํ ้าที่มีอยู่ภายในพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา<br />

(บางแสน) และศึกษาการทํางานของระบบต่างๆ<br />

ทําการทดลองระบบเพื่อหาจุดบกพร่อง นํามาแก้ไขระบบให้มีความถูกต้องและให้บริการ<br />

งานวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ<br />

1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล แหล่งที่อยู่ ความสําคัญ ประโยชน์ และโทษต่างๆ<br />

2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องระบบนิเวศวิทยาทางทะเล<br />

3. สามารถนําความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้<br />

4. ผู้อื่นสามารถเข้ามาหาความรู้ได้<br />

5. สามารถต่อยอกการวิจัยต่างๆ และทําให้การค้นหาข้อมูล ทําได้ง่ายขึ ้น<br />

6. เป็ นแหล่งสะสมความรู้ ซึ ่งง่ายแก่การเพิ่มข้อมูล<br />

1.6 ระยะเวลาในการดําเนินโครงงาน<br />

ขั ้นตอนการดําเนินงาน<br />

1.ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับงานโครงงานวิจัย<br />

2.วิเคราะห์และรวบรวมความต้องการของโครงงานวิจัย<br />

3.จัดทํารายงาน<br />

ระยะเวลาการดําเนินงาน<br />

2554<br />

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.


้<br />

3<br />

บทที่ 2<br />

ทฤษฎีและโครงงานที่เกี่ยวข้อง<br />

2.1 ข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์นํ้าภายในพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล (บางแสน)<br />

สัตว์นํ ้าภายในพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล (บางแสน) สามารถแบ่งออกได้เป็ น 7 หัวข้อ<br />

ใหญ่ ได้แก่<br />

2.1.1 สัตว์ที่อาศัยอยู ่ในเขตนํ้าขึ้นนํ้าลง ตามปกติแล้วระดับนํ ้าของทะเลจะมีการเปลี่ยนแปลง<br />

เป็ นประจําทุกวัน คือ วันละ ครั ้งหรือสองครั ้ง เนื่องจากอิทธิพลของดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ โดยเรา<br />

ทราบได้จากการสังเกตในเวลาที่มี นํ ้าขึ ้น-นํ ้าลง ตามชายฝั่งหรือตามเกาะต่าง ๆโดยทั่ว ๆ ไปบริเวณเขตนํ ้า<br />

ขึ ้น-นํ ้าลง จะมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิดอาศัยอยู่มากมาย ซึ ่งจะแตกต่างกันไปตามลักษณะของบริเวณเขตนํ ้า<br />

ขึ ้น-นํ ้าลง และสิ่งมีชีวิตเหล่านี ้ส่วนใหญ่จะมีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่<br />

ตลอดเวลา บริเวณชายฝั่งทะเลที่เป็ นบริเวณเขตนํ ้าขึ ้น-นํ ้าลงนั ้น จะมีลักษณะแตกต่างกันไป ซึ ่งเรา<br />

สังเกตเห็นได้อย่างเด่นชัด เช่น หาดทราย หาดหิน และหาดโคลน เป็ นต้น<br />

สําหรับส่วนที่จัดแสดงไว้ในสถานเลี ้ยงสัตว์นํ ้าเค็มของสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล บางแสนนี<br />

เป็ นบริเวณเขตนํ ้าขึ ้น-นํ ้าลง บริเวณที่เป็ นหาดหิน และมีนํ ้าขังอยู่ตามแอ่งหิน ซึ ่งลักษณะเช่นนี ้เรียกกัน<br />

ทั่วไปว่า "แอ่งนํ ้าขึ ้น-นํ ้าลง" (Tidal Pool) ตามธรรมชาติตามแอ่งนํ ้าขึ ้น-นํ ้าลงเช่นนี ้จะพบ กุ้ง ลูกปลาบาง<br />

ชนิด หอยนางรม ปูเสฉวน เม่นทะเล ดอกไม้ทะเล ดาวทะเล ฯลฯ<br />

2.1.2 ปลาในแนวปะการัง บริเวณแนวปะการังนับเป็ นแหล่งที่มีความ อุดมสมบูรณ์แห่งหนึ ่งของ<br />

ทะเล เพราะสัตว์ทะเลหลาย ชนิดอาศัยบริเวณนี ้เป็ นที่อยู่อาศัย เป็ นที่หลบ ซ่อนภัยและเป็ นแหล่งอาหาร<br />

นอกจากนี ้แล้ว ยังใช้เป็ นที่สําหรับผสมพันธุ์ วางไข่ และเจริญเติบ โตของสัตว์ตัวอ่อนอีกด้วย สําหรับปลา<br />

ที่อาศัยอยู ่ในบริเวณนี ้ส่วนใหญ่ จะเป็ นปลาที่มีขนาดและมีสีสันสวย งาม เช่น ปลาสลิด ปลาการ์ตูน ปลา<br />

เขียวพระอินทร์ ปลาผีเสื ้อ และปลาโนรี เป็ นต้น


่<br />

4<br />

•<br />

•<br />

2.1.3 การอยู ่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตในทะเลเหมือนกับสิ่งมีชีวิตบนบกคือ มีการอยู<br />

ร่วมกัน และพึ ่งพาอาศัยกัน ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การอยู่ร่วมกันแบบที่ เรียกว่า "ซิมไบโอซิส"<br />

(Symbiosis) ซึ ่งหมายถึงการที่สิ่ง มีชีวิตสองชนิดอาศัยอยู่รวมกัน หรืออยู ่ ปนกันโดยต่างฝ่ ายต่างได้รับ<br />

ประโยชน์ซึ ่ง กันและกัน เช่น ปลาการ์ตูน หรือ ปลาอินเดียแดงสามารถอยู่ร่วมกับ ดอกไม้ทะเล (sea<br />

anemone) ได้ โดยที่ปลา เหล่านี ้จะอาศัยดอกไม้ทะเลเป็ นที่หลบ ภัยและสืบพันธุ์ ส่วนดอกไม้ทะเลจะ<br />

ได้รับ ประโยชน์จากปลาโดยการล่อเหยื่อหรือชัก นําเหยื่อให้เข้ามาใกล้พอที่ดอกไม้ทะเล จะจับเป็ น<br />

อาหารได้<br />

ดอกไม้ทะเลมีหนวดอยู ่เป็ นจํานวนมากและ ที่บริเวณปลายหนวดของมันจะมีเข็มพิษหรือ ที่<br />

เรียกว่า "นีมาโตซีส" (Nematocyst) อยู่เป็ นจํานวน มาก นอกจากเข็มพิษนี ้แล้ว บริเวณหนวดของดอกไม้<br />

ทะเลอาจ มีเมือกเหนียว ๆ อยู ่ด้วย เวลาที่ปลาว่ายเข้า มาใกล้ตัวมันจะใช้หนวดพันปลาไว้ แล้ว จะปล่อย<br />

เข็มพิษ ทําให้ปลาสลบหรือช็อคตายแล้ว กินปลานั ้นเป็ นอาหาร<br />

สําหรับเข็มพิษของดอกไม้ทะเลเหล่านี ้ไม่ เป็ นอันตรายต่อปลาการ์ตูน ปลาอินเดียแดงหรือปลาที่<br />

อยู่ร่วมกับดอกไม้ทะเลเหล่านี ้ เพราะปลาดัง กล่าวมีสารเคมีที่มีลักษณะเป็ นเมือกหุ้ม ตัวอยู่โดยรอบ ซึ ่ง<br />

เป็ นลักษณะที่ธรรมชาติสรรค์ สร้างให้มันอาศัยอยู่ร่วมกัน โดยทั่ว ๆ ไปดอกไม้ ทะเลอาจไม่มีพิษกับคน<br />

ยกเว้นในกรณีของ บางคนอาจมีอาการแพ้เกิดขึ ้นถ้าไป สัมผัสเข้า โดยจะเกิดผื่นแดง และมีอาการคันหรือ<br />

บวมได้<br />

2.1.4 สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังนํ้าเค็มเป็ นสัตว์โครงร่างแข็งที่ไม่ใช่กระดูกอยู ่ภายในลําตัว และ<br />

บางชนิดมีเปลือกแข็งหุ้มอยู่ภายนอก เพื่อป้ องกัน อันตราย และใช้ยึดของกล้ามเนื ้อ เช่น หอย หมึก กุ้ง<br />

หนอนทะเล และ ฟองนํ ้า ว่าเป็ น สัตว์กลุ่มใหญ่ในทะเลและมหาสมุทร สัตว์จําพวกนี ้ มีลักษณะแตกต่าง


้<br />

5<br />

กันออกไปทั ้งขนาด รูปร่าง ที่ อยู ่อาศัย และอุปนิสัยในการกินอาหาร บางชนิดมี อันตราย แต่หลายชนิดก็<br />

มีประโยชน์ และมีความสําคัญ ทางเศรษฐกิจ สัตว์เหล่านี ้ ได้แก่ สัตว์ในไฟลั่ม โพริเฟอร์รา (Phylum<br />

Porifera) ไฟลั่มซีเลนเท อราต้า (Phylum Coelenterata) ไฟลั่มมอลลัสกา (Phylum Mollusca) ไฟลั่มอาร์<br />

โทรโปดา (Phylum Arthropoda) และ ไฟลั่มเอคไคโนเดิร์มมาต้า (Phylum Echinodermata) เป็ นต้น<br />

2.1.5 ปลาเศรษฐกิจ ในทะเลและมหาสมุทรเขตร้อนเป็ นบริเวณที่ค่อนข้างมีปลาชุกชุม และปลา<br />

หลายชนิดเป็ นปลาที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ เกี่ยวกับประเภทของปลาที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจนั ้นสามารถ<br />

แบ่งออกเป็ น 2 พวก คือ<br />

1. พวกที่นํามาเป็ นอาหาร ส่วนมากเป็ นปลาที่พบเห็นโดยทั่วไป และชาวประมงจับ<br />

ขึ ้นมาเป็ นส่วนใหญ่ เนื่องจากปลาเศรษฐกิจที่นํามาเป็ นอาหารนั ้นมีจํานวนมาก ฉะนั ้นเราจึงขอแนะนําให้<br />

รู้จักเพียงบางชนิด เช่น ปลากะรัง หรือที่เรียกกันว่า "ปลาเก๋า" นอกจากนี ้ก็มีปลากะพง ชนิดต่าง ๆ ปลาอี<br />

คุด ปลาสีขน ปลาสร้อยนกเขา และ ปลาหูช้าง เป็ นต้น<br />

2. พวกที่นํามาเลี ้ยงเพื่อความสวยงาม ส่วนมากเป็ นที่อาศัยอยู่ในบริเวณปะการัง ได้แก่<br />

ปลาสลิดทะเล ปลานกแก้ว ปลานกขุนทอง ปลาสินสมุทร ปลาผีเสื ้อ ปลาข้าวเม่านํ ้าลึก ปลาเหล่านี<br />

นอกจากจะนํามาเป็ นอาหารได้แล้ว ปัจจุบันยังนิยมนํามาเลี ้ยงเป็ นปลาตู้สวยงามด้วย ทําให้มีราคา<br />

ค่อนข้างแพง เป็ นที่ต้องการของตลาดทั ้งในและต่างประเทศ ฉะนั ้นเราจึงจัดปลาสวยงามเหล่านี ้ไว้ใน<br />

กลุ่มปลาเศรษฐกิจด้วย ปลาในกลุ่มนี ้มีลักษณะหลายแบบแตกต่างกันออกไป บางชนิดมีลวดลายและ<br />

สีสันที่เป็ นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและเพื่ออําพรางศัตรู เช่น ปลาผีเสื ้อปากยาว เป็ นต้น จะ<br />

สังเกตเห็นว่าครีบหลังมีจุดดําขนาดใหญ่ ซึ ่งนักมีนวิทยาสันนิษฐานว่าจุดดําขนาดใหญ่ที่อยู่ตรงครีบหลัง<br />

ของปลาผีเสื ้อปากยาวนั ้นมีลักษณะดูคล้ายกับตาของปลาที่มีขนาดใหญ่จึงทําให้ปลาอื่น ๆ ไม่กล้าเข้ามา<br />

ทําอันตราย<br />

นอกจากนี ้แล้วม้านํ ้าซึ ่งเป็ นปลาที่มีรูปร่างแปลกจัดเป็ นปลาเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ ่งด้วย เพราะ<br />

นิยมนํามาเลี ้ยงเป็ นปลาตู้และยังส่งเป็ นสินค้าออกในรูปของการตากแห้ง เพราะว่าม้านํ ้านี ้ใช้เป็ น<br />

ส่วนประกอบที่สําคัญอย่างหนึ ่งของยาจีน


6<br />

ม้านํ ้า เป็ นปลาที่มีลักษณะพิเศษ คือ ม้านํ ้าตัวผู้จะมีถุงหน้าท้องเป็ นที่สําหรับฟักไข่ที่ได้รับการ<br />

ผสมด้วยเชื ้อตัวผู้แล้ว นอกจากนี ้ยังเป็ นที่สําหรับให้ตัวอ่อนของลูกม้านํ ้าเจริญเติบโตอยู ่ชั่วระยะเวลาหนึ ่ง<br />

จนกว่ามันจะช่วยตัวเองได้ จึงจะออกมาอาศัยอยู่ภายนอก<br />

2.1.6 ปลารูปร่างแปลกและปลามีพิษ ปลาบางชนิดมีรูปร่างแปลก โดยมีรูปร่างหรือสีกลมกลืน<br />

กับสภาพแวดล้อม เพื่อหลบหลีกศัตรูหรือพรางตาเหยื่อ ปลาบางจําพวกนอกจากมีรูปร่างแปลกแล้ว ยังมี<br />

สีสันสวยงามและมีพิษด้วย ปลาประเภทนี ้มีประมาณ 500 ชนิด รวมถึงปลาบางชนิดที่รับประทานแล้ว<br />

เป็ นพิษต่อมนุษย์<br />

โดยทั่วไปปลาทะเลต่าง ๆ นั ้นมีรูปร่างผิดแปลกแตกต่างกันไปตามอุปนิสัยการกินอาหารการ<br />

หลบซ่อนตัว หรือการอยู่อาศัย บางชนิดมีรูปร่างแบนลง เพื่อให้เหมาะสมกับการหากินบริเวณหน้าดิน<br />

เช่น ปลากระเบน ปลาลิ้นหมา ปลาวัว ปลาไหลทะเล ปลาปักเป้ า ปลาสิงโต ปลาเหาฉลาม ปลาฉลามกบ<br />

หรือฉลามแมว ปลาอุบ และ ปลากะรังหัวโขน เป็ นต้น<br />

2.1.7 ปลาที่อาศัยในมหาสมุทร ในทะเลและมหาสมุทรมีปลาขนาดใหญ่หลายชนิดอาศัยอยู่ มี<br />

ขนาดตั ้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ ปลาที่มีขนาดเล็กรวมทั ้งพวกที่มีสีสันสวยงามหลายพวก มักจะ<br />

อาศัยอยู่ใกล้ฝั่งหรืออยู่ในที่มีอาหารอุดมสมบูรณ์ มีที่กําบังและหลบภัย อาศัยอยู่มากในช่วงความลึกไม่<br />

เกิน 1,000 เมตร จากผิวนํ ้า ได้แก่ ปลาที่เรารู้จักดี เช่น ปลาโอ ปลากะพงขาว ปลาหมอทะเล ปลาอินทรีย์<br />

ปลากระเบน ปลาหมอทะเล ปลาฉลาม เป็ นต้น ปลาอีกหลายชนิดอาศัยอยู่ลึกลงไปเกือบถึงพื ้นสมุทร ซึ ่ง<br />

ลึกประมาณ 2,000 เมตร เช่น ปลาคอด เป็ นต้น


7<br />

2.2 ข้อมูลสัตว์นํ้าทะเลภายในพิพิธภัณฑ์<br />

ข้อมูลสัตว์นํ<br />

้าทะเลภายในพิพิธภัณฑ์ มีดังนี ้<br />

• แมงดาทะเลหางกลม หรือ แมงดาถ้วย<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : แมงดาทะเลหางกลม หรื อ แมงดาถ้วย<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Round-tail horse shoe crab<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Carcinoscorpius rotundicauda<br />

ไฟลัม (Phylum) : อาร์โทรโพดา (Arthropoda)<br />

SubPhylum :<br />

เคลิเซอราตา (Chelicerata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Merostomata<br />

อันดับ (Order) : ไซโฟซูริดา (Xiphosurida)<br />

วงศ์ (Family) : Limulidae<br />

ลักษณะทั ่วไป : มีรูปร่างกลมและกระดองนูนเหมือนชามหรื อถ้วยควํ ่า ทางด้านหัวโค้ง<br />

กลม หางเรียวยาวเป็ นทรงกลม กระดองมีสีเขียวเหลือบเหลืองคลํ ้า ใช้สําหรับปักลงกับพื ้นท้องทะเล<br />

แหล่งที่พบ : พบอาศัยในทะเลโคลนแถบป่ าชายเลนหรือปากแม่นํ ้าอาจพบได้ในเขต<br />

นํ ้ากร่อยหรือนํ ้าจืดได้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวประมาณ 40 เซนติเมตร<br />

• ปลาดาวแสงอาทิตย์<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาดาวแสงอาทิตย์<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Eight-rayed starfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Luidia maculata<br />

ไฟลัม (Phylum) : อีคิโนเดอร์มาตา (Echinodermata)<br />

SubPhylum :<br />

Asterozoa<br />

ชั ้น (Class) :<br />

แอสเทอรอยเดีย (Asteroidea)


8<br />

• ปูเสฉวน<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปูเสฉวน<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Hermit crab<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Dardanus pepunetulatus<br />

ไฟลัม (Phylum) : อาร์โทรโพดา (Arthropoda)<br />

SubPhylum :<br />

ครัสเตเชีย (Crustacea)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Malacostraca<br />

อันดับ (Order) : Decapoda<br />

ลักษณะทั ่วไป : ส่วนบนคือหัวคล้ายปูทั่วไป มีขา 10 ขา ขาคู่แรกเป็ นก้ามใหญ่ ส่วนที่<br />

บิดเบี ้ยวมากได้แก่ ส่วนท้ายของลําตัวซึ ่งโค้งคล้ายรูปเคียว ซีกซ้ายและซีกขวาไม่เหมือนกัน ทางซีก<br />

ซ้ายมีส่วนที่คล้ายขาเล็กๆ ยื่นออกมาด้านข้างทํานองขาเทียม ใช้จับหรือยึดเหนี่ยวได้ ส่วนที่ยื่น<br />

ออกมาใช้เป็ นที่เก็บไข่ด้วย ลําตัวส่วนสุดท้ายอ่อนนิ่ม<br />

แหล่งที่พบ : อาศัยอยู่ตามชายฝั่งบริเวณหาดทรายโดยทั่วไป<br />

• ปูบึ้ง<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปูบึ ้ง<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Spider crab<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Doclea ovis<br />

ไฟลัม (Phylum) : อาร์โทรโพดา (Arthropoda)<br />

SubPhylum :<br />

ครัสเตเชีย (Crustacea)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Malacostraca<br />

อันดับ (Order) : Decapoda<br />

วงศ์ (Family) : Inachidae<br />

สกุล (Genus) : Macrocheira<br />

ชนิด (Species) : M.kaempferi


9<br />

• ปลาเสือพ่นนํ้า<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาเสือพ่นนํ ้า<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Largescale Archerfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Toxotes chatareus<br />

ลักษณะทั ่วไป : มีรูปร่างแบนข้าง ส่วนหัวเล็ก มีจะงอยปากยื่นแหลม ครีบทุกครีบสั ้น<br />

โดยเฉพาะครีบหาง ส่วนครีบกระโดงแบ่งออกเป็ นสองส่วนเชื่อมติดกัน คือส่วนที่เป็ นก้านครีบแข็ง<br />

ซึ ่งจะตั ้งเป็ นหนามแหลมกับส่วนที่เป็ นก้านครีบอ่อน ลักษณะลําตัวจากปลายปากกับแนวสันหลังจึง<br />

เกือบเป็ นเส้นตรง ปากกว้างเฉียงลงและดวงตากลมโต<br />

• ปลิงทะเล<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลิงทะเล<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Black sea cucumber<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Bohadschia atra<br />

ไฟลัม (Phylum) : อีคิโนเดอร์มาตา (Echinodermata)<br />

SubPhylum[TH] Echinozoa<br />

ชั ้น (Class) :<br />

โฮโลทูรอยเดีย (Holothuroidea)<br />

วงศ์ (Family) : Holothuriidae<br />

ลักษณะทั ่วไป : เป็ นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีรูปร่างกลมยาว คล้ายไส้กรอกขนาด<br />

ใหญ่ ปลายทั ้งสองข้างเป็ นช่องเปิ ดของปากและทวาร ผิวหนังส่วนนอกคล้ายเนื ้อยืดหยุ่นได้ ภายใน<br />

ผิวหนังมีตุ่มเม็ดหินปูนกระจายอยู่ทั่วไปตามผิวนอกมีติ่งเนื ้อเล็ก ๆ คล้ายหนวดสั ้น ๆ เรียงอยู ่เป็ น<br />

แถว ปากของปลิงทะเลอยู่ตอนปลายสุดด้านที่มีหนวดลักษณะคล้ายต้นไม้ล้อมรอบ ทําหน้าที่ในการ<br />

หาอาหาร<br />

แหล่งที่พบ : พบตามพื ้นทะเลที่เป็ นทรายปนโคลนใน อ่าวไทยและทะเลอันดามัน<br />

ข้อมูลเพิ ่มเติม : กินอินทรียวัตถุตามพื ้นดินโคลนและทราย ขนาด มีความยาวประมาณ<br />

30–40 ซม.


10<br />

• ปลากัดทะเล<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลากัดทะเล<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Comet<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Calloplesiops altivelis<br />

ไฟลัม (Phylum) : ครัสเตเชีย (Crustacea)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Plesiopidae<br />

สกุล (Genus) : Calloplesiops<br />

ชนิด (Species) : C. altivelis<br />

ลักษณะทั ่วไป : ลําตัวแบบข้างสีนํ ้าเงินเข้มเกือบดํา ครีบหลังและครีบท้องแผ่แบนกว้า<br />

มีจุดสีขาวกระจายอยู่ทั่วตัว และจุดสีดําขนาดใหญ่อยู่กึ ่งกลางลําตัวบริเวณครีบหลัง ขนาด 8-12<br />

เซนติเมตร<br />

แหล่งที่พบ :อาศัยในแนวปะการังทางฝั่งทะเลอันดามัน ชอบหลบซ่อนตัวตามซอกหลืบ<br />

ข้อมูลเพิ ่มเติม : ออกหากินตอนกลางคืน กินสัตว์นํ ้าที่มีขนาดเล็กกว่า เป็ นปลาสวยงาม<br />

• ปลาอมไข่จุดแดง<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาอมไขจุดแดง<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Pajama cardinalfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Sphaeramia nematoptera<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Apogonidae


11<br />

สกุล (Genus) :<br />

ชนิด (Species) :<br />

Sphaeramia<br />

S. nemanoptera<br />

• สาหร่ายพวงองุ ่น<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : สาหร่ายพวงองุ่น<br />

ชื่อ(สามัญ) : Small seagrape<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Caulerpa lentillifera<br />

ลักษณะทั ่วไป : มีลักษณะคล้ายพวงองุ่น<br />

แหล่งที่พบ :พบขึ ้นบนก้อนหินหรือซากปะการัง หรือพื ้นทรายปนโคลนในเขตชายฝั่ง<br />

ข้อมูลเพิ ่มเติม : สามารถนํามาใช้ในการบําบัดนํ ้าทิ้งจากการเลี ้ยงกุ้งได้โดยการลด<br />

ปริมาณสารอาหารที่มีในนํ ้าทิ้งจากการเลี ้ยงกุ้งก่อนปล่อยออกสู่แหล่งนํ ้าธรรมชาติ<br />

• ปลาวัวหนามดอก<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาวัวหนามดอก<br />

ชื่อ(สามัญ) : Chaetodermis spinosisimus<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Tasseled filefish


12<br />

• ปลาปักเป้ าลายแผนที่<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาปักเป้ าลายแผนที่<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Map pufferfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Tetrodon mappa<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Tetraodontiformes<br />

วงศ์ (Family) : Tetraodontidae<br />

สกุล (Genus) : Arothron<br />

ชนิด (Species) : A. mappa<br />

ลักษณะทั ่วไป : ด้านบนส่วนท้องมีแต้มสีดําขนาดใหญ่ ครีบหางมีจุด บริเวณหัว หลัง<br />

และหาง มีแถบสีดําประสานกันเป็ นร่างแห หัวกว้างทู่ มีหนามขนาดเล็กอยู่ทั่วตัว ครีบหางตัดตรง<br />

ส่วนหัว หลัง จนถึงคอดหางมีสีนํ ้าตาลจางลงในส่วนท้อง และมีแถบสีดําประสานกันเป็ นร่างแห<br />

รอบตามีแถบสีดําประสานกันเป็ นร่างแหกระจายออกไปยังบริเวณหัว ส่วนก้นมีจุดสีดํา<br />

• สาหร่ายวุ ้น<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : สาหร่ายวุ้น<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Sea Spaghetti<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Chaetomorpha crassa<br />

ไฟลัม (Phylum) : Heterokontophyta<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Phaeophyceae<br />

อันดับ (Order) : Fucales<br />

วงศ์ (Family) : Himanthaliaceae<br />

สกุล (Genus) : Himanthalia


13<br />

ชนิด (Species) : H. elongata<br />

ลักษณะทั ่วไป : มีตั ้งแต่สีดําแดง,สีแดง,สีนํ ้าตาล,สีนํ ้าตาลแดง,สีชมพู,สีม่วงเข้ม,สีม่วง<br />

แดง,สีเทา,สีเขียว,สีเหลือง หรือใส<br />

ข้อมูลเพิ ่มเติม : เกือบทุกชนิดสามารถรับประทานได้ หรือนํามาสกัดวุ้น จึงรวมเรียกว่า<br />

สาหร่ายวุ้น มีชื่อพื ้นเมืองว่า สาหร่ายผมนาง (Gracilaria fisheri)<br />

• ปลาผีเสื้อเขา<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาผีเสื ้อเขา<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Phantom bannerfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Heniochus pleurotaenia<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Chaetodontidae<br />

สกุล (Genus) : Heniochus<br />

• ปลานกขุนทองลายพาด<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลานกขุนทองลายพาด<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Redbreasted wrasse<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Cheilinus fasciatus<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes


14<br />

วงศ์ (Family) : Labridae<br />

สกุล (Genus) : Cheilinus<br />

ชนิด (Species) : C. fasciatus<br />

ลักษณะทั ่วไป : ลําตัวสั ้นและแบทางด้านข้าง เกล็ดตามตัวขนาดใหญ่ ปากกว้างและยืด<br />

หดไม่ได้ ครีบหลังทั ้งสองติดต่อกันตลอด ครีบทวารเริมประมาณกลาง ตัวยาวไปจรดโคนหาง<br />

เช่นเดียวกับครีบ หลังครีบหางเค้า และมีชายครีบส่วนบนและล่าง ยื่นยาวออกไป ขนาดยาวประมาณ<br />

30 เซนติเมตร พื ้นผิวลําตัวสีไพล บริเวณข้างแก้มสีแดง และมีลายคาดสีดําตามขวาง 7-8 แถบ รวมทั ้ง<br />

ผ่านครีบหางด้วย<br />

แหล่งที่พบ : อาศัยอยู่ตามเกาะแก่งและกองหินใต้นํ ้ากลางทะเล แนวปะการัง และพบ<br />

ทั่วไปในน่านนํ ้าไทย<br />

• ปลานกขุนทองมังกร<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) :<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ :<br />

ไฟลัม (Phylum) :<br />

ชั ้น (Class) :<br />

อันดับ (Order) :<br />

วงศ์ (Family) :<br />

สกุล (Genus) :<br />

ชนิด (Species) :<br />

ปลานกขุนทองมังกร<br />

Dragon wrasse<br />

Novaculichthys taeniourus<br />

คอร์ดาตา (Chordata)<br />

Actinopterygii<br />

Perciformes<br />

Labridae<br />

Novaculichthys<br />

N. taeniourus


15<br />

• ปลาขี้ตังเบ็ดนํ้าตาล<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาขี ้ตังเบ็ดนํ ้าตาล<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Brown tang surgeonfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Acanthurs nigrofuscus<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Acanthuridae<br />

สกุล (Genus) : Acanthurus<br />

ชนิด (Species) : A. nigrofuscus<br />

แหล่งที่พบ : พบตามแนวปะการังที่มีนํ ้าใส และมีสาหร่ายปกคลุม<br />

• ปลานกขุนทอง<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลานกขุนทอง<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Canary wrasse<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Halichoeses chrysus<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Labridae<br />

สกุล (Genus) : Halichoeres<br />

ชนิด (Species) : H. chrysus<br />

ลักษณะทั ่วไป : ขนาดของปลาขุนทองตัวเต็มวัยอยู่ที่ระหว่าง 10-50 เซนติเมตร ขึ ้นอยู่<br />

กับว่าเป็ นปลาขุนทองชนิดอะไร<br />

แหล่งที่พบ : เป็ นปลาที่โดดเด่นตามแนวปะการัง<br />

ข้อมูลเพิ ่มเติม : ปลาตัวเมียสามารถกลายเป็ นปลาตัวผู้ที่มีสีสันสดใสได้ด้วย


16<br />

• ปลาผีเสื้อคอขาว<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาผีเสื ้อคอขาว<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Redtail butterflyfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Chaetodon collare<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Chaetodontidae<br />

สกุล (Genus) : Chaetodon<br />

ชนิด (Species) : C. (R.) collare<br />

ลักษณะทั ่วไป : ลําตัวมีลักษณะเป็ นรูปไข่ และแบนข้างจะงอยปากสั ้นมีฟันเรียงเป็ น<br />

แถวเดี่ยวๆ 4-7 แถว มีลักษณะหยัก ครีบหลังและครีบก้นทางด้านท้ายมนกลม หนามแหลมก้านแรก<br />

ของครีบหลังมีขนาดสั ้นมากและค่อยยาวขึ ้นเรื่อยจนถึงหนามแหลมก้านที่ 7 ครี บหูยาวครี บท้อง<br />

ค่อนข้างยาวแลยาวไปจนถึงหนามแหลมก้านสุดท้ายหรือก้านครีบอ่อนก่อนแรกของครีบก้น หางเป็ น<br />

แบบตัดตรง ถึงเว้า<br />

• ปลาขี้ตังเบ็ดจมูกโต<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาขี ้ตังเบ็ดจมูกโต<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Bignose unicornfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Naso vla mingi<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Acanthuridae


17<br />

สกุล (Genus) :<br />

ชนิด (Species) :<br />

Naso<br />

N. vlamingii<br />

• ปลาสลิดทะเลหัวบั ้งหลังดํา<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาสลิดทะเลหัวบั ้งหลังดํา<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Magnificent rabbitfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Siganus magnificus<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Siganidae<br />

สกุล (Genus) : Siganus<br />

ชนิด (Species) : S. magnificus<br />

• ปลาผีเสื้อเทวรูป<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาผีเสื ้อเทวรูป<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Moorish idol<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Zanclus cornu<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Zanclidae<br />

สกุล (Genus) : Zanclus


18<br />

ชนิด (Species) : Z. cornutus<br />

ลักษณะทั ่วไป : คล้ายปลาโนรี ครีบยาว แต่บริเวณจงอยปากแหลมยาวมากกว่า ลําตัว<br />

ด้านท้ายมีสีเหลืองนวล ครีบหางมีสีดํา และสีครีบหางจะคลํ ้าและมีรอยคล้ายเขม่าที่บริเวณครีบหลัง<br />

ในช่วงเวลากลางคืน<br />

แหล่งที่พบ :อาศัยอยู่ในแนวปะการังและบริเวณกองหินใต้นํ ้า พบตั ้งแต่เขตนํ ้าตื ้นจนถึง<br />

ระดับความลึก 182 เมตร หากินอยู่เพียงลําพัง หรืออยู่เป็ นฝูงขนาดเล็ก<br />

ข้อมูลเพิ ่มเติม : กินฟองนํ ้าเป็ นอาหาร<br />

• ปลาสลิดปากยาว<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาสลิดปากยาว<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Foxface<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Siganus vulpinus<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Siganidae<br />

สกุล (Genus) : Siganus<br />

ชนิด (Species) : S. vulpinis<br />

ลักษณะทั ่วไป : ส่วนของลําตัวและครีบเป็ นสีเหลือง มีแถบสีนํ ้าตาลดําพาดจากฐาน<br />

ครีบหลังไปยังริมฝี ปาก บริเวณอกเป็ นสีนํ ้าตาลดํา<br />

• ปลานกขุนทองปากหลอด


19<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลานกขุนทองปากหลอด<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Bird wrasse<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Gomphosus varius<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Labridae<br />

สกุล (Genus) : Gomphosus<br />

ชนิด (Species) : G. varius<br />

• ปลาสินสมุทรจักรพรรดิ<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาสินสมุทรจักรพรรดิ<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Emperor angelfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Pomacanthus imperator<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Pomacanthidae<br />

สกุล (Genus) : Pomacanthus<br />

ชนิด (Species) : P. imperator<br />

ลักษณะทั ่วไป : ลําตัวแบนกว้าง และจะมีเงี่ยงแหลมยาวที่บริเวณใต้แก้มข้างครีบข้าง<br />

ลําตัวไว้ใช้เป็ นอาวุธป้ องก ันตัว เมื่อครั ้งเป็ นปลาวัยอ่อนจะมีสีสันและลวดลายบนลําตัวแตกต่าง<br />

ออกไปจากตัวพ่อแม่ที่โตเต็มวัยอย่างสิ้นเชิงราวกับว่าเป็ นปลาต่างชนิดกัน ปลาสินสมุทรจักรพรรดิ<br />

อ่อน จะมีสีนํ ้าเงินครามลายฟ้ าขาว มีลักษณะเป็ นลายก้นหอย<br />

แหล่งที่พบ : อาศัยอยู ่บริเวณที่มีนํ ้าทะเลใส


20<br />

• ปลาขี้ตังเบ็ดหัวเรียบ<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาขี ้ตังเบ็ดหัวเรียบ<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Orangespine unicornfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Naso lituratus<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Acanthuridae<br />

สกุล (Genus) : Naso<br />

ชนิด (Species) : N. lituratus<br />

ลักษณะทั ่วไป : บริเวณลําตัวที่เป็ นสีเหลืองอ่อนๆ จุดบนสุดของหัวปลาจะมีปานสีดํา<br />

ขนาดไม่ใหญ่มากอยู่ทางด้านบน ไล่ระดับลงมาเหนือดวงตามีสีเหลืองเป็ นสัญลักษณ์ที่โดดเด่นอยู่<br />

รอบดวงตา ปากปลาจะมีสีส้ม หางมีลักษณะเป็ นแฉกไม่ลึกมากเป็ นสีขาวและมีสีดําตัดบริเวณริมเส้น<br />

ของปลา ปลาขี ้ตังเบ็ดหัวเรียบ<br />

• ปลาวัวพิคาซโซะ<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาวัวพิคาซโซะ<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Picasso Triggerfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Rhinecanthus aculeatus<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii


21<br />

อันดับ (Order) :<br />

วงศ์ (Family) :<br />

สกุล (Genus) :<br />

ชนิด (Species) :<br />

ลักษณะทั ่วไป :<br />

Tetraodontiformes<br />

Balistidae<br />

Rhinecanthus<br />

R. assasi<br />

ลายขีดตามตัวหลากสีฟ้ า แดง ปากเหลือง<br />

• กุ ้งพยาบาลหลังแดง<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : กุ้งพยาบาลหลังแดง<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Hump-back cleaner shrimp<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Lysmata amboinensis<br />

ลักษณะทั ่วไป : เป็ นกุ้งที่มีขนาดเล็ก ลําตัวจะมีแถบสีแดงมีสีขาวคาดกลางหลัง ตั ้งแต่<br />

หัวจรดหาง มีขาคู่หน้าสีขาว และมีหนวดยาวสําหรับป้ องกันตัวจากศัตรู<br />

ข้อมูลเพิ ่มเติม : ชอบหากินปรสิต เมือก และผิวหนังที่ตายแล้วของสัตว์ที่ใหญ่กว่า<br />

• ปลาผีเสื้อสี่ขีด<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาผีเสื ้อสี่ขีด<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Parachaetodon ocellatus<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : False batfish<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

SubPhylum :<br />

Vertabrata<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Chaetodontidae


22<br />

สกุล (Genus) :<br />

ชนิด (Species) :<br />

Parachaetodon<br />

Ocellatus<br />

• ปลาสลิดหินเขียว<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาสลิดหินเขียว<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Blue-green Chromis<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Chromis virids<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Pomacentridae<br />

สกุล (Genus) : Chromis<br />

ชนิด (Species) : C. viridis<br />

ลักษณะทั ่วไป : ลําตัว ทรงกลม เกล็ดมีขนาดค่อนข้างใหญ่ ครีบท้องและครีบก้นมีสี<br />

เหลือง ครีบหางเว้าลึก ตัวผู้ครีบหางจะยื่นยาวเป็ นเส้นยาว และสีบนลําตัวเข้ม ขนาด 10 – 15<br />

เซนติเมตร<br />

แหล่งที่พบ : อาศัยอยู่ตามหินกองใต้นํ ้าและบริเวณหน้าดิน<br />

ข้อมูลเพิ ่มเติม : กินสาหร่าย สัตว์หน้าดิน เป็ นปลาสวยงาม<br />

• ปลาสินสมุทรแว่นเหลือง


23<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาสินสมุทรแว่นเหลือง<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Yellow-mask Angelfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Pomacanthus xanthometopon<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Pomacentridae<br />

สกุล (Genus) : Holacanthus<br />

ชนิด (Species) : H. passer<br />

ลักษณะทั ่วไป : เมื่อยังเล็กมีลวดลายบนพื ้นลําตัวเป็ นขีดสีฟ้ าตรงสลับขาว ลักษณะ<br />

ใกล้เคียงกับลูกปลาสินสมุทร แต่จะมีทรงตัวยาวกว่า เป็ นปลาที่เปลี่ยนลายได้ค่อนข้างรวดเร็ว<br />

ข้อมูลเพิ ่มเติม : เป็ นปลาที่ค่อนข้างขี ้อายและตื่นตกใจง่าย โดยเฉพาะในช่วงแรกๆ แต่<br />

เมื่อปรับตัวได้แล้วก็จะค่อนข้างก้าวร้าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับปลาในกลุ่มเดียวกันเอง<br />

• ปลาหมูสองสี<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาหมูสองสี<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Axilspot hogfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Bodianus axillaris<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Labridae<br />

สกุล (Genus) : Bodianus<br />

ชนิด (Species) : B. axillaris


24<br />

• ปลาสลิดหินนํ้าเงิน<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาสลิดหินนํ ้าเงิน<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Blue fork thai damsel<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Chromis cyanea<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Pomacentridae<br />

สกุล (Genus) : Chromis<br />

ชนิด (Species) : C. cyanea<br />

• ปลาการ์ตูนอานม้า<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาการ์ตูนอานม้า<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Saddleback clownfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Amphiprion polymnus<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Pomacentridae<br />

สกุล (Genus) : Amphiprion


25<br />

ชนิด (Species) : A. polymnus<br />

ลักษณะทั ่วไป : ลําตัวมีสีนํ ้าตาลอมดํา มีแถบขาว 2 แถบ แถบแรกอยู่ที่หลังตา อีกแถบ<br />

เริ่มบริเวณกลางลําตัวเป็ นแถบโค้งพาดเฉียงขึ ้นไปที่ครีบหลัง ลักษณะคล้ายอานม้า<br />

แหล่งที่พบ : พบในที่ลึก ตั ้งแต่ 2-30 เมตร ขนาดโตที่สุดประมาณ 12 เซนติเมตร อยู่กับ<br />

ดอกไม้ทะเลชนิดที่ฝังตัวอยู่ตามพื ้นทราย คือ Heteractis crispa และ Stichodactyla haddoni พบเฉพาะ<br />

ในอ่าวไทย<br />

• ปลาอินเดียนแดงท้องเหลือง<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาอินเดียนแดงท้องเหลือง<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Yellow Skunk clownfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Amphiprion akallopisos<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Pomacentridae<br />

สกุล (Genus) : Amphiprion<br />

ชนิด (Species) : A. akallopisos<br />

ลักษณะทั ่วไป : ลําตัวมีสีเนื ้ออมเหลืองทองอมชมพู มีแถบขาวเล็ก ๆ พาดผ่านบริเวณ<br />

หลังตั ้งแต่ปลายจมูกจนจรดครีบหาง<br />

แหล่งที่พบ :อาศัยในที่ลึกตั ้งแต่ 3-25 เมตรขนาดโตที่สุดประมาณ 10-11 เซนติเมตร<br />

อาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเลชนิด Heteractis magnifica และ Stichodactyla mertensii อยู่รวมกันเป็ น<br />

ครอบครัวใหญ่ข้อมูลเพิ ่มเติม :


26<br />

• ปลาการ์ตูนส้ มขาว<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาการ์ตูนส้มขาว<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Clown anemonefish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Amphiprion ocellaris<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

SubPhylum :<br />

Amphiprioninae<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Pomacentridae<br />

ลักษณะทั ่วไป : มีสีส้มเข้ม มีแถบสีขาว 3 แถบ พาดบริเวณส่วนหัว ลําตัวและบริเวณ<br />

หาง ขอบของแถบสีขาวเป็ นสีดํา ขอบนอกของครีบเป็ นสีขาวและขอบในเป็ นสีดํา ขนาดตัวโตที่สุด<br />

ประมาณ 10 เซนติเมตร อาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเลชนิด Heteractis magnifica และ Stichodactyla<br />

gigantea เป็ นต้น<br />

แหล่งที่พบ : พบได้เฉพาะใน เขตมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิ กในบางส่วน<br />

ธรรมชาติของปลาการ์ตูนชอบอาศัยอยู่ในดอกไม้ทะเล<br />

ข้อมูลเพิ ่มเติม : ปลาการ์ตูนออกลูกเป็ นไข่และสามารถเปลี่ยนเพศได้ ปลาการ์ตูนจะ<br />

เปลี่ยนเพศเมื่อสิ่งแวดล้อมกําหนดบทบาทให้ โดยในระยะแรกเริ่มหลังจากที่ฟักออกจากไข่ยังไม่<br />

สามารถกําหนดได้ว่าเป็ นเพศใด จนกว่าจะเป็ นตัวเต็มวัยจึงจะปรากฏเป็ นปลาเพศผู้


27<br />

• ปลาการ์ตูนกํามะหยี่<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาการ์ตูนกํามะหยี่<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Spine-cheeked anemonefish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Premnas biaculeatus<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Pomacentridae<br />

สกุล (Genus) : Premnas<br />

ชนิด (Species) : Biaculeatus<br />

• ปลาสลิดเหลือง<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาสลิดเหลือง<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Lemon damselfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Pomacentrus moluccensis<br />

ชนิด (Species) : Chrysiptera biocellata<br />

ลักษณะทั ่วไป : เป็ นปลาขนาดเล็ก ลําตัวป้ อมสั ้น ครีบหลังทั ้งสองตอนเชื่อมต่อกัน<br />

ตลอด ครีบหางมนและเว้ตรงกลาง ลําตัวยาวประมาณ 6 ซม. สีเหลืองสดทั ้งตัว<br />

แหล่งที่พบ : พบตามแนวปะการัง


28<br />

• ปลาสลิดหินชมพู<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาสลิดหินชมพู<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Pink Damsel<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Chrysiptera<br />

วงศ์ (Family) : Pomacentridae<br />

• ปลาผีเสื้อลายตรงสองตอน<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาผีเสื ้อลายตรงสองตอน<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Pacfic Double-saddle Butterflyfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Chaetodon ulietensis<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Chactodotidae<br />

สกุล (Genus) : Chaetodon<br />

ชนิด (Species) : Butterflyfishes<br />

ลักษณะทั ่วไป : เป็ นปลาผีเสื ้อที่เลี ้ยงได้ไม่ยากนัก เป็ นปลาผีเสื ้อที่มีขนาด<br />

ค่อนข้างใหญ่ และโตได้ค่อนข้างรวดเร็ว ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 16 ซม.


29<br />

• ปลาผีเสื้อลายตรง<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาผีเสื ้อลายตรง<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Lined Butterflyfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Chaetodon lineolatus<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Chactodotidae<br />

สกุล (Genus) : Chaetodon<br />

ชนิด (Species) : Butterflys<br />

ลักษณะทั ่วไป : มีขีดดําขวางลําตัว มีหน้าดําและหลังสีดําโค้ง<br />

• ปลาสร้อยนกเขาหรือปลาแตงโม<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาสร้อยนกเขาหรือปลาแตงโม<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Oriental sweetlips<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Plectorhinchus orientalis<br />

วงศ์ (Family) : Haemulidae<br />

ลักษณะทั ่วไป : หัวลาดโค้งลงเหมือนมีดอีโต้ หางแบบเว้าตื ้นขนาดค่อนข้างใหญ่ ทํา<br />

ให้ว่ายนํ ้าได้ดี ริมฝี ปากหนาและอยู่ตํ ่า เหมาะสําหรับกินสัตว์ที่อาศัยอยู่ตามพื ้น ครีบหัวและครีบท้อง<br />

มีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับตัว แสดงว่าไม่ชอบว่ายนํ ้าฉวัดเฉวียน<br />

แหล่งที่พบ : พบตามกองหิน โดยเฉพาะสิมิลัน


30<br />

• ปลาหมอครีบ<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาหมอครีบ<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Vermiculated Angelfish<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Chaetodontoplus mesoleucus<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Pomacentridae<br />

ลักษณะทั ่วไป : มีลําตัวค่อนข้างแบน มีลักษณะใกล้เคียงกับปลาผีเสื ้อ<br />

แหล่งที่พบ : พบทางฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิ ก<br />

• ปะการังเห็ดหูหนู<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปะการังเห็ดหูหนู<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Corallimorpharia<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Discosoma sp.<br />

ไฟลัม (Phylum) : ซีเลนเทอราต (Coelenterata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

แอนโทซัว (Anthozoa)<br />

อันดับ (Order) : Corallimorpharia<br />

วงศ์ (Family) : Corallimorphidae


31<br />

• ปลาสลิดหินหลังนํ้าเงิน<br />

ชื่อ(ภาษาไทย) : ปลาสลิดหินหลังนํ ้าเงิน<br />

ชื่อ(สามัญ) :<br />

Rolland's Demoiselle<br />

ชื่อวิทยาสาสตร์ : Chrysiptera rollandi<br />

ไฟลัม (Phylum) : คอร์ดาตา (Chordata)<br />

ชั ้น (Class) :<br />

Actinopterygii<br />

อันดับ (Order) : Perciformes<br />

วงศ์ (Family) : Pomacentridae<br />

สกุล (Genus) : Chrysiptera<br />

ชนิด (Species) : Chrysiptera Rollandi<br />

ลักษณะทั ่วไป : มีลําตัวแบนข้าง พื ้นลําตัวมีสีดํา และมีแถบสีนํ ้าเงินสะท้อนผ่านเหนือ<br />

และใต้ตา ส่วนกลางลําตัวจะคาดด้วยสีทอง<br />

2.3 ระบบฐานความรู ้<br />

2.3.1. ความหมาย<br />

การจัดการความรู ้ คือ เครื่องมือ เพื่อการบรรลุเป้ าหมายอย่างน้อย 4 ประการไปพร้อมกัน ได้แก่<br />

1) บรรลุเป้ าหมายของงาน 2) บรรลุเป้ าหมายการพัฒนาคน 3) บรรลุเป้ าหมายการพัฒนาองค์กรไปเป็ น<br />

องค์กรเรียนรู้ และ 4) บรรลุความเป็ นชุมชน เป็ นหมู่คณะ ความเอื ้ออาทรระหว่างกันในที่ทํางาน<br />

ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence : AI) หมายถึง การทําให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุ<br />

ผลได้ เรียนรู้ได้ ทํางานได้เหมือนสมองมนุษย์ เช่น หุ่นยนต์ เป็ นต้น<br />

นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง เทคนิคที่ช่วยให้การศึกษา และการ<br />

เรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้น ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิผลกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียน<br />

และประหยัดเวลา<br />

ปัจจุบันมีการใช้นวัตกรรมการศึกษาที่หลากหลาย อาทิ การเรียนการสอนที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วย<br />

สอน (Computer Aids Instruction) ระบบอีเลินนิ่ง (E-Learning System) การใช้แผ่นวิดีทัศน์เชิงโต้ตอบ<br />

(Interactive Video) สื่อหลายมิติ ( Multimedia ) และอินเทอร์เน็ต (Internet)


32<br />

2.3.2. ประเภทของความรู ้<br />

1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็ นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือ<br />

สัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทําความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็ นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมา<br />

เป็ นคําพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทํางาน งานฝี มือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์<br />

บางครั ้ง จึงเรียกว่าเป็ นความรู้แบบนามธรรม<br />

2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็ นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธี<br />

ต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็ นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ และบางครั ้งเรียกว่าเป็ นความรู้แบบ<br />

รูปธรรม<br />

2.3.3. กระบวนการจัดการความรู ้ ตามแนว กพร.<br />

1. การบ่งชี ้ความรู้<br />

2. การสร้างและแสวงหาความรู้<br />

3. การจัดความรู้ให้เป็ นระบบ<br />

4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้<br />

5. การเข้าถึงความรู้<br />

6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้<br />

7. การเรียนรู้<br />

2.3.4. เครื่องมือจัดการความรู ้<br />

1. ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of practice : CoP)<br />

2. การศึกษาดูงาน (Study tour)<br />

3. การทบทวนหลังปฏิบัติการหรือการถอดบทเรียน (After action review : AAR)<br />

4. การเรียนรู้ร่วมกันหลังงานสําเร็จ (Retrospect)<br />

5. เรื่องเล่าเร้าพลัง (Springboard Storytelling)<br />

6. การค้นหาสิ่งดีรอบตัว หรือสุนทรียสาธก (Appreciative Inquiring)<br />

7. เวทีเสวนา หรือสุนทรียสนทนา (Dialogue)<br />

8. เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist)<br />

9. การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (Action Learning)<br />

10. มาตรฐานเปรียบเทียบ (Benchmarking)<br />

11. การสอนงาน (Coaching)<br />

12. การเป็ นพี่เลี ้ยง (Mentoring)


33<br />

13. ฟอรัม ถาม – ตอบ (Forum)<br />

14. บทเรียนจากความผิดพลาด (Lesson Learning)<br />

15. เวทีกลุ่มเฉพาะ (Focus Group)<br />

2.3.5. ขอบเขตของปัญญาประดิษฐ์<br />

1.ระบบผู ้เชี่ยวชาญ (Expert Systems) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่แสดงความสามารถได้<br />

เหมือนกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ หรือในงานเฉพาะอย่าง<br />

1. ภาษาธรรมชาติ (Natural Languages)<br />

ภาษาที่เกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารโดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ทั ้งคอมพิวเตอร์เข้าใจ<br />

ภาษามนุษย์ และมนุษย์เข้าใจการรับรู้ของคอมพิวเตอร์<br />

2. ระบบจับภาพ (Vision System)<br />

การที่คอมพิวเตอร์สามารถทํางานได้โดยอาศัยการมอง และการจดจํารูปแบบ เช่น<br />

การตรวจหาชิ้นส่วนที่บกพร่อง การให้คอมพิวเตอร์แข่งเตะบอล เป็ นต้น<br />

3. ศาสตร์ด้านหุ ่นยนต์ (Robotics)<br />

เกี่ยวกับการออกแบบ การสร้าง และการนําไปใช้งาน ให้เคลื่อนไหวได้คล้ายมนุษย์<br />

โดยเฉพาะใช้งานที่เสี่ยงอันตรายแทนมนุษย์<br />

4. เครือข่ายเส้ นประสาท (Neural Networks)<br />

ระบบที่อาศัยความรู้เป็ นพื ้นฐาน สร้างเรียนแบบเส้นใยประสาทของมนุษย์ เป็ นการ<br />

ทํากิจกรรมแบบขนานที่ทํางานพร้อมกัน เพื่อให้ได้คําตอบเดียว<br />

2.3.6. ประโยชน์ของระบบผู ้เชี่ยวชาญ<br />

อารมณ์<br />

สินค้า<br />

1. ช่วยรักษาความรู้ที่อาจสูญหาย เมื่อผู้เชี่ยวชาญลาออก<br />

2. ช่วยทําให้ข้อมูลมีคุณภาพ ที่จะนําไปใช้งาน<br />

3. ช่วยทําให้เกิดความคิดสร้างสรรค์แปลกใหม่<br />

4. ช่วยแก้ปัญหาความไม่มีเสถียรภาพของมนุษย์ เช่น ความเมื่อยล้า ความสับสนหรือ<br />

5. ช่วยเป็ นแหล่งสารสนเทศกับงานด้านการตลาด การลดต้นทุน และการปรับปรุงพัฒนา


34<br />

2.3.7. การนําระบบผู ้เชี่ยวชาญไปใช้งาน<br />

1. การผลิต (Production)<br />

2. การตรวจสอบ (Inspection)<br />

3. การประกอบชิ้นส่วน (Assembly)<br />

4. การบริการ (Field Service)<br />

5. การซ่อมแซมอุปกรณ์ (Equipment Repair)<br />

6. การตรวจสอบบัญชี (Auditing)<br />

7. การคํานวณภาษี (Tax Accounting)<br />

8. การวางแผนด้านการเงิน (Financial Planning)<br />

9. การลงทุน (Investments)<br />

10. งานบุคคล (Personnel)<br />

11. การตลาด และการขาย (Marketing and Sales)<br />

12. การอนุมัติสินเชื่อ (Credit Authorization)<br />

13. การบริการของรัฐ (Human Services Agency)<br />

14. การทํานายทางการแพทย์ (Medical Prognosis)<br />

2.3.8. ระบบการได้มาซึ่งนวัตกรรม<br />

1. การตรวจหาความจริง (Investigation)<br />

2. การตระเตรียม (Preparation)<br />

3. การบ่มเพาะ (Incubation)<br />

4. การทําให้ส่องสว่าง (Illumination)<br />

5. การตรวจสอบยืนยัน (Verification)<br />

6. การนําไปใช้ (Application)


35<br />

บทที่ 3<br />

วิธีดําเนินงานวิจัย<br />

3.1. ประชากรและกลุ ่มตัวอย่าง<br />

ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ สัตว์นํ ้าทางทะเลภายในพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล มีการ<br />

จัดเก็บรวบรวมและจัดแสดงสิ่งมีชีวิตในท้องทะเล โดยแยกประเภทสัตว์นํ ้าตามสภาพแวดล้อม และความ<br />

เป็ นอยู ่ของสัตว์แต่ละชนิด ซึ ่งพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล เก็บรวบรวมตัวอย่างพืชและสัตว์ทะเล<br />

หลากหลายชนิดที่พบในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รวมทั ้งจัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่อาศัย<br />

อยู่ในทะเลตั ้งแต่ขนาดเล็ก เช่น แพลงก์ตอน สาหร่ายทะเล ฟองนํ ้า ปะการัง เม่นทะเล และหอยชนิดต่าง<br />

ๆ จนถึงสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ ได้แก่ ปลาทะเล เต่าทะเล จระเข้นํ ้าเค็ม และสัตว์เลี ้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ใน<br />

ทะเล โดยจัดแสดงไว้ในตู้ขนาดต่าง ๆ ที่มีความจุตั ้งแต่ ½ ตัน ถึง 200 ตัน จํานวนทั ้งหมด 43 ตู้<br />

กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือ สัตว์นํ ้าทางทะเลภายในพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล ในส่วนที่มี<br />

การจัดแสดงไว้ตามตู้ต่างๆ ภายในพิพิธพันธ์ ซึ ่งมีจํานวนทั ้งหมด 43 ตู้<br />

3.2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยหรือวิธีการรวบรวมข้อมูล<br />

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลนํ ้าทางทะเลภายในพิพิธภัณฑ์<br />

วิทยาศาสตร์ทางทะเล โดยข้อมูลประกอบด้วย 4 ส่วนคือ<br />

1. ข้อมูลเกี่ยวกับชื่อ และการจําแนกประเภท<br />

2. ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทั่วไป<br />

3. ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งที่พบ<br />

4. ข้อมูลเกี่ยวกับเพิ่มเติม


36<br />

User Interface<br />

รูปที่ 1 หน้าหลักของระบบ<br />

รูปที่ 2 หน้าค้นหา


37<br />

รูปที่ 3 หน้ารายการหลังการค้นหา<br />

รูปที่ 4 หน้าแสดงรายละเอียดข้อมูลสัตว์นํ ้า


38<br />

รูปที่ 5 หน้าแก้ไขรายละเอียดข้อมูลสัตว์นํ ้า<br />

รูปที่ 6 หน้าเพิ ่มรายละเอียดข้อมูลสัตว์นํ ้า


รูปที่ 7 หน้าติดต่อเรา<br />

39

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!