05.05.2015 Views

THORESEN THAI AGENCIES PLC. - Thoresen Thai Agencies PCL

THORESEN THAI AGENCIES PLC. - Thoresen Thai Agencies PCL

THORESEN THAI AGENCIES PLC. - Thoresen Thai Agencies PCL

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>THORESEN</strong> <strong>THAI</strong> <strong>AGENCIES</strong> <strong>PLC</strong>.


ประวัติความเปนมา<br />

2553 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เขาถือหุนรอยละ 38.83 ใน Petrolift Inc. ซึ่งเปน<br />

บริษัทเรือบรรทุกน้ำมันปโตรเลียมในประเทศฟลิปปนส<br />

เมอรเมด เขาถือหุนรอยละ 100 ใน Subtech Ltd. ในประเทศเซเชลส เพื่อขยายบริการงานวิศวกรรม<br />

โยธาใตน้ำไปยังตะวันออกกลางและอาวเปอรเซีย<br />

เมอรเมด ขายเงินลงทุนในโครงการเรือขุดเจาะ KM-1 ใหกับหุนสวนชาวมาเลเซีย และขายหุนใน<br />

บริษัท เวิลลคลาส อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น บีเอชดี<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ออกหุนกูในประเทศประเภทระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอย<br />

สิทธิ ไมมีประกันเปนจำนวนเงินรวม 4.0 พันลานบาท เพื่อใชชำระคืนหนี้เงินกูธนาคารพาณิชย และ<br />

เพิ่มเงินทุนหมุนเวียน<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดดำเนินการไถถอนหุนกูแปลงสภาพครั้งที่ 1<br />

จำนวน 34.30 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา จำนวนเงินตนคงคางภายใตหุนกูแปลงสภาพทั้งหมด<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 คิดเปนเงิน 68.60 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดซื้อเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองมือสอง 3 ลำ และ<br />

รับมอบเรือที่สั่งตอใหมอีก 1 ลำ สวนเมอรเมด ไดรับมอบเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำมือสอง<br />

1 ลำ และรับมอบเรือที่สั่งตอใหมอีก 3 ลำ<br />

กองเรือโทรีเซน ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 ที่กลุมบริษัทโทรีเซนเปนเจาของ มีทั้งหมด 27 ลำ<br />

เปนเรือบรรทุกสินคาทั่วไปและเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง เรือสำหรับใหบริการนอกชายฝงจำนวน 8 ลำ<br />

และมีเรือขุดเจาะอีก 2 ลำ นอกจากนี้ ยังมีเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองอีกเปนจำนวนประมาณ 8.48 ลำ<br />

ที่กลุมบริษัทโทรีเซนไดเชามาเสริมเพิ่มเติมเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา<br />

2552 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดกอตั้งบริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ประกอบ<br />

ธุรกิจโดยการถือหุน (holding company) เพื่อการลงทุนในโครงการตางๆ สินทรัพยหรือลงทุนใน<br />

บริษัทนอกประเทศไทย<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เขาถือหุนรอยละ 89.55 ในบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส<br />

จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจโลจิสติคสถานหินในประเทศไทย<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เขาถือหุนรอยละ 100 ในบริษัท บาคองโค จำกัด<br />

ซึ่งเปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจปุยในประเทศเวียดนาม<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เขาถือหุนรอยละ 21.18 ในเมอรตัน กรุป (ไซปรัส)<br />

แอลทีดี ซึ่งเปนหุนสวนในบริษัทที่ประกอบธุรกิจเหมืองถานหินในประเทศฟลิปปนส<br />

เมอรเมด ไดระดมเงินทุนโดยการออกหุนเพิ่มทุน (right issues) 156 ลานดอลลารสิงคโปร<br />

เพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจของบริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน)<br />

2551 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ขยายการลงทุนสูประเทศอินโดนีเซีย โดยไดลงทุนรอยละ<br />

49 ใน PT Perusahaan Pelayaran Equinox<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดรับรางวัล <strong>Thai</strong>land’s Best-Managed Medium-Cap<br />

Corporation จากนิตยสาร Asiamoney<br />

2550 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดออกหุนกูแปลงสภาพจำนวน 169.80 ลานดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกา เพื่อนำมาใชในแผนการขยายและปรับปรุงกองเรือของบริษัทฯ<br />

เมอรเมดไดจัดหาเงินทุนจำนวน 246 ลานดอลลารสิงคโปร จากการออกและเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุน<br />

แกประชาชนทั่วไปเปนครั้งแรกและจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศสิงคโปร


2549<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เนนการกระจายธุรกิจใหมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น<br />

โดยลงทุนเพิ่มในบริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (“เมอรเมด”) เปนรอยละ 74.01 ณ วันที่ 30 กันยายน<br />

2549 เพื่อรองรับการขยายตัวอยางรวดเร็วในดานอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝง<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ติดอันดับ 1 ใน 200 บริษัทจดทะเบียนที่ดีที่สุดในเอเชีย<br />

ซึ่งมีรายไดใกล 1 พันลานดอลลารสหรัฐอเมริกา โดยนิตยสาร Forbes Asia<br />

2548<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดรับรางวัล Best Performance Award<br />

ในกลุมอุตสาหกรรมธุรกิจบริการจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย<br />

2538<br />

หุนสามัญของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดรับการอนุมัติใหเปนหลักทรัพยที่<br />

จดทะเบียนและซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย<br />

2537<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด ไดแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนจำกัด<br />

2536<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด ไดเปลี่ยนมาประกอบธุรกิจโดยการถือหุน (holding company)<br />

โดยมีการวางนโยบายใหบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด ถือหุนในทุกบริษัทในเครือโทรีเซนที่จะ<br />

จัดตั้งขึ้นใหม รวมถึงในบริษัทยอยที่ประกอบธุรกิจเดินเรือที่ตั้งขึ้นใหมทุกบริษัท เนื่องจากเริ่มมีการขยาย<br />

กองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง<br />

2529<br />

เพื่อเปนการแยกธุรกิจที่ไมใชการเดินเรือทะเล อาทิ ตัวแทนเรือและนายหนาเชาเหมาเรือออกจากธุรกิจ<br />

เดินเรือทะเลของบริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จำกัด ธุรกิจที่ไมใชธุรกิจเดินเรือทะเลจึงถูกโอนไปยัง<br />

บริษัท โทรีเซนไทย ออฟชอร จำกัด และตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด<br />

เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2529<br />

2469<br />

โทรีเซน แอนด โค ลิมิเต็ด (ฮองกง) ตั้งสำนักงานสาขาในประเทศไทย เพื่อดำเนินธุรกิจในดานตัวแทนเรือ<br />

และนายหนาเชาเหมาเรือ<br />

รายงานประจำป 2553 1


สารบัญตาราง / แผนภูมิ<br />

ตาราง<br />

สาสนถึงผูถือหุน<br />

ตาราง 1 รายละเอียดสัดสวนแบงกำไรสุทธิจากธุรกิจหลักใหกับบริษัทฯ 10<br />

ตาราง 2 รายไดรวม ผลกำไร (ขาดทุน) สุทธิ และผลตอบแทนจากทุน 15<br />

ขอมูลและแนวโนมธุรกิจ<br />

ตาราง 3 ปริมาณการคาทางทะเลของโลกป 2543 ถึง 2553 37<br />

ตาราง 4 อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP)<br />

ป 2546 ถึง 2552 38<br />

ตาราง 5 ปริมาณการคาสินคาแหงเทกองทางทะเลตั้งแต<br />

ป 2547 ถึง 2553 38<br />

ตาราง 6 อุปสงคของสินคาแหงเทกองป 2547 ถึง 2553 39<br />

ตาราง 7 การผลิตเหล็กดิบของโลก 39<br />

ตาราง 8 กองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง เดือนพฤศจิกายน 2553 42<br />

ตาราง 9 การสั่งซื้อเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที่สั่งตอใหม<br />

เดือนพฤศจิกายน 2553 42<br />

ตาราง 10 คุณลักษณะของเรือแตละประเภท 46<br />

ตาราง 11 โครงสรางกองเรือโทรีเซน 46<br />

ตาราง 12 รายชื่อกองเรือโทรีเซน 47<br />

ตาราง 13 ประเภทของการเชาเหมาเรือ 49<br />

ตาราง 14 โครงการนอกชายฝงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต<br />

ของบริษัทน้ำมัน 57<br />

ตาราง 15 รายชื่อกองเรือที่ใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำของเมอรเมด 58<br />

ตาราง 16 ภาพรวมของกองเรือขุดเจาะทั่วโลก 61<br />

ตาราง 17 รายชื่อกองเรือขุดเจาะ 63<br />

ตาราง 18 ตลาดเรือขุดเจาะ 65<br />

ตาราง 19 อุปสงคของถานหินของ PLN 72<br />

ตาราง 20 อุปสงคและอุปทานของถานหินประเภทใหความรอน 73<br />

ตาราง 21 คุณสมบัติเฉพาะของถานหินแตละประเภท 82<br />

คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ<br />

ตาราง 22 ผลการดำเนินงานของกลุม 90<br />

ตาราง 23 ผลกำไรจากการดำเนินงานของกลุมธุรกิจหลัก 90<br />

ตาราง 24 สรุปขอมูลกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง 91<br />

ตาราง 25 ปริมาณสินคาตามประเภทของการใหบริการ 92<br />

ตาราง 26 ผลการดำเนินงานเฉลี่ย 92<br />

ตาราง 27<br />

วิเคราะหผลประกอบการจากงบการเงินรวมของเมอรเมด<br />

ในรอบปบัญชี 2553 94<br />

ตาราง 28 สรุปขอมูลกองเรือใหบริการนอกชายฝง 95<br />

ตาราง 29 อัตราการใชประโยชนจากเรือของกองเรือขุดเจาะ 95<br />

ตาราง 30 ผลการดำเนินงานตามงบการเงินรวมของ UMS 97<br />

ตาราง 31 ผลการดำเนินงานของบาคองโค 98<br />

ตาราง 32 ตารางการลงทุนฝายทุนที่มีภาระผูกพัน 32<br />

ตาราง 33 เรือที่จะอายุครบ 25 ป 99<br />

ตาราง 34 สรุปรายการกระแสเงินสด 100<br />

ตาราง 35 โครงสรางเงินทุนรวมของบริษัทฯ 101<br />

ตาราง 36 วิเคราะหแหลงเงินทุนของบริษัทฯ 101<br />

ตาราง 37 Credit Metrics และสภาพคลอง 102<br />

ตาราง 38 วันครบกำหนดอายุหนี้สินระยะยาว 102<br />

การถือครองหุนโดยคณะกรรมการและผูบริหาร<br />

ตาราง 39 การถือครองหุนโดยคณะกรรมการ 193<br />

ตาราง 40 การถือครองหุนโดยผูบริหาร 193<br />

ผูถือหุนและนโยบายการจายเงินปนผล<br />

ตาราง 41 ผูถือหุนรายใหญ 194<br />

รายงานวาดวยการกำกับดูแลกิจการ<br />

ตาราง 42 รายนามคณะกรรมการ 201<br />

ตาราง 43 รายละเอียดการเขารวมประชุมของกรรมการ 209<br />

ตาราง 44 คาตอบแทนและเงินรางวัลประจำปของ 211<br />

คณะกรรมการและกรรมการชุดยอย<br />

แผนภูมิ<br />

สาสนถึงผูถือหุน<br />

แผนภูมิ 1 สวนแบงผลกำไรจากธุรกิจตางๆ 7<br />

แผนภูมิ 2 รายไดรวม (2551-2553) 10<br />

แผนภูมิ 3 รายไดรวมป 2553 จำแนกตามสายงานธุรกิจ 10<br />

แผนภูมิ 4 ดัชนีคาระวางบอลติค (2551-2553) 11<br />

แผนภูมิ 5 กำไรตอหุน ผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน<br />

และผลผลิตจากการทำงานตอคน (2551-2553) 22<br />

ขอมูลและแนวโนมธุรกิจ<br />

แผนภูมิ 6 โครงสรางกลุมบริษัทโทรีเซนภายใตกลุมธุรกิจใหม 32<br />

แผนภูมิ 7 การพัฒนาของปริมาณการคาของสินคาแหงเทกอง 38<br />

แผนภูมิ 8 อุปสงคของสินคาแหงเทกอง 39<br />

แผนภูมิ 9 การผลิตเหล็กของโลกและสวนแบงการตลาดของจีน 40<br />

แผนภูมิ 10 การนำเขาแรเหล็กของจีน 40<br />

แผนภูมิ 11 การสั่งซื้อเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที่สั่งตอใหม 42<br />

แผนภูมิ 12 อัตราคาเชาเหมาลำแบบเปนระยะเวลา 1 ป 43<br />

แผนภูมิ 13 ราคาของกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองสั่งตอใหม 44<br />

แผนภูมิ 14 ราคาของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองมือสอง 44<br />

แผนภูมิ 15 จำนวนเรือและระวางบรรทุกรวมในแตละป 45<br />

แผนภูมิ 16 การใหบริการของกองเรือโทรีเซนจำแนกตามวันเดินเรือ 46<br />

แผนภูมิ 17 สัดสวนการถือครองเรือประเภทบรรทุกสินคาทั่วไปและเรือบรรทุก 49<br />

สินคาแหงเทกอง (15,000-50,000 เดทเวทตัน) 49<br />

แผนภูมิ 18 ลูกคาจำแนกตามรายรับ 50<br />

แผนภูมิ 19 สินคาที่ขนสงจำแนกตามประเภทของสินคา 50<br />

แผนภูมิ 20 การเติบโตของการใชพลังงานน้ำมันและกาซธรรมชาติ 54<br />

แผนภูมิ 21 การเปลี่ยนแปลงของการใชจายในการสำรวจและผลิตตอราคา<br />

น้ำมันคิดเปนรอยละ 55<br />

แผนภูมิ 22 คำสั่งตอเรือใหม 56<br />

แผนภูมิ 23 แนวโนมของเรือขุดเจาะ 61<br />

แผนภูมิ 24 ทิศทางการคาถานหินประเภทใหความรอน 66<br />

แผนภูมิ 25 ราคาของถานหินประเภทใหความรอน 66<br />

แผนภูมิ 26 การนำเขาถานหินของสหราชอาณาจักรและเยอรมณี 67<br />

แผนภูมิ 27 ปริมาณสินคาของสหราชอาณาจักร 67<br />

แผนภูมิ 28 การนำเขาถานหินออสเตรเลีย 68<br />

แผนภูมิ 29 การตอบสนองดานอุปทานของอินโดนีเซีย 68<br />

แผนภูมิ 30 การคาถานหินของจีน 69<br />

แผนภูมิ 31 จีนกระจายไปยังแหลงนำเขาอื่นๆ 69<br />

แผนภูมิ 32 การผลิตไฟฟาพลังงานความรอนของอินเดีย 70<br />

แผนภูมิ 33 อุปสงคการนำเขาของอินเดีย 71<br />

แผนภูมิ 34 ตนทุนเปรียบเทียบกับจีน 71<br />

แผนภูมิ 35 ประสิทธิภาพของสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและ<br />

การสงออกของออสเตรเลีย 72<br />

แผนภูมิ 36 สัญญาฟวเจอรถานหิน ICE 73<br />

แผนภูมิ 37 ประมาณและมูลคาการนำเขาปุยของประเทศเวียดนาม 78<br />

แผนภูมิ 38 ความตองการปุย 78<br />

แผนภูมิ 39 กระบวนการผลิตปุยของบาคองโค 79<br />

แผนภูมิ 40 ประเภทของถานหิน การเก็บสำรอง คุณสมบัติทั่วไป<br />

และการนำมาใช 81<br />

แผนภูมิ 41 ปริมาณการนำเขาถานหิน 82<br />

แผนภูมิ 42 มูลคาการสงออกถานหิน 83<br />

แผนภูมิ 43 การเปรียบเทียบราคาระหวางเชื้อเพลิง 3 ประเภท 83


ประวัติความเปนมา 1<br />

จุดเดนทางการเงิน 4<br />

สาสนถึงผูถือหุน 5<br />

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ 24<br />

คณะกรรมการ 26<br />

คณะผูบริหาร 28<br />

ขอมูลและแนวโนมธุรกิจ 31<br />

นโยบายวาดวยการรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทฯ 85<br />

คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ 90<br />

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน 105<br />

สารบัญ<br />

งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัทฯ 106<br />

โครงสรางรายได 183<br />

คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 183<br />

ปจจัยความเสี่ยง 184<br />

การถือครองหุนโดยคณะกรรมการและผูบริหาร 193<br />

ผูถือหุนและนโยบายการจายเงินปนผล 194<br />

รายงานวาดวยการกำกับดูแลกิจการ 195<br />

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน 213<br />

รายการระหวางกัน 214<br />

การลงทุนในบริษัทตางๆ 218<br />

ขอมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ 223


จุดเดนทางการเงิน<br />

รอบบัญชีสิ้นสุด 30 กันยายน<br />

2553 2552 2551<br />

(หนวย : ลานบาท ยกเวน หุน / ขอมูลตอหุนและอัตราสวนทางการเงิน<br />

งบกำไรขาดทุน :<br />

รายไดจากการเดินเรือ 9,272.55 13,842.17 28,453.61<br />

คาใชจายในการเดินเรือ 4,921.29 8,115.66 15,107.66<br />

คาใชจายในการดำเนินงานเกี่ยวกับเรือเดินทะเล - สวนของเจาของเรือ 2,029.22 2,890.82 2,798.01<br />

รายไดจากธุรกิจบริการนอกชายฝง 3,476.37 5,209.87 5,285.44<br />

คาใชจายจากธุรกิจบริการนอกชายฝง 2,641.82 3,310.88 3,593.82<br />

รายไดจากการขาย 4,640.74 365.80 -<br />

ตนทุนขาย 3,827.51 320.26 -<br />

รายไดจากกลุมบริษัทที่ใหบริการและแหลงอื่นๆ 1,521.12 1,704.28 1,128.18<br />

คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย 1,962.03 1,778.93 2,050.62<br />

คาใชจายทั่วไปและคาใชจายการบริหาร 1,939.76 1,950.66 1,765.76<br />

ดอกเบี้ยจาย 510.62 378.05 535.68<br />

ดอกเบี้ยรับ 94.65 125.43 204.71<br />

สวนแบงกำไร (ขาดทุน) จากการลงทุนในบริษัทรวมและกิจการรวมคา 80.31 29.88 74.21<br />

กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน 24.34 (9.87) 236.32<br />

กำไรสุทธิ 795.57 1,813.71 8,776.44<br />

ขอมูลตอหุน :<br />

กำไรสุทธิ-ขั้นพื้นฐาน 1.12 2.56 12.40<br />

เงินปนผลจาย 0.26 0.54 2.25<br />

มูลคาทางบัญชี 44.54 43.91 45.39<br />

งบดุล (ณ วันสิ้นรอบบัญชี) :<br />

เงินสดและมูลคาหลักทรัพยในความตองการของตลาด 10,414.49 11,822.56 11,990.56<br />

เรือเดินทะเล เรือขุดเจาะ เครื่องจักร และอุปกรณสุทธิ 21,907.37 13,471.96 15,089.70<br />

รวมสินทรัพย 48,873.46 41,640.83 42,143.11<br />

หนี้สินรวม 17,341.32 10,549.39 12,928.02<br />

ทุนเรือนหุน (บาท) 708,004,413 708,004,413 643,684,422<br />

รวมสวนของผูถือหุน 31,532.14 31,091.44 29,215.10<br />

ขอมูลทางการเงินอื่นๆ :<br />

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานสุทธิ 1,550.23 5,000.69 11,340.02<br />

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนสุทธิ (10,883.10) (4,617.08) (6,281.04)<br />

กระแสเงินสดจากกิจกรรมในจัดหาเงินสุทธิ 7,305.19 (1,111.25) 2,612.65<br />

คาใชจายฝายทุน :<br />

ยอดรวมการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณและสินทรัพยไมมีตัวตน 8,356.00 4,726.32 3,756.58<br />

อัตราสวนทางการเงิน :<br />

อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (%) 3.04% 7.06% 43.73%<br />

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม (%) 1.76% 4.33% 24.97%<br />

อัตรากำไรสุทธิตอรายไดรวม (%) 4.17% 8.52% 24.97%<br />

ยอดหนี้สินทั้งหมดตอทุนของบริษัทฯ 0.31 0.18 0.22<br />

ยอดหนี้สิน (เงินสด) สุทธิตอทุนสุทธิ 0.11 (0.18) (0.16)<br />

4 รายงานประจำป 2553


สาสนถึงผูถือหุน<br />

2553 – ปแหงการเสริมความแกรงกลาที่จะนำไปสูการเปลี่ยนแปลงโครงสรางธุรกิจอยางแทจริง<br />

สองปที่ผานมานี้นับเปนชวงเวลาที่ทาทายที่สุดชวงหนึ่งแตก็นาตื่นเตนสำหรับ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด(มหาชน) (“บริษัทฯ”)<br />

ราคาทรัพยสินและหุนในธุรกิจหลายแขนงไดดิ่งลงและทำใหหลายๆ ฝายมีขอกังขาเกี่ยวกับการดำเนินการธุรกิจในตลาดเปดเสรี อยางไรแลว<br />

ถึงแมตลาดไดแสดงใหเห็นวี่แววความกระเตื้องบาง เราก็ไมควรลืมบทเรียนที่ไดรับจากการตื่นตระหนกและผลกระทบที่ตามมา และสมควรที่<br />

จะนำบทเรียนไปใชในการตัดสินใจอยางรอบคอบในภายภาคหนา<br />

ในขณะนี้ โลกธุรกิจไดมีโอกาสเริ่มตนใหมอีกครั้ง ความไมแนนอนก็ยังคงดำเนินตอไป และเราเชื่อวาการเติบโตทางธุรกิจนั้นเปนเรื่องที่จะทำให<br />

สำเร็จไดยากขึ้นกวาเดิม ความผันผวนยังคงมีอยู ซึ่งจะนำไปสูการควบคุมและตรวจตราการดำเนินการธุรกิจอยางเขมงวดมากขึ้น อยางไรก็ตาม<br />

บริษัทฯ ถือวาเปนโอกาสที่ดีในการปรับเปลี่ยนตัวเองใหม<br />

ในชวงหาปที่ผานมานี้ บริษัทฯ ไดมีการตัดสินใจที่นำสูการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของธุรกิจของเราแตก็ยังคงไวอยูกับนโยบายการเงินที่ระมัดระวัง<br />

การที่เราไดเดินทางขนานทั้งสองเสนนี้ไดทำใหเราไดยืนหยัดอยางมั่นคงตอภาวะวิกฤตที่ผานมานี้ การตัดสินใจที่นำสูการเปลี่ยนแปลงลักษณะ<br />

ธุรกิจของเรารวมถึง<br />

l เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2550 บริษัทฯ ไดออกหุนกูแปลงสภาพ รวมมูลคา 169.8 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ในตลาดตางประเทศ<br />

l เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2550 บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) (“เมอรเมด”) ไดเขาจดทะเบียนหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพยแหง<br />

ประเทศสิงคโปร (“SGX-ST”) โดยระดมทุนไดเปนจำนวนเงิน 246.5 ลานดอลลารสิงคโปร<br />

“<br />

ในขณะนี้ โลกธุรกิจไดมีโอกาสเริ่มตนใหมอีกครั้ง<br />

ความไมแนนอนก็ยังคงดำเนินตอไป และเราเชื่อวา<br />

การเติบโตทางธุรกิจนั้นเปนเรื่องที่จะทำใหสำเร็จไดยาก<br />

ขึ้นกวาเดิม ความผันผวนยังคงมีอยู ซึ่งจะนำไปสู<br />

การควบคุมและตรวจตราการดำเนินการธุรกิจอยาง<br />

เขมงวดมากขึ้น อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ถือวาเปน<br />

โอกาสที่ดีในการปรับเปลี่ยนตัวเองใหม”<br />

l ในชวงระหวาง พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 และ กรกฎาคม พ.ศ. 2553 บริษัทฯ ไดมีการซื้อคืนหุนกูแปลงสภาพในจำนวนเงิน 66.9 ลานดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกา ในชวงที่ตลาดเงินไดตกอยูในภาวะผันผวน ทั้งนี้ยังไดเพิ่มสภาพคลองใหแกตลาดเงินไปในตัว<br />

l เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 บริษัทฯ ไดซื้อหุนทั้งหมด (รอยละ 100) ใน บริษัท บาคองโค จำกัด ดวยเงินจำนวน 374.1 ลานบาท<br />

ทั้งนี้ การลงทุนครั้งนี้ถือวาเปนการลงทุนในประเทศเวียดนามที่คอนขางใหญเปนครั้งแรกสำหรับบริษัทฯ<br />

l เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552 บริษัทฯ ไดกาวเขาไปในธุรกิจพลังงานตนน้ำเปนครั้งแรกดวยการลงทุน 169.5 ลานบาท ใน บริษัท เมอรตัน<br />

กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี เทียบเทาสัดสวนการถือหุนรอยละ 21.18<br />

l เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ตามสัญญาเสนอซื้อขายหุน บริษัทฯ ไดซื้อ บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) (“UMS”) ดวย<br />

จำนวนเงิน 3,977.8 ลานบาท และเปนผูถือหุนใหญในสัดสวน รอยละ 89.55<br />

l เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ มีการลงทุนในธุรกิจเรือบรรทุกและขนสงน้ำมันขนาดเล็กดวยการซื้อหุนรอยละ 38.83 ใน Petrolift Inc.<br />

(“Petrolift”) ดวยจำนวนเงิน 904.5 ลานบาทและ<br />

l เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ ไดมีการลงทุนขนาดใหญในประเทศเวียดนามเปนครั้งที่สองดวยการซื้อหุนใน บริษัท Baria<br />

Serece ดวยจำนวนเงิน 332.5 ลานบาท เทียบเทากับการถือหุนรอยละ 20 ในบริษัทดังกลาว<br />

จุดหมายหลักๆ ในป 2553<br />

ในการลองไปในน้ำเชี่ยวนั้นเราไดยึดมั่นในความสามารถที่เปนแกนหลักของเรามาชวยนำทาง โดยมีเปาหมายระยะยาวเปนที่ตั้ง การวิเคราะหการ<br />

ลงทุนอยางมีวินัยโดยคำนึงถึงเปาหมายนี้ การอาศัยความสัมพันธในวงการธุรกิจ และการบริหารการเงินอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อบรรลุจุดหมาย<br />

ระยะสั้นหลักๆ อยูสี่ประการดังนี้


รักษาบริษัทฯ ใหมีความมั่นคง ใน 12 เดือนที่ผานมานี้ เราไดลดจำนวนพนักงานไปโดยเฉลี่ยรอยละ 6 รวมทั้งไดขายธุรกิจและ/หรือทรัพยสินที่<br />

คาดวาจะไมสามารถทำกำไรไดตามเกณฑ ดวยเหตุผลเดียวกันนี้เราจึงไดชะลอการขยายธุรกิจตามหลักการลงทุนที่จะเสริมสรางสิ่งที่เรามีอยูได<br />

ทั้งนี้ เราไดวางแผนรับมือความผันผวนในตลาดเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองและธุรกิจบริการนอกชายฝงและยืนพรอมที่จะรับกับความผันผวนที่<br />

จะมีขึ้นอยูเรื่อยๆ<br />

เดินหนาตามกลยุทธที่จะทำใหบริษัทฯ เติบโตและจัดวางธุรกิจใหอยูในจุดที่จะทำใหดีขึ้น บริษัทฯ ไดตัดสินยกเลิกการขนสงประจำเสนทาง<br />

เพื่อที่จะลดความเสี่ยงตอความผันผวนพรอมทั้งเพิ่มศักยภาพในการปลอยเชาเรือโดยรับคาระวางเรือที่สูงกวาไดในเขตธุรกรรมอื่นๆ เชนใน<br />

มหาสมุทรแอตแลนติก การตัดสินใจครั้งนี้นั้น เปนเรื่องที่ลำบากใจมากเพราะธุรกรรมการขนสงประจำเสนทางนั้นเปนหนึ่งเดียวกันกับประวัติศาสตร<br />

ของบริษัทฯ ในการขนสงของเราเปนเวลา 25 ปทีเดียว ซึ่งผลที่ตามมาคือ คาระวางเรือ (time charter equivalent (“TCE”)) ของบริษัทฯ สูงขึ้น<br />

รอยละ 13.41 หรือคิดเปนจำนวนเงิน 12,619 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน<br />

กำไรขั้นตนลดลงเปนรอยละ 24.45 จากรอยละ 26.13 ในป 2552 สืบเนื่องมาจากผลประกอบการที่ออนแอของเมอรเมด บริษัทฯ ไดตัดคาใชจาย<br />

ทั่วไปและคาใชจายในการบริหารลงจำนวน 41.7 ลานบาท หรือรอยละ 2.61 จากคาใชจายในป 2552 ทั้งนี้ ก็เพื่อมาพยุงผลกระทบจากอุปสงค<br />

ของลูกคาที่ลดลง ในขณะเดียวกันเราก็ไดเพิ่มการลงทุนในตลาดที่มีศักยภาพสูงเชน ประเทศเวียดนามและ ประเทศฟลิปปนสซึ่งโดยรวมแลว<br />

นอกจากเมอรเมด ธุรกิจหลักๆ ของเรามีผลกำไรในป 2553 รวมทั้งปจจัยหลายปจจัยยังบงชี้ไดวาจะเห็นสวนผลกำไรที่สูงขึ้นจากบริษัทนองใหม<br />

ในเครือในปขางหนานี้<br />

การเพิ่มศักยภาพทางการเงิน สวนของผูถือหุนเพิ่มขึ้น 440.7 ลานบาท ในป 2553 และมีกระแสเงินสดจากการดำเนินงานเปนจำนวน 1,550.2<br />

ลานบาทโดยประมาณ บริษัทฯ ไดขายเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองรวมทั้งสิ้น 11 ลำ รวมทั้งเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำอีก 1 ลำ เพื่อที่จะ<br />

มามุงดำเนินการธุรกรรมที่มีกำไรมากขึ้นได การขายสินทรัพยดังกลาวนั้นทำใหเงินสดของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นจำนวน 1,397.7 ลานบาท โดยรวมแลว<br />

เงินสดในบัญชี ณ สิ้นรอบบัญชีมีจำนวน 8,458.2 ลานบาท บริษัทฯ ไดระดมทุน 51 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกาในตลาดเงินในตางประเทศเพื่อ<br />

ที่จะมาสำรองการซื้อเรือขุดเจาะสั่งตอใหมสำหรับบริษัทในเครือของเมอรเมด นอกจากนี้แลว เราก็ยังไดเซ็นสัญญาเงินกูกับธนาคารพาณิชย<br />

เพื่อใชในการลงทุนระยะยาวและการเสริมสภาพคลองของเงินทุนหมุนเวียน ในวงเงิน 12.4 พันลานบาท และไดออกหุนกูสกุลเงินบาทจำนวน<br />

4 พันลานบาท ดวยอัตราดอกเบี้ยที่ดีมากเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 ทั้งนี้ บริษัทฯ มีวงเงินมากกวา 13,212.3 ลานบาท ที่เราจะนำมาใช<br />

ในการขยายธุรกิจได<br />

การปกปองชื่อเสียงและตราสัญลักษณของบริษัทฯ ในป 2554 นี้ บริษัทฯ จะฉลอง 107 ป ในการดำเนินธุรกิจ ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีความจำเปน<br />

เปนอยางยิ่งที่จะปกปองสิทธิและชื่อเสียงของเราในทุกๆ ดาน ในชวง 10 ปที่ผานมานี้ กำไรมากกวารอยละ 95.15 ของบริษัทฯ มาจากธุรกิจเดินเรือ<br />

บรรทุกสินคาแหงเทกอง การที่ธุรกิจนี้จำเปนที่จะตองมีการลงทุนสูงเมื่อซื้อเรือใหมเขากลุมไดสงผลกระทบตอการรายงานผลกำไรขาดทุนทำใหมี<br />

ความผันผวนในผลการดำเนินงานของบริษัทฯ จากนี้ไป บริษัทฯ จะมิใชเปนบริษัทขนสงสินคาแหงเทกองหากแตเปนผูลงทุนระยะยาวที่จะเดินหนา<br />

ไปสูธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐานและสินคาโภคภัณฑ (commodities) และจะตองดูขนาดของธุรกรรม รวมทั้งเงินลงทุนและผลกำไรในธุรกิจตางๆ<br />

กันอยางรอบคอบ<br />

ในป 2553 บริษัทฯ ไดมุงหาโอกาสในการลงทุนใหมๆ ที่จะกอใหเกิดรายได กำไร และ เงินหมุนเวียนที่มีความสม่ำเสมอมากขึ้น ทั้งนี้เราตั้งใจที่จะ<br />

เสริมใหโครงสรางมั่นคงเพื่อกอเกิดรายไดและกำไรใหเพียงพอตอคาใชจายที่เกิดจากการดำเนินงาน หนี้เงินกู และเงินทุนที่จะไปลงทุนในธุรกิจ<br />

ใหมๆ พรอมทั้งสามารถจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนได เมื่อโครงสรางนี้เขาที่อยางมั่นคงแลว บริษัทฯ ก็อาจจะมุงไปในการลงทุนที่มีความเสี่ยง<br />

มากขึ้นเพื่อที่จะไดผลตอบแทนจากการลงทุนที่สูงขึ้น ทั้งนี้ เพื่อที่จะสรางผลตอบแทนในการลงทุนตามเปาหมายที่วางไวรอยละ 15 ตอป<br />

ในระยะยาวการลงทุนใน Petrolift และ Baria Serece ก็เปนตัวอยางของการลงทุนประเภทนี้<br />

อยางไรแลวก็ยังจะตองเรียนรูอีกมากและไดรับบทเรียนในการจัดการบริหารหลายๆ ขอที่จะชวยใหเราบริหารบริษัทฯ ไดอยางดีขึ้น บทเรียนหลักนั้น<br />

คือการเลือกบุคลากร ซึ่งจะตองเนนการคัดสรร การตัดสินใจเลือกและการวาจางผูบริหารสำหรับธุรกิจที่ขยายอยูและอยูในระดับสากลอยางเนืองนิจ<br />

เราไดมีการประเมินพนักงานทุกคนเพื่อทำความเขาใจขีดความสามารถและเพื่อที่จะพัฒนาทักษะที่เขาเหลานั้นขาดไป พรอมทั้งไดวาจางบุคคล<br />

ที ่มีความสามารถสูงมาชวยในธุรกิจของเราในหลายแขนง บริษัทในเครือนั้นไดมีการเจาะจงพัฒนาวิธีการปฏิบัติงานและการบริหารสภาพคลองใน<br />

ชวงวิกฤตที่ผานมานี้ ทั้งนี้ เราก็ไดเริ่มวางระบบการทำงาน/ประสานงานที่เขมงวดมากขึ้นโดยยึดหลักการบริหารปองกันความเสี่ยงและการจัดเงิน<br />

ลงทุนใหเหมาะสม ระบบการทำงานเหลานี้ก็จะคงไวอยูและมีการตอยอด ถึงแมวาเศรษฐกิจจะดีขึ้นเปนลำดับ<br />

ธุรกิจขนสงสินคาแหงเทกองและการใหบริการนอกชายฝงมีความสามารถที่จะแขงขันในตลาดสากลแลว บริษัทฯ มีฐานการเงินที่มั่นคง และพรอม<br />

ที่จะพิจารณาโอกาสการลงทุนอยูหลายราย แตที่สำคัญที่สุดนั้นคือการหมั่นเรียนรูที่มีอยูตลอดเวลาและการใชการเรียนรูนั้นไปผลักดันใหบริษัทฯ<br />

พัฒนาตอไป<br />

ถึงแมไดมีการตัดสินใจที่ยากและลำบากเกิดขึ้น ในชวงที่เราตองเผชิญวิกฤตเศรษฐกิจอยู เราพรอมรับผิดชอบในการตัดสินใจเหลานั้นอยางเต็มที่<br />

ทั้งนี้ เราไดรับการสนับสนุนอยางเต็มที่ในความตั้งใจปฏิบัติหนาที่ใหสัมฤทธิ์ผลของพนักงานทุกคน ความมุงมั่นของผูบริหาร และความสุขุม<br />

ของคณะกรรมการในการชี้แนะทาง ไดทำใหบริษัทฯ สามารถปรับเปลี่ยนโครงสรางมาเปนบริษัทเพื่อการลงทุนเชิงกลยุทธเฉพาะอยางมีขั้นตอน<br />

และมีระบบ การเปลี่ยนแปลงโครงสรางนี้ยังจำเปนที่จะตองดำเนินตอไปอีกในสองถึงสามปขางหนานี้<br />

6 รายงานประจำป 2553


กระบวนการพัฒนาและปรับเปลี่ยน<br />

บริษัทฯ ยังเดินหนาตอไปในการปรับเปลี่ยนบริษัทฯ เปนบริษัทเพื่อการลงทุนเชิงกลยุทธที่สามารถบริหารธุรกิจหลักได และหาโอกาสใหมๆ ใน<br />

การลงทุน และมีเงินในมือมากเพียงพอ เพื่อการลงทุนเพิ่มเติมหรือในการจายคืนใหแกผูถือหุน และในที่สุด ทุกๆ ธุรกิจที่เราไดมีการลงทุนไปนั้นลวน<br />

มีขอไดเปรียบในเชิงรุกอยางจับตองได<br />

2549<br />

9.63%<br />

การลงทุนเพื่อการเจริญเติบโต<br />

อยางมีกำไร<br />

อื่นๆ<br />

86.52%<br />

มุงเนนลูกคา<br />

ผลตอบแทนแก<br />

ผูถือหุนที่สูงขึ้น<br />

แผนภูมิ 1 : สวนแบงผลกำไร<br />

จากธุรกิจตางๆ<br />

กลุมธุรกิจเรืองบรรทุกสินคาแหงเทกอง<br />

การใหบริการเดินเรือ<br />

3.85%<br />

เสริมสรางผูนำในธุรกรรม<br />

แตละแขนง<br />

การลงทุนเพื่อการเจริญเติบโตอยางมีกำไร<br />

บริษัทฯ จะไมกลายเปนบริษัทที่ลงทุนในธุรกิจหลายหลากจนเกินไป เพราะเราเนนการลงทุนในธุรกิจที่เปนไปในแนวเดียวกับธุรกิจเดิมที่มีอยูและ<br />

มีความแข็งแกรงมานาน ธุรกิจของบริษัทฯ สวนใหญตองใชเงินลงทุนสูงและการหาเงินมาเพื่อการลงทุนซึ่งบริษัทที่มั่นคงเทานั้นจะมีใหความ<br />

สัมพันธระหวางบริษัทในเครือที่มีกับลูกคา คูคา ผูสนับสนุนทางการเงิน และภาครัฐนั้นก็มีรากฐานที่มั่นคง ในกระบวนการนี้เรายังตอยอดทักษะ<br />

ความสามารถที่เรามีภายในกลุมดวยการพัฒนาการใหบริการรวมจากศูนยกลางในบริการและระบบที่มีความคลายคลึงกันในหมูบริษัทในเครือ<br />

กลยุทธเชิงธุรกิจของเรานั้นเนนการเติบโตอยางตอเนื่องในระยะยาวโดยการลงทุนในแขนงธุรกิจหลักๆ ของกลุมรวมทั้งการลงทุนในธุรกิจที่มีความ<br />

เชื่อมโยงโดยตรงกับหรือตอยอดใหธุรกิจปจจุบัน ในชวงสองปที่ผานมานี้เราไดลงทุนในธุรกิจที่มีความเชื่อมโยงโดยตรง ในป 2548 เราไมไดมีธุรกิจ<br />

ในอุตสาหกรรมเหมืองถานหินหรือการผลิตปุย หากแตในป 2553 ธุรกิจทั้งสองนี้สรางรายไดใหกับบริษัทฯ เปนจำนวนเงิน 4,697.0 ลานบาท เรายัง<br />

คงจะศึกษาโอกาสในการลงทุนในธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐานหรือสินคาโภคภัณฑ (commodities) เพิ่มอีกในป 2554 เพราะเปาหมายปลายทางของ<br />

การลงทุนเหลานี้คือการผสมผสานธุรกิจปจจุบันและธุรกิจใหมๆ รวมทั้งการบริหารที่จะทำใหการลงทุนทั้งหลายในภาพรวมแลวมีคามากขึ้น<br />

นักลงทุนทั้งหลายมีความคาดหมายวาเราจะจัดสรรสัดสวนในการลงทุนอยางฉลาด ถึงแมในชวงสองปที่ผานมานี้ เราไดขายเรือบรรทุกสินคาแหง<br />

เทกอง 19 ลำ และบริษัทที่ใหบริการอีก 6 บริษัท อยางไรแลวสินทรัพยรวมของบริษัทฯ ไดเติบโตขึ้นรอยละ 16.0 เปน 48.9 พันลานบาท ณ วันที่ 30<br />

กันยายน พ.ศ. 2553 การขายสินทรัพยและเงินลงทุนในบริษัทในเครือนั้นเปนสวนหนึ่งของการดำเนินธุรกิจปกติของบริษัทฯ รวมทั้งในการขายนั้น<br />

เราไดมีเงินกอนกลับมาเพื่อที่จะลงทุนเพื่อผลกำไรที่สูงกวา บริษัทฯ ไดขายหุนที่ถือใน บริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด ไปรอยละ 2 เมื่อเดือน<br />

พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 และกำลังขอใหผูถือหุนอนุมัติการขายหุนที่เราถืออยูในบริษัท ไอเอสเอส โทรีเซน เอเยนตซีส จำกัด (“ITA”) ในสัดสวน<br />

รอยละ 51 ของบริษัท ITA ถึงแมบริษัททั้งสองนี้ไดมีรายไดที่สม่ำเสมอในชวงหลายปนี้ โครงสรางปจจุบันยังไมอาจสามารถชวยใหบริษัททั้งสอง<br />

เติบโตไดอยางมีความชัดเจน การเปลี่ยนโครงสรางนี้จะชวยใหบริษัททั้งสองขยายกิจการไดในที่สุด<br />

ดังที่จะกลาวถึงในสาสนฉบับนี้กลุมธุรกิจหลากหลายที่เราไดมีการลงทุนนั้นพรอมที่จะขยายตัวได การลงทุนในชวงถัดไปนี้จะเนนบริษัทรวมลงทุน<br />

เพื่อที่จะเปดตลาดนอกประเทศไทย การลงทุนกับ Petrolift ทำใหเราไดเขามาอยูในตลาดเฉพาะของธุรกิจขนสงน้ำมันในประเทศฟลิปปนสที่เขาได<br />

ยากมาก ในกรณีเมอรตัน เราก็ไดเปนผูนำในการขุดเหมืองถานหินในเชิงพาณิชยบนเกาะเซบู สวนบาคองโคเราไดเปรียบเชิงธุรกิจดวยการเปน<br />

ผูใหบริการโลจิสติคสรายแรกในเวียดนามตอนใต<br />

นักลงทุนทั้งหลายจึงควรที่จะมองบริษัทฯ วา เปนหนทางที่จะนำไปสูตลาดที่กำลังจะเติบโตที่เชื่อมโยงกับธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐานและสินคา<br />

โภคภัณฑ ซึ ่งบริษัทฯ จะยึดมั่นในการควบคุมตนทุนใหอยูในระดับที่สามารถแขงขันในระดับสากลได โดยรวมมือกับผูประกอบการในประเทศนั้นๆ<br />

มุงเนนลูกคา<br />

บริษัททุกๆ บริษัทไดมีการจัดโครงสรางเพื่อที่จะสรางรายไดบนทรัพยสินและบุคลากรที่เหมาะสม ดังเชนในกรณี เมอรเมด จะเห็นไดชัดวาการ<br />

ลดคาใชจายทันทีทันใดใหสอดคลองกับการลดระดับในรายไดอยางมากนั้นมีความลำบากพอสมควร อนึ่ง ปจจัยสำคัญในการสรางรายไดคือการให<br />

ความสำคัญตอลูกคาสัมพันธและการใหบริการที่ดีเลิศ<br />

รายงานประจำป 2553 7


บริษัทยอยตางๆ ก็มีกรอบการดูแลลูกคาที่ตางกันไปตามความเหมาะสมกับกลุมลูกคาเปาหมาย อยางเชน ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองนั้น<br />

อาศัยเครือขายของนายหนาผูแทนบริษัทเดินเรือในการหาลูกคาใหมและในการสรางรายไดเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกัน ฝายการตลาดของ UMS<br />

จะติดตอลูกคาโดยตรง เรามีหลักการทำงานที่จะรวมงานกับลูกคาโดยตรงเทาที่จะทำไดเพื่อสรางลูกคาสัมพันธที่แนนแฟน ในชวงที่เศษฐกิจ<br />

ไมคลองตัวเราจะไมทำใหลูกคาของเรามีเหตุที่จะทำใหเดินจากเราไป<br />

ปจจัยสำคัญ ในการมุงมั่นใหบริการลูกคานั้นจะตองอาศัยการสื่อสารที่ชัดเจน การบริการอันเปนเลิศ และการหาโอกาสที่จะขยายธุรกิจ การสื่อสาร<br />

กับลูกคานั้นสำคัญมาก และการที่เราจะทำไดอยางเปนเลิศนั้นยังจะชวยเปดโอกาสใหเราไดมากขึ้นในเชิงธุรกิจ ขั้นตอนงายๆ ที่บริษัทฯ ให<br />

พนักงานในกลุมนั้นปฏิบัติกัน เชน<br />

l การสนทนากับลูกคาทางโทรศัพทอยางสม่ำเสมอ<br />

l การเขาหาลูกคาถึงแมเรายังไมไดรับการวาจางก็ตาม<br />

l การยื่นเอกสารประมูลและเอกสารประกอบดวยตนเอง<br />

l การเชิญลูกคาไปชมเรือ เรือขุดเจาะ และสถานที่การดำเนินโครงการ<br />

ที่ขาดไมได คือ การนำเสนองานอันเปนเลิศนั้นเปนพื้นฐาน พรอมกับการนำมุมมองที่พรอมจะชวยและสรรหาคำตอบที่ตอบโจทยได ในการรับ<br />

งานแตละชิ้น แตละโครงการ เราพยายามจัดสรรบุคลากรที่เหมาะสมที่สุดสำหรับงานนั้นๆ เพื่อที่จะตอยอดอยางสรางสรรและสรางผลงานที่ดีที่สุด<br />

เทาที่จะเปนได<br />

พนักงานทุกๆ คนนั้นมีสวนในการสรรหาโอกาสลงทุนหรือขยายกิจการและธุรกรรมใหมๆ ที่เราจะพิจารณาตอได ไมไดหมายความวาเราจะไปอยู<br />

ในทุกหนแหง ทำทุกๆ อยาง และเปนทุกสิ่งทุกอยางที่ลูกคาตองการใหเราเปน ทางบริษัทฯ คาดหวังวาเมื่อพนักงานทุกคนมองเห็นโอกาส ก็จะสงตอ<br />

ใหฝายที่เกี่ยวของติดตามดวยความเหมาะสม และในขณะเดียวกันก็นำเสนอบริการในเครือที่นาจะตอบสนองความตองการของลูกคาได ซึ่งทาง<br />

บริษัทฯ ไดใหความสำคัญกับลูกคาที่พรอมจะสรางความสัมพันธระยะยาวดวยกัน<br />

เสริมสรางผูนำในธุรกิจแตละแขนง<br />

พื้นฐานที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงของบริษัทฯ ไปสูการเปนบริษัทลงทุนในเชิงกลยุทธนั้นอยูที่การเสริมสรางผูนำเชิงธุรกิจโดยการเรียนรูจากความ<br />

สำเร็จและความลมเหลวทุกครั้งนั้นเปนสัจธรรมในการบริหารอยูเปนเนืองนิตย และก็ไมพนที่เราจะนำสิ่งที่เราไดเรียนรูมาสอนใหแกผูนำในขณะนี้<br />

และในภายภาคหนา ในชวง 18 เดือนที่ผานมานี้เราก็ไดเรียนรูการบริหารความเสี่ยงอยางเปนระบบ การประเมินทักษะและความสามารถของ<br />

พนักงาน รวมทั้ผูบริหาร และความเปนผูนำ<br />

ทางบริษัทฯ เชื่อวาผูนำตอง<br />

l เปนผูฟงที่ดี<br />

l สามารถปรับสภาพใหเขากับความไมแนนอนได<br />

l มีวิสัยทัศนและการกระทำที่เปนแบบอยาง<br />

l ดำเนินการอยางคลองแคลวและมีประสิทธิภาพ<br />

l ใหความเคารพตอความคิดและสิทธิของผูอื่น และสามารถโยงตอไปสูสังคมภายนอก<br />

ในขณะเดียวกันนั้นผูนำของเราในแตละหนวยก็มีหนาที่นำใหลูกทีมดำเนินกิจการใหดีขึ้นตอไป พวกเขาจะตองเนนปฏิบัติการการดำเนินงาน<br />

การขยายกิจการที่มีอยูจากการเพิ่มยอดขาย ขยายฐานลูกคา กำหนดบทบาทใหเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง บริษัทฯ มีความตั้งมั่นที่จะเสริมสราง<br />

ศักยภาพในผูนำรุนใหมนี้ใหมาผลักดันบริษัทฯ ใหสามารถแขงขันในตลาดได<br />

ผลตอบแทนที่พวกเขาจะไดรับนั้นก็จะมีการวัดคาจากเกณฑเดียวกันที่ผูถือหุนใชในการประเมินบริษัทฯ ทั้งนี้ ในป 2553 บริษัทฯ ไดมีการเปดตัว<br />

โครงการสงเสริมจูงใจการปฏิบัติงานในระยะสั้นและในระยะกลางที่สอดคลองกับผลกำไรที่เรามุงจะกอเกิดในการสรางมูลคาบริษัทที่สูงขึ้น<br />

บริษัทฯ มีความพยายามอยางยิ่งยวดในการเตรียมผูนำและผูที่จะมาสืบทอดตำแหนงผูบริหารในภายภาคหนา ทั้งนี้ เราเนนทักษะในการมองภาพ<br />

กวางภาพใหญในการเขาใจธุรกิจ การตัดสินใจในสภาพที่ขอมูลไมพรอม และการที่จะตองมีผลประโยชนของผูถือหุนเปนที่ตั้ง ทั้งหมดนี้ อยูใน<br />

แผนการเสริมสรางผูนำในธุรกิจทุกแขนง และจะมีการขยายความใหละเอียดในหนา 20 ถึง 22<br />

มูลคาของบริษัทที่สูงขึ้นเทียบเทากับผลตอบแทนแกผูถือหุนที่สูงขึ้น<br />

ถึงแมเรายังอยูในวัฏจักรการดำเนินธุรกิจในขาลงสำหรับธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ผลกำไรสุทธิของบริษัทฯ ในชวงสองสามปขางหนานี้<br />

จะสูงขึ้นโดยมีรายไดจากการลงทุนในทุกแขนงมาหนุนกันตามอัตราการลงทุนที่เราไดปรับเปลี่ยนใหมีความสมดุลมากขึ้น การลงทุนในธุรกิจ<br />

เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและกาซเริ่มสงผลกำไรแลว ทั้งนี้ราคาน้ำมันโลกไดมีการทรงตัวในระดับที่กอใหมีการลงทุนโดยตรงโดยบริษัทน้ำมัน<br />

เกิดขึ้นอีกครั้ง และจะสงผลตอมาใหกับผลประกอบการของเมอรเมดในอนาคต ราคาและปริมาณถานหินก็คาดวาจะสูงขึ้นเพื่อตอบสนอง<br />

8 รายงานประจำป 2553


ความตองการพลังงานของโรงไฟฟาและฝายอุตสาหกรรมโดยจะมีผลพลอยไดมาสู UMS และเมอรตัน ทายสุดแลว บริษัทฯ คาดวาจะถอนทุนคืน<br />

จากการลงทุนใน บาคองโค ในระยะเวลาต่ำกวาสองปจากการลงทุน โดยภาพรวมแลวกำไรสุทธิจะขยับขึ้นในปหนานี้<br />

ประสิทธิภาพในการผลิตและการควบคุมตนทุนจะมีบทบาทสำคัญมากในป 2554 บริษัทฯ อยูในชวงสรางองคกรที่มีความคลองตัวโดยลด<br />

คาใชจายใหนอยลง และอยูในชวงที่พยายามจะลดเงินทุนหมุนเวียนในจำนวนมากกวา 500 ลานบาทในป 2554 บริษัทฯ ควรจะมีเงินสดและเทียบ<br />

เทาในจำนวนมากกวา 5,000 ลานบาท ซึ่งยอดนี้ก็จะเพิ่มขึ้นไปพรอมกับกำไรสุทธิในแตละปตอๆ ไปนี้ จากการรับเงินปนผลจากบริษัทในเครือเชน<br />

เมอรเมด UMS และ Petrolift<br />

บริษัทฯ ไดวางแผนจัดสรรเงินทุนเพื่อเสริมสรางศักยภาพของกลุมและการปนผลใหสอดคลองกับรายได ในการนี้เราจะใชวินัย ความอดทน และ<br />

ความตั้งมั่นตอการสรางผลตอบแทนผูถือหุนที่ดีขึ้นในระยะยาว เราไดปูพื้นฐานสำหรับอนาคตดวยความตั้งใจในชวงหาปที่ผานมานี้ และ<br />

ในชวงตอไปนี้เราก็จะดำเนินธุรกิจในฐานะบริษัทที่ไดรับการพัฒนาและมีความพรอมและความสามารถที่จะแขงขันเพื่อขยายธุรกิจไดในระยะยาว<br />

ดวยประวัติที่ยาวนานของบริษัทฯ การพัฒนานี้จะยังไมเสร็จสมบูรณอยางขามคืนเปนแน อยางไรแลวเราก็ยังไดรับผลสำเร็จในการลงทุนที่ไดเห็นชัด<br />

ในบางกรณี เรามีความเชื่อมั่นวาภายในสามปจากการเพิ่มแขนงสำหรับการลงทุนแลว บริษัทฯ จะบริหารรายการการลงทุนซึ่งมีบริษัทที่สามารถ<br />

เพิ่มความสมดุลใหแกกันและกันพรอมทั้งสรางผลกำไรที่สม่ำเสมอมากกวาการที่เราจะมีการลงทุนในธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเพียงแต<br />

อยางเดียว ความมั่นคงที่ตามมานั้นจะเปดโอกาสใหเราผลักดันการขยายและการเติบโตของธุรกรรมของกลุมไดเปนอยางดี<br />

ในชวงถัดไปนี้เราจะมาดูผลประกอบการของบริษัทฯ ในป 2553 โดยจะลงลึกในสิ่งที่เราไดทำในการบริการลูกคาและการบริหารบุคลากร<br />

ซึ่งเปนสินทรัพยที่มีคาที่สุดของเรา<br />

ผลประกอบการในป 2553<br />

ภาพรวม - มีกำไรแตไมเลิศ<br />

รายไดทั้งหมดของบริษัทฯ ลดลงรอยละ 10.19 เปน 19.1 พันลานบาท ในป 2553 รวมรายไดจากธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ซึ่งลดลงรอยละ<br />

31.37 เปน 9,604.3 ลานบาท สืบเนื่องจากการยกเลิกการใหบริการเรือแบบประจำเสนทางและจำนวนวันเดินเรือที่ลดลงไปโดยปริยาย รายได<br />

ของเมอรเมดลดลงรอยละ 31.15 เปน 3,626.5 ลานบาท อัตราการใชประโยชนของเรือขุดเจาะและเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำของ<br />

เมอรเมดลดลงเปนรอยละ 39.54 และรอยละ 56.71 รวมทั้งอัตราคาเชาเรือรายวันของธุรกิจงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำนั้นก็ลดลงรอยละ 21.73 ราย<br />

ไดของ UMS ไดลดลงเปน 2,541.2 ลานบาท แต บาคองโค มีรายไดเพิ่มขึ้นเปน 2,155.8 ลานบาท<br />

กำไรสุทธิจากธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเพิ่มขึ้นรอยละ 5.68 เปน 973.1 ลานบาท ปจจัยหลักนั้นมาจากคาระวางเรือที่สูงขึ้นและกำไรจาก<br />

การขายเรือ สวนเมอรเมดขาดทุน 339.5 ลานบาท ซึ่งเปนที่ผิดคาดอยางมากและไดทำใหมีการเปลี่ยนแปลงที่จะกลาวถึงในอีกชวงหนึ่ง<br />

กำไรสุทธิจาก UMS คิดเปนจำนวน 90.2 ลานบาทนั้นต่ำกวาคาด เหลือแตบาคองโคที่ไดมีผลประกอบการที่ดีดวยกำไรสุทธิที่ 211.7 ลานบาท<br />

กำไรสุทธิในภาพรวมของบริษัทฯ โดยไมรวมกำไรจากรายการพิเศษนั้นลดลงจาก 850.2 ลานบาทในปที่แลวเปน 785.9 ลานบาท ผลประกอบการ<br />

เหลานี้ เทียบเทากับผลตอบแทนจากการลงทุนที่รอยละ 3.42 และผลตอบแทนของสวนของผูถือหุนรอยละ 3.04 ซึ่งไมเปนไปตามเปาหมาย อยางไร<br />

แลว บริษัทฯ ก็ยังมีผลประกอบการที่ดีกวาคูแขงบางรายอยูบาง หากแตถาวัดตามตัวเลขแลวผลประกอบการนี้นับไดวาปานกลาง<br />

งบการเงินที่แข็งแกรงและนโยบายเงินปนผล<br />

นโยบายของการมีวินัยทางการเงินของบริษัทฯ นั้น ยังคงอำนวยใหเรามีขอไดเปรียบในการดำเนินงาน ดวยการมุงเนนการบริหารความเสี่ยง<br />

การบริหารสัดสวนทุนจากการกูและทุนจากผูถือหุนใหเหมาะสม และการรายงานการดำเนินงานและผลการดำเนินงานอยางโปรงใสและชัดเจน<br />

สัดสวนของทุนตอสินทรัพยคิดเปนรอยละ 64.52 ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2553 นั้นยังบงบอกใหเห็นศักยภาพทางการเงินที่แข็งแกรง รวมทั้งได<br />

มีการสำรองหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มขึ้นจาก 91.2 ลานบาท เปน 271.3 ลานบาทเทียบเทากับรอยละ 43.37 ของลูกหนี้ที่เกินกำหนดชำระทั้งหมด<br />

การที่บริษัทฯ ใสใจตองบการเงินอยางสม่ำเสมอไดชวยใหเรารับมือกับผลดำเนินการขาดทุนของบริษัทหลักๆ ในเครือดังเชน เมอรเมดได<br />

ในขณะที่เรายังคงสามารถลงทุนตอในธุรกรรมอื่นๆ ตอไปได<br />

เมื่อตนป 2553 เราไดมีการจายเงินปนผลประจำปที่ 54 สตางค ตอหุน เทียบเทารอยละ 25.06 ของกำไรสุทธิรวมสำหรับป 2552 ในปนี้เราจะขอ<br />

ผูถือหุนอนุมัติการจายเงินปนผลจากกำไรสุทธิรวมสำหรับป 2553 ในอัตรารอยละ 25 เชนเดิม<br />

บริษัทฯ ตั้งเปาไวที่จะเพิ่มเงินปนผลในอนาคตอันใกลนี้ แตทั้งนี้ก็จะขึ้นอยูกับปจจัยสามอยางที่จะตองเกิดขึ้น เมอรเมดจะตองสามารถพลิก<br />

สถานการณของผลประกอบการกลับมาใหไดอยางมาก ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองและ UMS จะตองมีกำไรที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในไตรมาส<br />

ขางหนาอีกหลายไตรมาส และทายสุดคือความชัดเจนในความตองการของธุรกิจทั้งหมดที่จะตองมีมากขึ้น เนื่องจากผลประกอบการของเมอรเมด<br />

ที่ไมดีนัก ทำใหเมอรเมดไดละเมิดขอกำหนดของสัญญาเงินกูที่เกี่ยวของกับรายไดของเมอรเมด และสงผลกระทบตอขอกำหนดในสัญญาเงินกูของ<br />

บริษัทฯ ไปดวย ซึ่งทางบริษัทฯ ยังอยูในขั้นตอนการดำเนินการแกไข นอกเหนือจากนี้บริษัทฯ ก็ยังเตรียมรับกับความไมแนนอนที่อาจจะมากับ<br />

การเปลี่ยนแปลงของภาษีอากรซึ่งอาจจะมีผลกระทบตอการจัดเตรียมเงินเพื่อการดำเนินการและการลงทุนในภายภาคหนา<br />

รายงานประจำป 2553 9


ุ<br />

<br />

ในชวงวิกฤตที่ผานมานี้ ในขณะที่บริษัทหลายบริษัทไดมีการลดสัดสวนของผูถือหุนลงนั้น บริษัทฯ สามารถที่จะคงสิทธิและผลประโยชนของ<br />

ผูถือหุนไดเต็มที่<br />

การเพิ่มประสิทธิภาพ<br />

โดยรวมแลว การทำงานของเรานั้นมีประสิทธิภาพมากกวาที่เปนอยูเมื่อสองปกอนหนานี้ ดวยมีการนำระบบการดำเนินงานที่ไดรับการวิเคราะหและ<br />

ปรับปรุงมาบริหารระบบงาน รวมทั้งมีนโยบายของกลุมและกระบวนการขั้นตอนใหมๆ ที่เสริมสรางประสิทธิภาพในการดำเนินงานมารองรับ และ<br />

ไดขยายไปสูธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเปนแหงแรก<br />

ในป 2553 เราเสร็จสิ้นการลงระบบการวางแผนทรัพยากรขององคกร (“ERP”) ในขั้นแรก และมีแผนการรวมฐานการดำเนินงาน การสื่อสาร<br />

และขอมูลใหเปนฐานเดียวกัน การลงทุนกับฮารดแวรและซอฟตแวรที่ทันสมัยเพื่อรองรับระบบธุรกรรมและศูนยขอมูล มีผลใหบริษัทฯ จัดการ<br />

ขอมูลไดสะดวกขึ้นพรอมทั้งมีการปองกันความปลอดภัยของขอมูลที่มากขึ้น กระบวนการนี้ก็ไดรวมถึงการจัดตั้งศูนยกูคืนขอมูลในกรณีฉุกเฉินและ<br />

เปนกระบวนการขั้นตอนที่สำคัญในการวางแผนเพื่อการดำเนินงานธุรกรรมอยางตอเนื่อง ในขณะเดียวกันนั้น เราไดมีการคัดสรรพนักงานที่มี<br />

ศักยภาพมากขึ้นในฝายกฎหมาย ฝายการเงิน ฝายจัดการความเสี่ยง และฝายทรัพยาบุคคล โดยทั้งหมดนี้ขอยกตัวอยางของการที่บริษัทฯ<br />

ไดประหยัดคาลงทุนในระบบเทคโนโลยีทั้งหมดนั้นในจำนวนเงิน 15 ลานบาท พรอมกับการประหยัดอีก 2 ลานบาทตอป โดยที่เราไดรวมฐาน<br />

การใหบริการระบบเทคโนโลยีของ บริษัทฯ UMS และ เมอรเมด<br />

การลงทุนอยางตอเนื่อง<br />

บริษัทฯ ไดมีการชะลอการลงทุนแตมิไดหยุดยั้งการลงทุนทั้งภายในและภายนอกซึ่งในสวนที่สองนั้นประกอบดวยการลงทุนใน Petrolift และ<br />

Baria Serece ในป 2553 และในสวนแรกนั้นการลงทุนภายในองคกรนั้นรวมการลงทุนในโครงสรางระบบและเทคโนโลยี และการเพิ่มศักยภาพ<br />

ของนักบริหาร โดยการลงทุนเหลานี้จะทำให บริษัทฯ เติบโตไดอยางตอเนื่อง<br />

ในชวงถัดไปนี้ เราจะมาดูวาบริษัทในเครือทำอะไรบางเพื่อที่จะทำความเขาใจธุรกรรมของแตละบริษัทฯ ใหถูกตอง ดวยหวังวาในความเขาใจนั้น<br />

ทุกๆ ทานจะมีความมั่นใจในอนาคตของทุกสายธุรกิจและเห็นภาพที่บริษัทฯ ไดมีความเจาะจงในการเลือกลงทุนในธุรกิจตางๆ เปนอยางมาก<br />

แผนภูมิ 2 : รายไดรวม ายไดร<br />

<br />

ป 2551 – 2553 (หลังตัด<br />

รายการระหวางกันใน<br />

ารระหวางกันใน<br />

กลุมบริษัทฯ) และ<br />

รายไดรวมป 2553<br />

ตามสายงานธุรกิจ<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

แผนภูมิ 3 : รายได<br />

รวมป 2553 จำแนก<br />

ตามสายงานธุรกิจ<br />

ตาราง 1 : รายละเอียดสัดสวนการแบงกำไรสุทธิจากธุรกิจหลักใหกับบริษัทฯ<br />

ลานบาท 2553 2552 ปตอป %<br />

กลุมธุรกิจขนสง 1,021.32 1,045.03 -2.27%<br />

กลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน 301.94 22.87 1220.24%<br />

กลุมธุรกิจพลังงาน -199.62 400.93 -149.79%<br />

สวนของบริษัท (1) -328.07 344.88 -195.13%<br />

รวม 795.57 1,813.71 -56.14%<br />

หมายเหตุ<br />

(1)<br />

: รายการพิเศษในปงบประมาณ 2553 รวมกำไรจากการซื้อคืนหุนกูแปลงสภาพจำนวน 9.63 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2552 มีกำไรจากการซื้อคืนหุนกูแปลงสภาพ<br />

จำนวน 676.33 ลานบาท และคาความนิยมติดลบจาก บาคองโคเปนจำนวนเงิน 287.21 ลานบาท<br />

การกลาวถึงผลดำเนินการตอไปนี้จะแสดงถึงผลของสายงานหรือธุรกิจนั้นๆ โดยมิไดหักรายการระหวางกันของบริษัทในกลุม<br />

10 รายงานประจำป 2553


กลุมธุรกิจขนสง มีกำไร 1,030.7 ลานบาท และ ผลตอบแทนผูถือหุนรอยละ 6.27<br />

ภาพรวม<br />

กลุมธุรกิจขนสงมีผลประกอบการที่ใชไดโดยรวม ดวยกำไรสุทธิ 1,030.7 ลานบาท จากรายไดทั้งหมด 10,095.6 ลานบาท ซึ่งสวนใหญมาจากธุรกิจ<br />

เรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ดวยรายได 9,563.7 ลานบาท และกำไรสุทธิ 892.4 ลานบาท กลุมธุรกิจขนสงไดรับผลบวกที่มาจากคาระวางเรือที่สูง<br />

ขึ้นและการควบคุมตนทุนในการดำเนินธุรกิจ การที่จะกอใหเกิดผลประกอบการเชนนี้อีกนั้นอาจจะมีความยากลำบากมากขึ้นเมื่อคำนึงถึงอุปทาน<br />

ที่มากเกินความตองการในตลาดที่จะกดดันใหคาระวางเรือต่ำลง<br />

ธุรกรรมของธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ มีกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเทียบเทา 36.50 ลำเรือที่วิ่งเต็มเวลา ทั้งนี้เรือในกองมีทั้งเรือที่บริษัทฯ<br />

เปนเจาของและเรือที่ไดเชามาเพิ่มเติม บริษัทฯ ดำเนินงานดวยการรวมมือกับเครือขายนายหนาและผูใชบริการ ในการใหบริการแกลูกคามากกวา<br />

100 รายทั่วโลก ซึ่งโดยสวนมากแลว ลูกคาจะเปนบริษัทคาขายและบริษัทเดินเรือ หนาที่ของเราคือการสงสินคาไปสูจุดหมายปลายทางอยางมี<br />

ประสิทธิภาพและปลอดภัย<br />

ในป 2553 ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองไดดำเนินงานดังนี้<br />

l เซ็นสัญญาวาจางระยะยาวคิดเปนรอยละ 20.4 ของจำนวนวันเดินเรือและรอยละ 22.0 ของจำนวนวันเดินเรือเปนสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา<br />

(“Contract of Affreightments”)<br />

l ขนสงสินคา 10.1 ลานตันทั่วโลก<br />

l เดินทางไปสู 47 ประเทศ<br />

l ยกเลิกบริการเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที่วิ่งประจำเสนทาง<br />

l ขายเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง 11 ลำ โดยมีขนาดระวางบรรทุกรวม 256,169 เดทเวทตัน และไดรับมอบเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง 2 ลำ<br />

โดยมีขนาดระวางบรรทุกรวม 111,138 เดทเวทตัน<br />

l รวมงานกับนายหนา และตัวแทนเรือ 98 รายในการปฎิบัติงานเกี่ยวกับสินคา<br />

แผนภูมิ 4 : ดัชนีคาระวางบอลติค<br />

ป 2551 - 2553<br />

อัตราคาระวางเรือ<br />

(ดอลลารสหรัฐอเมริกา) คาระวางเรือเฉลี่ย 2551 2552 2553 ดัชนีคาระวางบอลติค<br />

$260,000<br />

Capesize 142,070 29,453 35,057<br />

14,000<br />

$240,000<br />

$220,000<br />

Panamax 62,008 12,255 25,628<br />

12,000<br />

$200,000<br />

Supramax 49,874 10,517 20,799<br />

$180,000<br />

Handysize 35,008 7,782 15,354<br />

10,000<br />

$160,000<br />

BDI Index 8,614 2,072 3,011<br />

$140,000<br />

8,000<br />

$120,000<br />

6,000<br />

$100,000<br />

$80,000<br />

4,000<br />

$60,000<br />

$40,000<br />

2,000<br />

$20,000<br />

$0<br />

0<br />

ม.ค. 51<br />

ก.พ. 51<br />

มี.ค. 51<br />

เม.ย. 51<br />

พ.ค. 51<br />

มิ.ย. 51<br />

ก.ค. 51<br />

ส.ค. 51<br />

ก.ย. 51<br />

ต.ค. 51<br />

พ.ย. 51<br />

ธ.ค. 51<br />

ม.ค. 52<br />

ก.พ. 52<br />

มี.ค. 52<br />

เม.ย. 52<br />

พ.ค. 52<br />

มิ.ย. 52<br />

ก.ค. 52<br />

ส.ค. 52<br />

BDI Index<br />

Supamax-Japan SK/Nopac rv<br />

ก.ย. 52<br />

ต.ค. 52<br />

พ.ย. 52<br />

ธ.ค. 52<br />

Capesize-Nopac round v<br />

Handysize-SE Asia & S korea-Japan<br />

ม.ค. 53<br />

ก.พ. 53<br />

มี.ค. 53<br />

เม.ย. 53<br />

พ.ค. 53<br />

มิ.ย. 53<br />

ก.ค. 53<br />

ส.ค. 53<br />

ก.ย. 53<br />

ต.ค. 53<br />

พ.ย. 53<br />

ธ.ค. 53<br />

Panamax-Japan SK/Nopac rv<br />

ดัชนีคาระวางบอลติค (“BDI”) เพิ่มขึ้นรอยละ 45.32 ไปอยูที่ 3,011 จุด เมื่อเทียบกับป 2552 ดวยการยกเลิกบริการเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองแบบ<br />

ประจำเสนทาง บริษัทฯ จึงสามารถปลอยเรือใหแกลูกคาในเขตที่เรียกคาระวางเรือที่สูงขึ้นได ในป 2553 บริษัทฯ สามารถปลอยเชาเรือใน<br />

มหาสมุทรแอตแลนติกไดคิดเปนรอยละ 18 ของวันปลอยเชา ในป 2553 คาระวางเรือของกองเรือไดเพิ่มขึ้นรอยละ 13.41 เปน 12,619 ดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกาตอวันเมื่อเทียบกับป 2552 คาใชจายของเจาของเรือเพิ่มขึ้นรอยละ 8.10 เปน 4,806 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันเมื่อเทียบกับป 2552<br />

มองไปขางหนาแลว บริษัทฯ มีนโยบายที่จะเพิ่มรายไดอยางสม่ำเสมอโดยตั้งเปาใหมีสัญญาปลอยเชาเรือระยะยาวหรือรับจางการขนสงเปน<br />

สัญญารายปขึ้นไปในแตละปนั้นในสัดสวนอยางนอยรอยละ 60 ของจำนวนวันเดินเรือ ดัชนีคาระวางบอลติคนั้นก็คงจะอยูในระดับ ณ ปจจุบันนี้อีก<br />

หลายปเนื่องจากอุปทานที่มีมากเกินความตองการของตลาด และคาดวาจะเพิ่มขึ้นอีกรอยละ 10 ในป 2554 ถึงแมระดับความตองการนั้นจะมีมาก<br />

ขึ้น อยางไรแลวก็ยังไมเทียบกับการเพิ่มระดับของอุปทาน<br />

รายงานประจำป 2553 11


ปริมาณสินคาลดลงรอยะ 14.02 เปน 10.1 ลานตัน ในป 2553 บริษัทฯ ไดขายหรือขายเรือเปนเศษเหล็กจำนวน 11 ลำ โดยไดกำไร 495.2 ลานบาท<br />

และรับเงินจากการขายเรือ 1,320.6 ลานบาท ในการลดความเสี่ยงที่บริษัทฯ จะไดรับจากตลาด เราไดลดจำนวนวันเชาเรือมาเสริมกองเรือลงรอยละ<br />

38.36 เปน 3,096 วัน ดวยคาระวางเรือที่สูงขึ้นและกองเรือที่มีขนาดเล็กลง ทำใหธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง นั้นสรางผลตอบแทนจากการ<br />

ลงทุนในระดับรอยละ 6.32 ในป 2553 เมื่อเทียบกับรอยละ 3.95 ในป 2552<br />

เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 บริษัทฯ ไดรับเรือที่สั่งตอใหมหนึ่งลำและไดซื้อเรือมือสองในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 อีกลำหนึ่งในขณะนี้ บริษัทฯ<br />

ยังมีเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที ่สั่งตอใหมอีก 4 ลำซึ่งจะไดรับหนึ่งลำในป 2554 อยางแนนอน อยางไรแลวก็ยังมีขอกังขาอยูในความสามารถที่จะ<br />

รับเรือที่ไดสั่งตอจากอูตอเรือ Vinashin ประเทศเวียดนาม<br />

ในป 2554 บริษัทฯ คาดวาคาระวางเรือนั้นยังคงอยูในระดับปจจุบันซึ่งถือวา อยูในระดับต่ำ และจะเปนเชนนี้ไปอีกสองสามปจึงจำเปนที่จะตองมี<br />

วินัยและความรอบคอบในการตัดสินใจลงทุนใหมๆ ในขอมูลที่เรามีในมือจากการศึกษาตลาดการเดินเรือนั้น ผลตอบแทนทุนในธุรกิจเดินเรือโดย<br />

เฉลี่ยแลวอยูที่รอยละ 6 ยกเวนผลตอบแทนในชวงสิบปกอนหนานี้ดังนั้นจึงไมยากเลยที ่จะมองออกวาธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองจะมีผล<br />

ตอบแทนทุนดังที่ไดเห็นใน ป 2548 นั้นยากมาก ทั้งนี้ยังไมตองคำนึงถึงเปาหมายผลตอบแทนระยะยาวโดยรวมของ บริษัทฯ<br />

ธุรกรรมของ Petrolift<br />

Petrolift มีสวนแบงผลกำไรสุทธิในแกบริษัทฯ เปนจำนวนเงิน 51.9 ลานบาท ในป 2553 รวมทั้ง บริษัทฯ ไดรับเงินปนผลในจำนวน 21.8 ลานบาท<br />

จาก Petrolit เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2553<br />

ธุรกิจนี้เปนธุรกรรมใหมลาสุดในกลุมซึ่งยังคงจะตองไดรับการอธิบายใหชัดเจนมากขึ้น Petrolift มีพนักงานมืออาชีพ 230 คนซึ่งรวมลูกเรือ 174 คน<br />

บริษัทเปนเจาของกองเรือขนสงน้ำมันและกาซธรรมชาติและเรือลากจูง 8 ลำที่ใชขนสงน้ำมัน กาซ และผลิตภัณฑเคมี (อีธานอล) ในปริมาตรสูงสุด<br />

ที่ 180,000 บาเรล ดวยอายุเรือโดยเฉลี่ย 8 ป เทียบกับอายุเรือโดยเฉลี่ยในธุรกิจนั้นที่ 17 ป กองเรือของ Petrolift นั้นมีลำเรือสองชั้นและไดผานการ<br />

รับรองจากสถาบันการจัดชั้นเรือทั้งหมด สัญญาที่บริษัทฯ ไดเซ็นนั้นโดยมากจะมีอายุจากหนึ่งถึงสิบป ทั้งนี้บริษัทฯ สามารถเซ็นสัญญาทั้งหมด<br />

นี้ไดก็เพราะบริษัทน้ำมันขนาดใหญในประเทศฟลิปปนสมองวาเรือขนสงน้ำมันและกาซธรรมชาตินั้นเปนสวนสำคัญมากในระบบการสงตอสินคา<br />

ของเขา<br />

ในป 2553 Petrolift ไดดำเนินการดังนี้<br />

l เดินเรือ 278 เที่ยวเรือ โดยไมมีบันทึกการสูญเสียเวลาจากการบาดเจ็บ<br />

l ขนสงน้ำมันและกาซธรรมชาติ และผลิตภัณฑเคมี 5.2 ลานบาเรล ภายในประเทศฟลิปปนส และภูมิภาคนี้<br />

l ใหบริการกับคลังน้ำมันมากกวา 30 แหง<br />

l ขายเรือลากจูงจำนวน 2 ลำ ซึ่งเทียบเทา 11,500 บาเรล<br />

Petrolift เปนผูนำในตลาดขนสงน้ำมันและกาซธรรมชาติซึ่งมีลำเรือสองชั้น เมื่อคำนึงถึงกฎหมายบังคับเรือที่มีลำเรือสองชั้นที่จะออกมาในเร็ววันนี้<br />

ภายในป 2554 นั้น บริษัทยอมจะอยูในฐานะการดำเนินการและการเงินที่เอื้ออำนวยตอการขยายสัดสวนที่มีในตลาดที่มีคูแขงนอยกวา 5 ราย<br />

Petrolift เปนบริษัทขนสงน้ำมันและกาซธรรมชาติที่ไดรับการขึ้นทะเบียนโดยบริษัทน้ำมันเพื่อดำเนินการขนสงน้ำมัน กาซ และผลิตภัณฑเคมีภายใน<br />

ประเทศฟลิปปนส และภูมิภาคเพียงนี้ผูเดียว<br />

บริษัทที่เทียบเทากับ Petrolift ในธุรกิจเดินเรือนั้นยังนับถือสถานภาพของบริษัทนี้อยางชื่นชม ทั้งนี้นาย คาโล ลีโอนิโอม ประธานบริษัท Petrolift เปน<br />

ทั้งประธานของสมาคมการขนสงน้ำมันทางน้ำแหงประเทศฟลิปปนส (“PHILPESTA”) และยังเปนประธานของสมาคมผูประกอบการเดินเรือ<br />

ระหวางหมูเกาะฟลิปปนส (“PISA”) ซึ่งเปนองคกรกลางของบริษัทเดินเรือและสมาคมตางๆ เกี่ยวกับการเดินเรือภายในประเทศฟลิปปนส<br />

ธุรกรรมของบริษัท ไอเอสเอส โทรีเซน เอเยนตซีส จำกัด<br />

ในป 2553 บริษัท ไอเอสเอส โทรีเซน เอเยนตซีส จำกัด(“ITA”) มีรายได 162.45 ลานบาท และกำไร 39.49 ลานบาท จากการที่บริษัทมีพนักงาน<br />

76 คน และมีสินทรัพยนอย ดังนั้นผลตอบแทนทุนจึงยืนอยูสูงที่รอยละ 77.78 ITA ใหบริการรับหนาที่ตัวแทนเรือที่มาเทียบทาที่ประเทศไทย บริการ<br />

เหลานี้รวมถึงการอำนวยความสะดวกในการเปลี่ยนลูกเรือ เปนนายหนาจัดการสินคา การอำนวยความสะดวกผานกรมศุลกากร การออกใบตราสง<br />

สินคา การบริการเรือขามฟาก การบริการจัดสงโดยทั่วไป การประสานงานในการสำรวจสภาพสินคา และการประสานงานในการจัดการสงน้ำมัน<br />

ในป 2553 ITA ไดดำเนินการดังนี้<br />

l ใหบริการเรือเทียบทาในประเทศไทย 1,100 ลำ โดยมี ลูกคา 165 ราย<br />

l เปลี่ยนคณะผูบริหารอาวุโส<br />

12 รายงานประจำป 2553


ITA เปนหนึ่งในบริษัทตัวแทนเจาของเรือที่ใหญที่สุดในประเทศไทยที่ใหบริการลูกคาเรือขนสงน้ำมัน ดวยการบริการรอยละ 74.3 เปนการใหบริการแก<br />

เรือขนสงน้ำมัน จำนวนการบริการเทียบทานั้นนอยลงจากเมื่อป 2552 ดวยการยกเลิกบริการขนสงสินคาแหงเทกองแบบประจำเสนทางในป 2553<br />

ตามขอมูลจากสมาคมเจาของและตัวแทนเจาของเรือ ประเทศไทยมีบริษัทตัวแทนเรือมากกวา 180 ราย ซึ่งจะมีการใหบริการในลักษณะ<br />

คณะบุคคลหรือแมกระทั่งเปนบริษัทฯ ที่มีความนาเชื่อถือดังเชน ITA ในชวงสามปที่ผานมานี้ ผลรายไดและกำไรของ ITA เฉลี่ยอยูที่ 171.8 ลานบาท<br />

และ 23.31 ลานบาทตามลำดับโดยมีความผันผวนนอย<br />

โอกาสในการขยายธุรกิจตัวแทนเจาของเรือในประเทศไทยมีนอยมาก และดวยเหตุนี้ ITA จึงไดมีการรวมมือกับกลุม Naxco ซึ่งเปนกลุมบริษัท<br />

ตัวแทนเจาของเรือที่มีสำนักงานหลายแหงในทวีปยุโรปและแอฟริกาและมีพนักงานมากกวา 74 คน เครือขายธุรกิจของ Naxco นั้นมุงเนนไปสูการ<br />

ใหบริการเรือคอนเทนเนอร การใหบริการที่ทา การจัดสงของ และการลำเลียง ทั้งนี้ จุดเดนของกลุม Naxco นั้นก็จะเปนจุดเสริมใหกับ ITA<br />

นอกจากนี้ Naxco ก็ตองการที่จะขยายกิจการเขามาในเอเชียจึงจะอาศัย ITA เพื่อเปนฐานในการเขามาในเอเชีย<br />

บริษัทฯ จึงขอใหผูถือหุนอนุมัติการขายหุนใน ITA ในสัดสวนรอยละ 51 ใหแก Naxco ดวยราคาขายที่ 30.6 ลานบาทและรวมเงินปนผลที่ไดมา ผล<br />

ตอบแทนในการลงทุนจะเปนรอยละ 121.37<br />

ธุรกรรมของบริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด<br />

บริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด (“FTL”) เปนบริษัทนายหนาเชาเหมาเรือที่มีพนักงาน 26 คนโดยธุรกรรมเนนลูกคาสินคาแหงเทกองเปน<br />

หลัก นายหนาเชาเหมาเรือเปนคนกลางที่มีความเชี่ยวชาญการติดตอเจาของเรือและผูตองการเชาเรือเพื่อขนสงสินคา หรือไมก็เปนตัวกลางใน<br />

การซื้อขายเรือ FTL มีฐานขอมูลที่ใหญมากและรวมถึงขอมูลเกี่ยวกับตำแหนงเรือ สินคา และคาระวาง ในการที่ FTL เอาใจใสในขอมูลเหลานี้ทำให<br />

FTL สามารถใหคำแนะนำใหแกลูกคาเปนอยางดี<br />

ใน 2553 FTL ไดดำเนินการดังนี้<br />

l เปนนายหนาในธุรกรรม 315 รายการ<br />

l ขยายกิจการใน ประเทศอินเดียและประเทศสิงคโปร<br />

จำนวนธุรกรรมในป 2553 นั้นยังทรงตัวอยูในระดับเดียวกับเมื่อป 2552 รายไดจากคานายหนาของ FTL คิดจากคาระวางเรือและกำหนดออกมา<br />

เปนรอยละ ดวยคาระวางเรือในระดับเดียวกันกับหรือนอยกวาเมื่อป 2552 นั้น FTL มีรายได 142.8 ลานบาทของรายไดรวมทั้งหมด หากแตผลกำไร<br />

นั้นไดลดลงรอยละ 39.27 มาอยูที่ 30.4 ลานบาทโดยสรางผลตอบแทนการลงทุนที่รอยละ 35.09<br />

ในป 2553 บริษัทฯ ไดขายหุนเทียบเทากับหุนรอยละ 2 ของทุนจดทะเบียนชำระแลวใน FTL ใหกับผูรวมทุนของเรา คือ Fearnleys A/S เนื่องจาก<br />

Fearnleys A/S มีนโยบายที่จะตองควบคุมสำนักงานในตางประเทศได ในการขายหุนในสัดสวนรอยละ 2 นั้น บริษัทฯ ไดอำนวยความสะดวกในการ<br />

ขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจคนตางดาวซึ่งทำให FTL สามารถทำธุรกรรมกับบริษัทตางชาติไดเพิ่มขึ้น จากการกอตั้งเมื่อป 2539 จนถึงวันนี้ เมื่อ<br />

รวมเงินปนผลที่ไดรับพรอมกับเงินที่ไดจากการขายสวนลงทุนรอยละ 2 นั้น ผลตอบแทนในการลงทุนคิดเปนรอยละ 23.01<br />

ธุรกรรมของ PT Perusahaan Pelayaran Equinox<br />

PT Perusahaan Pelayaran Equinox (“Equinox”) เปนบริษัทตัวแทนเจาของเรือที่ไดรับอนุญาตดำเนินกิจการในประเทศอินโดนีเซียโดยใหบริการ<br />

แกเรือที่ไปเทียบทาในหรือมีการดำเนินงานในเขตชายฝงประเทศอินโดนีเซีย รวมทั้งยังใหบริการจัดการเรือและลูกเรือใหแทนเจาของหรือผูจัดการ<br />

เรือนั้นๆ ในการบริการเปนตัวแทนนั้น Equinox ก็มีบริการที่คลายคลึงกับ ITA<br />

Equinox มีพนักงาน 64 คน ในการที่เราไดยกเลิกบริการเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที่วิ่งประจำเสนทางนั้นก็ไดทำใหเหตุผลหลักในการลงทุนใน<br />

Equinox นั้นหายไปสวนหนึ่ง โดยการขาดธุรกรรมจากเรือที่วิ่งประจำเสนทางนั้นทำให Equinox มีรายไดเพียง 122.2 ลานบาท และผลขาดทุน<br />

อีก 6.6 ลานบาท อยางไรแลว ในป 2553 Equinox ไดมีการดำเนินการใหบริการเดินเรือหนึ่งลำ ซึ่งเรือลำนี้ก็ไดมีการขายไปแลว ดังนั้นในขณะนี้<br />

Equinox จึงเปนบริษัทที่ใหบริการเกี่ยวของกับการเดินเรือในประเทศอินโดนีเซียและในภูมิภาค<br />

ในป 2553 Equinox ไดดำเนินการดังนี้<br />

l ไดใหบริการเรือที่เทียบทาในประเทศอินโดนีเซีย 230 ลำจากลูกคา 33 ราย<br />

l จัดบุคคลากรและจัดการการลำเลียงใหกับเรือเก็บและขนถายน้ำมันกลางทะเล (“FSO”) 12 ลำ<br />

l ไดใหบริการจัดการเชิงเทคนิคใหแกเรือของประเทศอินโดนีเซียและอื่นๆ 3 ลำ<br />

l ไดจัดลูกเรือที่มีประสบการณใหแกเรือ 40 ลำโดยดึงจากแหลงลูกเรือกองกลางที่มีลูกเรือจากประเทศอินโดนีเซียและอื่นๆ ประมาณ 1,500 คน<br />

ภายใตมาตรฐานการรับรองคุณภาพของลูกเรือของ DNV<br />

ในขณะนี้ Equinox กำลังมองหาหนทางเพื่อการลงทุนในประเทศอินโดนีเซียใหแกบริษัท ฯ<br />

รายงานประจำป 2553 13


ธุรกรรมของบริษัทโทรีเซน (อินโดไชนา) เอส.เอ<br />

รายไดและกำไรสุทธิของบริษัท โทรีเซน (อินโดไชนา) เอส.เอ (“TI”) คิดเปนเงินจำนวน 54.3 ลานบาท และ 39.1 ลานบาทตามลำดับเทียบเทา<br />

ผลตอบแทนการลงทุนที่รอยละ 40.36 ซึ่งนับเปนปที่สามติดตอกันที่รายไดนั้นอยูในระดับเกิน 1 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ทางบริษัทฯ<br />

ยังคงเชื่อมั่นในโอกาสที่ยังมีความเปนไปไดในประเทศเวียดนาม และเห็นไดชัดในการที่เราไดซื้อ Baria Serece เมื่อเร็วๆ นี้<br />

ในชวงสามปที่ผานมานี้ TI ไดแตกแขนงธุรกิจในการใหบริการ การเปนตัวแทนเจาของเรือ การเปนนายหนาจัดหาเรือ การจัดการลำเลียง<br />

การจัดสงน้ำมัน และการจัดเก็บสินคาในคลังสินคาและขนสง ในความสามารถที่ใหบริการเหลานี้ TI ก็ไดเจริญไปพรอมกับความเจริญทาง<br />

เศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม ทั้งนี้ยังสามารถมีผลประกอบการที่สม่ำเสมอแมธุรกิจเดินเรือนั้นไมดีนัก TI เปนตัวแทนสำหรับเรือที่ไมใชเรือ<br />

คอนเทนเนอรที่ใหญที่สุดในเขต บาเรีย วุงทาว และนคร โฮจิมินห อยางไรแลว TI ก็กำลังจะกาวตอไปใหบริการนอกชายฝงเพิ่มอีกดวย<br />

TI ไดสรางความพิเศษจำเพาะตัวในการใหบริการเฉพาะกิจดังเชนการขนสงเสากังหันลม การขนสงสินคาเฉพาะโครงการ และการใหบริการลดโหลด<br />

แกเรือ<br />

ในป 2553 TI ไดดำเนินการดังนี้<br />

l ใหบริการแกเรือ 500 ลำในประเทศเวียดนาม จากลูกคาหลัก 15 ราย<br />

l ไดใหบริการจัดการบริหารใหกับ บาคองโค<br />

l เจรจาการลงทุนใน Baria Serece<br />

l เปนนายหนาใหแกเรือ 60 ลำ และไดจัดการเชาเรืออีก 4 ลำ<br />

TI ยังอยูในขั้นวางแผนการขยายพื้นที่คลังสินคาและการลำเลียงเพิ่มจากเดิม 10,000 ตารางเมตรเปน 20,000 ตารางเมตรภายในหกเดือน<br />

ขางหนานี้ เพื่อรองรับความตองการของลูกคาของ Baria Serece<br />

ธุรกรรมของ โทรีเซน ชิปปง เอฟแซดอี<br />

โทรีเซน เอฟแซดอี (“TSF”) มีรายไดรวม 31.3 ลานบาท และกำไรสุทธิ 2.6 ลานบาท โดยเทียบเปนผลตอบแทนการลงทุนที่รอยละ 0.54 TSF<br />

มีพนักงาน10 คนและใหบริการเปนตัวแทนเรือใหกับเรือที่เขาเทียบทาที่เมืองชารจา สหรัฐอาหรับเอมิเร็ต นอกเหนือจากการใหบริการตัวแทนเรือ<br />

แลว TSF ยังใหบริการดานการตลาดสินคา การจัดสินคา การสำรวจสินคาและระดับน้ำมัน การจัดใสสินคาใหพรอมสง/ขาย และการจัดสงสินคา<br />

ระหวางเรือในทา<br />

ในป 2553 TSF ไดดำเนินการดังนี้<br />

l ใหบริการเรือ 22 ลำ คิดเปนปริมาณ 205,000 ตัน<br />

l จัดการสงสินคา 700 รายการ ซึ่งรวมถึงการนำสินคาออกผานกรมศุลกากรเพื่อสงใหแก ลูกคาในสหรัฐอาหรับเอมิเร็ต ประเทศโอมาน<br />

และประเทศอื่นๆ ในตะวันออกกลาง<br />

ในขณะนี้ TSF อยูในขั้นเรงดำเนินการหาธุรกิจมาทดแทนรายไดที่แตเดิมมาจากการเรือประจำเสนทางและเปนลูกคาที่เคยผูสรางรายไดและ<br />

กำไรหลัก<br />

กลุมธุรกิจพลังงานมีผลขาดทุนสุทธิ 345.3 ลานบาท และผลตอบแทนผูถือหุนติดลบรอยละ 3.06<br />

ภาพรวม<br />

กลุมธุรกิจพลังงานเปน “นิยายแหงสองนคร” ซึ่งก็คือ เมอรเมดที่มีธุรกิจหลักสองอยางคือ สวนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำและสวนงานเรือขุดเจาะ<br />

กลุมธุรกิจพลังงานมีผลขาดทุนจำนวน 339.5 ลานบาท มีสาเหตุหลักมาจากสภาพตลาดที่มีการแขงขันสูง และสินทรัพยที่มีอายุมาก สงผลใหอัตรา<br />

การใชประโยชนของกองเรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำและเรือขุดเจาะลดลง ในทางกลับกัน เมอรตันประสบความสำเร็จในการสรางเหมืองถานหิน<br />

แหงแรกเสร็จสมบูรณตามกำหนดเวลาและตามงบประมาณที่ตั้งไว และไดเริ่มจำหนายถานหินประเภทใหความรอนที่มีคุณภาพ (thermal quality<br />

coal) แลว<br />

ธุรกรรมของเมอรเมด<br />

เมอรเมดเปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุน โดยมีบริษัทยอยหลัก 2 บริษัทที่ดำเนินธุรกิจ ไดแก บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด<br />

(“MOS”) และ บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค จำกัด (“MDL”) เมอรเมดใหบริการลูกคารวมกันประมาณ 20 ราย โดยสวนใหญอยูในภาคพื้นเอเชีย<br />

แปซิฟก ในปนี้ เมอรเมดมีรายไดรวมจำนวน 3,626.5 ลานบาท และมีผลขาดทุนสุทธิจำนวน 339.5 ลานบาท ตามลำดับ<br />

14 รายงานประจำป 2553


ในป 2553 เมอรเมดไดดำเนินการดังนี้<br />

l ออกหุนสามัญเพิ่มทุนเพื่อขายใหผูถือหุน (rights issue) เสร็จสมบูรณเพื่อระดมเงินทุนจำนวน 3,591.17 ลานบาท หลังหักตนทุนตางๆ เกี่ยวกับ<br />

การออกหุนสามัญเพิ่มทุนแลว<br />

l รับทราบการลาออกของกรรมการผูจัดการคนกอน<br />

l เริ่มจัดตั้งการใชบริการตางๆ รวมกัน เพื่อสนับสนุน MOS และ MDL<br />

ตาราง 2 : รายไดรวม ผลกำไร (ขาดทุน) สุทธิ และผลตอบแทนจากทุน<br />

ลานบาท 2551 2552 2553<br />

รายไดรวม 5,612.2 5,259.0 3,626.5<br />

ผลกำไร (ขาดทุน) สุทธิ 832.9 701.6 -339.5<br />

ผลตอบแทนจากทุน 9.80% 7.77% -1.06%<br />

หมายเหตุ : ตัวเลขในตารางขางตนเปนตัวเลขตามมาตรฐานบัญชีของสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีไทย (<strong>Thai</strong> GAAP)<br />

สภาพตลาดที่ทาทายมีบทบาทสำคัญตอผลขาดทุนสุทธิของเมอรเมดในป 2553 โดยเฉพาะอยางยิ่งใน MOS ซึ่งบริษัทคูแขงหลายรายไดประกาศ<br />

ผลขาดทุน หรือบางรายถึงกับลมละลาย อยางไรก็ตาม ดวยผลประกอบการของเมอรเมดที่ลดลงตลอดชวงสามปที่ผานมา เปนที่ชัดเจนวาการ<br />

ลงทุนตางๆ ที่สำคัญโดย MOS และ MDL นั้น ตองอาศัยศักยภาพในการบริหารที่แตกตางไปจากเดิม รวมถึงการเนนย้ำการวางแผนเชิงกลยุทธที่<br />

ครอบคลุม การพัฒนาธุรกิจและการพาณิชย โครงสรางทางการเงิน ตลอดจนการควบคุมภายใน และระบบการใชงานบริการรวมกัน กระบวนการ<br />

ตางๆ และศักยภาพตางๆ ในการที่จะรองรับธุรกิจที่มีขนาดใหญขึ้นและมีความหลากหลายมากขึ้น<br />

เมอรเมดกำลังทบทวนแผนการพัฒนาเชิงกลยุทธและแผนการพัฒนาภายใน เพื่อจัดลำดับความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงที่จำเปนที่จะตองทำ<br />

ในอีก 2-3 ปขางหนา การเนนหนักไปที่การปฏิบัติงานรายวัน โดยไมใสใจในสวนงานอื่นๆ อยางเพียงพอ กอใหเกิดความไมสมดุล ซึ่งจำเปนจะตอง<br />

ไดรับการแกไข ความไมสมดุลทั้งหลายเหลานี้ไดขยายเพิ่มมากขึ้นในชวงที่ธุรกิจอยูในขาลง และการรับสัญญาวาจางจากทางลูกคาที่ลาชา<br />

จากการลาออกของกรรมการผูจัดการคนกอนเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 ไดมีการแตงตั้งคณะผูบริหารขึ้นมาเพื่อทำหนาที่เปนผูนำและวาง<br />

แนวทางเชิงกลยุทธใหกับเมอรเมด และเพื่อริเริ่มการเปลี่ยนแปลงที่จำเปนบางประการเพื่อปรับปรุงผลประกอบการของเมอรเมดในระยะกลาง<br />

คณะกรรมการบริษัทฯ ไดใชเวลาสรรหาบุคคลที่เหมาะสมที่มีวิสัยทัศนและแนวคิดรวมกันมาบริหารจัดการเมอรเมด ซึ่งจะมีการประกาศแตงตั้ง<br />

กรรมการผูจัดการคนใหมในไมชา<br />

การขาดทุนของเมอรเมด ทำใหเมอรเมดละเมิดขอกำหนดในสัญญาเงินกูเกี่ยวกับรายไดและผลกำไรของเมอรเมด บริษัทฯ ไดทำงานรวมกันอยาง<br />

ใกลชิดกับธนาคารตางๆ เพื่อปรับโครงสรางเงินกูที่มีอยู และคาดวานาจะสามารถหาขอสรุปไดภายในตนป 2554<br />

ธุรกรรมของ MOS<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 MOS มีพนักงาน 488 คน เปนเจาของเรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำจำนวน 8 ลำ ซึ่ง MOS ไดนำเรือเหลานี้ใหบริการงาน<br />

วิศวกรรมโยธาใตน้ำที่หลากหลาย รวมถึงการสำรวจ การซอมแซม และการบำรุงรักษาสถานที่ทำการนอกชายฝง การใหบริการงานกอสรางขนาด<br />

ยอม ตลอดจนการบริการงานซอมแซมฉุกเฉิน<br />

ในป 2553 MOS ไดดำเนินการดังนี้:<br />

l รับมอบเรือสั่งตอใหมจำนวน 3 ลำ ซึ่งเปนเรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่มีคุณลักษณะเฉพาะตัวสูงและมีความทันสมัย ไดแก เรือเมอรเมด แซฟไฟร<br />

เรือเมอรเมด เอเชียนา และเรือเมอรเมด เอ็นดัวเรอร<br />

l ซื้อเรือมือสองซึ่งเคยเชามาเสริมกองเรือจำนวน 1 ลำ ไดแก เรือเมอรเมด สยาม<br />

l ขายหุนในบริษัท เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น บีเอชดี (“WCI”)<br />

l ขายเรือ 1 ลำ ไดแก เรือเมอรเมด เรสปอนเดอร<br />

l เปลี่ยนคณะผูบริหารระดับอาวุโส<br />

รายงานประจำป 2553 15


ลูกคาหลักของบริษัทฯ ซึ่งทำรายไดรวมประมาณรอยละ 85 ของรายไดใหแกบริษัทฯ ไดแก CUEL Limited, Chevron <strong>Thai</strong>land Exploration and<br />

Production Limited, National Petroleum Construction Company, Mashhor DOF Subsea Sdn. Bhd., PTT Exploration and Production<br />

Public Co. Ltd., และ CJSC Romona<br />

MOS มีรายได 2,550.7 ลานบาทของรายไดรวม ลดลงรอยละ 14.57 จากป 2552 และมีผลขาดทุนสุทธิจำนวน 326.7 ลานบาท ลดลงจากป 2552<br />

คิดเปนรอยละ 275.65 อัตราการใชประโยชนของกองเรือของ MOS อยูที่รอยละ 39.54 และอัตราคาเชาเรือรายวันลดลง สงผลใหกำไรขั้นตน<br />

โดยรวมลดลงจากรอยละ 25.28 ในป 2552 เปนรอยละ 18.05 ในป 2553 การรับมอบเรือใหม 3 ลำ มีผลทำใหดอกเบี้ยจายและคาเสื่อมเพิ่มขึ้น<br />

อยางมากเปน 71.2 ลานบาท และ 423.3 ลานบาทตามลำดับ จึงไมนาแปลกใจที่ MOS มีผลขาดทุนในป 2553 และ MOS ไดใชทุนจากผูถือ<br />

หุนและจากการกูเปนเงินจำนวน 11,136.7 ลานบาท จึงทำใหมีผลตอบแทนนอยมาก<br />

MOS ขายหุนรอยละ 25 ที่ถือในบริษัท WCI เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 สงผลใหมีกำไรจากการขายจำนวน 343.3 ลานบาท บริษัทฯ เห็น<br />

โอกาสในการสรางผลตอบแทนที่ดีมากจากการขายหุนสวนนอยภายใน 20 เดือน ผลตอบแทนการลงทุน (IRR) อยูที่รอยละ 38 การขายหุนในครั้ง<br />

นี้ไมไดหมายความวาบริษัทฯ จะออกจากตลาดของประเทศมาเลเซีย บริษัทฯ ยังคงใหความสนใจในตลาดนี้อยู และหากบริษัทฯ มีโอกาส จังหวะ<br />

และราคาที่เหมาะสม บริษัทฯ ก็จะกลับไปลงทุนในตลาดนี้อีกครั้ง<br />

ดวยจำนวนเรือที่มากขึ้น และคุณสมบัติทางเทคนิคของเรือที่สูงขึ้น MOS จึงตองนำตัวเองเขาไปสูในระดับภูมิภาคและทำงานรวมกับลูกคาในตลาด<br />

ที่แตกตางจากเดิมมากขึ้น ซึ่งการจะทำเชนนั้นได บริษัทฯ จำเปนตองมีการเปลี่ยนแปลงในหลายๆ ดาน เชน ผูนำและความคิดใหมๆ เปนเรื่อง<br />

จำเปน ซึ่งกรรมการบริหารคนใหมของ MOS มีประสบการณในธุรกิจนี้มากวา 30 ป รูจักผูคนที่อยูในแวดวงเปนจำนวนมาก และยังมีประสบการณ<br />

ทางการคาที่แข็งแกรงอีกดวย<br />

การเปลี่ยนแปลงของคณะผูบริหารเกิดขึ้นในเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 อันเนื่องมาจากผลการดำเนินงานที่ตกต่ำทามกลางสภาพตลาดงานบริการ<br />

วิศวกรรมโยธาใตน้ำที่ทาทาย ซึ่งคาดวาจะยังคงไมกระเตื้องขึ้นไปอีก 12 เดือนขางหนา กลยุทธของบริษัทฯ นั้นเรียบงาย บริษัทฯ คาดวาจะมีงาน<br />

มากขึ้นในป 2554 โดยบริษัทฯ จะรุกกิจกรรมเพื่อการพัฒนาธุรกิจของบริษัทฯ ใหมากขึ้น รวมถึงการตั้งราคาใหแขงขันไดมากขึ้น เปนการดีกวาที่เรือ<br />

วิศวกรรมโยธาใตน้ำและเรือสนับสนุนงานประดาน้ำ ROV จะไดรับงานที่มีผลกำไรบางแมวาจะไมมาก ก็ยังดีกวาที่จะไมไดมีงานเลย<br />

ดวยการที่ตลาดวิศวกรรมโยธาใตน้ำอยูในชวงขาลง อัตราคาเชาเรือรายวันของ MOS ก็ไดลดลงรอยละ 21.73 ในขณะที่คูแขงเขารวมประมูลใน<br />

ราคาเดียวหรือต่ำกวาตนทุนในการดำเนินงานเพื่อใหไดงานไป ตลอดชวงที่ผานมา MOS ไดควบคุมตนทุนอยางเครงครัด แตยังคงสามารถรักษา<br />

การปฏิบัติการไดอยางปลอดภัยดีเยี่ยม และแมวาผลประกอบการของ MOS ในป 2553 จะลดลง แตบริษัทฯ ยังคงอยูในตำแหนงที่ดีที่พรอมจะแขง<br />

ขันอยางเต็มที่ และควาโอกาสหรือจังหวะเมื่อตลาดกลับมาดีอีกครั้งได ซึ่งบริษัทฯ คาดวานาจะเปนชวงปลายป 2554<br />

จุดแข็งของ MOS คือการมีสินทรัพยที่ทันสมัยและใหมที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ศักยภาพในการปฏิบัติงานที่ไดรับการยอมรับ ตลอดจน<br />

ประสบการณในการบริหารจัดการและบุคลากรที่มีคุณภาพ<br />

ธุรกรรมของ MDL<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 MDL มีพนักงานจำนวน 178 คน และใหบริการงานขุดเจาะนอกชายฝงตามสัญญาวาจางกับบริษัทผูประกอบการ<br />

น้ำมันและกาซธรรมชาติ ผานกองเรือขุดเจาะจำนวน 2 ลำ<br />

ในป 2553 MDL ไดดำเนินการดังนี้:<br />

l ปฏิบัติงานใหกับลูกคา 1 ราย คือ Chevron Indonesia Company<br />

l ขายตอโครงการเรือขุดเจาะ KM-1 ในประเทศมาเลเซีย เนื่องจากขอขัดแยงในการลงทุน<br />

MDL มีรายไดรวมจำนวน 1,123.3 ลานบาท ลดลงรอยละ 49.64 จากป 2552 และมีผลขาดทุนสุทธิจำนวน 107.3 ลานบาท ลดลงรอยละ 117.60<br />

จากป 2552 ทุนจากผูถือหุนและจากการกูเปนเงินจำนวน 3,850.7 ลานบาท จึงไดรับผลตอบแทนจากธุรกิจนี้กลับมานอย เรือขุดเจาะ MTR-2<br />

มีอัตราการใชประโยชนจากเรือสูงถึงรอยละ 99.48 ในป 2553 ในขณะที่เรือขุดเจาะ MTR-1 วางจากการปฎิบัติงานเกือบตลอดทั้งป อัตราคาเชาเรือ<br />

เฉลี่ยรายวันของเรือขุดเจาะ MTR-2 เทากับ 87,679 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน<br />

หลังจากที่เรือขุดเจาะ MTR-1 ไดเวนวางจากการปฏิบัติงานมาเปนระยะเวลาเกือบ 1 ป เรือขุดเจาะ MTR-1 ไดมีการเคลื่อนยาย เพื่อออกปฏิบัติงาน<br />

ใหกับ Cudd Pressure Control Inc. (“Cudd”) ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 และไดเริ่มตนสัญญาวาจางงานเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2553<br />

โดยใหบริการเปนเรือที่พัก (accommodation work barge) ที่อัตราคาเชาเรือรายวัน 22,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน จากนั้น สัญญาวาจาง<br />

ดังกลาวไดเกิดปญหาขึ้นเมื่อสัญญาที่ Cudd ไดทำไวกับ Saudi Arabian Oil Company นั้นไดถูกเพิกถอน ทำใหเรือขุดเจาะ MTR-1 ยังคงอยูใน<br />

ตะวันออกกลาง ซึ่งเมอรเมดและ Cudd อยูในระหวางการเจรจาเกี่ยวกับเรื่องการยกเลิกสัญญาวาจางดังกลาว เรือขุดเจาะ MTR-2 ยังคงปฏิบัติงาน<br />

ตามสัญญาใหกับ Chevron ซึ่งจะสิ้นสุดในวันที่ 28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554 บริษัทฯ กำลังศึกษากฎเกณฑของการคาชายฝงซึ่งออกประกาศโดย<br />

ทางการของประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งอาจจะมีผลกระทบกับการปฏิบัติงานของเรือขุดเจาะ MTR-2 ในนานน้ำของประเทศอินโดนีเซีย และจะมีการ<br />

เจรจาในเรื่องของการตออายุของสัญญาพรอมพิจารณาในเรื่องของการตีความของกฎเกณฑเหลานี้<br />

16 รายงานประจำป 2553


เรือขุดเจาะสั่งตอใหม KM-1 ที่มีขอขัดแยงในการลงทุนลำดังกลาว ไดถูกขายออกไปในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553 ดวยผลขาดทุนสุทธิจำนวน 180.9<br />

ลานบาท MDL และ Kencana Petroleum Venture Sdn. Bhd. มีความเห็นที่ตางกันเกี่ยวกับรายละเอียดทางเทคนิคของเรือขุดเจาะ การตัดสินใจ<br />

ในการขายเงินลงทุนในเรือขุดเจาะนี้ เกิดขึ้นหลังจากที่เรือไดครบกำหนดการสราง และเกิดจากการพิจารณาอยางละเอียดถี่ถวนแลว รวมไปถึง<br />

ผลกระทบของประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และการทำตลาดของเรือนอกเหนือจากสัญญาที่มีอยู หลังจากที่ไดมีการพิจารณาอยางครอบคลุมถึง<br />

ความเปนไปไดที่จะเกิดขึ้นทั้งหมด ดูเหมือนวาไมวาจะดวยการกระทำใดๆ ก็ตาม มีความเปนไปไดที่จะนำพาผูถือหุนไปสู ความเสี่ยงที่มากขึ้นและ<br />

มีความเปนไปไดที่จะเกิดผลขาดทุนที่มากขึ้นมากกวาการขายเรือขุดเจาะ KM-1 ออกไป<br />

มีกิจกรรมเกิดขึ้นในชวงครึ่งหลังของป 2553 เพิ่มมากขึ้น บริษัทผูประกอบการน้ำมันและกาซธรรมชาติบางราย ที่ไดยกเลิกหรือยืดระยะเวลา<br />

โครงการขุดเจาะนอกชายฝงไปกอนหนานี้ ไดมีการยื่นประมูลสำหรับเรือขุดเจาะ รวมถึง Chevron <strong>Thai</strong>land และ Petro’leos Mexianos<br />

(“Pemex”) บริษัทฯ ยังคงมองหาลูกคาที่มีความพอใจในอุปกรณที่ใหมกวา และไดสั่งตอเรือขุดเจาะแบบ jack-up ที่มีคุณลักษณะเฉพาะตัวสูงจาก<br />

Keppel FELS ในประเทศสิงคโปร จำนวน 2 ลำ ซึ่งจะมีการรับมอบในป 2555 และ 2556 ผานกิจการรวมคา (joint venture) ที่ชื่อ Asia Offshore<br />

Drilling Limited ซึ่งเมอรเมดไดถือหุนอยูในบริษัทนี้รอยละ 49 ปจจุบัน บริษัทฯ กำลังมีวางแผนการตลาดสำหรับเรือขุดเจาะ 2 ลำใหมนี้ และหากบ<br />

ริษัทฯ สามารถหางานใหกับเรือขุดเจาะ 2 ลำนี้ไดภายในระยะเวลาอันสมควร บริษัทฯ มีโอกาสที่จะใชสิทธิที่จะสั่งตอเรือขุดเจาะที่มีคุณลักษณะ<br />

เฉพาะตัวสูงเพิ่มอีก 2 ลำ<br />

MDL กำลังมองหาโอกาสที่จะเปนหนึ่งในบริษัทผูใหบริการเรือขุดเจาะจำนวนนอยรายในภาคพื้นเอเชีย ดวยการใหบริการเรือขุดเจาะที่มี<br />

คุณลักษณะเฉพาะตัวสูงที่ทันสมัย การเขาซื้อกิจการใดๆ ของบริษัทฯ จะเปนไปดวยความรอบคอบในทางการเงิน ดวยการมองภาพในระยะยาว<br />

ธุรกรรมของเมอรตัน<br />

เมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี เปนกลุมการลงทุนที่มีสำนักงานอยูในประเทศฮองกง และมุงเนนที่จะพัฒนาสินทรัพยที่เปนถานหินในภูมิภาคเอเชีย<br />

แปซิฟค โดยการลงทุนแรกนั้น เมอรตันไดเขารวมเปนหุนสวนกับ SKI Construction Group, Inc. ประเทศฟลิปปนส ในกิจการรวมคาธุรกิจเหมือง<br />

ถานหิน ชื่อ SKI Energy Resources Inc. (“SERI”) บริษัทฯ ไดลงทุนในเมอรตันในเวลาเดียวกันกับที่ SERI ไดเริ่มดำเนินการในเหมืองถานหินเปน<br />

ครั้งแรก และธุรกิจนี้ไดมีการพัฒนาภายในตารางเวลาตามแผนงานที่บริษัทฯ ไดวางไวนับแตนั้นมา SERI มีพนักงานมากกวา 850 คน โดยพนักงาน<br />

จำนวนมากปฏิบัติงานอยูใตพื้นดินที่มีความลึก 100-200 เมตร เพื่อขุดเจาะถานหิน เงินจำนวนมากกวา 12 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกาไดนำไปใช<br />

ลงทุนในการสรางเหมืองถานหินใตดินที่แรกตามมาตรฐานสากลดวยความคำนึงถึงความปลอดภัยสูงสุด ทีมงานผูบริหารเหมืองถานหินไดรับการวา<br />

จางโดยตรงจากแอฟริกาใต และมีประสบการณการทำงานในเหมืองถานหินโดยสำคัญ<br />

ในป 2553 SERI ไดดำเนินการดังนี้:<br />

l ผลิตถานหินไดเปนครั้งแรกในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553<br />

l ขนสงถานหินจำนวน 8,000 ตัน ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 ไมนานหลังจากที่ไดลงนามในสัญญาการขายถานหินซึ่งจะสิ้นสุดตามอายุงาน<br />

ของเหมืองกับ Glencore AG บริษัทผูคาถานหินรายใหญของโลก<br />

ดวยวิสัยทัศนที่ดีในดานการผลิตและการลงนามในสัญญาในโอกาสที่เหมาะสม บริษัทฯ คาดวาเมอรตันจะมีสวนแบงกำไรใหกับบริษัทฯ ในป 2554<br />

ในจุดนี้ของการพัฒนา บริษัทฯ คาดวาเมอรตันจะนำผลกำไรที่ไดไปลงทุนใหมใน SERI และในโครงการถานหินเพิ่มเติมในภูมิภาคมากกวาที่จะจาย<br />

เปนเงินปนผล SERI อยูในกระบวนการยื่นขอสัมปทานถานหินจำนวน 8,000 เฮกตารในประเทศฟลิปปนส และจะนำกระแสเงินสดสวนเกินไปใชใน<br />

การสำรวจและพัฒนาสัมปทานของเหมืองถานหินเหลานี้เพิ่มเติมตอไป บริษัทฯ คาดวา สวนแบงผลกำไรจากหนวยธุรกิจนี้จะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว<br />

ในอีก 2-3 ปขางหนานี้<br />

กลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐานมีกำไรสุทธิ 311.9 ลานบาทโดยมีผลตอบแทนจากสวนผูถือหุนรอยละ 18.18<br />

กลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐานมีผลกำไรทั้งกลุม โดยมีตัวเลขกำไรสุทธิรวม 311.9 ลานบาทจากรายไดรวม 4,933.6 ลานบาท ผลตอบแทนทุนคิด<br />

เปนรอยละ 11.07 บาคองโคมีผลประกอบการแข็งแกรงในป 2553 ในขณะที่ UMS มีผลประกอบการไมดีนักในชวงเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน<br />

แตก็กระเตื้องขึ้นตั้งแตเดือนกรกฎาคม เปนตนมา<br />

ธุรกรรมของบาคองโค<br />

บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 100 ใน EMC ซึ่งเปนเจาของบาคองโค ที่เปนบริษัท ผลิตและผูจัดจำหนายปุยในเวียดนาม บาคองโคผสมวัตถุดิบตางๆ เชน<br />

ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตส แรธาตุ และสารธาตุอาหารเสริม โดยมีขั้นตอนการผลิต 5 ขั้นตอน เพื่อผลิตปุย NPK ซึ่งบาคองโคขายปุยและ<br />

ผลิตภัณฑปองกันศัตรูพืชตางๆ เชน ยาฆาแมลง<br />

รายงานประจำป 2553 17


บาคองโคมีผลประกอบการที่ดีเกินคาดหมาย กลยุทธหลักของบริษัทฯ คือ การทำใหผลผลิตปุยสามารถใหผลกำไรอยางสม่ำเสมอและสามารถ<br />

ทำใหรายไดและกำไรของบาคองโคดีขึ้นกวาเดิมดวยการทำธุรกิจโลจิสติคส กลยุทธนี้ก็ไดดำเนินการอยางดีมากในป 2553 ซึ่งบาคองโคไดผสมและ<br />

ผลิตจัดจำหนายปุยรวม 150,000 ตัน ในประเทศเวียดนามโดยมียอดขาย 2,146.4 ลานบาท บาคองโคมีการจัดการลำเลียงสินคาเปนจำนวน<br />

150,933 ตัน และสรางรายไดจำนวน 3.3 ลานบาท จากการรปลอยเชาที่ในคลังสินคา<br />

ในป 2553 บาคองโคไดดำเนินการดังนี้<br />

l ไดรวมมือกับเครือขายผูขายสง 150 ราย ผูขายปลีก 5,000 ราย และตัวแทนการจำหนาย ในการขายปุยและผลิตภัณฑปองกันศัตรูพืช<br />

l ไดเซ็นสัญญากับ บริษัท Dow Agroscience บริษัท FMC บริษัท UPL และบริษัทตางชาติอื่นๆ เพื่อเพิ่มการผลิตผลิตภัณฑปองกันศัตรูพืช<br />

l ไดเปลี่ยนตัวผูบริหารโรงงานและการจัดซื้อดวย<br />

การที่ Baria Serece นั้นตั้งอยูใกลหนึ่งในทาเรือสำหรับเรือเดินทะเลที่ลึกที่สุดของประเทศเวียดนามนั้นทำใหบาคองโคไดเปรียบในฐานะผูบุกเบิก<br />

ในการจัดการโลจิสติคสและบริการคลังสินคาอยางมืออาชีพในเขต Phu My ซึ่งกำลังเติบโตเปนเขตอุตสาหกรรมอยางรวดเร็ว บริษัทดังเชน บริษัท<br />

Holcim, บริษัท Formosa Plastics และบริษัท Bunge ไดมีการลงทุนคอนขางสูงที่บริเวณนี้ ในการซื้อ Baria Serece ทำให บาคองโค มีศักยภาพ<br />

ที่จะเปนผูที่ใหบริการการจัดการโลจิสติคสและบริการคลังสินคาที่ไมมีคูแขงในเขตอุตสาหกรรม Phu My ได<br />

บริษัทฯ ไดวางแผนที่จะเพิ่มพื้นที่บริเวณและคลังสินคาของบาคองโคเพื่อที่จะไดเตรียมรับบริมาณสินคาที่จะตองมาผาน Baria Serece ไดมากขึ้น<br />

ในป 2553 คาดวาจะมีสินคามากกวา 4.5 ลานที่จะตองมาผานทา Baria Serece ซึ่งหมายความวาตลาดโลจิสติคสนั้นยังจะเปดกวาง<br />

บริษัทฯ ไดซื้อ บาคองโค ดวยจำนวนเงิน 374.1 ลานบาทในป 2552 ในปแรกที่เราไดเขาไปดำเนินการบริหารนั้น บาคองโค มีผลกำไรสุทธิเปน<br />

จำนวนเงิน 211.7 ลานบาท ซึ่งตองพูดวาเปนผลตอบแทนการลงทุนที่ดีที่สุดของในประวัติของบริษัท ฯ<br />

ธุรกรรมของ UMS<br />

UMS เปนบริษัทโลจิสติคสถานหินตั้งแตแหลงเหมืองตนน้ำจนถึงลูกคาปลายทาง UMS มีเรือลากจูง 12 ลำ โรงผสมและผลิตถานหินพรอมคลัง<br />

สินคาเก็บถานหินสองแหง และรถบรรทุก26 คัน จุดเดนของ UMS อยูที่ความสามารถสงสินคาใหแกบริษัทลูกคาซึ่งเปนบริษัทอุตสาหกรรม<br />

การขนาดเล็กและกลางที่ใชเตาถานหิน<br />

ในป 2553 UMS ไดดำเนินการดังนี้<br />

l ซื้อถานหินจากเหมือง 7 แหงในประเทศอินโดนีเซียและจัดสงกลับประเทศไทยโดยใชบริษัทเดินเรือ 7 แหง<br />

l คัดเลือกถานหินตามเกณฑขนาด โดยขายใหแกลูกคารายเล็กถึง 300 ราย<br />

l ผลิตเมล็ดถานหิน 58,000 ตัน ที่นำมาผานกระบวนการผสมกลับใหไดขนาดถานหินในเกณฑที่ลูกคาตองใชงาน<br />

l ปรับโครงสรางของบริษัทเพื่อที่จะผลักดันการเติบโตและไดแตงตั้งผูบริหารอาวุโสเขามาชวยทำใหประสิทธิภาพขององคกรมีมากขึ้น<br />

ผลประกอบการของ UMS ในป2553 นั้นไมดีนัก ซึ่งภายในระยะเวลา 11 เดือนนั้น UMS มีรายไดและกำไรสุทธิเปนเงิน 2,541.2 ลานบาท และ<br />

90.2 ลานบาท ตามลำดับ ผลตอบแทนจากการลงทุนใน UMS เทียบเทารอยละ 5.42 ของการลงทุน ณ วันที่เราไดซื้อ UMS สินคาคงคลังที่เปน<br />

ถานหินในขนาด 0 - 5 มิลลิเมตร (“มม.”) มีอยูที่ 570,000 ตัน ซึ่งเปนผลมาจากการที่ UMS มีพันธะสัญญาในการซื้อถานหินหนึ่งลานตัน<br />

เมื่อป 2551 พรอมกับการเซ็นสัญญาระยะยาวสำหรับการขนสงถานหินในราคาเฉลี่ย 18 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตัน<br />

บริษัทฯ ไดซื้อ UMS เพราะไดมองเห็นศักยภาพที่ธุรกิจนี้มีอยูมาก รวมทั้งแบบแผนการดำเนินธุรกิจที่เรียบงาย ถานหินที่รับมาทุกครั้งนั้นลวนอยู<br />

ในขนาด 0 - 50 มม. UMS จะมีการคัดถานหิน ตามขนาด 10 - 50 มม.ใหเปนหมวดหมูและไดเก็บไวในคลังสินคาเพื่อนำไปขายใหแกบริษัทลูกคา<br />

ขนาดเล็กและขนาดกลาง (“SME”) ตามความตองการปจจุบันทันที การขายถานหินใหแก SME นั้นที่ใหกำไรมากกวาการขายถานหินใหแกลูกคา<br />

รายใหญ อยางไรแลวในการรับถานหินทุกครั้งนั้นจะมีถานหินขนาด 0 - 5 มม. โดยเฉลี่ยแลวรอยละ 35 คงเหลือแครอยละ 65 เพื่อนำไปขายดวย<br />

กำไรเบื้องตนที่สูงกวา ลูกคาหลักของถานหินในขนาด 0 - 5 มม. เปนบริษัทปูนซีเมนต ดังนั้นเมื่อการผลิตของบริษัทเหลานี้ไดมีการลดลงในชวงแรก<br />

ของป 2553 UMS จึงใมสามารถระบายถานหินขนาด 0 - 5 มม. ได ทำใหปริมาณสินคาคงคลังอยูในระดับที่สูง<br />

อยางไรแลว UMS สามารถเพิ่มรายไดและผลกำไรไดมากขึ้นโดยเพียงแคเพิ่มการนำเขาถานหินมาในประเทศไทยและขายถานหินขนาด<br />

10 - 50 มม. ใหแก บริษัท SME ทั้งนี้ UMS ไดขายถานหินขนาด 10 - 50 มม. หมดคลังในป 2553 ซึ่งแสดงใหเห็นวาความตองการถานหิน<br />

ยังมีอยูมาก โดยเฉพาะในเดือนกรกฎาคมและเดือน สิงหาคม UMS มีถานหินในขนาด 10 - 50 มม. ไมเพียงพอกับความตองการของลูกคา<br />

ถึงกระนั้น UMS มิไดเลือกที่จะสั่งเพิ่มเพราะปริมาณถานหินคงคลังในขนาด 0 - 5 มม. และระดับเงินกูที ่นำมาใชเปนทุนหมุนเวียนนั้นก็จะตองเพิ่ม<br />

ขึ้นตามไปดวยและจะเกินเกณฑระดับความเสี่ยงที่เราจะพรอมรับ ในป 2554 UMS ไดวางแผนการลดปริมาณถานหินคงคลังในขนาด 0 - 5 มม.<br />

โดยจัดการขายตรงใหแกบริษัทปูนซีเมนตและการเพิ่มผลผลิตถานหินปนเม็ด ในชวงหลังเดือนกรกฎาคมที่ผานมานี้ความตองการถานหินโดยบริษัท<br />

ปูนซีเมนตก็พรอมที่จะกระเตื้องขึ้นเมื่อการผลิตซีเมนตมีมากขึ้น ในชวงระหวางเดือนกรกฎาคม และเดือนกันยายนที่ผานมานี้นั้น UMS ไดขาย<br />

ถานหินขนาด 0 - 5 มม. ใหแกบริษัทผลิตปูนซีเมนต ในปริมาณ 111,000 ตัน เทียบกับปริมาณที่ไดขาย 5,700 ตัน ในชวงระหวางเดือนเมษายนและ<br />

เดือนมิถุนายน โดยภาพรวมแลวแนวโนมอยูในขาขึ้น<br />

18 รายงานประจำป 2553


โครงการถานหินปนเม็ด มีผลออกมาที่ไมคอยสม่ำเสมอในป 2553 จึงทำใหเราตองมีการแกไขรูปแบบแผนการดำเนินงานนี้ โครงการผลิตถานหิน<br />

ปนเม็ดนี้เปนการจัดเตรียมการผสมผงถานในขนาด 0 - 5 มม. มาเปนกอนถานที่ใหญขึ้น แตเดิมนั้น UMS ไดตั้งใจที่จะทำการนี้ดวยวิธีการที่ถูกที่สุด<br />

ซึ่งเหมือนกันกับ เมอรเมด ในการที่ทั้งสองไดพึ่งกลยุทธที่ทำใหเสียนอยเสียยากเสียมากเสียงายในกรณีที่พูดถึงกันนี้ ขณะนี้เราไดตั้งงบเตรียมจาย<br />

และลงทุนในสิ่งที่จะตองทำเพื่อที่จะผลิตถานหินปนเม็ดไดอยางสม่ำเสมอในปริมาณ 40,000 ตันตอเดือนเปนอยางนอย ในป 2554 ตอไปในอนาคต<br />

รวมกันแลว การขายถานหินใหแกบริษัทผลิตปูนซีเมนตและการขายถานหินปนเม็ดจะลดปริมาณถานหินขนาด 0 - 5 มม. ที่คงคลังอยู และลดระดับ<br />

ทุนหมุนเวียนลงเปนครึ่งในป 2554 ทั้งหมดนี้จะทำให UMS อยูในสถานภาพที่ดีขึ้นพรอมที่จะเพิ่มปริมาณการนำเขาถานหิน และเพิ่มศักยภาพใน<br />

การขายถานหินในขนาด 10 - 50 มม. ดวยกำไรเบื้องตนที่สูงขึ้น<br />

ถึงแมธุรกิจนี้กำลังที่จะกลับไปมียอดขายเทียบเทาเมื่อสองปกอนหนานี้ เปาหมายหลักของเราคือการลดปริมาณถานหินขนาด 0 - 5 มม. ที่อยู<br />

ในคลัง เพื่อที่จะดึงมูลคาเทียบเทาเงินสดที่คงอยูในคลังออกมาในป 2554 เมื่อเราไดปลดปลอยพันธนาการนี้ไดแลวดวยการลดระดับปริมาณ<br />

ถานหินในคลังใหอยูในที่พอใจ บริษัทฯ ก็จะเบนเข็มไปเนนการหาลูกคาและเพิ่มยอดขายอยางธุรกิจโลจิสติคสถานหินในประเทศไทยเปนธุรกิจ<br />

ที่ดี และเปนปจจัยสำคัญในการดำเนินงานของอุตสาหกรรมหลายประเภท เราจึงมีความตั้งใจที่จะดำรงตำแหนงผูนำในธุรกิจนี้<br />

ธุรกรรมของบริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด ซัพพลายส<br />

บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด ซัพพลายส จำกัด (“CMSS”) เปนบริษัทใหบริการที่มีพนักงาน 11 คน โดยใหบริการ จัดการขนถายสินคาขึ้น<br />

ลงเรือ จัดการหาอุปกรณที่ใชบนเรือ รวมทั้งวัสดุและอุปกรณที่ใชในการดูแลสินคาระหวางขนสง บริษัทเปนเจาของและบริหารจัดการคลังสินคาที่<br />

ทันสมัยขนาด 16,121 ตารางเมตร ที่มีที่ตั้งอยูใกลทาเรือแหลมฉบัง<br />

ในป 2553 CMSS ไดดำเนินการดังนี้<br />

l ดูแลสินคาในเปนจำนวน 1,362,646 ตัน จากการใหบริการจัดการขนถายสินคาขึ้นลงเรือ ซึ่งมีสินคาบรรจุถุง สินคานอกเหนือจากสินคาเทกอง<br />

เชน เครื่องจักร สิ่งกอสราง ผลิตภัณฑเหล็ก รถยกของ และสินคาเฉพาะโครงการ<br />

l ปลอยเชาพื้นที่คลังสินคา 2,838 ตารางเมตรใหแก DHL และอีก 13,283 ตารางเมตร ใหแก มิตซูบิชิ มอเตอรส ประเทศไทย โดยเปน การปลอย<br />

เชาพื้นที่ทั้งหมดที่มี<br />

การที่เราไดยกเลิกการเดินเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองแบบประจำเสนทาง เมื่อตนป 2553 นั้นไดมีผลกระทบในเชิงลบสำหรับ CMSS อยางไรแลว<br />

CMSS ก็ยังสามารถทำรายไดอ 116.0 ลานบาท และมีกำไรเพิ่มขึ้นจากปที่แลวรอยละ 28.4 รวมเปนยอด 10.8 ลานบาท ซึ่งเทียบเปนผลตอบแทน<br />

การลงทุนที่รอยละ 10.50<br />

ธุรกรรมของบริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส<br />

บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส จำกัด (“GTL”) เปนบริษัทใหบริการโลจิสติคสครบวงจร (“3PL”) ที่ใหบริการคลังสินคาพรอมการจัดสงใหแกลูกคา<br />

ทั่วโลก GTL มีพนักงาน 56 คนและบริหารคลังสินคาอยู 2 แหงเพื่อรองรับความตองการของ ลูกคา (คลังหนึ่งเปนกรรมสิทธิ์ของGTL และคลังที่<br />

สองเปนคลังเชา) คลังของบริษัทเองนั้นตั้งอยูที่อมตะนครมีพื้นที่ทั้งหมด 10,000 ตารางเมตร พรอมที่จัดตั้งแผนวางสินคาทั้งหมด 15,000 ตำแหนง<br />

คลังเชานั้นตั้งอยูที่บางปะอินมีพื้นที่ 4,000 ตารางเมตร พรอมที่จัดตั้งแผนวางสินคาทั้งหมด 6,000 ตำแหนง ลูกคาหลักของบริษัท คือ Mead<br />

Johnson Nutrition, Mitsubishi Electric, DSM, Cognis, Sara Lee, Koehler, Biz Group, BIO Strong และกลุมเซ็นทรัล<br />

ในป 2553 GTLไดดำเนินการดังนี้<br />

l จัดเขาคลังนมผงและสวนผสมอาหาร 200,000 ตัน เครื่องปรับอากาศ 70,000 ลูกบาศกเมตร และผลิตภัณฑกาแฟ อีก 60,000 ตัน<br />

l ไดจัดสงสินคาทางรถบรรทุกนับ 5,000 เที่ยวไปสู 200 สถานที่<br />

l มีการใชพื้นที่เปนรอยละ 98 ที่อมตะนคร และรอยละ 90 ที่บางปะอินในแตละเดือน<br />

GTL สรางรายได 125.7 ลานบาท และมีกำไรสุทธิ 5.0 ลานบาท ซึ่งเปนผลตอบแทนการลงทุนเทียบเทารอยละ 7.09<br />

บริษัทในกลุมที่ประกอบธุรกิจการถือหุนมีผลขาดทุนสุทธิ 328.1 ลานบาท<br />

บริษัทในกลุมที่ประกอบธุรกิจการถือหุนมีผลขาดทุนสุทธิ 328.1 ลานบาท เทียบกับกำไรสุทธิ 344.9 ลานบาทในป 2552 คาใชจายหลักๆ ของ<br />

กลุมบริษัทที่ประกอบธุรกิจการถือหุนมีอยูสองรายการใหญๆ ใน อันดับแรกคือ เงินเดือนและสิทธิประโยชนที่พึงใหแกพนักงานและคาใชจายใน<br />

การศึกษาวิเคราะหและการดำเนินการลงทุนตามโอกาส<br />

มูลคาของการลงทุนหลักทรัพยในภาพรวมเติบโตขึ้นเปน 1,530.0 ลานบาท ในป 2553 โดยที่บริษัทฯ ไดอาศัยเงินสดที่เหลือเกินความตองการ<br />

ในแตละขณะมาลงทุนเพื่อเพิ่มผลประโยชนจากการลงทุนใหมากที่สุด อยางไรแลวถึงแมบริษัทฯ ยังคงยอดเงินสดที่คอนขางสูงนั้น เราไมยึดหลัก<br />

การลงทุนระยะสั้นเพื่อที่จะสรางกำไร<br />

รายงานประจำป 2553 19


รายไดจากการลงทุนไดมาจาก 33.5 ลานบาท ในการซื้อขายหุน และ 106.6 ลานบาท ที่ไดมาจากดอกเบี้ยและเงินปนผล รายไดจากการฝากเงิน<br />

ระยะสั้นนี้จะนอยลงพรอมกับยอดเงินสดที่จะมีการใชตามแผนการลงทุนในป 2554 คาใชจายในการวิเคราะหโอกาสในการลงทุนนั้นคาดวาจะ<br />

ลดลงจากระดับของป 2553 เมื่อมีการเสาะหาโอกาสการลงทุนนอยลงในป 2554 ในป 2553 ทีมงานวิเคราะหการลงทุนไดพิจารณาโอกาสมากกวา<br />

30 รายการ วิเคราะห 17 รายการ และวิเคราะหสถานภาพบริษัทอยางละเอียด (due diligence) 9 กรณี และไดลงทุนใน 3 บริษัท ถึงแมเรายังมีจะ<br />

วิเคราะหโอกาสในการลงทุนอยูอีกสองรายการ ณ สิ้นป บริษัทฯ ยังคงที่จะใชความระมัดระวังในการวิเคราะหโอกาสและความเสี่ยงที่เกี่ยวของ<br />

การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล<br />

เราตระหนักดีวา ธุรกิจของบริษัทฯ กำลังซับซอนมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งมีผลใหเราตองมีระบบขอมูลที่ซับซอนตาม รวมถึงตองมีทักษะในการวิเคราะห<br />

และการบริหารจัดการความเสี่ยงที่มากขึ้นดวย ความกดดันตองานในลักษณะเดียวกันเกิดขึ้นจากหลายดาน เชน จากการที่ฝายปลอยเชาเรือ<br />

ตองติดตอกับลูกคาในเรื่องสินคาที่จะบรรทุกในเรือ ไปจนถึงฝายขายที่ตองเจรจากับบริษัทน้ำมันและกาซในเรื่องสัญญาการใหบริการ เพราะฉะนั้น<br />

เราตองมีความรอบคอบ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการทำงานของเราดวย<br />

เราคาดวา การเติบโตในระยะยาวของบริษัทฯ จะขึ้นอยูกับความสามารถในการดึงดูดและรักษาพนักงานที่มีความสามารถและทุมเทใหกับบริษัทฯ<br />

ไวได ดังนั้น ในชวงที่เรากำลังจะเปลี่ยนผานไปเปนบริษัทเพื่อการลงทุนในเชิงกลยุทธ เราจึงไดจัดทำแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลในระยะ 5 ปไว<br />

ซึ่งประกอบดวย<br />

l การสรางใหเกิดวัฒนธรรมองคกรที่จายคาตอบแทนตามผลประกอบการของบริษัทฯ และตามผลการปฏิบัติงานของแตละบุคคล<br />

l การพัฒนาใหเกิดระบบการบริหารจัดการคาตอบแทนที่ทำใหบริษัทฯ สามารถที่จะดึงดูด รักษา และกระตุนบุคลากรที่มีความสามารถ<br />

l การจัดทำโครงการ “ผูนำในตัวคุณ หรือ Leader in You” ซึ่งเปนโครงการพัฒนาผูนำรุนใหมที่เริ่มตั้งแต การวางพื้นฐานทางอาชีพ การสราง<br />

โอกาสในการเจริญกาวหนาทางอาชีพใหกับบุคลากรที่มีความสามารถ และการสรางกลุมผูนำรุนใหมที่จะมารองรับการเจริญเติบโตของธุรกิจ<br />

ในทุกๆ ดาน<br />

ในป 2553 นี้ เราไดวางรากฐานสำหรับการบริหารผลการปฏิบัติงานใหดียิ่งขึ้น ดวยระบบ MAX วิเคราะหแบบบรรยายลักษณะของงาน จัดทำ<br />

ระดับชั้นของตำแหนงงาน และจัดทำกระบอกเงินเดือนสำหรับระดับชั้นของตำแหนงงานตางๆ นอกจากนี้เรายังไดจัดทำแผนการจายโบนัส<br />

ระยะสั้นและระยะกลางที่สอดคลองกับผลตอบแทนของนักลงทุนใหมากขึ้น<br />

การสรรหาวาจางและพัฒนาบุคลากร<br />

ธุรกิจของเรากำลังมีความหลากหลายมากขึ้น กลุมบริษัทฯ ไดวาจางพนักงานทั้งสิ้นกวา 2,700 คน เรามีฝายขายที่คอยติดตอดูแลลูกคาเปน<br />

ประจำทุกวัน และมีฝายเทคนิคที่คอยดูแลบริหารการปฏิบัติการและความปลอดภัยตางๆ ของธุรกิจหลักทุกแหง นอกจากนี้ เรายังมีมืออาชีพทาง<br />

ดาน กฎหมายและการกำกับดูแล การบริหารความเสี่ยง การตรวจสอบภายใน การทรัพยากรบุคคล ตลอดจนผูเชี่ยวชาญการเงินที่คอยวิเคราะห<br />

ขอมูลและตัวเลข และทบทวนนโยบายที่มีอยู และชี้ใหเห็นประเด็นตางๆ ที่เราอาจตองเผชิญกับคูคาในแตละบริษัท ซึ่งรายการเหลานี้ ยังไมรวมถึง<br />

กลุมลูกเรือ และวิศวกรที่ทำหนาที่คอยดูแลเรือและเรือขุดเจาะ<br />

เพื่อใหผลผลิตดียิ่งขึ้น เราจึงหันมาวาจางบุคลากรที่วุฒิการศึกษาในระดับสูงขึ้น รวมทั้งผูที่จบปริญญาโทดานบริหารธุรกิจ (M.B.A) เรายังไดเริ่ม<br />

จัดทำโครงการพัฒนาผูบริหาร (executive development program) สำหรับผูบริหารที่มีประสบการณพรอมที่จะนำมาใชในธุรกิจใหมๆ และวาจาง<br />

บุคลากร 3 คนเพื่อมาพัฒนาและเสริมสรางทักษะดานการบริหารใหอยางตอเนื่อง พนักงานของเราจะตองเขาฝกอบรมและพัฒนาทักษะตางๆ<br />

เพื่อใหตนเองสามารถปฏิบัติงานและบริหารความสัมพันธกับลูกคาใหดียิ่งขึ้น<br />

เราไดวาจางผูบริหารระดับสูงอีกสองทานเขามาในป 2553 ทำใหคณะผูบริหารระดับสูงชุดใหมมีสมาชิกครบครัน หากผูถือหุนลองเปรียบเทียบ<br />

รายงานประจำป 2550 กับรายงานประจำป 2553 จะพบวา โฉมหนาของคณะผูบริหารระดับสูงไดเปลี่ยนแปลงไปทั้งคณะ เนื่องจากเราตองการ<br />

บุคลากรที่สามารถดูแลและสรางความกาวหนาใหกับธุรกิจตางๆ ของเรานอกเหนือจากธุรกิจเดินเรือสินคาแหงเทกอง โดยคณะผูบริหารระดับสูงมี<br />

ความเชื่อในวิสัยทัศนรวมกันและมุงมั่นที่จะทำใหวิสัยทัศนนั้นเปนจริงขึ้นมา<br />

การประเมินผลงานและการพัฒนาอยางตอเนื่อง<br />

ในป 2554 เราวางแผนที่จะสรางความเติบโตจากรากฐานที่เรามีดวยการใหความสำคัญกับการวางแผนหาบุคลากรที่จะมาสืบทอดตำแหนง<br />

งานที่สำคัญ ซึ่งยังคงเปนสิ่งที่เรากังวล มีคำพูดที่วา “มีงานที่เหมาะกับทุกคน แตบางทีอาจจะไมใชงานที่คุณกำลังทำอยูในวันนี้” บริษัทฯ มีพันธะ<br />

กับพนักงาน ลูกคา และผูถือหุนในการสรางบรรยากาศที่บุคลากรของเราสามารถปฏิบัติงานไดอยางเต็มความสามารถ เรากำลังมุงหนาสูระบบการ<br />

ประเมินผลที่ชี้ใหเห็นขอดีขอดอย และสะทอนผลดังกลาวใหกับพนักงานอยางซื่อสัตยและรอบคอบ ซึ่งนี่เปนวัฒนธรรมใหมที่ตองใชเวลาในการ<br />

สรางใหเกิดขึ้นในองคกรของเรา<br />

20 รายงานประจำป 2553


บริษัทฯ ใหความสำคัญกับการพัฒนาผูบริหารที่มีอยูใหมีความแข็งแกรง โดยตองเริ่มจากการทำความเขาใจอยางชัดเจนในคุณสมบัติที่ประกอบ<br />

ดวยความรู ทักษะและคุณลักษณะที่เราตองการในกลุมผูจัดการอาวุโส ซึ่งคุณสมบัติเหลานี้ตองมีการสื่อสารและตอกย้ำผานการบริหารผลการ<br />

ปฏิบัติการและขั้นตอนการประเมินความสามารถของบุคลากร<br />

ในป 2554 นี้ เราวางแผนที่จะเปดตัวโครงการบุคลากรที่มีความสามารถที่พรอมจะทำงานไดทุกแหง เนื่องจากพวกเขาคือกุญแจสำคัญสำหรับการ<br />

ประสบความสำเร็จในระยะยาว เราจำเปนตองสื่อสารกับพนักงานใหเขาใจวา พวกเขาตองปฏิบัติตัวอยางไรเพื่อจะไดเลื่อนไปยังอีกระดับในองคกร<br />

ของเรา ซึ่งสวนหนึ่งของการไดโอกาสนั้นมา คือการไปลองรับงานใหมที่แตกตางจากเดิม และมีมุมมองที่กวางขวางเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจและ<br />

บุคลากร ในขณะที่พนักงานแตละคนจะบริหารสายงานอาชีพของตนเองแลว หนาที่ของบริษัทฯ คือการคอยดูแลใหกระบวนการเหลานั้นเกิดขึ้นมา<br />

การวางแผนหาบุคลากรเพื่อสืบทอดตำแหนง<br />

บริษัทฯ ใหความสำคัญและใครครวญเปนอยางมากกับการสรรหาผูสืบทอดตำแหนง โดยเฉพาะในสวนงานของผูบริหารระดับสูง ซึ่งเห็นไดตั้งแต<br />

ระดับสูงสุดลงมา โดยในชวง 5 ปที่ผานมา คณะกรรมการของบริษัทฯ มีการเปลี่ยนแปลงอยางคอยเปนคอยไปจนครบทั้งคณะ เราใชความ<br />

พยายามมากขึ้นที่จะหาบุคลากรที่เหมาะสมและมีความสามารถในการดำรงตำแหนงระดับสูงในอีก 3-5 ปขางหนา หรือพรอมที่จะรับตำแหนงตางๆ<br />

ในบริษัทฯ ไดทันทีหากจำเปน<br />

เราตองการใหผูถือหุนมั่นใจวา เรามีบุคลากรที่มีความสามารถเปนจำนวนมากในบริษัทฯ เพียงแตพวกเขายังตองการเวลาสำหรับเรียนรูและเพิ่ม<br />

ประสบการณอีกสักระยะหนึ่ง เราวางแผนที่จะสับเปลี่ยนหมุนเวียนพนักงานที ่มีความสามารถสูงไปยังกลุมธุรกิจตางๆ ของเรา เพื่อใหมั่นใจวา พวก<br />

เขาจะมีทักษะความสามารถในการขึ้นไปในตำแหนงที่สูงขึ้นในอนาคต ซึ่งรวมถึงการผูสืบทอดตำแหนงกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจา<br />

หนาที่บริหาร ซึ่งการขาดการวางแผนที่ดีในการหาผูสืบทอดตำแหนงกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารทำใหธุรกิจของหลาย<br />

บริษัทไมเดินหนา<br />

คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเชื่อวา เรื่องนี้เปนเรื่องที่สำคัญที่สุด คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนมีหนาที่รับผิดชอบในการประเมินผลการ<br />

ปฏิบัติงานของกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร รวมถึงคาตอบแทนของคณะผูบริหารระดับสูง (Management Committee) ทุก<br />

คน และคณะกรรมการจะคอยตรวจสอบแผนการสรรหาบุคลากรสืบทอดตำแหนง เนื่องจากบริษัทฯ ตองการกระบวนการสรรหาผูสืบทอดตำแหนงที่<br />

มีประสิทธิภาพในทุกตำแหนง ดังนั้น แผนการสรรหาผูสืบทอดตำแหนงและการพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถจึงถูกบรรจุไวในตัวชี้วัดผลงาน<br />

หลักสำหรับผูผูจัดการอาวุโสทุกคนในป 2554 นี้<br />

การจายคาตอบแทนที่เหมาะสม<br />

คาตอบแทนเปนเรื่องที่ซับซอนละเอียดออน เปาหมายของเราคือการออกแบบแผนคาตอบแทนที่สามารถดึงดูดและกระตุนบุคลากรที่มีความ<br />

สามารถ และใหรางวัลตอบแทนในพฤติกรรมที่ดีของพวกเขา เนื่องจากธุรกิจของเราบางตัวเปนธุรกิจที่มีการแขงขันสูงดังนั้น เราจึงตองมีโครงสราง<br />

การบริหารคาตอบแทนที่แขงขันไดหากเราตองการสรรหาและรักษาบุคลากรที่มีความสามารถไวกับเรา<br />

ในป 2553 เรามีคาใชจายทั่วไปและคาใชจายสำหรับการบริหารคิดเปนเงิน 1,826.5 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนรวม (เงินเดือน สวัสดิการ<br />

และโบนัส) มูลคา 874.3 ลานบาท เราจายเงินเดือนและสวัสดิการเฉลี่ยตอคนเปนมูลคา 821,541 บาท ตอป และโบนัสโดยเฉลี่ยตอคนเปนมูลคา<br />

132,933 บาท ซึ่งรวมแลวคือประมาณ 954,474 บาทตอคนตอป<br />

ในป 2553 เราไดจัดทำแผนคาตอบแทนระยะสั้น (โบนัส) ซึ่งใชหลักการคำนวณมาจากสามสวนหลักคือ รายไดประจำป กำไรสุทธิประจำป และ<br />

ผลตอบแทนจากเงินทุนที่ใชทั้งหมด ในขณะที่แผนคาตอบแทนระยะกลาง ถูกจัดทำขึ้นมาในลักษณะของ โครงการรวมลงทุนระหวางนายจางและ<br />

ลูกจาง (Employee Joint Investment Program - EJIP) สำหรับพนักงานระดับบริหารของบริษัทฯ และของธุรกิจเดินเรือสินคาแหงเทกอง จำนวน<br />

40 คน ซึ่งพนักงานจะจายเงินสมทบเขาโครงการจำนวนรอยละ 4 ในขณะที่บริษัทฯ จะจายรอยละ 7 ของจำนวนเงินเดือนของพนักงาน เพื่อนำมาซื้อ<br />

หุนของบริษัทฯ (TTA) ทุกเดือน<br />

หุนที่อยูภายใตโครงการ EJIP มีระยะเวลาสิ้นสุดโครงการเมื่อครบ 3 ป ซึ่งพนักงานไมมีสิทธิ์ขายหุนดังกลาวไดจนกวา หุนนั้นจะมีอายุครบ 1 ป<br />

หลังจากโครงการสิ้นสุดแลว และจะมีการจายเงินโบนัสปนผลระยะกลางใหกับพนักงาน หากบริษัทฯ สามารถบรรลุผลสำเร็จในตัวชี้วัดตอไปนี้<br />

ผลกำไรตอบแทนใหกับผูถือหุน อัตราเติบโตเฉลี่ยสะสมตอป ผลกำไรสุทธิ และผลตอบแทนจากเงินทุนที่ใชทั้งหมด<br />

เมอรเมดก็มีการจัดทำโครงการ ESOP (Employee Stock Option Plan) ใหกับพนักงาน เมื่อสองปที่ผานมา และระยะเวลาสิ้นสุดโครงการคือ 3 ป<br />

เชนเดียวกัน<br />

ถาหากเรามองดูที่คาตอบแทนโดยรวมในลักษณะที่เปนสัดสวนรอยละตอรายได คาตอบแทนโดยรวมของบริษัทฯ (เงินเดือน สวัสดิการและโบนัส)<br />

เปนรอยละ 4.58 ตอรายไดรวม ซึ่งเปนตัวเลขที่สูงกวาปที่ผานมา เนื่องจากเราพยายามที่จะยกระดับบุคลากรที่มีความสามารถในงานดานตางๆ<br />

มากขึ้น ตัวเลขดังกลาวไมสูงเลยเมื่อเทียบกับบริษัทฯ ที่ทำธุรกิจการบริการ หรือสถาบันการเงิน บริษัทฯ เปนกลุมธุรกิจที่ใชเงินลงทุนคอนขางสูง<br />

และมีคาใชจายเปนจำนวนมาก เชน คาใชจายเที่ยวเรือ คาใชจายของเจาของเรือ ดอกเบี้ย และคาเสื่อมราคา<br />

รายงานประจำป 2553 21


เปนเรื่องสำคัญที่จะตองชี้ใหเห็นวา หลายๆ บริษัท ไมไดจายคาตอบแทนที่มีมูลคาสูงตามผลการดำเนินงานที่ดีของบริษัท ซึ่งบริษัทฯ จะไม<br />

ดำเนินการในลักษณะนี้แนนอน<br />

หลักเกณฑในการจายคาตอบแทน<br />

เราเชื่อวา หลักเกณฑในการจายคาตอบแทนตอไปนี้ สอดคลองหลักเกณฑของบริษัทอื่นๆ ที่ทำธุรกิจเหมือนเรา โดยหลักเกณฑดังกลาวมีดังนี้<br />

l เชื่อมโยงคาตอบแทนไวกับผลงานของบริษัทโดยรวม ผลการดำเนินงานของแตละบริษัท หรือ ผลงานของแตละแผนก<br />

l สรางความรูสึกเปนเจาของรวมกันใหกับพนักงานที่เปนกำลังสำคัญ และทำใหโครงสรางของการเปนเจาของรวมกันใชระยะเวลาหลายปกอน<br />

จะสิ้นสุดโครงการ<br />

l สรางตัวชี้วัดทางการเงินที่รวมผลตอบแทนจากเงินลงทุน ซึ่งหมายถึงวา ยิ่งบริษัทฯ ใชเงินลงทุนมากเทาใด ก็ควรไดผลกำไรมากขึ้นเทานั้น<br />

l จัดทำตัวชี้วัดผลการทำงานทั้งแบบปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งมีแบบประเมินทักษะ ความรูและคุณลักษณะของผูบริหารระดับสูง<br />

เนื่องจากผลการดำเนินงานที่ดีในปนั้นๆ ไมไดบงชี้วาผลงานสวนบุคคลนั้นดีไปดวย<br />

เราจายแตละบุคคลอยางไร<br />

จุดตั้งตนของการจายคาตอบแทนที่เหมาะสมคือ การจายตามผลประกอบการที่ปรับยอดเงินลงทุนแลว ผูบริหารระดับสูงสวนใหญของบริษัทฯ<br />

จะถูกวัดดวยตัววัดหลักหลายตัวในการประเมินผลงาน โดยทั่วไปแลว คาตอบแทนของพวกเขาจะขึ้นอยูกับผลการดำเนินงานโดยรวมของบริษัทฯ<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับผูบริหารระดับสูงของแตละบริษัท<br />

การจายใหกับรายบุคคล เราจะดูที่ผลการปฏิบัติงานของพวกเขา ผลการดำเนินงานของหนวยธุรกิจ และผลการดำเนินงานโดยรวมของบริษัทฯ<br />

เปนหลัก เนื่องจากเรารูจักบุคลากรแตละคนคอนขางดี ดังนั้นเราจะประเมินผลการปฏิบัติงานเปนเวลาหลายป เพราะวามันสำคัญมากที่เรา<br />

จะตองรูจักคนที่ดีที่สุดของเรา เนื่องจากกวาพวกเขาจะมาอยูในตำแหนงสูงได พวกเขาตองพิสูจนตัวเองมาเปนเวลาหลายป<br />

ในคณะผูบริหารระดับสูง คาตอบแทนของพวกเขาจะถูกเชื่อมโยงไวกับผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และพวกเขาจะถูกประเมินทักษะความเปน<br />

ผูนำ ผานโครงการประเมินแบบ 360 องศา ซึ่งเราวางแผนจะนำไปใชกับผูบริหารในระดับกลางตอไป<br />

แผนภูมิ 5 : กำไรตอหุน ผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน ผลผลิตจากการทำงานตอคน (2551-2553)<br />

กำไรตอหุน ผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน ผลผลิตจากการดำเนินงานตอคน<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

บทสรุป<br />

เมื่อปที่แลว เราบอกกับผูถือหุนวา บริษัทฯ ที่ประสบความสำเร็จจะแสวงหาโอกาสใหมๆ ในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง และนี่คือสิ่งที่บริษัทฯ ตองการ<br />

จะทำ ดวยความมุงมั่นที่ไมเปลี่ยนแปลงในกลยุทธระยะยาวของเรา เราหวังวา ผูถือหุนจะเขาใจในการเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่กำลังเกิดขึ้นกับบริษัทฯ<br />

เราจะวิวัฒนาการตนเองไปเปนบริษัทเพื่อการลงทุนในเชิงกลยุทธ ที่มุงเนนในธุรกิจที่เปนสินคาโภคภัณฑ (commodities) และโครงสรางขั้นพื้นฐาน<br />

ดวยการขยายการลงทุนเพิ่มเติม ตลอดจนพัฒนาระบบและกระบวนการตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในฝงของทรัพยากรบุคคล เพื่อใหเราสามารถรอง<br />

รับการเติบโตของธุรกิจได หลังจาก 106 ปที่ผานไป ผูถือหุ นควรมั่นใจไดวา บริษัทฯ จะยังคงมีวิวัฒนาการและเปลี่ยนแปลงตัวเองใหมอยู<br />

ตลอดเวลา<br />

22 รายงานประจำป 2553


เราทุมเทและทำงานอยางเต็มที่เทาที่เราจะสามารถทำไดเพื่อจะสรางใหบริษัทฯ เปนบริษัทที่นาภาคภูมิใจ มุมมองที่ไดรับความนิยมเปนอยางมาก<br />

มุมมองหนึ่งคือ ความเปนเจาของผูบุกเบิกและมีความคิดสรางสรรคจะปรากฎอยูเฉพาะในธุรกิจขนาดเล็ก ความรูสึกเปนเจาของจะมีรูปแบบที่<br />

แตกตางไปในบริษัทที่มีขนาดใหญ ถาหากปราศจากความสามารถในการรังสรรคสิ่งใหมๆ ที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของตลาดแลว บริษัทฯ<br />

ก็คงจะตองสูญเสียสภาพการแขงขันเปนแน<br />

บริษัทฯ กำลังสรางตัวเองจากความแข็งแกรงเดิมที่เรามีอยู เพื่อเปลี่ยนแปลงตัวเองไปสูบริษัทฯ ที่มีองคประกอบทางการเงินที ่นาสนใจมากกวาเดิม<br />

ในสายตาของนักลงทุน ในขณะเดียวกัน ก็เปนบริษัทที่เจริญเติบโตและมั่งคั่ง ถึงแมวา ระบบและกฎใหมของเศรษฐกิจโลกจะถูกกำหนดไว<br />

ธุรกิจตางๆ ของเรานาจะสรางผลกำไรสุทธิที่สูงกวานี้ในอีกสองสามปขางหนา แมวา ธุรกิจเดินเรือสินคาแหงเทกองจะยังคงอยูในชวงขาลง<br />

ธุรกิจของเรายังคงตองเผชิญกับความทาทายหลายประการ แตเราเชื่อวา ดวยความแข็งแกรงที่เรามี โดยเฉพาะอยางยิ่ง ความยืดหยุน<br />

ความสามารถในการเปลี่ยนแปลง และการทำงานบนพื้นฐานของจริยธรรมจะชวยใหเราสามารถตอยอดบนความสำเร็จเปนเนืองนิตย<br />

สุดทายนี้ เราขอขอบคุณผูถือหุนทุกทาน ลูกคา คูคา ธนาคาร โดยเฉพาะอยางยิ ่งเพื่อนพนักงานที่คอยใหการสนับสนุนบริษัทฯ ดวยดีตลอดมา<br />

เราซาบซึ้งในความสนับสนุนที่มอบใหกับเรา และจะทำงานอยางเต็มที่ที่จะพิสูจนตนเองใหสมกับความไววางใจที่ไดรับ เรายังคงตื่นเตนและ<br />

กระตือรือรนกับโอกาสในอนาคตที่จะเกิดขึ้นกับบริษัทฯ และเชื่อวา ความรูสึกนี้จะเกิดขึ้นและคงอยูตลอดไปจนกวา เราจะสามารถนำพาบริษัทฯ<br />

ทะยานขึ้นไปสูอีกระดับของการพัฒนา<br />

ขอแสดงความนับถือ<br />

ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต<br />

ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต<br />

รายงานประจำป 2553 23


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ<br />

คณะกรรมการตรวจสอบทุกทานเปนกรรมการบริษัท ซึ่งกรรมการตรวจสอบทุกทานมีคุณสมบัติตามขอกำหนดเรื่องความเปนอิสระที่กำหนด<br />

โดยคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวย<br />

นางปรารถนา มงคลกุล (ประธานกรรมการตรวจสอบ) ดร. ศิริ การเจริญดี และนายอัศวิน คงสิริ (จนถึงวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553) และ<br />

นับจาก วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เปน นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ<br />

คณะกรรมการตรวจสอบชวยสนับสนุนใหคณะกรรมการบริษัท สามารถปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบไดเปนผลสำเร็จ โดยการชวยกำกับดูแล<br />

ในเรื่องดังตอไปนี้<br />

1. ความถูกตองและครบถวนของขอมูลทางการเงิน<br />

2. การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบขอบังคับวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ<br />

3. คุณสมบัติและความเปนอิสระของผูตรวจสอบบัญชี<br />

4. ผลการปฏิบัติงานของฝายตรวจสอบภายในและผูตรวจสอบบัญชีภายนอก<br />

นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังติดตามและสนับสนุนใหเกิดการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยเสริมสรางใหเกิดการรับรูและใหคำแนะนำแก<br />

ฝายบริหารเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมภายใน<br />

เพื่อใหสอดคลองกับหลักการขางตน คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทและความรับผิดชอบหลัก ดังนี้<br />

l การรายงานทางการเงิน : คณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานงบการเงินระหวางกาล และงบการเงินประจำปเพื่อใหคำแนะนำแก<br />

คณะกรรมการบริษัทในการอนุมัติงบการเงินดังกลาว ทั้งนี้ ในการสอบทานงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานโดยใหความสำคัญ<br />

ในประเด็นที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีและขั้นตอนการปฏิบัติงาน การตัดสินใจในเรื่องหลักๆ ที่สำคัญและมีความเสี่ยง<br />

รายการปรับปรุงทางบัญชีของผูตรวจสอบบัญชีที่มีสาระสำคัญ สมมติฐานเกี่ยวกับการดำเนินกิจการอยางตอเนื่อง การปฏิบัติตามมาตรฐาน<br />

การบัญชีรวมถึงกฎและระเบียบของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ<br />

l การตรวจสอบบัญชี : คณะกรรมการตรวจสอบจะหารือกับผูตรวจสอบบัญชีภายนอก เกี่ยวกับแผนการตรวจสอบ รายงานการตรวจสอบ<br />

งบการเงินประจำป สอบทานหนังสือแจงถึงฝายบริหารและผลการตอบกลับของฝายบริหาร รวมถึงสอบทานวัตถุประสงคในการตรวจสอบ<br />

และความเปนอิสระของผูตรวจสอบบัญชีจากฝายบริหารและบริษัทฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังเปนผูพิจารณาและใหคำแนะนำ<br />

แกคณะกรรมการบริษัทในการคัดเลือกและแตงตั้งผูตรวจสอบบัญชี รวมถึงการพิจารณาคาสอบบัญชีดวย<br />

l การตรวจสอบภายใน : คณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานขอบเขตการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน แนวการตรวจสอบ และประเด็นที่มี<br />

สาระสำคัญที่ตรวจพบในระหวางป รวมถึงการตอบสนองตอประเด็นที่ตรวจพบของฝายบริหาร เพื่อความเชื่อมั่นตอความเหมาะสมของ<br />

การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน และความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ<br />

l การบริหารความเสี่ยง : คณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานถึงประสิทธิภาพของการควบคุมที่มีสาระสำคัญ ซึ่งประกอบดวย การควบคุม<br />

ดานการเงิน การกำกับการปฏิบัติตามกฎระเบียบและขอบังคับตางๆ และการบริหารความเสี่ยง เพื่อรักษาผลประโยชนจากการลงทุนของ<br />

ผูถือหุน และทรัพยสินของบริษัทฯ<br />

l รายการคาระหวางบุคคลที่เกี่ยวของกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานรายการคา<br />

ระหวางบุคคลที่เกี่ยวของกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนที่เกิดขึ้นในป 2553 เพื่อใหมั่นใจวา บริษัทฯ ปฏิบัติตาม<br />

ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ<br />

24 รายงานประจำป 2553


ในระหวางรอบปบัญชี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2553 คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง โดยกรรมการทุกทานเขารวม<br />

การประชุมทุกครั้ง เพื่อสอบทานระบบบัญชี และระบบการควบคุมภายใน ตลอดจนรายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาสและประจำปกอนนำเสนอ<br />

สูที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และเผยแพรสูสาธารณชน โดยการสอบทานประเด็นตางๆ คณะกรรมการตรวจสอบไดกระทำโดยอิสระ และไดรวม<br />

หารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูตรวจสอบบัญชี ผูบริหารที่เกี่ยวของ และผูตรวจสอบภายใน นอกจากนี้ รายงานการประชุมทั้งหมดของ<br />

คณะกรรมการตรวจสอบไดถูกนำเสนอใหแกที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนรายไตรมาสเพื่อรับทราบขอมูลและพิจารณา<br />

โดยสรุปคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแลวมีความเห็นวา การดำเนินงานของบริษัทฯ ในป 2553<br />

l มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสม<br />

l รายงานทางการเงินไดจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือได<br />

l บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบขอบังคับวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ<br />

l ผูตรวจสอบบัญชี ซึ่งไดแก บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอร เอบีเอเอส จำกัด ไดปฏิบัติหนาที่อยางเหมาะสม<br />

l รายการคาระหวางบุคคลที่เกี่ยวของกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนที่เกิดขึ้นในป 2553 มีความสมเหตุสมผลและเปน<br />

ไปเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ<br />

ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่โดยอิสระ และมีสิทธิและดุลพินิจเต็มที่ในการเชิญกรรมการหรือเจาหนาที่บริหารเขารวมประชุม<br />

รวมถึงไมมีขอจำกัดในการเขาถึงขอมูล<br />

สำหรับงบการเงินประจำปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554 คณะกรรมการตรวจสอบไดเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ ใหพิจารณาแตงตั้งบริษัท<br />

ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอร เอบีเอเอส จำกัด เปนผูตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ ตอเนื ่องจากปที่ผานมา เนื่องจากบริษัทดังกลาวเปนบริษัทที่มีชื่อเสียง<br />

และมีมาตรฐานการตรวจสอบเปนที่ยอมรับอยางกวางขวาง การแตงตั้งผูตรวจสอบบัญชีจะไดนำเสนอตอที่ประชุมใหญสามัญประจำปของ<br />

ผูถือหุนที่จะมีขึ้นในเดือนมกราคม 2554 เพื่อใหความเห็นชอบตอไป<br />

นางปรารถนา มงคลกุล<br />

ประธานกรรมการตรวจสอบ<br />

รายงานประจำป 2553 25


คณะกรรมการ<br />

1. ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต (ถึงแกกรรม)<br />

ไดดำรงตำแหนงประธานกรรมการบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ในป 2537 ถึงป 2553 มีประสบการณการทำงานเปนรองผูจัดการใหญ<br />

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรในป 2525 ถึงป 2528 และเปนผูอำนวยการธนาคารออมสิน จำกัด ในป 2528 ถึงป 2533 นอกจากนี้<br />

ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต ยังไดดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการบริษัท ซี.เอส. แคปปตอล ในป 2534 ถึงป 2553 ตำแหนงประธานกรรมการบริหาร<br />

บริษัท หลักทรัพยพัฒนสิน จำกัด (มหาชน) ในป 2533 ถึงป 2535 และตำแหนงกรรมการบริษัท สหอุตสาหกรรมน้ำมันปาลม จำกัด (มหาชน) ในป 2535<br />

ถึงป 2547 ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีเศรษฐศาสตร (เกียรตินิยม) จาก University of Cambridge ประเทศอังกฤษ<br />

2. นายอัศวิน คงสิริ<br />

ไดรับแตงตั้งเปนประธานกรรมการบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ในเดือนพฤศจิกายน 2553 และในปเดียวกัน นายอัศวิน คงสิริ ไดรับแตงตั้ง<br />

เปนกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และเปนประธานกรรมการบริษัท กรุงไทย-แอกซา ประกันชีวิต จำกัด ประธานกรรมการบริษัท ไทย โอริกซ<br />

ลีสซิ่ง จำกัด นอกจากนี้ นายอัศวิน คงสิริ ยังดำรงตำแหนงประธานกรรมการบริษัท ช. การชาง จำกัด (มหาชน) ดำรงตำแหนงประธานกรรมการกองทุน<br />

ตนโพธิ์ ดำรงตำแหนงรองประธานกรรมการบริษัท ผลิตไฟฟา จำกัด (มหาชน) ดำรงตำแหนงกรรมการบริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)<br />

ดำรงตำแหนงกรรมการตรวจสอบบริษัท โอเอชทีแอล จำกัด (มหาชน) (โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล) ดำรงตำแหนงกรรมการ บริษัท ไทยรับประกันภัยตอ<br />

จำกัด (มหาชน) และดำรงตำแหนงกรรมการบริษัท ผาแดงอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) นายอัศวิน คงสิริ สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี (เกียรตินิยม) สาขา<br />

Philosophy, Politics and Economics จาก Oxford University ประเทศอังกฤษ และผานการอบรมหลักสูตร Chairman 2000 Program รุน 5/2001<br />

และหลักสูตร Directors Certification Program รุน DCP 11/2001 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ในป 2544<br />

1. ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต<br />

ประธานกรรมการ (ถึงแกกรรม)<br />

(อายุ 80 ป)<br />

สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.18<br />

2. นายอัศวิน คงสิริ<br />

ประธานกรรมการ (อายุ 64 ป)<br />

(ไดรับแตงตั้งเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน<br />

2553)<br />

สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00<br />

3. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต<br />

กรรมการผูจัดการใหญและประธาน<br />

เจาหนาที่บริหาร (อายุ 44 ป)<br />

สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.03<br />

4. นายสตีเฟน ฟอรดแฮม<br />

กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการสรรหา<br />

(อายุ 59 ป)<br />

สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00<br />

5. นางปรารถนา มงคลกุล<br />

กรรมการอิสระ/<br />

ประธานกรรมการตรวจสอบ<br />

(อายุ 46 ป)<br />

สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.003<br />

3. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต<br />

เขารวมงานกับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ตั้งแตป 2548 ในตำแหนงประธานเจาหนาที่บริหาร มีประสบการณการทำงานเริ่มที่ธนาคาร<br />

แหงอเมริกา ซานฟรานซิสโก (สหรัฐอเมริกา) ฮองกง และกรุงเทพมหานคร ในป 2532 ถึงป 2537 จากนั้น ในป 2537 ถึงป 2543 ไดรวมงานกับธนาคารกรุงเทพ<br />

จำกัด (มหาชน) และเคยรวมงานกับกลุมบริษัท เจพี มอรแกน (ฮองกง) ในป 2543 ถึงป 2545 และเคยรวมงานกับ Morgan Stanley Dean Witter Asia<br />

(Singapore) Pte. Ltd. ในป 2545 ถึงป 2548 ปจจุบัน ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต ดำรงตำแหนงประธานกรรมการในบริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน)<br />

และดำรงตำแหนงประธานกรรมการใน บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทบริหารธุรกิจ<br />

จาก University of California, Berkeley ประเทศสหรัฐอเมริกาในป 2532 และปริญญาตรีเศรษฐศาสตร (magna cum laude) จาก University of Minnesota<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกา ในป 2530 ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต ไดผานการอบรมหลักสูตร Directors Certification Program รุน DCP 70/2006 จากสมาคม<br />

สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ในป 2549<br />

4. นายสตีเฟน ฟอรดแฮม<br />

เคยรวมงานกับ Norton Rose Botterell & Roche ลอนดอน ในป 2517 ถึงป 2519 ที่ Baker & McKenzie ฮองกง ในป 2519 ถึงป 2520 Baker & McKenzie<br />

กรุงเทพมหานคร ในป 2521 Clifford Turner ในป 2522 ถึงป 2526 และดำรงตำแหนง Partner ที่ Sinclair Roche & Temperley ในป 2529 ถึงป 2541<br />

ดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการ Argonaut Shipping Pte. Ltd. ในป 2541 ถึงป 2543 ดำรงตำแหนงเปนที่ปรึกษาของ Watson Farley & Williams ในป 2541<br />

ถึงป 2546 ดำรงตำแหนงประธานกรรมการ Masterbulk Pte. Ltd. เปนหุนสวนของ Wikborg Rein และดำรงตำแหนงกรรมการอิสระที่ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส<br />

คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) (DTAC) นายสตีเฟน ฟอรดแฮม สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขา Jurisprudence จาก Oxford University<br />

ประเทศอังกฤษ<br />

5. นางปรารถนา มงคลกุล<br />

ดำรงตำแหนงประธานเจาหนาที่การเงินและกรรมการของกลุมบริษัท ไมเนอร อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย นอกจากนี้ ยังดำรงตำแหนง<br />

กรรมการของบริษัท เอส แอนด พี ซินดิเคท จำกัด (มหาชน) กรรมการสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย และกรรมการอำนวยการสมาคมการจัดการธุรกิจ<br />

แหงประทศไทย ทั้งนี้ ในชวงป 2535 ถึงป 2541 นางปรารถนาไดดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญและผูอำนวยการดานการเงินและบัญชีของ<br />

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) นางปรารถนา มงคลกุล สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาบัญชี และระดับปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ<br />

จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทั้งยังผานการอบรมในหลักสูตรตางๆ อันไดแก หลักสูตร Director Accreditation Program และหลักสูตร Director Certification<br />

Program จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รวมถึงหลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program และหลักสูตรผูบริหารระดับสูง<br />

จากสถาบันวิทยาการตลาดทุนรุน 6/2008 ในป 2551<br />

26 รายงานประจำป 2553


6. ดร. พิชิต นิธิวาสิน<br />

ดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการบริษัท บี ไอ จี มารเก็ตติ้ง จำกัด และบริษัท บางกอก โคเจนเนอเรชั่น จำกัด นอกจากนี้ ดร. พิชิต นิธิวาสิน ยังดำรงตำแหนง<br />

กรรมการบริษัท ฮั่วกี่ เปเปอร จำกัด บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลิเมอส จำกัด บริษัท โปลิเมอส มารเก็ตติ้ง จำกัด บริษัท ระยองโอเลฟนส จำกัด บริษัท ไทย เอ็มเอ็มเอ<br />

จำกัด บริษัท บาเซล แอดวานซ โพลีโอลิฟนซ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท มาบตาพุด แทงก เทอรมินัล จำกัด นอกจากนี้ ดร. พิชิต นิธิวาสินดำรงตำแหนง<br />

ประธานเจาหนาที่บริหารบริษัท บางกอกอินดัสเทรียลแกส จำกัด บริษัท กรุงเทพ ซินธิติกส จำกัด บริษัท บีเอสที อิลาสโตเมอรส จำกัดและดำรงตำแหนง<br />

ประธานกรรมการบริษัท โฟมเทค อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด ดร. พิชิต นิธิวาสิน สำเร็จการศึกษาปริญญาดุษฎีบัณฑิตสาขา Operations Research<br />

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิศวกรรมไฟฟา และคอมพิวเตอร วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต<br />

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการจาก University of California, Berkeley ประเทศสหรัฐอเมริกา ดร. พิชิต นิธิวาสิน ไดผานการอบรมหลักสูตร Finance<br />

for Non-Finance Director Program (FN) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุน FN 4/2003 ในป 2546<br />

7. นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ<br />

เคยรวมงานกับบริษัท คอนติเนนทัล อิลินอยส (ประเทศไทย) จำกัด ในป 2516 ถึงป 2517 กอนที่จะเขารวมงานกับธนาคาร เอเชีย จำกัด (มหาชน) ในป 2518<br />

ถึงป 2541 ในตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ เคยดำรงตำแหนงผูจัดการสมาคมผูตรวจสอบภายในแหงประเทศไทย ในป 2546<br />

ถึงป 2547 ดำรงตำแหนงผูควบคุมงานดานการตรวจสอบภายในบริษัท จีอี มันนี่ ไฟแนนซ จำกัด (มหาชน) (ประเทศไทย) ในป 2547 ถึง 2548 และไดเปน<br />

กรรมการ ธนาคาร จีอี มันนี่ เพื่อรายยอย จำกัด (มหาชน) ในป 2548 ถึงป 2549 ปจจุบัน นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ ดำรงตำแหนงกรรมการบริษัท เทเวศนประกันภัย<br />

จำกัด (มหาชน) ดำรงตำแหนงกรรมการ บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จำกัด (มหาชน) นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี<br />

Management Science จาก Colorado State University ประเทศสหรัฐอเมริกา<br />

6. ดร. พิชิต นิธิวาสิน<br />

กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการ<br />

กำหนดคาตอบแทน/กรรมการสรรหา<br />

(อายุ 64 ป)<br />

สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00<br />

7. นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ<br />

กรรมการอิสระ/กรรมการกำหนด<br />

คาตอบแทน/กรรมการสรรหา/<br />

กรรมการตรวจสอบ (อายุ 61 ป)<br />

สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00<br />

8. ดร. ศิริ การเจริญดี<br />

กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/<br />

กรรมการกำหนดคาตอบแทน/<br />

กรรมการสรรหา (อายุ 62 ป)<br />

สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00<br />

9. นางโจอี้ ฮอรน<br />

กรรมการอิสระ (อายุ 44 ป)<br />

สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00<br />

10. นายปเตอร สโตคส<br />

กรรมการอิสระ (อายุ 60 ป)<br />

สัดสวนการถือหุนรอยละ 0.00<br />

8. ดร. ศิริ การเจริญดี<br />

มีประสบการณการทำงานในการเปนผูชวยผูวาการธนาคารแหงประเทศไทยในป 2535 ถึงป 2540 และดำรงตำแหนงผูชวยผูวาการอาวุโสธนาคาร<br />

แหงประเทศไทยในป 2541 นอกจากนี้ ดร. ศิริ การเจริญดี ยังดำรงตำแหนงกรรมการ บริษัท อินโดรามา เวนเจอรส จำกัด (มหาชน)<br />

ดำรงตำแหนงประธานกรรมการบริหาร บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) ดำรงตำแหนงกรรมการและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ<br />

บริษัท โพสต พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) และดำรงตำแหนงรองประธานกรรมการและกรรมการตรวจสอบบริษัท น้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้<br />

ดร. ศิริ การเจริญดี ดำรงตำแหนงเปนกรรมการ ในคณะกรรมการธนาคารแหงประเทศไทยรวมทั้งกรรมการในคณะกรรมการนโยบายการเงินธนาคาร<br />

แหงประเทศไทย ดร. ศิริ การเจริญดี สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาเอก สาขา Monetary Economics and Econometrics จาก Monash University<br />

ประเทศออสเตรเลีย ปริญญาโท เศรษฐศาสตร สาขา Economic Statistics and Monetary Economics และปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร เกียรตินิยม<br />

จาก University of Sydney ดร. ศิริ การเจริญดี ไดผานการอบรมหลักสูตร Directors Accrediation Program รุน DAP 4/2003 จากสมาคมสงเสริม<br />

สถาบันกรรมการบริษัทไทยในป 2546 และหลักสูตร Directors Certification Program รุน DCP 60/2005 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ<br />

บริษัทไทยในป 2548<br />

9. นางโจอี้ ฮอรน<br />

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการบริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) เมื่อเดือนมกราคม 2552 ดำรงตำแหนงกรรมการอิสระในบริษัท โทรีเซนไทย<br />

เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ดำรงตำแหนงกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบใน Norse Energy Corp. ASA ในป 2548 ถึงป 2551 (ซึ่งเปนบริษัทที่ทำ<br />

ธุรกิจเกี่ยวกับการสำรวจและผลิตน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝง) ดำรงตำแหนงกรรมการอิสระของ Petrojarl ASA ในป 2549 ซึ่งเปนบริษัทเจาของเรือ<br />

บรรทุกน้ำมันและกาซธรรมชาติ FPSO (Floating Production Storage and Offloading) ที่ใชในอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝง<br />

นอกจากนี้ นางโจอี้ ฮอรนยังเปนผูดูแล (Alumni Trustee) สมาคมนักศึกษาเกา Williams College (รัฐแมสซาชูเซตสประเทศสหรัฐอเมริกา) ซึ่งนางโจอี้<br />

ฮอรนดำรงตำแหนงในคณะกรรมการชุดยอยชุดตางๆ ของสมาคมนี้ นางโจอี้ ฮอรนเคยดำรงตำแหนง Partner, Equity Research, HQ Norden Securities<br />

ในออสโล ประเทศนอรเวย และ Vice President, Mergers and Acquisitions, Credit Suisse First Boston ในนิวยอรก ประเทศสหรัฐอเมริกา<br />

นางโจอี้ ฮอรน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจและการจัดการจาก Yale University ในป 2534<br />

และระดับปริญญาตรีจาก Williams College ในป 2530<br />

10. นายปเตอร สโตคส<br />

ดำรงตำแหนงกรรมการใน Euroceanica (UK) Limited และดำรงตำแหนงกรรมการใน Lazard & Co. Ltd. และปจจุบันเปนที่ปรึกษาอาวุโสและเปนหัวหนา<br />

ฝายการขนสงสินคาทางทะเล (Head of Shipping) นายปเตอร สโตคส มีประสบการณการทำงานเปนผูรวมกอตั้งและที่ปรึกษาดานการลงทุนที่ Castalia<br />

Partners Ltd. ในป 2535 ถึงป 2541 ดำรงตำแหนงเปนผูกอตั้งและกรรมการผูจัดการที่ Maritime Consultants Ltd. ในป 2528 ถึงป 2541 และดำรงตำแหนง<br />

เปนผูรวมกอตั้งและกรรมการที่ Bulk Transport Ltd. ในป 2526 ถึงป 2528 นอกจากนี้ นายปเตอร สโตคสยังเคยดำรงตำแหนงหัวหนาฝายการขนสงสินคาทาง<br />

ทะเลและ Insurance Research ที่ Greig Middleton & Co. ในป 2522 ถึงป 2526 และดำรงตำแหนงเปนบรรณาธิการสวนธุรกิจใน Lloyd’s List ในป 2517<br />

ถึงป 2522<br />

รายงานประจำป 2553 27


ผูบริหาร<br />

1. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต<br />

ดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ประวัติของ<br />

ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต ปรากฏอยูในหัวขอ “คณะกรรมการ”<br />

2. นายเดวิด ลอรเรนซ เอเมส<br />

ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมธุรกิจขนสง บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) กอนที่นายเดวิด ลอรเรนซ เอเมส<br />

จะเขารวมงานกับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เคยดำรงตำแหนงประธานเจาหนาที่บริหารใน Zuellig Pharma ประเทศเกาหลี<br />

ตั้งแตป 2548 ถึงป 2550 เคยดำรงตำแหนงผูจัดการทั่วไปใน Metro Drug Inc. ประเทศฟลิปปนส ตั้งแตป 2546 ถึงป 2548 และเคยดำรงตำแหนง<br />

กรรมการผูจัดการใน American President Lines (“APL”) ประเทศอินโดนีเซีย ตั้งแตป 2544 ถึงป 2546 และเคยรับผิดชอบงานหลายตำแหนง<br />

ใน APL ในอเมริกาเหนือและเอเชีย นายเดวิด ลอรเรนซ เอเมส สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร จาก Northwestern University<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกา และสำเร็จหลักสูตร Supply Chain Management Program จาก Stanford University ในป 2542 และหลักสูตร<br />

Advanced Management จาก INSEAD, Fontainebleau ประเทศฝรั่งเศส ในป 2548<br />

3. นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์<br />

ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์<br />

เคยทำงานกับ United Parcel Services (หรือ UPS) เปนเวลา 18 ป โดยเริ่มจากการเปนกรรมการผูจัดการ บริษัท UPS ประจำประเทศไทย และ<br />

ตอมาไดเปนกรรมการผูจัดการประจำประเทศมาเลเซีย ไทย และภูมิภาคอินโดจีน ในป 2544 นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์ไดรับการเลื่อนตำแหนงเปน<br />

ผูชวยกรรมการผูจัดการดานพัฒนาธุรกิจประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟกใน UPS และตำแหนงสุดทายกอนเขารวมงานกับบริษัท โทรีเซนไทย<br />

เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) คือ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญดานกลยุทธและการคาปลีกระดับภูมิภาค ซึ่งดูแลรับผิดชอบงานดานการเพิ่มชอง<br />

ทางการคาปลีก และใหคำแนะนำดานการพัฒนาเชิงกลยุทธสำหรับ UPS ในภูมิภาคเอเชีย นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา<br />

ตรี สาขาวิชาจิตวิทยา จากมหาวิทยาลัยควีนสแลนด ประเทศออสเตรเลียในป 2522 นอกจากนี้ นายวิชายไดผานการอบรมหลักสูตร International<br />

Executive Program ดานการบริหารจัดการ กลยุทธ และการปฏิบัติการจาก INSEAD ในป 2548<br />

1. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต<br />

กรรมการผูจัดการใหญและ<br />

ประธานเจาหนาที่บริหาร<br />

อายุ 44 ป<br />

2. นายเดวิด ลอรเรนซ เอเมส<br />

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ<br />

กลุมธุรกิจขนสง<br />

อายุ 45 ป<br />

3. นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์<br />

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ<br />

กลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน<br />

อายุ 53 ป<br />

4. นายจอหน เครน<br />

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ<br />

กลุมกลยุทธ<br />

อายุ 50 ป<br />

5. นายปรีธยุตม นิวาศะบุตร<br />

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ<br />

กลุมปฏิบัติการ<br />

อายุ 52 ป<br />

4. นายจอหน เครน<br />

ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมกลยุทธ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) กอนที่นายจอหน เครน จะเขารวมงาน<br />

กับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เคยดำรงตำแหนงประธานเจาหนาที่การเงิน (Chief Financial Officer) ใหกับบริษัท เมอรเมด<br />

มาริไทม จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ นายจอหน เครน มีประสบการณในการทำงานเปนกรรมการใน Aspire Pacific Ltd. ประเทศฮองกง<br />

ซึ่งเปนบริษัทที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญทางดานกลยุทธ การพัฒนาธุรกิจ และการลงทุนสวนบุคคล ตั้งแตป 2547 และเคยเปนผูบริหารใน เจพี<br />

มอรแกน ในนิวยอรก ฮองกง และไทย ตั้งแตป 2535 ถึงป 2547 กอนที่จะเขารวมงานกับ เจพี มอรแกน นายจอหน เครน เคยรับผิดชอบงานทางดาน<br />

การพัฒนาธุรกิจใหกับ United Technologies ประเทศสิงคโปร และ Unico (Japan) ในเซี่ยงไฮ นายจอหน เครน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท<br />

ของ Lauder Institute ที่ University of Pennsylvania และปริญญาโทบริหารธุรกิจสาขาการเงินจาก Wharton School<br />

และปริญญาโทดานการจัดการสาขา International Studies จาก University of Pennsylvania ในป 2533 และปริญญาตรี สาขา International<br />

Relations จาก Pomona College ในป 2526<br />

5. นายปรีธยุตม นิวาศะบุตร<br />

ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมปฏิบัติการ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) กอนที่นายปรีธยุตม นิวาศะบุตร จะเขา<br />

รวมงานกับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เคยดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการ บริษัท แปซิฟก อินเตอรเน็ต (ประเทศไทย) จำกัด<br />

ตั้งแตป 2543 ถึงป 2550 และเคยดำรงตำแหนงผูอำนวยการประจำประเทศไทยของ บริษัท มาสเตอรคารด อินเตอรเนชั่นแนล ซึ่งเปนบริษัท<br />

ที่ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับบัตรเครดิต นายปรีธยุตม นิวาศะบุตร จบการศึกษาในระดับปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยแมรี่แลนด<br />

สหรัฐอเมริกา ในป 2530 และปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยจอรจ เมสัน สหรัฐอเมริกา ในป 2524 นายปรีธยุตม นิวาศะบุตร<br />

ไดผานการอบรมหลักสูตร Directors Certification Program รุน DCP 40/2004 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยในป 2547<br />

28 รายงานประจำป 2553


6. นางอุไร ปลี้มสำราญ<br />

ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมบริหารความเสี่ยง และการกำกับดูแล บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

นางอุไร ปลื้มสำราญ เคยรวมงานกับบริษัท Dow Chemical เปนเวลา 19 ป โดยเริ่มตนจากการเปน Country Controller และเลขานุการบริษัท<br />

(Corporate Secretary) ใหกับบริษัทรวมทุนระหวางปูนซีเมนตไทย-Dow ทั้งหมดในประเทศไทย ในป 2545 ไดรับการเลื่อนตำแหนงเปน Senior<br />

Corporate Audit Manager ซึ่งเปนผูนำทีมตรวจสอบโดยทำหนาที่ตรวจสอบภายใน (internal audit) ประจำสำนักงานใหญของ Dow<br />

ในรัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา โดยดูแลการตรวจสอบภายในของกลุมบริษัท Dow ทั่วโลก และตำแหนงลาสุดกอนเขารวมงานกับ TTA คือ Country<br />

Manager ประจำประเทศอินโดนีเซีย นางอุไร ปลื้มสำราญ จบการศึกษาในระดับปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

ในป 2520 และปริญญาตรี สาขาการบริหารจัดการและการบัญชี จาก มหาวิทยาลัย Woodbury ประเทศสหรัฐอเมริกาในป 2518<br />

7. นางฐิติมา รุงขวัญศิริโรจน<br />

ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) และดำรงตำแหนงกรรมการ<br />

ในบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) ตั้งแตป 2552 กอนเขารวมงานกับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

นางฐิติมา รุงขวัญศิริโรจน เคยดำรงตำแหนงผูจัดการสายบริหารการลงทุนตราสารทุนในธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน) และไดรับแตงตั้ง<br />

ใหเปนตัวแทนของธนาคารในการเปนกรรมการในบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) และในบริษัทอื่นๆ นอกจากนี้ นางฐิติมา รุงขวัญศิริโรจน<br />

เคยดำรงตำแหนง Group Chief Financial Officer ในบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ตั้งแตป 2546 ถึงป 2549 นางฐิติมา รุงขวัญศิริโรจน<br />

เคยดำรงตำแหนงประธานเจาหนาที่การเงิน (Chief Financial Officer) หรือตำแหนงผูบริหารสายการเงินและบัญชีในบริษัทชั้นนำหลาย<br />

แหง อาทิ บริษัทหลักทรัพย เคจีไอ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท อีสต เอเชียติ๊ก (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย<br />

เอกเอเชีย จำกัด (มหาชน) นางฐิติมา รุงขวัญศิริโรจน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาบัญชีและการเงิน จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร<br />

และไดผานการอบรมหลักสูตร Directors Accreditation Program รุนที่ DAP 66/2007 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยในป 2550<br />

และหลักสูตร Directors Certification Program รุน DCP 131/2010 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยในป 2553<br />

6. นางอุไร ปลื้มสำราญ<br />

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ<br />

กลุมบริหารความเสี่ยง และการกำกับดูแล<br />

อายุ 56 ป<br />

7. นางฐิติมา รุงขวัญศิริโรจน<br />

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ<br />

กลุมบัญชีและการเงิน<br />

อายุ 49 ป<br />

8. นายทอม สปริงกอล<br />

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ<br />

กลุมพลังงาน<br />

อายุ 45 ป<br />

9. นางเพ็ญรุง สุวรรณกูฏ<br />

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ<br />

กลุมทรัพยากรมนุษย<br />

อายุ 47 ป<br />

8. นายทอม สปริงกอล<br />

ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมพลังงาน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) นายทอม สปริงกอล สั่งสมประสบการณ<br />

งานในดานอุตสาหกรรมพลังงานทั้งตนน้ำและปลายน้ำมามากกวา 20 ป และไดทำงานอยูในประเทศตางๆ ทั่วโลก รวมทั้งในภูมิภาคเอเชียมา<br />

มากกวา 10 ป นายทอม สปริงกอล เริ่มทำงานที่แรกที่ Shell ในประเทศอังกฤษ และหลังจากนั้นไดรวมงานกับ Hess Ltd. ในหลายตำแหนงหนาที่<br />

อาทิ Country Manager ประจำอาเซอรไบจาน และดำรงตำแหนงผูจัดการสายการพาณิชยประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและออสเตรเลีย<br />

ในระหวางที่รวมงานกับ Hess Ltd. นายทอม สปริงกอล ไดดำรงตำแหนงกรรมการในหลายบริษัท รวมถึงเปนกรรมการใน CarigaliHess โดย<br />

ดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานในสวนของระบบการผลิตกาซธรรมชาติหลักในพื้นที่พัฒนารวมไทย-มาเลเซีย นายทอม สปริงกอล สำเร็จการ<br />

ศึกษาระดับปริญญาตรี สาขา Industrial Economics จาก Nottingham University ประเทศอังกฤษ<br />

9. นางเพ็ญรุง สุวรรณกูฏ<br />

ดำรงตำแหนงผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมทรัพยากรมนุษย บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) และดำรงตำแหนงกรรมการใน<br />

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) ตั้งแตป 2552 กอนที่นางเพ็ญรุง สุวรรณกูฏ จะเขารวมงานกับ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด<br />

(มหาชน) เคยดำรงตำแหนงผูอำนวยการอาวุโสฝายทรัพยากรมนุษย บุคคลธนกิจ ธนาคารสแตนดารดชารเตอรด (ไทย) จำกัด (มหาชน) ตั้งแตป<br />

2546 ถึงป 2551 และดำรงตำแหนงผูอำนวยการฝายทรัพยากรมนุษย ธนาคารแหงอเมริกา ตั้งแตป 2536 ถึงป 2546 นางเพ็ญรุง สุวรรณกูฏ<br />

ไดรับประกาศนียบัตรสาขาการจัดการทรัพยากรมนุษยจากสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในป 2542<br />

และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาสังคมสงเคราะห มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในป 2528 และไดผานการอบรมหลักสูตร Directors<br />

Certification Program รุน DCP 132/2010 และหลักสูตร Role of the Compensation Committee Program รุน RCC 11/2010<br />

จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยในป 2553<br />

รายงานประจำป 2553 29


ขอมูลและแนวโนมธุรกิจ<br />

โครงสรางองคกร<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) (“TTA หรือ บริษัทฯ”) เปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจ<br />

โดยการถือหุนเพื่อการลงทุนเชิงกลยุทธ (strategic investment holding company) บริษัทฯ<br />

มีธุรกิจหลัก 3 กลุม ไดแก กลุมธุรกิจขนสง กลุมธุรกิจพลังงาน และกลุมธุรกิจโครงสรางขั้น<br />

พื้นฐาน บริษัทฯ และบริษัทยอย (“กลุมบริษัทโทรีเซน” หรือ “กลุมบริษัทฯ”) ประกอบธุรกิจโดย<br />

การใหบริการที่เกี่ยวของกับการเดินเรือตั้งแตป 2447 ใหบริการเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง<br />

ตั้งแตป 2528 และใหบริการขุดเจาะน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝงตั้งแตป 2538<br />

ในป 2552 กลุมบริษัทโทรีเซนไดเพิ่มธุรกิจปุยในเวียดนามและธุรกิจเหมืองถานหินในประเทศ<br />

ฟลิปปนสเขามาในกลุมธุรกิจ และในป 2553 บริษัทฯ ไดเพิ่มธุรกิจการใหบริการขนสงน้ำมัน<br />

และกาซดวยเรือบรรทุกน้ำมันและกาซในประเทศฟลิปปนสและธุรกิจบริหารทาเรือในประเทศ<br />

เวียดนาม<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ เปนเจาของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองทั้งสิ้น 27 ลำ<br />

บริษัทฯ มีแผนที่จะขายเรือเกาที่มีอยูเปนเศษซากหรือขายตอเพื่อการคา โดยเปนกลยุทธ<br />

สวนหนึ่งในการปรับปรุงกองเรือใหสามารถแขงขันในตลาดได ภายในชวงระยะเวลา 3 ป<br />

ขางหนานี้ บริษัทฯ มีแผนที่จะมีกองเรือจำนวน 40 ลำ ซึ่งรวมเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของและที่เชา<br />

มาเพื่อเสริมกองเรือ โดยบริษัทฯ ตองการที่จะเปนเจาของเรือเองเปนสวนใหญ แผนใน<br />

การปรับปรุงกองเรือรวมถึงการรับมอบเรือที่สั่งตอใหมจำนวน 1 ลำ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2553<br />

ที่ผานมา นอกจากนี้ยังมีเรือที่สั่งตอใหมอีก 4 ลำที่จะมีกำหนดรับมอบภายในป 2554<br />

และ 2555<br />

กลุมบริษัทฯ (โดยเมอรเมด) เปนเจาของเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำจำนวน 8 ลำ และ<br />

เรือขุดเจาะอีกจำนวน 2 ลำ และในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 เมอรเมดไดลงทุนในบริษัท เอเชีย<br />

ออฟชอร ดริลลิ่งค จำกัด (“AOD”) รอยละ 49 ซึ่งเปนบริษัทรวมที่สั่งตอเรือขุดเจาะชนิด Jack-up<br />

แบบทันสมัยจำนวน 2 ลำ โดยมีกำหนดรับมอบภายในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555 และมีนาคม<br />

พ.ศ. 2556 ทั้งนี้ เมอรเมดจะทำหนาที่ใหบริการใหดานการบริหารโครงการและการบริหารงาน<br />

ดานปฏิบัติการแก AOD ในเรือขุดเจาะที่ AOD เปนเจาของ นอกจากนี้ AOD มีสิทธิในการสั่ง<br />

ตอเรือขุดเจาะไดอีก 2 ลำกับอูตอเรือเดิม โดยจะตองใชสิทธิภายในเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2554<br />

และเดือนกันยายน พ.ศ. 2554<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 บริษัทฯ ประกอบธุรกิจการถือหุน โดยลงทุนในบริษัทยอยซึ่งรวม<br />

อยูในงบการเงินรวมจำนวน 67 บริษัท และบริษัทรวม 7 บริษัท บริษัทฯ จดทะเบียนอยู<br />

ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (“SET”) ตั้งแตป 2538 ภายใตสัญลักษณ “TTA”<br />

รายงานประจำป 2553 31


โครงสรางบริษัท<br />

แผนภูมิตอไปนี้แสดงโครงสรางองคกรของบริษัทฯ<br />

แผนภูมิ 6 : โครงสรางกลุมบริษัท โทรีเซน ภายใตกลุมธุรกิจใหม<br />

100%<br />

บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส จำกัด<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี<br />

100%<br />

กลุมขนสง<br />

กลุมพลังงาน กลุมโครงสรางขั้นพื้นฐาน<br />

บริษัท โทรีเซน ชิปปง เยอรมันนี จีเอ็มบีเอช<br />

100% บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) (3) 57.14%<br />

บริษัท บาคองโค จำกัด (1)<br />

100%<br />

บริษัท โทรีเซน ชิปปง สิงคโปร พีทีอี แอลทีดี<br />

100%<br />

บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค จำกัด<br />

95%<br />

บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด<br />

ซัพพลายส จำกัด<br />

99.9%<br />

บริษัท ทอร ฟอรจูน ชิปปง พีทีอี แอลทีดี<br />

100%<br />

บริษัท เอ็มทีอาร-1 จำกัด<br />

100%<br />

บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส จำกัด<br />

51%<br />

บริษัท ทอร เฟรนชิป ชิปปง พีทีอี แอลทีดี<br />

100%<br />

บริษัท เอ็มทีอาร-2 จำกัด<br />

100%<br />

โทรีเซน ชิปปง เอฟแซดอี<br />

100%<br />

บริษัท ทอร ฮอไรซัน ชิปปง พีทีอี แอลทีดี 100%<br />

บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค<br />

(มาเลเซีย) จำกัด<br />

บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จำกัด<br />

บริษัท โทรีเซน ชาเตอรริ่ง (เอชเค) แอลทีดี<br />

บริษัทยอย 27 บริษัท (4)<br />

99.9%<br />

99.9%<br />

99.9%<br />

บริษัท เมอรเมด ออฟชอร<br />

เซอรวิสเซส จำกัด<br />

บริษัท ซีสเคป เซอรเวยส<br />

(ไทยแลนด) จำกัด<br />

บริษัท ซีสเคป เซอรเวย<br />

พีทีอี ลิมิเต็ด<br />

100%<br />

100%<br />

80%<br />

80%<br />

ชารจา พอรต เซอรวิสเซส แอลแอลซี 49%<br />

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (2) 88.68%<br />

บริษัท ยูเอ็มเอส โคลบริคเครท จำกัด 99.9%<br />

บริษัท ยูเอ็มเอส ไลเตอร จำกัด 99.9%<br />

PT Perusahaan Pelayaran Equinox<br />

49%<br />

Nemo Subsea AS<br />

100%<br />

บริษัท ยูเอ็มเอส ขนสง จำกัด<br />

99.9%<br />

บริษัท โทรีเซน ชาเตอรริ่ง (พีทีอี) แอลทีดี<br />

100%<br />

Subtech Ltd.<br />

100%<br />

บริษัท ยูเอ็มเอส พอรต เซอรวิสเซส จำกัด 99.9%<br />

โทรีเซน ชิปปง เอฟแซดอี<br />

100%<br />

Subtech Diving &<br />

Marine Services LLC<br />

49%<br />

Baria Serece (8)<br />

20%<br />

บริษัท ไอเอสเอส โทรีเซน เอเยนตซีส จำกัด<br />

99.9%<br />

Mermaid Offshore<br />

Servicess Pty. Ltd.<br />

100%<br />

บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด 51%<br />

Asia Offshore Drilling Ltd. (7)<br />

49%<br />

โทรีเซน อินโดไชนา เอส.เอ.<br />

50%<br />

Asia Offshore Rig 1 Ltd.<br />

100%<br />

<strong>Thoresen</strong>-Vinama <strong>Agencies</strong> Co., Ltd.<br />

49%<br />

Asia Offshore Rig 2 Ltd.<br />

100%<br />

บริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด (9)<br />

51%<br />

เมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี (5)<br />

บริษัท เฟรนเลย ชิปโบรคกิ้ง ไพรเวท จำกัด 99.9%<br />

บริษัท เฟรนเลย ดราย คารโก (สิงคโปร) 100%<br />

พีทีอี จำกัด<br />

Petrolift Inc. (6) 40%<br />

32 รายงานประจำป 2553<br />

21.18%<br />

หมายเหตุ : (1) โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ถือหุนทางออมรอยละ 100 ในบริษัท บาคองโค จำกัด<br />

ผานทาง EMC Gestion S.A.S<br />

(2) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส จำกัด ถือหุนรอยละ 88.68<br />

ในบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน)<br />

(3) บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนทางตรงรอยละ 35.40<br />

และ โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ถือหุนรอยละ 21.74 ในบริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน)<br />

(4) ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 บริษัทยอย 27 บริษัท เปนเจาของเรือบริษัทละ 1 ลำ<br />

(5) ในงบการเงินรวมจัดใหการลงทุนใน เมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี เปนการลงทุนในบริษัทรวม<br />

(6) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ถือหุนรอยละ 40 ใน Petrolift Inc.<br />

(7) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) ถือหุนรอยละ 49<br />

ใน Asia Offshore Drilling Ltd.<br />

(8) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ถือหุนรอยละ 20 ใน Baria Serece<br />

(9) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนรอยละ 49<br />

ในบริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด


จุดแข็งในการแขงขันของกลุมบริษัทฯ<br />

เปาหมายเชิงกลยุทธของกลุมบริษัทฯ ขึ้นอยูกับการบริหารกลุมธุรกิจ และการดำเนินการที่รอบคอบและมีประสิทธิภาพที่สามารถทำใหกลุมบริษัทฯ<br />

ขยายธุรกิจไดอยางตอเนื่อง ปรับปรุงการบริการที่เสนอใหกับลูกคาใหดียิ่งขึ้น และชำระหนี้คืนไดตามกำหนด<br />

สภาวะทางเศรษฐกิจและตลาดการเงินปจจุบันอาจมีผลกระทบตอชวงเวลาในการลงทุนตางๆ แตบริษัทฯ ก็ตั้งใจจะมุงสรางเม็ดเงินจากสินทรัพย<br />

ที่ไมใชสินทรัพยหลักบางตัวและการลงทุนบางอยาง รวมทั้งการจัดสรรกระแสเงินสดเพื่อที่จะใหถึงเปาหมายในเชิงกลยุทธระยะกลางของ<br />

กลุมบริษัทฯ<br />

กลุมบริษัทฯ มีจุดแข็งในการแขงขันดังตอไปนี้<br />

l สรางกลุมธุรกิจใหมีความหลากหลายมากขึ้น วัตถุประสงคหลักในการสรางความหลากหลายของธุรกิจคือเพื่อลดความผันผวนของวัฏจักร<br />

ทางธุรกิจ และความไมแนนอนของกระแสเงินสดหมุนเวียนของกลุมบริษัทฯ เพื่อใหสามารถมุงเนนที่การมองหาการลงทุนใหมที่ถวงดุลกับธุรกิจที่มี<br />

อยู กลยุทธของกลุมบริษัทฯ คือการเพิ่มความหลากหลายในการดำเนินธุรกิจขึ้นอีกในอนาคต ตัวอยางเชน ในธุรกิจบริการขุดเจาะของกลุมบริษัทฯ<br />

จะใหบริการแกกลุมธุรกิจการผลิตขั้นตนน้ำ ในขณะที่ธุรกิจวิศวกรรมโยธาใตน้ำจะใหบริการแกกลุมธุรกิจการผลิตขั้นปลายน้ำ กลุมบริษัทฯ<br />

จึงสามารถลดความผันผวนของรายได นอกจากนี้ การมีทั้งสัญญาเชาระยะสั้น (spot rate) และสัญญาเชาระยะยาว (charter contracts)<br />

ผสมผสานกัน ชวยใหกลุมบริษัทฯ สามารถลดความผันผวนของรายได และไดผลดีเมื่ออัตราคาเชาเรือระยะสั้นเพิ่มขึ้น<br />

“กลยุทธของกลุม<br />

บริษัทฯ คือการเพิ่ม<br />

ความหลากหลายใน<br />

การดำเนินธุรกิจขึ้น<br />

อีกในอนาคต”<br />

l การทำธุรกิจในตลาดเฉพาะที่เติบโตอยางตอเนื่อง ตั้งแตแรกเริ่ม กลุมบริษัทฯ ไดเลือกที่จะมุงเนนใหบริการลูกคาในตลาดเฉพาะ ตัวอยาง<br />

เชน กลุมบริษัทฯ ถือเปนบริษัทแรกบริษัทหนึ่งที่มุงเนนใหบริการลูกคาในตลาดเฉพาะของธุรกิจการขุดเจาะดวยเรือขุดเจาะแบบ Tender และ<br />

ดานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ยังเปนหนึ่งในบริษัทแรกๆ ที่มุงเนนใหบริการโลจิสติคส อยาง<br />

มืออาชีพในประเทศเวียดนาม และมีความไดเปรียบจากการบุกเบิกตลาดในฐานะที่เปนหนึ่งในผูบุกเบิกธุรกิจการผลิตถานหินในเชิงพาณิชยใน<br />

เซบู ประเทศฟลิปปนส นอกจากนี้ กลุ มบริษัทฯ เปนหนึ่งในบริษัทแรกๆ ที่มุงเนนใหบริการโลจิสติคสถานหินแบบ “ตรงตอเวลา” (“just-in-time”)<br />

ในประเทศไทย และไดลงทุนในโครงสรางขั้นพื้นฐานเพื่อที่จะทำธุรกิจนี้ กลุมบริษัทฯ เชื่อวาการมุงเนนที่ตลาดเฉพาะจะชวยใหกลุมบริษัทฯ<br />

สามารถคงความสามารถในการแขงขันไวได<br />

l กองเรือและบริการที่มีความหลากหลายและมีคุณภาพสูง กลุมบริษัทฯ เปนเจาของสินทรัพยสวนใหญ ซึ่งชวยใหกลุมบริษัทฯ สามารถ<br />

ใหบริการที่เปนเลิศแกลูกคา และสามารถควบคุมตนทุนการดำเนินงานใหดีขึ้น รวมทั้ง สามารถเสนอราคาที่แขงขันในตลาดได ซึ่งไดผลเปน<br />

อยางมากในการสรางชื่อของกลุมบริษัทฯ ใหเปนที่รูจักโดยทั่วไป และรักษาสัมพันธภาพในระยะยาวกับลูกคา กลุมบริษัทฯ ใชเงินจำนวนหนึ่ง<br />

ในการบำรุงรักษากองเรือใหอยูในสภาพที่ดีกวาที่สถาบันจัดชั้นเรือตองการ และการที่บริษัทฯ เชาเรือมาเสริมกองเรือเปนครั้งคราวชวยใหบริษัทฯ<br />

สามารถเพิ่มความสามารถในการขนสงสินคาไดโดยไมจำเปนตองใชเงินลงทุนเพิ่มเติม นอกจากนี้ ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองของบริษัทฯ<br />

ไดสั่งตอเรือใหมไปแลวจำนวน 4 ลำ และ AOD ไดสั่งตอเรือขุดเจาะ jack-up ไปแลว 2 ลำ<br />

รายงานประจำป 2553 33


l โครงสรางพื้นฐานและเครือขายการใหบริการที่เนนความสำคัญของลูกคา ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองไดพัฒนาความสัมพันธที่<br />

แนนแฟนกับทาเรือนานาชาติหลายแหง ซึ่งทำใหกลุมบริษัทฯ ไดรับสิทธิพิเศษในการดำเนินธุรกิจ ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองยังมีความได<br />

เปรียบจากการมีเครือขายตัวแทนเดินเรือและสำนักงานตางๆ รวมทั้งความสัมพันธกับทาเรือ เพื่อใหบริการกับลูกคา ซึ่งสวนใหญเปนลูกคาระยะ<br />

ยาวที่ทำธุรกิจดวยกันหลายครั้ง เมอรเมดมีโรงงานมาตรฐานระดับโลกที่ชลบุรี ประเทศไทย และมีหนวยสนับสนุนงานชายฝงในกรุงกัวลาลัมเปอร<br />

ประเทศมาเลเซีย และกรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย รวมทั้งในประเทศสิงคโปร และประเทศกาตารในตะวันออกกลาง เพื่อสนับสนุนการขยาย<br />

ธุรกิจของกลุมบริษัทฯ และยังไดแตงตั้งตัวแทนในทองถิ่นในตลาดลูกคาที่สำคัญ ซึ่งจะชวยใหกลุมบริษัทฯ สามารถพัฒนาความสัมพันธที่แข็งแกรง<br />

กับบริษัทน้ำมันในทองถิ่นและกาซธรรมชาติที่ดำเนินธุรกิจอยูในภูมิภาค<br />

l มีลูกคาที่มีความแข็งแกรงและมีความหลากหลาย ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองใหบริการลูกคาที่มีความหลากหลายจำนวนมากกวา<br />

260 ราย รวมทั้งบริษัทการคาระหวางประเทศชั้นนำ เจาของเรือและผูประกอบการที่มีชื่อเสียง ผูผลิตสินคารายใหญ และบริษัทที่รัฐบาลเปน<br />

เจาของ เนื่องจากลูกคารายใหญสิบอันดับแรกมีสัดสวนรอยละ 49.25 ของรายไดจากการเดินเรือทั้งหมด ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 รายได<br />

จึงไมอิงกับลูกคากลุมใดกลุมหนึ่ง เมอรเมดไดสรางชื่อเสียงใหเปนที่ยอมรับกับฐานลูกคาที่อยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในฐานะที่<br />

เปนหนึ่งในผูใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำและการบริการขุดเจาะชั้นนำบริษัทหนึ่ง โดยมีการใหบริการที่มีคุณภาพสูง มีความปลอดภัย และ<br />

มีประสิทธิภาพใหกับคูคาระดับสูง อาทิ Amerada Hess, Chevron และ British Petroleum<br />

l รูปแบบการทำธุรกิจที่ขยายได กลุมบริษัทฯ เริ่มกอตั้งครั้งแรกในป 2447 นับจากนั้นมากลุมบริษัทฯ ไดแสดงใหเห็นความสามารถในการ<br />

ปรับตัว และการขยายรูปแบบธุรกิจ โดยขยายการบริการตางๆ ของกลุมบริษัทฯ และไดสรางฐานการดำเนินธุรกิจที่แข็งแรง ที่ทำใหกลุม<br />

บริษัทฯ สามารถขยายธุรกิจไปยังแขนงที่อาจสงเสริมหรือเกี่ยวของกับธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ที่มีอยูแลว<br />

l สถานภาพทางการเงินที่แข็งแกรง ถึงแมวารอบบัญชี 2553 เปนปที่มีความยากลำบากปหนึ่ง กลุมบริษัทฯ ยังคงสามารถสรางรายไดจาก<br />

ดำเนินงานจำนวน 18,386.5 ลานบาท และกำไรกอนดอกเบี้ย/ภาษี/คาเสื่อมและคาใชจายตัดจำหนาย (EBITDA) จำนวน 2,970.8 ลานบาท<br />

นอกจากนี้กลุมบริษัทฯ ไดดำเนินกลยุทธการทำธุรกิจอยางรอบคอบในการรักษาสภาพคลองที่สูง โดยมีรายการเงินสดและเทียบเทาเงินสดเทากับ<br />

8,458.2 ลานบาท (ไมรวมการลงทุนระยะสั้นจำนวน 1,956.3 ลานบาท) และวงเงินสินเชื่อจำนวน 20,717.3 ลานบาท ดังนั้นกลุมบริษัทฯ<br />

เชื่อวาสถานภาพที่เขมแข็งทางการเงินของกลุมบริษัทฯ ทำใหกลุมบริษัทฯ มีความไดเปรียบตอเงื่อนไขทางธุรกิจตางๆ โดยสามารถซื้อสินทรัพย<br />

ในราคาที่ถูก<br />

34 รายงานประจำป 2553


กลยุทธการทำธุรกิจของกลุมบริษัทฯ<br />

กลุมบริษัทฯ มีความตั้งใจที่จะสรางความเติบโตของธุรกิจอยางตอเนื่องโดยจะมุงไปที่ธุรกิจ<br />

โครงสรางขั้นพื้นฐานและสินคาโภคภัณฑ (commodities) องคประกอบสำคัญของกลยุทธ<br />

การสรางความเติบโตใหกับธุรกิจของกลุมบริษัทฯ คือ<br />

l การตัดสินใจลงทุนดวยหลักของเหตุผล และการขยายประเภทธุรกิจ กลยุทธของ<br />

กลุมบริษัทฯ คือการสรางกลุมธุรกิจ เพื่อใหมีรายไดที่มั่นคงและมีกระแสเงินสดเขามาอยาง<br />

ตอเนื่องในอนาคตขางหนา กลุมบริษัทฯ จะทำการลงทุนเพิ่มเติมเพื่อทำใหกลุมธุรกิจในปจจุบัน<br />

เขมแข็งขึ้นและขยายไปยังตลาดเฉพาะใหมตางๆ ตัวอยางเชน จากการเขาซื้อหุนของเมอรตัน<br />

และ UMS เมื่อเร็วๆ นี้ จะทำใหกลุมบริษัทฯ มีความสามารถจัดหาและทำเหมืองถานหิน<br />

ดวยตนเอง รวมทั้งขนสงถานหินดวยเรือของกลุมบริษัทฯ และขายถานหินใหแกลูกคาของ<br />

กลุมบริษัทฯ กลุมบริษัทฯ อาจเลิกบริษัทที่มีอยูที่ไมสรางรายไดและกำไรที่ดีและหันมามุงเนน<br />

กับธุรกิจที่มีโอกาสเติบโตและใหผลลัพธที่ดีและเพิ่มมูลคาใหกับผูถือหุนในระยะยาวโดยจะตอง<br />

เปนธุรกิจที่จะเติบโตไดและใหอัตราผลตอบแทนคุมกับอัตราผลตอบแทนขั้นต่ำของ<br />

การลงทุน<br />

l ความหลากหลายของกองเรือ การใชประโยชนจากทรัพยากร และกลุมลูกคา ในรอบบัญชี<br />

2553 ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองและเมอรเมดไดสรางรายไดเปนจำนวนรอยละ 50.26<br />

และ รอยละ 18.98 ของรายไดรวมของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ในอีก 5 ป<br />

ขางหนา กลุมบริษัทฯ ตั้งใจที่จะสรางความสมดุลและความหลากหลายของธุรกิจ ผานกลุมธุรกิจ<br />

การขนสง ธุรกิจพลังงาน และธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน ความสมดุลและความหลากหลาย<br />

ในกลุมธุรกิจนี้จะมุงเนนไปยังระบบภายในหนวยธุรกิจแตละหนวยดวย ธุรกิจบรรทุกสินคา<br />

แหงเทกองมีความตั้งใจที่จะเพิ่มสัดสวนของสัญญาเชาระยะกลางชนิดคาระวางคงที่<br />

(medium-term fixed rate contracts) ซึ่งกลุมบริษัทฯ เชื่อวาจะสามารถลดความผันผวนได<br />

สำหรับเมอรเมด นอกจากจะมีกลุมลูกคาที่หลากหลายโดยใหบริการทั้งในกลุมธุรกิจตนน้ำ<br />

และปลายน้ำแลว เมอรเมดยังมีจุดมุงหมายที่จะรักษาความผสมผสานของระยะเวลาในการทำ<br />

สัญญา ทั้งสัญญาการขุดเจาะระยะยาวและสัญญาวิศวกรรมโยธาใตน้ำระยะสั้น ซึ่งจะชวย<br />

ใหบริษัทฯ สามารถลดความผันผวนของรายได และตั้งใจที่จะเพิ่มจำนวนสัญญาระยะกลาง<br />

ในธุรกิจงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ เพื่อที่จะลดความผันผวนของรายไดของเมอรเมด<br />

รายงานประจำป 2553 35


l การใชประโยชนจากเทคโนโลยีใหมๆ และนำวิธิปฏิบัติงานแบบใหมมาใช ในป 2553 กลุมบริษัทฯ ไดปรับปรุงกระบวนการทำงาน<br />

ในเฟสแรกเสร็จสิ้นไปแลว เพื่อเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพการทำงานของบริษัทฯ และกลุมธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง และนำกระบวนการ<br />

เปลี่ยนแปลงนี้แปรสูระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology systems) ซึ่งบริษัทฯ มีแผนที่จะใหบริษัทยอยที่เปนแกนหลัก<br />

ดำเนินการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงานดวยวิธีการนี้เชนเดียวกัน<br />

กลยุทธการทำธุรกิจของกลุมธุรกิจหลัก<br />

l กลุมธุรกิจขนสง กลุมธุรกิจขนสงยังคงใชความไดเปรียบดานความสามารถในการแขงขันที่มีอยูเดิมจากธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง<br />

และธุรกิจบริการที่เกี่ยวของเพื่อเจาะตลาดหลักที่อยูใกลเคียง โดยจะไมจำกัดตัวเองอยูกับการขยายตัวดานสินทรัพยที่เกี่ยวกับเรือเดินทะเลเทานั้น<br />

แตจะมุงเนนการลดความผันผวนของวัฎจักรของธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ไมวาจะเปนการขยายไปในธุรกิจที่มีสินทรัพยเปนแกนหลัก<br />

หรือไมใชสินทรัพยเปนแกนหลักในการดำเนินธุรกิจ โดยจะยังคงเนนภูมิภาคเอเชียเปนสำคัญ<br />

l ธุรกิจพลังงาน กลุมธุรกิจพลังงานเนนกลยุทธสองดาน ดานแรกจะเกี่ยวกับธุรกิจขุดเจาะโดยจะหาโอกาสทางธุรกิจใหมๆ ใหแกธุรกิจขุดเจาะ<br />

และดานที่สองจะเกี่ยวกับธุรกิจวิศวกรรมโยธาใตน้ำโดยจะเนนการสรางเสริมคุณคาใหกับเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่มีอยู โดยเฉพาะ<br />

อยางยิ่งเรือทั้งสี่ลำที่มีความทันสมัย ซึ่งทั้งหมดนี้จะตองอาศัยการลงทุนอยางตอเนื่อง ทั้งในดานทรัพยากรมนุษย ระบบงานและกระบวนการ<br />

ที่จะสนับสนุนธุรกิจที่จะขยายตัวออกไปยังภูมิภาคอื่นๆ มากขึ้นและมีความซับซอนมากขึ้น<br />

l ธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน กลุมธุรกิจนี้จะขยายขีดความสามารถในสินทรัพยและสิ่งอำนวยความสะดวกตางๆ และกระบวนการทำงาน<br />

ตางๆ ของกลุมบริษัทที่มีอยูแลว นอกจากนี้ยังวางแผนที่จะสรางแบบอยาง (model) ที่เปนผลสำเร็จและมีความยั่งยืนไปยังประเทศอื่นๆ<br />

โดยจะเนนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียใต และจะหาโอกาสการลงทุนในธุรกิจแบบเดียวกัน คือ ธุรกิจ โลจิสติคส ผลิตและจัดจำหนาย<br />

และคลังสินคา<br />

36 รายงานประจำป 2553


กลุมธุรกิจขนสง<br />

กลุมธุรกิจขนสง<br />

กลุมธุรกิจขนสงดำเนินการโดยบริษัทยอยและบริษัทรวมของบริษัทฯ โดยใหบริการกับลูกคาของ<br />

บริษัทฯ ซึ่งประกอบไปดวยบริษัทผูคา บริษัทหลักๆ ในกลุมอุตสาหกรรมน้ำมัน บริษัทโลจิสติคส<br />

และบริษัทผูประกอบการเดินเรือรายใหญ รวมถึงบริษัทที่ใหการบริการบริหารกองเรือทุกชนิด<br />

ธุรกิจหลักของกลุมธุรกิจขนสง คือ ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง โดย ณ วันที่ 30 กันยายน<br />

พ.ศ. 2553 กองเรือของโทรีเซนประกอบดวย เรือขนาด Handysize จำนวน 14 ลำ เรือขนาด<br />

Handymax จำนวน 10 ลำ และเรือขนาด Supramax อีกจำนวน 3 ลำ นอกจากนี้ยังมีการเชาเรือ<br />

ระยะยาวถึงป 2554 และ 2555 เพื่อขยายขนาดบรรทุกของกองเรือใหตอบสนองความตองการ<br />

ของลูกคา โดยบริษัทฯ มีการเชาเรือขนาด Handymax จำนวน 2 ลำ และเรือขนาด Supramax<br />

จำนวน 3 ลำ เรือบรรทุกสินคาแหงเทกองของบริษัทฯ ใหบริการเรือเหมาลำขนสงสินคาไปทุก<br />

ภูมิภาคของโลก และเดินเรือแบบไมมีเสนทางประจำ ทั้งนี้เสนทางการขนสงสินคาจะขึ้นอยูกับ<br />

ความตองการของลูกคา โดยแบงลักษณะการใหบริการออกเปน การใหเชาเหมาลำแบบระยะยาว<br />

การเซ็นสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา และการใหเชาเหมาลำในตลาดใหเชาระยะสั้น<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนรอยละ 40 ในบริษัท ปโตรลิฟต จำกัดซึ่งเปน<br />

ผูประกอบการธุรกิจเรือบรรทุกน้ำมันในประเทศฟลิปปนส กองเรือของปโตรลิฟต ประกอบไป<br />

ดวยเรือบรรทุกและขนสงน้ำมันประเภทตัวเรือสองชั้นที่มีขนาดบรรทุกระหวาง 1,500-6,300<br />

เดทเวทตัน สำหรับการขนสงภายในประเทศตามสัญญาระยะยาวกับบริษัทน้ำมันหลักๆ<br />

สวนธุรกิจที่เกี่ยวกับการเดินเรือจะประกอบไปดวย ธุรกิจการเปนตัวแทนเรือซึ่งมีอยูทั้งในประเทศ<br />

ไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย และสหรัฐอาหรับอามิเรต และธุรกิจการใหบริการดานนายหนาเชา<br />

เหมาเรือในภูมิภาคนั้นๆ<br />

อุตสาหกรรมการขนสงสินคาแหงเทกอง<br />

ภาพรวมอุตสาหกรรมของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง<br />

การขนสงสินคาทางทะเลเปนปจจัยที่สำคัญในการคาระหวางประเทศ เนื่องจากเปนวิธีการขนสงสินคาวัตถุดิบและสินคาสำเร็จรูปไดในปริมาณมากๆ<br />

ในทีเดียวที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด สินคาที่ขนสงทางทะเลจำแนกออกเปน 2 ประเภท คือ สินคาแหง และวัสดุเหลว ทั้งนี้สินคาแหงรวมถึงสินคาแหง<br />

เทกอง สินคาบรรจุในตูคอนเทนเนอร และสินคาที่บรรจุในตูคอนเทนเนอรไมได สวนสินคาแหงเทกองที่จะบรรจุในเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองไดนั้น<br />

สามารถแบงออกไดเปนสินคาแหงเทกองที่ขนสงเปนปริมาณมากในแตละเที่ยว (major bulks) 5 กลุม และสินคาแหงเทกองที่ขนสงเปนปริมาณไม<br />

มากในแตละเที่ยว (minor bulks) สินคาแหงเทกองที่ขนสงเปนปริมาณมากในแตละเที่ยว (major bulks) 5 ชนิด ประกอบดวยแรเหล็ก ถานหิน<br />

ธัญพืช แรฟอสเฟตและแรบอกไซต สวนสินคาแหงเทกองที่ขนสงเปนปริมาณไมมากในแตละเที่ยว (minor bulks) ประกอบดวยสินคาประเภทอื่นๆ<br />

ซึ่งสินคาหลักๆ ไดแก ซีเมนต แรยิบซั ่ม แรโลหะ ที่ไมใชแรเหล็ก น้ำตาล เกลือกำมะถัน ผลิตภัณฑจากปาไม ไมและเคมีภัณฑ วัสดุเหลวจะบรรทุก<br />

ในเรือประเภทเรือบรรทุกน้ำมัน (tank ship) ซึ่งสินคาหลักคือน้ำมันดิบ ผลิตภัณฑจากน้ำมัน สินคาเหลวและเคมีภัณฑ<br />

ตาราง 3 : ปริมาณการคาทางทะเลของโลกป 2543 ถึงป 2553<br />

(ลานตัน)<br />

ป แรสินเหล็ก ถานหิน ธัญพืช<br />

แรบอกไซต<br />

และอลูมินา<br />

แร<br />

ฟอสเฟต น้ำมันดิบ<br />

ผลิตภัณฑ<br />

จากน้ำมัน<br />

สินคาอื่นๆ<br />

(โดยประมาณ) ปริมาณการคารวม<br />

(โดยประมาณ)<br />

2543 454 523 230 53 28 1,608 419 2,280 5,595<br />

2544 452 565 234 51 29 1,592 425 2,305 5,653<br />

2545 484 570 245 54 30 1,588 414 2,435 5,820<br />

2546 524 619 240 63 29 1,673 440 2,545 6,133<br />

2547 589 664 236 68 31 1,754 461 2,690 6,493<br />

2548 652 710 307 73 30 1,720 495 2,617 6,604<br />

2549 734 754 325 78 30 1,756 525 2,853 7,055<br />

2550 787 806 341 83 31 1,764 589 3,052 7,428<br />

2551 845 834 349 81 31 1,775 629 3,235 7,745<br />

2552 (ประมาณการ) 903 870 349 78 29 1,787 580 3,203 7,636<br />

2553 (ประมาณการ) 930 940 375 78 29 1,850 605 3,235 7,791<br />

ที่มา : Fearnleys<br />

รายงานประจำป 2553 37


ในป 2552 ปริมาณสินคาที่ขนสงทางทะเลมีประมาณ 7.64 พันลานตัน เมื่อเทียบกับปริมาณ 5.60 พันลานตัน ในป 2543 ในชวงหลายปที่ผานมานี้<br />

มีการเติบโตทางการคาในระดับสูงเนื่องมาจากการเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย เชน ประเทศจีนและอินเดีย<br />

ดังจะเห็นไดจากตารางตอไปนี้ เฟรนเลยไดคาดการณวาป 2553 เปนปที่การขนสงทางทะเลเพิ่มขึ้น<br />

ตาราง 4 : อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ป 2546 ถึง 2552<br />

(ความเปลี่ยนแปลงเปนรอยละเทียบกับปกอน)<br />

ป 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552<br />

เศรษฐกิจโลก 3.6 4.9 4.5 5.1 5.2 2.8 -0.6<br />

สหรัฐอเมริกา 2.5 3.6 3.1 2.7 2.1 0.2 -3.2<br />

ยุโรป 0.8 2.2 1.7 2.9 2.7 0.5 -4.1<br />

ญี่ปุน 1.4 2.7 1.9 2.0 2.3 -1.2 -5.2<br />

จีน 10.0 10.1 10.4 11.6 13.0 9.6 9.1<br />

อินเดีย 6.9 7.9 9.2 9.8 9.4 6.4 5.7<br />

ที่มา : Fearnleys<br />

การคาสินคาแหงเทกองทางทะเล<br />

ปริมาณการคาทางทะเลของสินคาแหงเทกองเติบโตอยูในระหวางรอยละ 4 ถึงรอยละ 12 ในชวง 6 ปที่ผานมา ซึ่งกอใหเกิดความตองการขนสงสินคา<br />

แหงเทกองทางทะเลเพิ่มมากขึ้นตามไปดวย<br />

แผนภูมิและตารางดังตอไปนี้แสดงถึงปริมาณการคาทางทะเลทั้งหมดในสวนของสินคาแหงเทกองที่ขนสงเปนปริมาณมากในแตละเที่ยวในชวง<br />

ป 2547 ถึงป 2553 สินคาแหงเทกองที่ขนสงเปนปริมาณมากในแตละเที่ยวไดแบงออกเปนแรเหล็ก ถานหิน ธัญพืช (รวมถึงขาวสาลี ธัญพืชหยาบ<br />

และถั่วเหลือง) ฟอสเฟต และแรบอกไซต/อะลูมินา<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา : Fearnleys<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

แผนภูมิ 7 : การพัฒนาของปริมาณการคา<br />

ของสินคาแหงเทกอง<br />

ตาราง 5 : ปริมาณการคาสินคาแหงเทกองทางทะเลตั้งแต ป 2547 ถึง 2553<br />

(ลานตัน)<br />

2547 2548 2549 2550 2551 2552<br />

ประมาณการ<br />

2553<br />

ประมาณการ<br />

ถานหิน 664 710 754 806 834 870 940<br />

แรเหล็ก 589 652 734 787 845 903 930<br />

ธัญพืช 236 307 325 341 349 349 375<br />

แรบอกไซต/อะลูมินา 68 73 78 83 81 78 78<br />

แรฟอสเฟต 31 30 30 31 31 29 29<br />

รวม 1,588 1,772 1,921 2,048 2,140 2,229 2,352<br />

เปลี่ยนแปลงตอป 7.7% 11.6% 8.4% 6.6% 4.5% 4.2% 5.5%<br />

ที่มา : Fearnleys<br />

38 รายงานประจำป 2553


ปริมาณการคาทางทะเลของสินคาแหงเทกองที่ขนสงเปนปริมาณมากในแตละเที่ยวคาดวาจะเพิ่มขึ้นรอยละ 40 ในชวงระหวางป 2547 และป 2552<br />

สินคาแหงเทกองที่ขนสงเปนปริมาณมากในแตละเที่ยว ในจำนวนนี้ผลิตภัณฑจากแรเหล็กเติบโตเร็วที่สุด โดยมีอัตราการเติบโตเทากับรอยละ 53<br />

ในชวงระหวางป 2547 และป 2552 ปริมาณการคาทั้งหมดในสินคาแหงเทกองที่ขนสงเปนปริมาณมากในแตละเที่ยวคาดวาจะเพิ่มขึ้นรอยละ 5.5 ปนี้<br />

การเติบโตของอุปสงค (วัดเปนตันไมล) ไดเพิ่มในอัตราที่ใกลเคียงกันในชวงหลายปที่ผานมา ดังจะเห็นไดจากตารางดังตอไปนี้<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา : Fearnleys<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

แผนภูมิ 8 : อุปสงคของสินคาแหงเทกอง<br />

อปสงค<br />

ตาราง 6 : อุปสงคของสินคาแหงเทกองป 2547 ถึง 2553<br />

(พันลานตัน-ไมล)<br />

2547 2548 2549 2550 2551 2552<br />

ประมาณการ<br />

2553<br />

ประมาณการ<br />

ถานหิน 2,960 3,113 3,540 3,778 3,905 3,518 3,750<br />

แรเหล็ก 3,444 3,918 4,192 4,544 4,849 5,510 5,650<br />

ธัญพืช 1,350 1,686 1,822 1,927 1,925 1,925 2,150<br />

แรบอกไซต/อะลูมินา 231 248 267 268 267 265 265<br />

แรฟอสเฟต 154 154 155 159 159 150 150<br />

รวม 8,139 9,119 9,976 10,676 11,105 11,368 11,965<br />

เปลี่ยนแปลงตอป 9.0% 12.0% 9.4% 7.0% 4.0% 2.4% 5.3%<br />

ที่มา : Fearnleys<br />

ในชวงหลายปที่ผานมา จีนและตามดวยอินเดียเปนตัวผลักดันที่สำคัญที่ทำใหปริมาณการคาสินคาแหงเทกองเติบโตขึ้นอยางรวดเร็วการผลิตและ<br />

การใชเหล็กภายในประเทศจีนไดสรางอุปสงคในระดับสูงตอการคาแรเหล็ก การขาดแคลนวัตถุดิบภายในประเทศไดสงผลใหมีการนำสินคาเขา<br />

จากประเทศออสเตรเลียและบราซิลมากขึ้นซึ่งทำใหตัวเลขอุปสงคที่คิดเปนตันไมลเพิ่มมากขึ้น<br />

ตาราง 7 : การผลิตเหล็กดิบของโลก<br />

อียู-15 สหรัฐ ญี่ปุน จีน เกาหลีใต ไตหวัน อินเดีย อื่นๆ รวม<br />

(ลานตัน)<br />

2546 184.5 90.9 110.5 219.3 46.3 19.1 31.8 260.9 963.3<br />

2547 194.2 98.6 112.7 269.3 47.5 19.5 32.6 279.7 1,054.1<br />

2548 187.2 93.8 112.5 349.3 47.7 18.5 38.1 282.1 1,129.2<br />

2549 198.5 98.5 116.2 421.5 48.4 20.2 42.8 272.9 1,219.0<br />

2550 209.7 97.2 120.2 487.3 51.2 20.6 49.5 281.3 1,317.0<br />

2551 198 91.5 118.7 500.5 53.5 20.2 55.1 292.2 1,329.7<br />

2552 139.1 58.1 87.5 567.8 48.6 15.7 56.6 246.3 1,219.7<br />

2553 (9 เดือน) 129.9 60.9 81.9 474.5 42.1 14.3 49.5 193.4 1,046.5<br />

ที่มา : Fearnleys<br />

รายงานประจำป 2553 39


ู<br />

ในป 2546 ผลผลิตเหล็กดิบของจีนมีจำนวนประมาณ 219 ลานตัน และเพิ่มขึ้นเปนตัวเลขสองหลักขึ้นไปทุกปจนเปน 487 ลานตันในป 2550<br />

ในป 2551 การผลิตเติบโตในอัตราที่ลดลงเหลือลดลงรอยละ 2.7 ในป 2552 การผลิตเหล็กดิบโลกลดลงเปน 1.220 พันลานตัน หรือลดลงรอยละ 8.3<br />

ในขณะที่การผลิตเหล็กของจีนเพิ่มขึ้นเปน 567 ลานตันหรือเพิ่มขึ้นรอยละ 13.5 ทำใหมีการขยายของตลาดขนสงสินคาแหงเทกอง โดยการผลิตเหล็ก<br />

ในจีนคาดวาจะเพิ่มขึ้นเปน 630 ลานตันในปนี้<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา : Fearnleys<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

แผนภูมิ 9 : การผลิตเหล็กของโลกและ<br />

สวนแบงทางการตลาดของจีน<br />

ในชวงหาปที่ผานมา การผลิตเหล็กของจีนเติบโตขึ้นในอัตราเฉลี่ยตอปที่รอยละ 16 เทียบกับการเติบโตของการผลิตของโลกซึ่งเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 3<br />

ตอป จากการที่การผลิตเหล็กเติบโตขึ้น สงผลใหการนำเขาแรเหล็กของจีนเติบโตอยางมากตามไปดวย<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา : Fearnleys<br />

แผนภูมิ ิ 10 : การนำเขาแรเหล็กของจีน กของจีน<br />

การนำเขาแรเหล็กของจีนในป 2552 เพิ่มขึ้นรอยละ 41.5 เมื่อเทียบกับป 2551 โดยมีการนำเขา 628.2 ลานตัน การนำเขาแรเหล็กของจีนเพิ่มขึ้นเปน<br />

9 เทาจากป 2543 ถึงป 2552 โดยหลักๆ แลวจีนไดนำเขาแรเหล็กมาจากประเทศออสเตรเลีย บราซิล อินเดีย และแอฟริกาใต การนำเขาแรเหล็ก<br />

จากบราซิลนั้นก็ไดเพิ่มขึ้นในชวงหลายปที่ผานมา และไดสงผลใหมีการเพิ่มปริมาณตันไมลรวมทั้งความตองการเรือบรรทุกสินคาแบบเทกองที่มี<br />

ขนาดใหญขึ้น การนำเขาแรเหล็กของจีนในชวงเกาเดือนแรกของป 2553 จะมีจำนวน 457.8 ลานตัน และจากการที่ระดับการนำเขายังมีอยางตอเนื่อง<br />

จะทำใหจำนวนไปแตะที่ 610 ลานตัน ซึ่งจะลดลงประมาณรอยละ 3 จากปกอน<br />

40 รายงานประจำป 2553


เสนทางการขนสงสินคาแหงแบบเทกองทางทะเลที่สำคัญ<br />

การขนสงสินคาเปนปริมาณมากในแตละเที่ยว จะมีเสนทางขนสงหลักๆ อยูบางเสนทาง เชน โดยหลักแลวถานหินจะมีการสงจากประเทศออสเตรเลีย<br />

และแคนาดาไปสูภูมิภาคตะวันออกไกลและยุโรป ในขณะเดียวกันแรเหล็กจะถูกสงจากประเทศออสเตรเลียและบราซิลไปสูประเทศจีน ญี่ปุนและ<br />

ยุโรป สวนธัญพืชจะถูกขนสงจากอาวเม็กซิโก บราซิล หรือ อารเจนตินา ไปยังยุโรป และตะวันออกไกล<br />

ในขณะที่มีเสนทางการคาสินคาแหงเทกองหลักๆ อยู การคาทางทะเลก็ยังมีการเปลี่ยนเสนทางและทิศทางไปตามกาลเวลาเชนกัน ดังเชนประเทศจีน<br />

ซึ่งเคยเปนประเทศผูนำการสงออกหลักของถานหิน แตเมื่อไมนานมานี้ก็ไดมีการเปลี่ยนแปลงกลายเปนผูนำเขาถานหินอยูในอัตราที่สูงขึ้น การเปลี่ยน<br />

เสนทางการเดินเรืออยางเนืองนิจและโอกาสทางการคาใหมๆ จึงกลายเปนสิ่งที่อาจพบเห็นไดบอยๆ ในตลาดประเภทนี้<br />

เรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเปนเรือประเภทที่มีการใชงานไดหลายรูปแบบมากที่สุดประเภทหนึ่ง ในบรรดากองเรือที่มีอยูในโลกในแงของการนำมา<br />

ใชงาน โดยสามารถจัดเสนทางไดตามความตองการ โดยทั่วไปแลวเรือแทบจะไมไดเดินเสนทางไปกลับอยางตายตัว และมักจะมีเสนทางเดินเรือ<br />

โดยการแวะเทียบทาระหวางทางกอนถึงปลายทางอีกอยางนอยแหงหนึ่ง ดังนั้นระยะทางของเสนทางการคาจึงมีความสำคัญตอความสมดุลของ<br />

อุปสงคของการใชเรือ และการเพิ่มระยะทางในการขนสงจะมีผลกระทบมากขึ้นตออุปสงคของการใชเรือโดยรวม<br />

อุปสงคของการขนสงสินคาดวยเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองยังไดรับผลกระทบจากประสิทธิภาพในการดำเนินงานของกองเรือโลก ในไมกี่ปที่ผานมา<br />

การเจริญเติบโตทางการคานำไปสูภาวะความแออัดของทาเรือ ทำใหเรือหลายลำตองจอดรอนอกทาเรือ เพื่อขนถายสินคาขึ้นหรือลงจากเรือเนื่องจาก<br />

อุปทานที่จำกัดของทาเทียบเรือในทาเรือที่สำคัญหลายแหง สิ่งนี้เปนปจจัยอีกประการหนึ่งที่ทำใหเกิดภาวะตึงตัวในตลาด โดยเฉพาะกับเรือ<br />

ขนาดใหญ<br />

อุปทานของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง<br />

แตเดิมนั้นเรือบรรทุกสินคาเทกองไดรับการพัฒนามาเพื่อขนสงสินคาแหงเทกองที่ถูกสงครั้งละจำนวนมากและไมจำเปนตองขนสงในรูปแบบที่มี<br />

การบรรจุหีบหอ ขอไดเปรียบของการขนสงสินคาแบบเทกองคือสามารถลดตนทุนในการบรรจุหีบหอ และการขนสินคาขึ้นลงเรือสามารถทำไดอยาง<br />

มีประสิทธิภาพมากขึ้น ณ ปจจุบัน กองเรือขนสงสินคาแหงเทกองสามารถจำแนกออกเปน 4 ประเภท ตามขนาดระวางบรรทุกสินคา ไดแก<br />

l Capesize : เรือที่มีระวางบรรทุกมากกวา 100,000 เดทเวทตัน โดยปกติแลวเรือประเภทนี้จะใชบรรทุกสินคาประเภทแรเหล็กและถานหินใน<br />

เสนทางระยะไกล โดยเรือ Capesize จะบรรทุกสินคาประเภท แรเหล็กและถานหินมากกวา รอยละ 95 ของสินคาทั้งหมดของเรือขนาดนี้ และ<br />

การที่เรือมีขนาดใหญทำใหมีทาเรือไมกี่แหงในโลกสามารถรองรับการเทียบทาได<br />

l Panamax : เรือที่มีระวางบรรทุกระหวาง 60,000 ถึง 100,000 เดทเวทตัน ไดรับการออกแบบมาเพื่อใหสามารถแลนผานชองแคบปานามาได<br />

(ดังนั้นจึงไดชื่อวา “Panamax” เรือประเภทที่ใหญที่สุดที่สามารถแลนผานคลองปานามา) ทำใหเรือมีความคลองแคลวมากกวาเรือประเภท<br />

Capesize เรือประเภทนี้ใชบรรทุกถานหิน ธัญพืช และสินแร เชน โบไซท/อลูมินา และหินฟอสเฟตเปนลำดับตอมา เมื่อจำนวนเรือประเภท<br />

Capesize ใหบริการลดลง จึงมีการใชเรือ Panamax ในการขนสงสินคาเหล็กดวย โดยเรือ Panamax จะบรรทุกสินคาประเภทถานหิน แรเหล็ก<br />

และธัญพืชประมาณ รอยละ 75 ของสินคาทั้งหมดในเรือ<br />

l Handymax/Supramax : เรือที่มีระวางบรรทุกระหวาง 40,000 ถึง 60,000 เดทเวทตัน ขนสงอยูในเสนทางกระจายทางภูมิศาสตรทั่วโลก<br />

โดยบรรทุกสินคาประเภทธัญพืช เหล็กกลา ทอนไม แผนไม เศษเหล็ก และสินคาแหงเทกองที่ขนสงเปนปริมาณไมมากในแตละเที่ยวอื่นๆ<br />

เปนหลักประเภทของเรือตามมาตรฐานมักจะตอขึ้นพรอมดวยปนจั่นที่ใชยกสินคาขึ้นและลงเรือ ที่รองรับน้ำหนัก 25 ถึง 30 ตัน ซึ่งทำใหเรือ<br />

สามารถขนถายสินคาในที่กรณีที่ตองใชเครื่องกามปูชวยในการขนถายสินคาแหงเทกอง (โดยเฉพาะแรที่ใชในอุตสาหกรรม) และเพื่อทำการขนสง<br />

สินคาในประเทศและทาเรือและที่มีพื้นฐานโครงสรางจำกัด เรือประเภทเหลานี้ทำใหมีความคลองตัวทางการคา ดังนั้นจึงสามารถนำมาใชในการ<br />

ขนสงสินคาแบบเทกองหลายประเภทและการคาสินคาเทกองประเภทใหมๆ<br />

l Handysize : เรือที่มีระวางบรรทุกระหวาง 10,000 ถึง 40,000 เดทเวทตัน ซึ่งสวนใหญจะขนสงสินคาแหงเทกองที่ขนสงเปนปริมาณไมมากใน<br />

แตละเที่ยวเปนหลัก เชน เหล็กกลา ทอนไม แผนไม และเศษเหล็ก เรือประเภทนี้ใชในเสนทางการคาระดับภูมิภาคมากขึ้นเรื่อยๆ และสามารถ<br />

เปนเรือสงตอสินคาใหเรือที่ใหญกวาดวย เรือประเภท Handysize มีขนาดพอเหมาะกับทาเรือขนาดเล็กที่มีพื้นฐานโครงสรางจำกัด และการที่เรือ<br />

ประเภทนี้มักมีอุปกรณที่ใชยกสินคาขึ้นและลงเรืออยูในตัว ทำใหเรือประเภทนี้สามารถยกสินคาขึ้นลงไดเมื่อเทียบทาเรือที่มีพื้นฐานจำกัด<br />

ในชวงตนเดือนพฤศจิกายน ป 2553 กองเรือสินคาบรรทุกสินคาแหงแบบเทกองทั่วโลกมีเรือทั้งหมด 7,945 ลำ ระวางบรรทุกรวมเทากับ 519.20<br />

ลานเดทเวทตัน ตารางตอไปนี้แสดงกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองแยกประเภทตามขนาดระวางบรรทุก ณ ตนเดือนพฤศจิกายน 2553 อายุเฉลี่ยของ<br />

เรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ณ เดือนพฤศจิกายน 2553 คือ 11.80 ป<br />

รายงานประจำป 2553 41


ตาราง 8 : กองเรือบรรทุกสินคาแหงแบบเทกอง เดือนพฤศจิกายน 2553<br />

ขนาดประเภท เดทเวทตัน จำนวนเรือ<br />

ระวางบรรทุกรวม<br />

(ลานเดทเวทตัน)<br />

รอยละของกองเรือ<br />

(เดทเวทตัน)<br />

Capesize 100,000+ 1,126 202.1 38.9<br />

Panamax 60,000 – 100,000 1,786 133.6 25.7<br />

Supramax 50,000 – 60,000 1.099 59.9 11.5<br />

Handymax 40,000 – 50,000 972 43.7 8.4<br />

Handysize 10,000 – 40,000 2,962 80.0 15.4<br />

รวม 7,945 519.2 100.0<br />

ที่มา: Fearnleys<br />

ถึงแมวากองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองของโลกจะเติบโตขึ้น ตลอดชวงระยะเวลาที่ผานมา เพื่อตอบสนองกับการขยายตัวของการคาทางทะเลและ<br />

อุปสงคในการขนสงทางเรือ แตอุปทานก็ยังมีจำกัด ทำใหเกิดการสั่งตอเรือใหมในชวงป 2548-2551 ซึ่งสงผลใหเกิดภาวะจำนวนเรือลนตลาดใน<br />

ชวงเวลาถัดมา และคาดวาจะเปนเชนนี้ไปอีก 2-3 ป<br />

ณ ตนเดือนพฤศจิกายน 2553 รายการการสั่งซื้อเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองทั่วโลกมีอยูที่ปริมาณ 273.00 ลานเดทเวทตัน หรือรอยละ 52.6 ของ<br />

กองเรือสินคาแหงเทกองในปจจุบัน ในบางกรณีการสงมอบตามรายการสั่งซื้อนี้ยืดไปถึงป พ.ศ. 2559<br />

ตาราง 9 : การสั่งซื้อเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที่สั่งตอใหม เดือนพฤศจิกายน 2553<br />

ขนาดประเภท เดทเวทตัน จำนวนเรือ<br />

ระวางบรรทุกรวม<br />

(ลานเดทเวทตัน)<br />

รอยละของกองเรือปจจุบัน<br />

(เดทเวทตัน)<br />

Capesize 100,000+ 673 131.5 65.1<br />

Panamax 60,000 – 100,000 908 73.4 55.0<br />

Supramax 50,000 – 60,000 745 42.3 70.6<br />

Handymax 40,000 – 50,000 58 2.7 6.2<br />

Handysize 10,000 – 40,000 712 23.2 29.0<br />

รวม 3,096 273.0 52.6<br />

ที่มา: Fearnleys<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา: Fearnleys<br />

แผนภูมิ ภมิ 11 : การสั่งซื้อเรือบรรทุกสินคา รทกสินคา<br />

แหงเทกองที่สั่งตอใหม เดือนตุลาคม 2553<br />

42 รายงานประจำป 2553


ตลาดขนสงสินคาทางทะเลและอัตราคาเชาเรือ<br />

อัตราคาเชาเรือของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองจะถูกกำหนดโดยความสมดุลของอุปสงคและอุปทาน แมวาความเชื่อมั่นตลาดมีสวนในการกำหนด<br />

แนวโนมของอัตราคาเชาเรือในระยะสั้นๆ<br />

อัตราคาเชาเรือยังผันผวนตามขนาดของเรือ อยางเชนปริมาณและรูปแบบการคาของสินคาไมกี่ชนิดของสินคาแหงเทกองที่ขนสงเปนปริมาณมากใน<br />

แตละเที่ยว (major bulks) จะมีผลกระทบตอความตองการของเรือบรรทุกสินคาที่มีขนาดใหญกวาเพราะวาอุปสงคตอเรือบรรทุกสินคาที่มีขนาดใหญ<br />

กวาถูกกระทบโดยปริมาณและรูปแบบการคาของสินคาไมกี่ชนิด อัตราคาเชาเรือ (และมูลคาของเรือ) ของเรือบรรทุกสินคาที่มีขนาดใหญกวาจึงมัก<br />

จะผันผวนไดมากกวา ในทางกลับกัน การคาสินคาหลายชนิดของสินคาแหงเทกองที่ขนสงเปนปริมาณไมมากในแตละเที่ยว (minor bulks) ที่นำมา<br />

รวมกันเปนจำนวนมากๆ จะเปนตัวผลักดันอุปสงคของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองขนาดที่เล็กกวา ดังนั้น อัตราคาเชาเรือและมูลคาของเรือสำหรับเรือ<br />

ขนาดเล็กจึงมีความผันผวนนอยกวา<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา : Fearnleys<br />

แผนภูมิ 12 : อัตราคาเชาเหมาลำแบบ<br />

เปนระยะเวลา 1 ป<br />

แผนภูมิขางตนแสดงใหเห็นถึงการเพิ่มขึ้นเปนอยางมากของอัตราคาเชาเรือแบบระยะเวลา 1 ป ของเรือ Handymax จนถึงเรือ Capesize จนถึงป<br />

2551<br />

ในตลาดการเชาเรือเหมาลำแบบเปนระยะเวลา อัตราคาเชาเรือจะแตกตางกันตามระยะเวลาเชาเหมาและปจจัยเฉพาะตางๆ ของเรือที่ใชบรรทุก<br />

เชน อายุ ความเร็ว และการเผาผลาญเชื้อเพลิง ในตลาดเรือเชาเหมาลำแบบเปนเที่ยว อัตราคาเชาจะถูกกำหนดจากขนาดของสินคาที่บรรทุก วัตถุดิบ<br />

เวลาที่ถึงทา และคาธรรมเนียมการผานคลอง รวมทั้งภูมิภาคที่มีการสงมอบ<br />

ปจจัยหลักที่ทำใหอัตราคาเชาเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วตั้งแต ป 2547 คือ อุปสงคที่เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากการนำเขาวัตถุดิบของ<br />

ประเทศจีนและประเทศในเอเชียอื่นที่เพิ่มมากขึ้น จะเห็นไดวาอัตราคาเชาเรือลดลงอยางรวดเร็วในชวงกลางป 2551 ซึ่งเปนผลมาจากวิกฤติการณ<br />

การเงินโลก ซึ่งเปนเวลาเดียวกันกับที่มีเรือใหมเขาสูตลาดมากกวาเดิม อีกทั้งอุปสงคก็ลดลงดวย จะเห็นไดวาอัตราคาเชาเรือปรับตัวดีขึ้น ขึ้นในป<br />

2552 และป 2553 แตก็ยังต่ำกวาชวงที่อัตราคาเชาเรือขึ้นไปสุจุดสูงสุดในป 2550 และป 2551<br />

ราคาเรือ<br />

ราคาเรือสั่งตอใหม<br />

ราคาเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองสั่งตอใหมสูงขึ้นมากตั้งแต ป 2546 เนื่องจากภาวะตึงตัวของความสามารถในการผลิตของอูตอเรือ การสั่งซื้อที่<br />

เพิ่มขึ้น และอัตราคาเชาเรือที่สูงขึ้น มีการประมาณการวาราคาของเรือบรรทุกแหงเทกองสั่งตอใหมเพิ่มขึ้นมากกวาเทาตัวจากชวงแรกของป 2545<br />

ถึงสิ้นป 2551 ราคาเรือที่สั่งตอใหมปรับตัวลดลงนับตั้งแตสิ้นป 2551 ตอเนื่องไปตลอดป 2552 และไดดีดตัวขึ้นอีกเล็กนอยตลอดป 2553<br />

รายงานประจำป 2553 43


ที่มา: Fearnleys<br />

<br />

แผนภูมิ 13 : ราคาของเรือบรรทุกสินคาเทกอง<br />

สั่งตอใหม ป 2543 ถึง 2553<br />

ราคาเรือมือสอง<br />

ในตลาดเรือมือสอง ราคาของเรือสั่งตอใหมที่สูงขึ้นอยางรวดเร็ว และความแข็งแกรงของคาระวางเรือยังมีผลตอราคาเรือมือสองทำใหราคาของเรือมือ<br />

สองพุงขึ้นอยางรวดเร็วในป 2547 กอนที่จะลดต่ำลงในชวงแรกของป 2549 และขึ้นไปอีกครั้งในชวงปลายป ในป 2550 ราคาเรือมือสองเพิ่มสูงขึ้น<br />

ทุกเดือนในทิศทางเดียวกับความแข็งแกรงของตลาดคาระวางเรือ ราคาเรือมือสองยังคงเพิ่มขึ้นไปจนถึงเดือนสิงหาคม 2551 กอนที่ราคาเรือมือสอง<br />

จะลดลงมากเกือบสองในสามสวนในตอนสิ้นป และในป 2552 ราคาเรือมือสองเพิ่มขึ้นเล็กนอยตอเนื่องมาถึงป 2553 และขึ้นไปจนถึงจุดสูงสุดในชวง<br />

ฤดูรอนกอนที่จะปรับตัวลดลงอีก<br />

ราคาของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองมือสอง อายุ 5 ป (ระยะเวลาโดยเฉลี่ย)<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา: Fearnleys<br />

<br />

แผนภูมิ 14 : ราคาของเรือบรรทุกสินคาแหง<br />

เทกองมือสอง ป 2543 ถึง 2552<br />

44 รายงานประจำป 2553


ขอมูลธุรกิจ<br />

กลุมบริษัทฯ เปนบริษัทเดินเรือที่บริหารงานโดยคนไทยที่ใหญที่สุดบริษัทหนึ่ง โดยเปนเจาของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองประเภท Handysize<br />

ประเภท Handymax และประเภท Supramax โดยขนาดของเรือมีตั้งแต 16,223 เดทเวทตัน ไปจนถึง 57,015 เดทเวทตัน เรือของบริษัทฯ<br />

สามารถบรรทุกสินคาแหงเทกองทั้งแบบขนสงเปนปริมาณมากๆ ในครั้งเดียว หรือขนสงเปนปริมาณไมมากในแตละเที่ยว ไมวาจะเปน แรเหล็ก<br />

ถานหิน เมล็ดธัญพืช ซีเมนต ปุย ผลิตภัณฑเหล็กกลา และผลิตภัณฑที่ไดจากปาไม<br />

ในรอบบัญชี 2553 บริษัทฯ ไดขายเรือมือสอง 11 ลำ บริษัทฯ อยูในขณะรอรับเรือที่ไดสั่งตอใหม 4 ลำ ขนาดระวางบรรทุกเฉลี่ย 53,000 เดทเวทตัน<br />

กำหนดการสงมอบตั้งแตป 2554 ถึง 2555 ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 กองเรือโทรีเซนมีขนาดระวางบรรทุกสินคารวม 905,809 เดทเวทตัน<br />

ระวางบรรทุกเฉลี่ย 29,444 เดทเวทตัน และมีอายุเฉลี่ย 16.31 ป ขนาดของกองเรือของกลุมบริษัทฯ ไดลดลงจากจำนวน 48 ลำ ในป 2548<br />

เปนจำนวน 27 ลำ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และมีขนาดระวางบรรทุกสินคารวมลดลงจาก 1,230,514 เดทเวทตัน เปน 905,809 เดทเวทตัน<br />

ในระยะเวลาเดียวกัน แผนภูมิตอไปนี้แสดงพัฒนาการของกองเรือโทรีเซนจากป 2551 ถึง 2553<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา : TTA<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

แผนภูมิ 15 : จำนวนเรือและระวางบรรทุก<br />

รวมในแตละป<br />

ในชวงตนป 2553 บริษัทฯ ไดยกเลิกการใหบริการเดินเรือขนสงสินคาแบบประจำเสนทาง เนื่องจากสินคาที่ขนสงโดยใชแบบประจำเสนทางมัก<br />

เปนสินคาที่ใชเรือคอนเทนเนอร จากการที่มีการแขงขันในตลาดสูงขึ้นและมีแรงกดดันดานคาระวางเรือจากตลาดเรือคอนเทนเนอร อีกทั้งตนทุน<br />

ในการปฏิบัติงานสำหรับเรือที่วิ่งแบบประจำเสนทางเพิ่มสูงขึ้น กลุมบริษัทฯ จึงเชื่อวา ถึงเวลาที่จะยกเลิกการใหบริการเดินเรือขนสงสินคาแบบ<br />

ประจำเสนทาง ซึ่งเมื่อยกเลิกการใหบริการขนสนสินคาแบบประจำเสนทางไปแลว ทำใหบริษัทฯ สามารถนำเรือมาใหบริการทั่วโลกไดมากขึ้น<br />

และไดรับผลประโยชนจากคาเชาเรือที่ดีขึ้น และจากการที่บริษัทฯ ปรับปรุงสภาพเรืออยูอยางสม่ำเสมอ จะทำใหบริษัทฯ มีรายไดที่ดีขึ้นตาม<br />

จำนวนวันเดินเรือ<br />

การบริหารกองเรือ<br />

บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จำกัด (“TCB”) มีหนาที่ดูแลจัดการการดำเนินงานในเชิงพาณิชยและเทคนิคของกองเรือในธุรกิจเรือบรรทุกสินคา<br />

แหงเทกอง กองเรือที่มีอยูประกอบดวย เรือที่มีระวางสองชั้น (tween-deckers) เรือที่มีระวางบรรทุกสินคาแหงเทกองโดยเฉพาะ<br />

(Open hatch/box-shaped vessels) และเรือบรรทุกสินคาเทกองแบบมาตรฐาน (conventional bulk vessels) ถึงแมวาเรือแตละประเภท<br />

ดังกลาวจะสามารถใชสลับสับเปลี่ยนกันในการขนสงสินคาได เรือแตละประเภทก็มีขอดีของตัวเอง ดังแสดงในตารางตอไปนี้<br />

รายงานประจำป 2553 45


ตาราง 10 : คุณลักษณะของเรือแตละประเภท<br />

แบบเรือ<br />

ลักษณะ<br />

เรือที่มีระวางสองชั้น เรือประเภทนี้มีระวางกั้นกลางหรือมีระวางเพิ่มมาอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งทำใหสะดวกมากขึ้นในการขนสงสินคาที่เปน<br />

กระสอบ เปนชิ้นๆ หรือที่ไมสามารถมัดรวมกันได นอกจากนี้เรือชนิดนี้ยังสามารถบรรทุกสินคาเทกองแบบ<br />

ทั่วไปไดเชนกัน การใชปนจั่นหรือรอกสองหัวเขาดวยกันยังชวยใหเรือสามารถยกสินคาที่มีน้ำหนักมากได<br />

เรือที่มีระวางบรรทุกสินคา<br />

เทกองโดยเฉพาะ<br />

เรือบรรทุกสินคาเทกองแบบ<br />

มาตรฐาน<br />

เรือบรรทุกสินคาเทกองที่มีระวางบรรทุกสินคาโดยเฉพาะ มีฝาระวางที่เปดไดกวางกวาเรือบรรทุกสินคาเทกอง<br />

แบบทั่วไป ทำใหมีประสิทธิภาพมากกวาในการบรรทุกสินคาที่เปนชิ้นๆ เชน เหล็กเสน และผลิตภัณฑจากปาไม<br />

นอกจากนี้เรือชนิดนี้ยังสามารถบรรทุกสินคาเทกองแบบทั่วไปไดเชนกัน<br />

เรือบรรทุกสินคาเทกองแบบมาตรฐาน เปนเรือที่ออกแบบมาใหเหมาะสมกับการบรรทุกสินคาเทกองทั่วๆ<br />

ไปมากที่สุด สมกับชื่อของเรือนั่นเอง<br />

ตารางตอไปนี้แสดงขอมูลของกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองของโทรีเซน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553<br />

ตาราง 11 ​: โครงสรางกองเรือโทรีเซน<br />

จำนวนเรือ<br />

จำนวนเรือที่บริษัทเปนเจาของ เรือที่เชามา (ระยะกลาง) เรือที่สั่งตอใหม รวม<br />

Handysize 14 - - 14<br />

Handymax 10 3 - 13<br />

Supramax 3 4 4 11<br />

รวม 27 7 4 38<br />

อายุเฉลี่ยของกองเรือโทรีเซน<br />

จำนวนเรือที่บริษัทเปนเจาของ เรือที่เชามา (ระยะกลาง) เรือที่สั่งตอใหม รวม<br />

Handysize 24.15 - - 24.15<br />

Handymax 15.26 12.02 - 14.45<br />

Supramax 3.35 3.52 - 3.44<br />

รวม 16.31 8.46 - 13.64<br />

ที่มา : TTA<br />

46 รายงานประจำป 2553


ตาราง 12 : รายชื่อกองเรือโทรีเซน<br />

เรือที่มีระวางสองชั้น<br />

ชื่อเรือ วันที่สงมอบเรือจากอูตอเรือ เดทเวทตัน อายุ ชนิดของเรือ การจัดชั้นเรือ<br />

1. ทอรซัน 4/7/2529 16,223 24.26 TD-15A LR<br />

2. ทอร นาวิเกเตอร 29/3/2530 20,358 23.52<br />

LR<br />

3. ทอร นอติกา 9/12/2531 20,542 21.82 BV<br />

4. ทอร เนปจูน 1/3/2532 20,377 21.60 GL<br />

5. ทอร เน็กซัส 1/1/2532 20,377 21.76 Passat<br />

GL<br />

6. ทอร นอติลุส 6/5/2531 20,457 22.42 BV<br />

7. ทอร เนคตาร 1/1/2533 20,433 20.76 GL<br />

8. ทอร เนรัส 1/1/2531 20,380 22.76 LR<br />

เรือบรรทุกสินคาเทกอง<br />

ชื่อเรือ วันที่สงมอบเรือจากอูตอเรือ เดทเวทตัน อายุ ชนิดของเรือ การจัดชั้นเรือ<br />

9. ทอร ไพล็อต 22/5/2529 33,400 24.38<br />

LR<br />

10. ทอร ออรคิด 27/9/2528 34,800 25.02 Standard Bulk < 40,000 dwt BV<br />

11. ทอร โลตัส 18/2/2528 35,458 25.63 BV<br />

12. ทอร ไดนามิค 30/4/2534 43,497 19.43 Standard Bulk > 40,000 dwt BV<br />

13. ทอร จูปเตอร 18/8/2529 36,992 24.13 Box Shape Bulk (Box) ABS<br />

14. ทอร เวฟ 30/7/2541 39,042 12.18 Open Hatch /<br />

ABS<br />

Box Shape<br />

< 40,000 dwt<br />

15. ทอร วิน 18/11/2541 39,087 11.87 ABS<br />

16. ทอร เอนเนอรยี 16/11/2537 42,529 15.88<br />

NKK<br />

17. ทอร เอนเดฟเวอร 11/4/2538 42,529 15.48 NKK<br />

18. ทอร เอนเตอรไพรส 28/7/2538 42,529 15.19<br />

Open Hatch /<br />

Box Shape<br />

Bulk (Box)<br />

> 40,000 dwt<br />

DNV<br />

19. ทอร ฮารโมนี่ 21/3/2545 47,111 8.53 DNV<br />

20. ทอร ฮอไรซัน 1/10/2545 47,111 8.00 BV<br />

21. ทอร แชมเปยน 1/12/2525 25,150 27.85<br />

GL<br />

22. ทอร กัปตัน 1/5/2529 25,085 27.44<br />

Open Hatch /<br />

Box Shape<br />

Con-Bulkers (Box) GL<br />

23. ทอร คอนฟเดนซ 24/6/2526 24,900 27.29 GL<br />

24. ทอร ทรานสปอรตเตอร 8/8/2529 23,930 24.16<br />

Open Hatch /<br />

Box Shape<br />

Wismar (Box) BV<br />

25. ทอร อินทิกริตี้ 2/4/2544 52,375 9.50 Standard Bulk > 40,000 dwt BV<br />

26. ทอร เฟรนดชิป 13/1/2553 54,123 0.71<br />

27. ทอร แอ็คชีพเวอร 22/7/2553 57,015 0.19<br />

รวมระวางบรรทุกของกองเรือโทรีเซน 905,809 เดทเวทตัน<br />

ABS : Amercian Bureau of Shipping<br />

BV : Bureau Veritas<br />

DNV : Det Norske Veritas<br />

GL : Germanischer Lloyd<br />

LR : Lloyd’s Register<br />

NKK : Nippon Kaiji Kyokai<br />

ที่มา : TTA<br />

Semi-Open /<br />

Box Shape<br />

Standard<br />

Bulker<br />

Oshima - 53<br />

Bulk ><br />

40,000 dwt<br />

NKK<br />

BV<br />

รายงานประจำป 2553 47


กองเรือของบริษัทฯ จดทะเบียนเปนเรือสัญชาติไทย หรือสิงคโปร บริษัทฯ เปนเจาของเรือแตละลำโดยผานบริษัทยอย กลยุทธในการบริหารกองเรือ<br />

ของบริษัทฯ ทำใหบริษัทฯ มีสินคาและลูกคาที่หลากหลาย บริษัทฯ มีเปาหมายที่จะรักษาความสมดุลของการใหเชาเหมาลำแบบระยะยาวและ<br />

การเซ็นสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา และการใหเชาเหมาลำในตลาดใหเชาระยะสั้น<br />

36%<br />

54%<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา : TTA<br />

10%<br />

<br />

แผนภูมิ นภมิ 16 : การใหบริการของกองเรือโทรีเซน<br />

จำแนกตามวันเดินเรือ<br />

การใหบริการของกองเรือบริษัทฯ<br />

การบริการแบบไมประจำเสนทาง<br />

รายไดจากการเดินเรือแบบไมประจำเสนทาง ของบริษัทฯ มาจาก<br />

l การใหเชาเหมาลำแบบเปนเที่ยว การใหเชาเหมาลำในตลาดใหเชาระยะสั้น ซึ่งคิดคาเชาตามอัตราของตลาด ณ ขณะนั้น<br />

l การใหเชาเหมาลำแบบเปนระยะเวลา เปนการใหเชาเรือโดยกำหนดระยะเวลาไว และโดยทั่วไปจะกำหนดอัตราคาเชาแบบคงที่ แตมัก<br />

จะมีปจจัยอื่นๆ เชน การปรับคาเงินเฟอ หรืออัตราคาเชาเรือของตลาดปจจุบัน มาเปนองคประกอบในการคิดอัตราคาเชาเรือ และ<br />

l การเซ็นสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา (contracts of affreightment) ซึ่งบริษัทฯ จะรับขนสงสินคาจำนวนหนึ่งใหแกลูกคาในเสนทางที่กำหนด<br />

ไวแลวในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง<br />

48 รายงานประจำป 2553


ตารางขางลางนี้แสดงขอแตกตางที่สำคัญของการเชาและการทำสัญญาแตละแบบในธุรกิจการเดินเรือของบริษัทฯ<br />

ตารางที่ 13 : ประเภทของการเชาเหมาเรือ<br />

การเชาเหมาลำเปนเที่ยว<br />

การเชาเหมาลำ<br />

เปนระยะเวลา<br />

การเชาเรือเปลา<br />

การเซ็นสัญญา<br />

รับขนสงสินคาลวงหนา<br />

ระยะเวลาของสัญญา<br />

เปนระยะเวลาสำหรับการเดินทาง หนึ่งปหรือมากกวา หนึ่งปหรือมากกวา หนึ่งปหรือมากกวา<br />

เที่ยวเรือเดียว<br />

อัตราคาเชา แตกตางกันไปตามการเชาแตละเที่ยว คิดเปนรายวัน คิดเปนรายวัน โดยทั่วไปคิดเปนรายวัน<br />

คาใชจายของเรือ เจาของเรือจาย ลูกคาจาย ลูกคาจาย เจาของเรือจาย<br />

คาใชจายในการดำเนินงาน<br />

เจาของเรือจาย เจาของเรือจาย ลูกคาจาย เจาของเรือจาย<br />

เกี่ยวกับเรือ<br />

เมื่อเรืออยูในระยะเวลาที่ไมอาจ<br />

ใชประโยชนได (Off-hire)<br />

ลูกคาไมตองจาย แลวแตตกลง โดยทั่วไปลูกคาจาย โดยทั่วไปลูกคาไมตองจาย<br />

กลุมบริษัทฯ ไดทำสัญญาเชาเหมาลำแบบระยะเวลาสำหรับเรือสวนหนึ่ง ซึ่งมีตั้งแตหนึ่งปถึงสามปและมีการกำหนดการจายเงินคาเชาคงที่เดือนละ<br />

2 ครั้งลวงหนา การเชาเหมาลำแบบเปนระยะเวลา คือการเชาเรือจากเจาของเรือเปนระยะเวลาตามที่กำหนดไวในสัญญา ซึ่งเจาของเรือจะตอง<br />

สงมอบเรือ (รวมลูกเรือและอุปกรณ) ที่พรอมใหบริการแกผูเชา และผูเชาจายคาเชาในอัตราคงที่ที่คิดเปนรายวันเดือนละ 2 ครั้ง และรับผิดชอบ<br />

คาใชจายเกี่ยวกับเที่ยวเรือทั้งหมด ไมวาจะเปนคาน้ำมันเชื้อเพลิงและคาธรรมเนียมการใชทาเรือและการผานคลอง ผูเชาเปนผู กำหนดประเภท<br />

และปริมาณของสินคาที่จะขนสงและทาเรือที่จะขนถายสินคา ในสวนของการดำเนินงานและการเดินเรือรวมถึงคาใชจายในการดำเนินงานเกี่ยวกับ<br />

เรือ เชนเงินเดือนลูกเรือ คาประกันภัย คาซอมบำรุงและดูแลรักษาเรือ และคาอะไหลและอุปกรณตางๆ เจาของเรือจะเปนผูรับผิดชอบ การใหเชา<br />

เหมาลำแบบเปนระยะเวลา ปกติระยะเวลาการใหเชาจะถูกจำกัดอยูที่ 12 ถึง 24 เดือน<br />

ในรอบบัญชี 2553 บริษัทฯ ไดมีสัญญารับขนสงสินคาแบบเชาเหมาลำระยะยาวคิดเปนรอยละ 23.13 ของระวางบรรทุกสินคาทั้งหมด และ<br />

ในป 2554 ไดมีการทำสัญญาลวงหนาแบบเชาเหมาลำระยะยาวไวแลวรอยละ 18.81 ของระวางบรรทุกสินคาทั้งหมด ทางเลือกหนึ ่งที่จะทำใหเรือ<br />

ไดรับการวาจางก็คือการใหเชาผานตัวแทนนายหนาจัดหาสินคา ในตลาดใหเชาเรือระยะสั้นมีความเปนไปไดที่จะฉวยโอกาสจากการปรับตัวดีขึ้น<br />

ของตลาด แตก็มีความเสี่ยงในชวงขาลงเชนกัน จำนวนเรือที่ใหบริการในตลาดใหเชาเรือระยะสั้น มักจะมีจำนวนไมแนนอนขึ้นอยูกับจำนวนเรือ<br />

ที่เหลือมาจากการใหเชาเหมาลำแบบเปนระยะเวลา<br />

ในการใหเชาเหมาเรือ บริษัทฯ จะจายคานายหนาตั้งแตรอยละ 0.625 ถึง 6.25 ของอัตราเชารายวันทั้งหมดแกบริษัทนายหนาที่จัดหาผูเชาให<br />

การใหบริการแบบไมประจำเสนทางของกลุมบริษัทฯ มีความผันผวนไปตามอุปสงคและอุปทานของสินคาแหงเทกอง การเชาเรือมีปจจัยจากราคา<br />

เสนทางการเดินเรือ ขนาด อายุและสภาพของเรือ รวมไปถึงชื่อเสียงของกลุมบริษัทฯ ในการเปนทั้งผูประกอบการและเปนเจาของเรือ นอกจากนี้<br />

กลุมบริษัทฯ ยังตองแขงขันกับผูประกอบการรายอื่นในตลาดของเรือขนาดกลาง (Handysize) และขนาดเล็ก (Handymax) อยางไรก็ดีผูประกอบ<br />

การที่เปนเจาของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง ในโลกที่มีขนาดตั้งแต 15,000 เดทเวทตันถึง 50,000 เดทเวทตัน มีอยูคอนขางกระจัดกระจาย และ<br />

แบงออกเปนเจาของเรือรายยอยๆ ไดประมาณ 1,202 ราย ซึ่งเปนเจาของเรือ ประมาณ 4,732 ลำ<br />

36%<br />

21%<br />

9%<br />

6%<br />

28%<br />

ที่มา : Fairplay World Shipping Encyclopedia<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

แผนภูมิ 17 : สัดสวนการถือครองเรือประเภท<br />

บรรทุกสินคาทั่วไปและเรือบรรทุกสินคา<br />

แหงเทกอง (15,000-50,000 เดทเวทตัน)<br />

รายงานประจำป 2553 49


ลูกคาของบริษัทฯ<br />

ลูกคาของบริษัทฯ ครอบคลุมบริษัทผูคาระหวางประเทศชั้นนำ และผูประกอบการเดินเรือตางๆ กลยุทธของบริษัทฯ คือการปลอยเรือแบบเชาเหมา<br />

ลำใหกับบริษัทการคาขนาดใหญ (trading house) (ซึ่งรวมถึงผูคาสินคาดวย) เจาของเรือและผูประกอบการดานเรือบรรทุกสินคาที่มีชื่อเสียง<br />

ผูผลิตสินคารายใหญ และหนวยงานราชการ มากกวาใหกับบริษัทที่มีฐานะทางการเงินไมมั่นคง<br />

7%<br />

8%<br />

15%<br />

12%<br />

5%<br />

4%<br />

49%<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา : TTA แผนภูมิ 18 : ลูกคาจำแนกตามรายรับ<br />

กลุมบริษัทฯ มีความมุงมั่นที่จะกระจายเรือใหบริการในหลายรูปแบบ ในรอบบัญชี 2553 ลูกคาหลัก 10 รายแรกของธุรกิจเรือบรรทุกสินคา<br />

แหงเทกอง คิดเปนรอยละ 49.25 ของรายไดคาระวางทั้งหมดของกลุมบริษัทฯ<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา : TTA<br />

<br />

<br />

<br />

แผนภูมิ ภมิ 19 : สินคาที่ขนสงจำแนก<br />

ตามประเภทของสินคา<br />

พนักงานของบริษัทฯ<br />

ในรอบปที่ผานมา บริษัทฯ ไดพยายามนำระบบบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลสมัยใหมมาใช บริษัทฯ ไดปรับเปลี่ยนระบบการประเมินผลงาน<br />

และการพัฒนาบุคคลากรใหม โดยไดทำการรวมแผนการพัฒนาและฝกอบรมรายบุคคลเขาไวเปนสวนหนึ่งของระบบประเมินผลงานประจำป ทั้งนี้<br />

เพื่อมุงเนนการเพิ่มสมรรถภาพ ขีดความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และเพิ่มโอกาสในการพัฒนาสำหรับพนักงานเอง ซึ่งการดำเนินการดังกลาว<br />

เมื่อรวมกับการใหขอคิดเห็นในปรับปรุงการทำงานและการพัฒนาสมรรถภาพประจำป มีวัตถุประสงคหลักเพื่อที่จะใหพนักงานบรรลุศักยภาพสูงสุด<br />

ในการทำงาน สำหรับตัวพนักงานเองก็ไดรับประโยชนจากโอกาสในการไดรับผลตอบแทนที่สูงขึ้นรวมถึงโอกาสในการไดรับพิจารณาใหทำงาน<br />

ในตำแหนงงานใหมๆ ภายในองคกร<br />

คูแขง<br />

ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง เปนธุรกิจที่มีการแขงขันสูง และกระจัดกระจาย กลุมบริษัทฯ มีการแขงขันกับบริษัทขนสงชั้นนำในเอเชียหลาย<br />

บริษัทและทั่วโลก ทั้งนี้มีการคาดการณวาการแขงขันจะรุนแรงขึ้นจากสถานการณเรือลนตลาดที่ยังคงมีอยูตอไป<br />

50 รายงานประจำป 2553


เรือขนสงสินคาแบบไมประจำเสนทางก็มีการแขงขันกันรุนแรงดวยเชนกัน และอาจไดรับผล<br />

กระทบจากเรือขนาดอื่นที่เขามาในตลาด ซึ่งอาจเปนเรือในขนาดที่กลุมบริษัทฯ ไมมี จากการที่มี<br />

ความแตกตางมากในขนาดของเรือ ทำใหเรือขนสงสินคาแหงเทกองแบบ Capesize อาจเสีย<br />

เปรียบใน<br />

การแขงขันกับเรือขนสงสินคาแหงเทกองขนาด Handymax สำหรับสินคาบางประเภท กระนั้น<br />

ก็ตาม อัตราคาเชาเรือขนาด Capesize ก็อาจมีผลตอเรือที่มีขนาดเล็กกวาได ซึ่งหากพิจารณาถึง<br />

การคาดการณลวงหนาถึงอัตราการเพิ่มของระวางบรรทุกในอัตรา รอยละ 12-13 ในปหนานี้ อาจ<br />

กลาวไดวากลุมบริษัทฯ จะตองเผชิญกับความกดดันในดานอัตราคาเชาเรือ<br />

นอกจากธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองแลว กลุมธุรกิจขนสงยังประกอบดวยธุรกิจการให<br />

บริการเปนตัวแทนเรือ และการเปนนายหนาเชาเหมาเรือ<br />

ปจจัยบวกและลบในป 2554-2555<br />

ปจจัยลบที่สงผลตอธุรกิจของบริษัทฯ ในปหนา คือ ปริมาณเรือที่เขาสูตลาด จากการที่อัตราคา<br />

ระวางเรือกระเตื้องขึ้นในรอบ 12 เดือนที่ผานมาทำใหการขายเรือเกาลดลง เมื่อรวมกับการผลิต<br />

เรือใหมที่ยังคงมีอยูอยางตอเนื่อง ปริมาณเรือมีการเติบโตเร็วกวาความตองการใชเรือ ซึ่งตาม<br />

ที่ไดกลาวไวในหัวขอ ภาพรวมอุตสาหกรรม ปจจัยนี้จะเปนปจจัยลบที่สงผลตอคาระวางเรือมาก<br />

ที่สุดในปหนา<br />

ปจจัยที่สำคัญอีกประการคือปจจัยดานอุปสงคในประเทศจีน ซึ่งหากกำลังการผลิตในประเทศจีน<br />

ต่ำกวาที่คาดคะเนไวในปหนา ก็จะสงผลใหปริมาณเรือบรรทุกสินคามีมากเกินกวาความตองการ<br />

ซึ่งจะทำใหอัตราคาระวางเรือผันผวนอยางแนนอน<br />

อยางไรก็ดี บริษัทฯ ไดดำเนินการอยางรอบคอบมาอยางตอเนื่องโดยการขายเรือที่มีอายุมาก<br />

และมีความคลองตัวในการขนสงต่ำและมีขนาดระวางบรรทุกนอยออกไปจากกองเรือ ถึงแมวา<br />

ขั้นตอนเหลานี้ยังไมเสร็จสิ้นสมบูรณก็ตาม แตกลุมบริษัทฯ ก็ยังไดประโยชนจากการเพิ่ม<br />

ศักยภาพในการขนสงสินคาใหสูงขึ้นและไปไดทั่วภูมิภาคทั่วโลกมากขึ้น นอกเหนือจากนี้<br />

บริษัทฯ ไดปรับโครงสรางกระบวนการจัดซื้อใหมทั้งระบบและไดเริ่มใชระบบ ERP อยางเต็มรูป<br />

แบบแลวซึ่งจะทำใหบริษัทฯ สามารถตรวจตราระบบการปฏิบัติงานสำคัญๆ ไดดียิ่งขึ้น<br />

ธุรกิจตัวแทนเรือ<br />

กลุมบริษัทฯ เปนกลุมบริษัทตัวแทนเรือที่ใหญที่สุดในประเทศไทยโดยเปนตัวแทนเรือทุกประเภท<br />

ในประเทศไทย ธุรกิจตัวแทนเรือในกลุมบริษัทฯ ดำเนินการโดย 4 บริษัท ประกอบดวย<br />

1) บริษัท ไอเอสเอส โทรีเซน เอเยนตซีส จำกัด (“ITA”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ<br />

โดยบริษัทฯ ถือหุนรอยละ 100<br />

2) บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประทศไทย) จำกัด (“GAC”) ซึ่งเปนบริษัทรวมของบริษัทฯ<br />

และเปนการรวมทุนระหวางบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนรอยละ 51<br />

และ กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี จำกัด ในประเทศลิชเทนสไตน ถือหุนรอยละ 49<br />

ITA มีจุดขายจากการเปนสวนหนึ่งของเครือขายในกลุมบริษัทอินชเคป ซึ่งเปนกลุมบริษัทตัวแทน<br />

เรือที่ใหญที่สุดในโลกกลุมหนึ่ง GAC เปนบริษัทชั้นนำแหงหนึ่งในโลกในดานการใหบริการ<br />

ที่เกี่ยวของกับการเดินเรือ ธุรกิจเดินเรือ และโลจิสติคส<br />

3) โทรีเซน (อินโดไชนา) เอส.เอ. (“TI”) ซึ่งเปนกิจการรวมคาระหวาง บริษัท โทรีเซนไทย<br />

เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนรอยละ 50 และอีกรอยละ 50 ถือโดยนักลงทุนทั่วไป TI<br />

เปนหนึ่งในบริษัทตัวแทนเรือที่ใหญที่สุดในเมืองโฮจิมินห และในเขตพื้นที่วัง เตา (Vung Tau)<br />

อีกทั้งยังมีความเชี่ยวชาญในการจัดการกับสินคา project cargo และกำลังพัฒนาธุรกิจ<br />

ที่เกี่ยวกับโลจิสติคสในประเทศเวียดนาม อีกดวย<br />

4) PT Perusahaan Pelayaran Equinox (“Equinox”) ซึ่งเปนผูใหบริการในการจัดหาเสบียงให<br />

กับเรือขนสงสินคาแหงเทกองและบริการงานที่เกี่ยวของกับพาณิชยนาวีใหกับอุตสาหกรรม<br />

น้ำมันและกาซธรรมชาติภายในประเทศ<br />

รายงานประจำป 2553 51


ทั้งสี่บริษัทใหบริการดานธุรกิจตัวแทนเรือดังนี้ จัดหาทาเรือใหเรือเทียบทา ขนถายสินคาขึ้นลง จัดหาสินคาลงเรือ เตรียมเสบียง เชน น้ำมันเชื้อเพลิง<br />

น้ำ ตลอดจนดูแลการซอมแซมเรือ สับเปลี่ยนลูกเรือ และอื่นๆ นอกจากนี้ บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด ยังมีความชำนาญใน<br />

การใหบริการโลจิสติคส ซึ่งครอบคลุมการกระจายสินคาทั้งทางบกและทางอากาศ การรับสงสินคาจากตนทางถึง ปลายทาง การเคลื่อนยายสินคา<br />

และพัสดุระหวางประเทศ<br />

นายหนาเชาเหมาเรือ<br />

บริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด (“FTL”) ซึ่งเปนบริษัทรวมของบริษัท โทรีเซนไทย<br />

เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เปนการรวมทุนระหวางบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด<br />

(มหาชน) และกลุมบริษัทเฟรนเลย ของประเทศนอรเวย (“เฟรนเลย”) โดยถือหุนรอยละ 49<br />

และ รอยละ 51 ตามลำดับ (ณ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553) เฟรนเลยเปนหนึ่งในบริษัทนายหนา<br />

เชาเหมาเรือที่ใหญที่สุดในโลก ดำเนินธุรกิจในการเปนที่ปรึกษาเกี่ยวกับเรือบรรทุกสินคาแหง เรือ<br />

บรรทุกน้ำมัน เรือบรรทุกแกส การซื้อและขายเรือ FTL มีบริษัทยอยคือ บริษัท เฟรนเลย ชิป<br />

โบรกกิ้ง ไพรเวท ลิมิเต็ด โดย FTL ถือหุนอยูรอยละ 99.99 ซึ่งใหบริการในการเปนนายหนาเชา<br />

เหมาเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองในประเทศอินเดีย และบริษัท เฟรนเลย ดรายคารโก (สิงคโปร)<br />

พีทีอี ลิมิเต็ด โดย FTL ถือหุน อยูรอยละ 100 ซึ่งใหบริการในการเปนนายหนาเชาเหมาเรือบรรทุก<br />

สินคาแหงเทกองในประเทศสิงคโปร<br />

นอกเหนือจากจัดหาตลาดใหกับกองเรือโทรีเซนแลว เฟรนเลย ยังดำเนินธุรกิจเปนบริษัทนายหนา<br />

เชาเหมาเรือในตลาดที่มีการแขงขันกันอยางสูง โดยเปนตัวกลางระหวางเจาของเรือและผูเชาเรือ<br />

ทั้งประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตและทั่วโลก<br />

การดำเนินธุรกิจในแถบประเทศตะวันออกกลาง<br />

โทรีเซน ชิปปง เอฟแซดอี (“TSF”) ซึ่งบริษัทยอยที่กลุมบริษัทโทรีเซนถือหุนอยูรอยละ 100 ไดถูกกอตั้งขึ้นเพื่อใชเปนสำนักงานภูมิภาคในแถบ<br />

ตะวันออกกลาง ซึ่งเปนการประหยัดตนทุนในการดำเนินการของเรือสินคาของบริษัทฯ ที่ขนสงสินคาไปยังสหรัฐอาหรับอิมิเรตสและทาเรืออื่นๆ<br />

ในตะวันออกกลาง<br />

TSF ใหบริการเรือที่เขาไปจอดเทียบทาในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตสมากกวา 20 ลำตอป และติดตอประสานงานในดานการปฏิบัติการเรือ<br />

กับทาเรืออื่นๆ โดยมีตัวเลขของเรือที่บริษัทฯ ใหบริการในทาเรืออื่นๆ ไมตางกัน บริษัทฯ มีความชำนาญทางดานพิธีศุลกากร และใหบริการ<br />

ขนสงสินคามากกวา 3,000 รายแกผูรับสินคาในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส โอมาน และจุดหมายปลายทางที่อยูใกลเคียง<br />

52 รายงานประจำป 2553


กลุมธุรกิจพลังงาน<br />

กลุมธุรกิจพลังงานประกอบดวย บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) (“เมอรเมด”) ซึ่ง TTA ถือหุนคิดเปนรอยละ 57.14 ผูใหบริการที่เกี่ยวของ<br />

กับการขุดเจาะน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝง โดยเฉพาะอยางยิ่ง บริการนักประดาน้ำและยานสำรวจใตทะเล (ROV) และบริการ<br />

ขุดเจาะนอกชายฝง นอกจากนี้ TTA ถือหุนรอยละ 21.18 ในเมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี ซึ่งเปนผูถือหุนรอยละ 40 ในกิจการรวมคากับ SKI<br />

ที่เปนผูรวมคาในทองถิ่นในโครงการเหมืองถานหินหลายแหงในประเทศฟลิปปนส โดยเหมืองแหงแรกในจำนวนเหมืองเหลานี้ไดเริ่มตนการผลิต<br />

ในเชิงพาณิชยตามกำหนดเมื่อปลายเดือนเมษายน พ.ศ. 2553<br />

บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) (“เมอรเมด”) เริ่มประกอบธุรกิจตั้งแตป 2525 เมอรเมดเปนผูใหบริการในอุตสาหกรรมขุดเจาะ<br />

น้ำมันและกาซนอกชายฝงทั่วโลก โดยมีพื้นที่หลักอยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต และตะวันออกกลาง เมอรเมดมีที่ทำการที่จังหวัดชลบุรี ประเทศ<br />

ไทย แตเมอรเมดและบริษัทยอยมีสำนักงานและฐานปฏิบัติงานสนับสนุนบนฝงในกรุงจากาตารและบาลิกปาปน ประเทศอินโดนีเซีย รวมทั้ง<br />

ในประเทศสิงคโปร และประเทศกาตารในตะวันออกกลาง เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2550 เมอรเมดไดเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย<br />

แหงประเทศสิงคโปร (“SGX”) และไดเงินจากการซื้อขายหุนสามัญเพิ่มทุนดังกลาวเปนเงินจำนวน 246 ลานดอลลารสิงคโปร ณ วันที่ 14<br />

พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เมอรเมดไดเงินจากการออกหุนเพิ่มทุนเพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมเปนเงินจำนวน 156 ลานดอลลารสิงคโปร<br />

บริษัทยอยที่สำคัญของเมอรเมด<br />

องเมอรเมด<br />

l บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส<br />

จำกัด (“MOS”) ใหบริการงานวิศวกรรม<br />

โยธาใตน้ำโดยมีเรือที่ใชสนับสนุนงาน<br />

ดังกลาว ที่พรอมดวยนักประดาน้ำ<br />

และยานสำรวจใตน้ำ<br />

l บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค จำกัด<br />

(“MDL”) ใหบริการเรือขุดเจาะเพื่อ<br />

ใชในการขุดเจาะน้ำมันและกาซธรรมชาติ<br />

าะน้ำมันและกาซธรรมชาติ<br />

นอกชายฝง<br />

เมอรเมดไดกลายเปนหนึ่งในจำนวนไมกี่บริษัทที่เปนผูใหบริการนอกชายฝงซึ่งมีฐานที่ตั้งอยูใน<br />

เอเชียเมอรเมดดำเนินธุรกิจหลักสองประเภท คือการใหบริการขุดเจาะนอกชายฝง และบริการ<br />

นักประดาน้ำและยานสำรวจใตทะเล (ROV)<br />

บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค จำกัด (“MDL”) เปนบริษัทยอยของเมอรเมด โดยเมอรเมดถือหุนอยู<br />

รอยละ 95 MDL ปฏิบัติการโดยใชเรือขุดเจาะแบบมีปนจั่น (self-erecting tender drilling rigs)<br />

จำนวน 2 ลำ ซึ่งถูกออกแบบใหใชในที่น้ำลึกถึง 100 เมตร (หรือ 180 เมตร กอนวางแทน)<br />

และมีความสามารถในการขุดเจาะ ไปถึงความลึกที่ 6,100 เมตร สำหรับเรือขุดเจาะเอ็มทีอาร-1<br />

และ 5,943 เมตร สำหรับ เอ็มทีอาร-2 ดวยกานเจาะ (drill pipe) ขนาด 5 นิ้ว<br />

บริษัท เอเชีย ออฟชอร ดริลลิ่งค จำกัด (“AOD”) ในเดือนธันวาคม 2553 เมอรเมดไดยืนยันการ<br />

จองซื้อหุนรอยละ 49 ใน AOD และไดเขาลงนามโครงการสั่งตอเรือใหมกับ Keppel Fels Ltd.<br />

ในสิงคโปร เพื่อการสรางเรือขุดเจาะแบบ Jack-up จำนวน 2 ลำ ราคาลำละ 180 ลานดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกา โครงการสั่งตอเรือนี้ใหสิทธิที่จะวางคำสั่งตอเรือขุดเจาะแบบ Jack-up กับ Keppel<br />

Fels ไดอีก 2 ลำ โดยมีเงื่อนไขการชำระเงินคือ ชำระเงินดาวนรอยละ 20 เมื่อลงนามสัญญา<br />

และรอยละ 80 เมื่อสงมอบ<br />

นอกจากนี้ เมอรเมดไดลงนามสัญญาจัดการทางดานเทคนิคและการคา (Technical and<br />

Commercial Management Agreement) เพื่อการบริหารจัดการโครงการ ความพรอมใน<br />

การดำเนินงาน และการดำเนินงานเรือขุดเจาะแบบ Jack-up กับ AOD<br />

เมอรเมดเล็งเห็นแนวโนมที่สำคัญของการใชเรือขุดเจาะที่มีคุณภาพสูง โดยลูกคาจะตองการ<br />

การดำเนินงานที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพซึ่งเรือขุดเจาะใหมสามารถใหได เชน การทำงาน<br />

แบบออฟไลน (offline activities) การมีขนาดบรรทุกของดาดฟาเรือที่สูงขึ้น และความสามารถ<br />

ทางดาน combined jacking และ preload<br />

เอกสารประมูลสำหรับโครงการใหมสวนใหญจะกำหนดขีดจำกัดทางดานอายุของเรือขุดเจาะ<br />

ปจจัยนี้เปนแรงกระตุนที่สำคัญใหมีการลงทุนในเรือขุดเจาะแบบ Jack-up ที่มีคุณภาพสูง<br />

ในขณะที่อูตอเรือก็ไดเสนอราคาที่มีสวนลดสำหรับการจองเวลาตอเรือดวย<br />

รายงานประจำป 2553 53


ธุรกิจบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ<br />

อุตสาหกรรมขุดเจาะ และอุตสาหกรรมนักประดาน้ำและยานสำรวจใตทะเล (ROV) เปนผูใหบริการที่สำคัญสำหรับการสำรวจ การพัฒนาและ<br />

การผลิตน้ำมันดิบและกาซธรรมชาติ ความตองการในการใชบริการเหลานี้มีแรงผลักดันหลักๆ จากปริมาณการสำรวจ การพัฒนาและการผลิต<br />

น้ำมันดิบและกาซธรรมชาติ โดยระดับการลงทุนขึ้นอยูกับกระแสเงินสดของบริษัทน้ำมัน รายไดและแหลงเงินทุน พื้นที่ใหมสำหรับการสำรวจ<br />

และการพัฒนา รวมทั้งราคาน้ำมันและกาซธรรมชาติ<br />

สภาวะเศรษฐกิจของโลกโดยรวมและอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมการประกอบการของผูประกอบการ<br />

ทุกรายในอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาติ การเติบโตทางเศรษฐกิจที่ปรับตัวขึ้นภายหลังจากการถดถอยซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ เปนปจจัย<br />

ที ่ทำใหราคาน้ำมันและกาซธรรมชาติมีความมั่นคงขึ้นในชวงป 2553 ซึ่งสงผลใหมีระดับการลงทุนในอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาติสูงขึ้น<br />

อยางไรก็ตาม โดยปกติ การลงทุนเหลานี้จะกอใหเกิดความตองการบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำภายหลังจากระยะเวลา 18 เดือนขึ้นไปหลังจาก<br />

ที่มีการตัดสินใจลงทุนครั้งแรก ดังนั้น บริษัทฯ จึงคาดวาสภาวะตลาดในภาคอุตสาหกรรมนี้นาจะยังคงเปนที่ทาทายตอไปตลอดป 2554<br />

การเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศของเอเชียเปนผลดีตออุตสาหกรรม<br />

อยางไรก็ตาม สิ่งที่กลาวมานี้เปนภาพโดยกวาง สำหรับในระดับภูมิภาค ภาพนี้จะแตกตางออกไป บริษัทดังเชนกลุมเมอรเมด มีการประกอบการ<br />

อยูในภูมิภาคที่มีอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศสูงสุดของโลกเปนหลัก ซึ่งไดแก เอเชียแปซิฟค และโดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

เอเชียตะวันออกเฉียงใตและตะวันออกกลาง องคการพลังงานระหวางประเทศ (International Energy Authority) (“IEA”) คาดหมายวา<br />

ความตองการน้ำมันของโลกจะเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 1 ตอป คือจาก 85 ลานบารเรลตอวันในป 2551 เปน 105 ลานบารเรลตอวันในป 2573<br />

การเติบโตนี้จะถูกกระตุนโดยการเติบโตทางดานพลังงานในตลาดเกิดใหม เชน เอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึ่งมีอัตราการเติบโตรวมโดยเฉลี่ย<br />

ตอปทางดานพลังงานที่รอยละ 5.5 สำหรับระยะเวลา 29 ปที่ผานมา 1 และยังคงเปนตลาดพลังงานที่มีการเติบโตเร็วที่สุดในโลก บริษัทฯ<br />

คาดวาความตองการที่ระดับนี้จะยังคงอยูตอไป เนื่องจากภูมิภาคนี้สามารถผานพนวิกฤตการณทางการเงินเมื่อเร็วๆ นี้ โดยที่ความตองการนั้น<br />

ไมไดออนตัวลงอยางมีนัยสำคัญ<br />

Rebased to 1980<br />

5<br />

4<br />

3<br />

2<br />

1<br />

1980<br />

1987 1994 2001 2008<br />

South East Asia Middle East<br />

Other Asia Pacific countries<br />

Africa<br />

America, Europe & Eurasia<br />

ที่มา: Pare to Research, BP<br />

แผนภูมิ 20 : การเติบโตของการใชพลังงาน<br />

น้ำมันและกาซธรรมชาติ<br />

เนื่องจากราคาน้ำมันมีความมั่นคงในชวงป 2553 และไดปรับตัวทะลุเพดาน 80 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอบารเรลในเดือนตุลาคม บริษัทน้ำมัน<br />

และกาซธรรมชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่ง บริษัทน้ำมันนานาชาติ (International Oil Companies) (“IOCs”) และบริษัทน้ำมันแหงชาติ (National Oil<br />

Companies) (“NOCs”) จึงไดเริ่มเพิ่มการใชจายดานการสำรวจและการพัฒนา นักวิเคราะหอุตสาหกรรมไดชี้วาการใชจายดานการสำรวจ<br />

และการผลิตนอกชายฝงจะเพิ่มขึ้นรอยละ 7 ในป 2553 และรอยละ 15 ในป 2554 2 การใชจายที่เติบโตขึ้นนี้ ประกอบกับอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำ<br />

ทำใหเกิดการประมูลงานใหมและการอนุมัติโครงการที่ไดระงับไป<br />

1<br />

OSV Market Report, Pareto Securities, มีนาคม ค.ศ. 2010 หนา 4<br />

2<br />

Ibid, หนา 5<br />

54 รายงานประจำป 2553


Delta E&P Spending<br />

40%<br />

30%<br />

20%<br />

10%<br />

0%<br />

-10%<br />

-20%<br />

-30% 1997 1999 2001 2003 2005 2007 2009e 2001e<br />

USD/bbl<br />

100<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

ที่มา: Pareto Research<br />

Nominal spending growht (lhs)<br />

Average Brent (rhs)<br />

แผนภูมิ 21 การเปลี่ยนแปลงของการใชจายในการ<br />

สำรวจและผลิตตอราคาน้ำมันคิดเปนรอยละ<br />

การเติบโตดานการสำรวจและการผลิตเริ่มฟนตัว<br />

งบประมาณดานการสำรวจและการผลิตไดเติบโตขึ้นที่ระดับตัวเลขสองหลักในระหวางป 2546 ถึง 2551 ซึ่งทำใหเกิดโครงการพัฒนาแหลงใหมขึ้น<br />

จำนวนหนึ่ง และสงผลใหความตองการบริการขุดเจาะและบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำขยายตัว อยางไรก็ตาม เมื่อตนป 2552 อุตสาหกรรม<br />

ไดรับผลกระทบจากการชะลอตัวทางเศรษฐกิจของโลก รวมทั้งตนทุนการจัดหาเงินทุนที่สูงขึ้นมาก และราคาน้ำมันที่ลดลงอยางรุนแรง ดังนั้น<br />

การใชจายดานการสำรวจและการผลิตในป 2552 จึงชะลอลงอยางมากจากระดับที่เคยมีอยูกอนหนานั้น การเติบโตไดกลับคืนมาอีกครั้งใน<br />

ป 2553 ถึงแมวาจะชากวาในชวงระยะเวลาจนถึงป 2551 การเติบโตนี้ไมนาที่จะสูงกวาระดับ 450 พันลานดอลลารสหรัฐอเมริกาซึ่งใชจาย<br />

ในป 2551 3 บริษัทฯ คาดวาแนวโนมการปรับตัวขึ้นนี้จะยังคงดำเนินตอไปในป 2554<br />

ขอมูลจากการศึกษาและวิเคราะหอุตสาหกรรมชี้วาราคาน้ำมันและกาซที่สูงขึ้นไมไดสงผลใหความตองการบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำเพิ่มขึ้น<br />

ในทันทีเสมอไป กระบวนการนี้อาจมีชวงระยะเวลานับจากจุดที่ราคาอยูในระดับสูงจนถึงจุดที่มีความตองการสูงขึ้น ซึ่งเปนการชี้วาการเติบโต<br />

ทางดานอุปสงคของบริการสำหรับปนี้อาจจะไมเร็วเทากับการปรับตัวขึ้นของราคาน้ำมัน อยางไรก็ตาม บริษัทฯ คาดวาแนวโนมของอุปสงคของ<br />

บริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่จะปรับตัวขึ้นเปนลำดับจะยังคงดำเนินตอไปในป 2554<br />

การใชจายดานการสำรวจและการผลิตที่ออนตัวลงนี้กอใหเกิดผลกระทบที่ตอเนื่อง กลาวคือ ภาวะอุปทานสวนเกินไดขยายลุกลามไปยังบาง<br />

ภาคอุตสาหกรรม เชน การใหเชาเรือขนาดใหญ อัตราคาเชาตอวันมีการปรับลด และมีการยกเลิกคำสั่งตอเรือและเรือขุดเจาะลำใหม อยางไรก็ตาม<br />

ตลาดบางแหงไดรับผลกระทบหนักกวาตลาดอื่นๆ โดยไหลทวีปของสหราชอาณาจักรเปนตลาดที่ไดรับผลกระทบอยางรุนแรงที่สุด<br />

ในขณะที่ตลาดโลกกำลังฟนตัว บริษัทฯ เชื่อวาตลาดเอเชียโดยทั่วไปสำหรับบริการขุดเจาะและบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ ยังคงมีความเปน<br />

ไปไดในดานอัตราการใชประโยชนที่สูง และอัตราคาเชาตอวันที่ดี เนื่องจาก<br />

l อุปสงคของน้ำมันและกาซธรรมชาติที่แข็งแกรงกวาในภูมิภาคนี้<br />

l เศรษฐกิจในภูมิภาคที่เติบโตอยางเขมแข็งตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งในจีน อินเดีย และกลุมประเทศอาเซียน และ<br />

l โครงการใหมๆ ที่วางแผนโดยบรรดาบริษัทสำรวจและผลิตในเอเชีย<br />

ตลาดเรือสนับสนุนนอกชายฝงและบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำทั่วโลก<br />

ปญหาอุปทานสวนเกินที่ธุรกิจเรือสนับสนุนนอกชายฝงและงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำประสบอยูในขณะนี้ เปนผลมาจากการเพิ่มขึ้นของคำสั่งตอเรือ<br />

ใหมในชวงจุดสูงสุดของราคาน้ำมันในป 2551 เรือสนับสนุนนอกชายฝงตอใหมที่เขามาในตลาดในเวลานี้ ไดมีการสั่งตอในชวงระยะเวลาดังกลาว<br />

แตหลังจากนั้นเปนตนมา บริษัทตางๆ ไดขอชะลอหรือยกเลิกคำสั่ง ซึ่งนาจะเปนการชวยปรับสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทานได เมื่ออุปสงค<br />

(กิจกรรมตางๆ) ที่เกิดขึ้นเขาไปรองรับอุปทานสวนเกิน (เรือตอใหมและเรือที่ยังไมไดเขาทำสัญญา) ขอมูลการประมาณการณของอุตสาหกรรม<br />

ชี้วามีคำสั่งตอเรือใหมประมาณ 107 ลำซึ่งเกิดขึ้นภายหลังจากวิกฤตการณทางเศรษฐกิจเมื่อเร็วๆ นี้ เปรียบเทียบกับ 487 ลำซึ่งสั่งตอกอน<br />

ที่จะเกิดวิกฤตการณ4<br />

3<br />

The Global Subsea Market to 2013, Strategic Offshore Research, หนา 5<br />

4<br />

Sector Update: Offshore Supply, DnB Nor Markets, 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 2010, หนา 5<br />

รายงานประจำป 2553 55


Fleet count<br />

% of Asia to the world<br />

2,500<br />

New orders post crisis 107 newbuilds<br />

2,500<br />

2,000<br />

2,000<br />

1,500<br />

1,500<br />

1,000<br />

1,000<br />

500<br />

500<br />

1965-2008 2009 2010E 2011E 2012E<br />

Jan 2009 data<br />

Oct 2010 data<br />

Aggregate fleet count - Jan 2009 data<br />

Aggreagte fleet count - Oct 2010 data<br />

แผนภูมิ 22 : คำสั่งตอเรือใหมภายหลังจากที่เกิด ั<br />

วิกฤตการณไมไดสงสัญญาณเตือนภัย<br />

ปจจัยบงชี้อีกอยางหนึ่งวาสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทานกำลังมีแนวโนมในเชิงบวกยิ่งขึ้นคือการเปลี่ยนแปลงในอัตราสวนของเรือสนับสนุน<br />

นอกชายฝง (แบบ Jack-up, Semi หรือ Drillship) ตอเรือขุดเจาะหนึ่งลำ ซึ่งมีการประมาณการณวาจะลดลงจากระดับ 3.0 ในระหวาง<br />

ป 2553-2554 เปน 2.9 ในป 2555 เนื่องจากการเติบโตของเรือสนับสนุนนอกชายฝงเริ่มที่จะชะลอตัวลง และมีเรือขุดเจาะลำใหมเขามา<br />

ในตลาด อุปสงคจึงนาจะปรับตัวขึ้นในป 2555 โดยไดรับแรงกระตุนจากกิจกรรมที่เพิ่มขึ้นจากการใชจายดานการสำรวจและการผลิตซึ่งสูงขึ้น<br />

นอกจากนี้ ราคาของเรือทั้งที่สั่งตอใหมและเรือมือสองอยูในระดับซึ่งคงที่ในชวงครึ่งหลังของปนี้ และมีผูประกอบการขามชาติรายใหญ<br />

หลายรายที่อยูในตลาดเรือสนับสนุนนอกชายฝงมือสอง ผูประกอบการรายใหมในตลาด เชน บราซิล ไหลทวีปของสหราชอาณาจักร<br />

และออสเตรเลียไดเขารองรับกำลังเรือสนับสนุนนอกชายฝงเพิ่มเติมและชวยพยุงอัตราคาบริการ ในขณะเดียวกัน NOCs เชน Petrobas<br />

ไดแสดงความพึงพอใจที่จะเลือกเรือซึ่งมีอายุนอยกวา อันเปนผลดีสำหรับกลุมซึ่งมีกองเรือที่อายุนอย<br />

ตลาดเรือสนับสนุนนอกชายฝงและบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำมีการแขงขันสูงมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต<br />

ในขณะที่ตลาดในเอเชียโดยทั่วไปจะตามตลาดแหงอื่นๆ การหลั่งไหลของเงินทุนเขาสูภูมิภาคนี้เมื่อเร็วๆ นี้ทำใหเกิดสภาพคลองอยางสูง<br />

ในตลาดและแหลงเงินทุนตนทุนต่ำ สถานการณนี้อาจกระตุนการควบรวมกิจการในตลาด ดังที่เคยเห็นในสหรัฐอเมริกาและยุโรป เนื่องจาก<br />

บริษัทตางๆ จะมองหาโอกาสในการเพิ่มธุรกิจที่เปนการเกื้อกูลกันดวยการเขาควบรวมและซื้อกิจการ<br />

ในดานหนึ่ง ผูประกอบการขามชาติ เชน Tidewater ซึ่งมีฐานอยูในสหรัฐอเมริกากำลังเคลื่อนยายเขามาในภูมิภาคเอเชียแปซิฟค โดยจับตาดู<br />

ตลาดในประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม จีน อินเดีย และออสเตรเลีย อยางใกลชิด การเขาซื้อเรือเปนสัญญาณแรกที่บงชี้ถึง<br />

ความสนใจ แตนาจะติดตามมาดวยการเขาซื้อบริษัทและการเขารวมทุน<br />

ในอีกดานหนึ่ง บริษัทเอเชียหลายแหงกำลังยกระดับการใหบริการนอกชายฝง และเขาไปในกลุมตลาดระดับน้ำลึก (พื้นที่ที่มีการเติบโต) ซึ่งอาจ<br />

ทำใหเกิดความจำเปนที่จะตองสรางเครือขายขึ้นระหวางบริษัทเหลานี้กับบริษัทที่มีความมั่นคงอยูแลวในบางพื้นที่เหลานี้ เนื่องจากตลาดเอเชีย<br />

บางประเทศไดรับความคุมครอง (กฎระเบียบวาดวยการเดินเรือชายฝง) และมักจะถูกครองโดย NOCs บริษัทขามชาติจึงมีขอเสียเปรียบเมื่อ<br />

พยายามที่จะเขาไปในตลาดเหลานี้โดยลำพัง บริษัทซึ่งมีฐานอยูในเอเชียไดสรางความสัมพันธไวกับผูประกอบการในทองถิ่นและฐานปฏิบัติงาน<br />

บนฝงในภูมิภาคแลว ดังนั้น จึงอยูในสถานะที่จะเอื้ออำนวยตอการเขาตลาดได ในทางกลับกัน บริษัทขามชาติสามารถถายทอดเทคโนโลยี<br />

และความเชี่ยวชาญใหแกสวนตางๆ ของตลาดที่ยังไมพัฒนาได บริษัทฯ คาดวาจะมีกิจกรรมการควบรวมและเขาซื้อกิจการและการรวมทุน<br />

เพิ่มขึ้นเมื่อบริษัทฯ กาวตอไป<br />

ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตลาดเรือสนับสนุนนอกชายฝงมีการแขงขันสูงมาก ถึงแมวาจะมีผูประกอบการอยูเปนจำนวนมาก<br />

แตมีเพียงไมกี่รายซึ่งมีเรือ 10 ลำขึ้นไป อันเปนการจำกัดความสามารถของผูประกอบการรายเล็กที่จะขยับขยายไปยังภูมิภาคอื่นๆ<br />

56 รายงานประจำป 2553


ตาราง 14 : โครงการนอกชายฝงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตของบริษัทน้ำมัน<br />

Project Country Block/Location Operator Award First oil Total reserves<br />

mboe<br />

Water depth<br />

(m)<br />

Terang Sirasun Indonesia Kangean EMP 2010e 463 200<br />

Pagerungan Utara Indonesia East Java Kangean 2010e<br />

Te Giac Trang Vietnam Block 16-1 Cuu PetroVietnam 2010e 2011e 300 45<br />

Long Basin<br />

South Mahakam Phase 1 Indonesia Kalimantan Total 2012e 200<br />

Malakai Malaysia Block G Shell 2012e 108 480<br />

Pisagan Malaysia Block G Shell 2012e 56 1,000<br />

Bongkot South <strong>Thai</strong>land Gulf of <strong>Thai</strong>land Total 2012e<br />

Gendalo-Gehem Indonesia Kutei Basin Chevron 2010e 2013e 1,100 1,000-1,800<br />

Malikai Malaysia Block G Shell 2010e 2014e 108 480<br />

Voi Trang Vietnam Block 16-1 PetroVietnam 2014e<br />

Sunrise Ph1 Timor/Australia Timor Leste<br />

island<br />

Woodside 2011e 2015e 32,268 180-400<br />

ที่มา: Pareto Research<br />

ขอมูลธุรกิจ<br />

บริษัทฯ ใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำผานบริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด (“MOS”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของเมอรเมด โดยเมอรเมด<br />

ถือหุนอยูรอยละ 100 MOS ใหบริการนักประดาน้ำและเครื่องตรวจสอบใตน้ำ กองเรือของ MOS ไดถูกออกแบบใหเหมาะสำหรับงานวิศวกรรมโยธา<br />

ใตน้ำ ซึ่งสามารถควบคุมการทำงานโดยนักประดาน้ำหรือควบคุมดวยยานสำรวจใตทะเล (ROV) และรวมทั้งเรือที่มีระบบการบังคับตำแหนง<br />

ของเรือแบบอัตโนมัติเชื่อมตอกับสัญญาณดาวเทียม (dynamically positioned vessels) เรือดังกลาวสามารถปฏิบัติงานประดาน้ำที่ความลึก<br />

กวา 300 เมตรไดโดยใชระบบควบคุมและอุปกรณสำหรับดำน้ำลึก (saturation diving system) สำหรับเรือบริการและสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธา<br />

ใตน้ำที่ควบคุมดวยยานสำรวจใตทะเล (ROV) สามารถทำงานในน้ำไดในความลึกกวา 2,000 เมตร การใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำของ<br />

บริษัทฯ มีหลากหลาย ซึ่งรวมถึงการตรวจสอบ การซอมและการบำรุงรักษา และงานกอสรางและติดตั้งและงานสานตอโครงการใหสมบูรณ<br />

(Commissioning Projects)<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 กองเรือของ MOS ประกอบดวยเรือที่ใหบริการและสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ 8 ลำ และระบบควบคุมยาน<br />

สำรวจใตน้ำ 14 เครื่อง รวมทั้งระบบสนับสนุนงานกอสรางหนักในน้ำลึกและน้ำลึกมาก (deepwater and ultra-deepwater heavy construction<br />

class systems) นอกจากนี้ Seascape เปนเจาของเรือสำรวจ/บริการ ซึ่งสามารถใชเพื่อสนับสนุนนักประดาน้ำ เรือสนับสนุนนักประดาน้ำเปนฐาน<br />

ปฏิบัติงานสำหรับนักประดาน้ำ ยานสำรวจใตน้ำ และอุปกรณพิเศษเฉพาะเรือ MOS จางผูเชี่ยวชาญโดยผานสัญญา sub-contract ประมาณ 400<br />

คน นอกเหนือจากพนักงานประจำที่มีอยู แลว เพื่อทำงานเกี่ยวกับโครงการตางๆ ที่ใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ<br />

ผลประกอบการในรอบป 2553<br />

MOS มีรายได 2,550.7 ลานบาท ลดลงรอยละ 14.57 เทียบกับป 2552 และมีผลขาดทุนสุทธิ 362.7 ลานบาท ลดลงรอยละ 275.65 เทียบ<br />

กับป 2552 ดวยอัตราการใชประโยชนจากเรือของ MOS ที่รอยละ 39.54 และอัตราคาเชาตอวันที่ลดลง อัตรากำไรขั้นตนจึงลดลงจากรอยละ 25.28<br />

ในป 2552 เปนรอยละ 18.05 ในป 2553 การรับมอบเรือใหมจำนวน 3 ลำ ทำใหดอกเบี้ยจายและคาเสื่อมราคาเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสำคัญ<br />

ถึง 71.2 ลานบาทและ 423.3 ลานบาท ตามลำดับ เงินทุนจากการกูเพื่อลงทุนและสวนของผูถือหุนของบริษัทมีจำนวน 11,136.7 ลานบาท<br />

การบริหารจัดการกองเรือ ความปลอดภัย และการบำรุงรักษาเรือ<br />

กองเรือของ MOS เติบโตขึ้นอยางมากในป 2553 โดย MOS ไดรับมอบเรือตอใหม 3 ลำ ไดแก เมอรเมด เอเชียนา เมอรเมด เอนดัวเรอร<br />

และเมอรเมด แซฟไฟร อีกทั้งไดเขาซื้อเรือเมอรเมด สยาม ซึ่งเดิมใหเชาระยะยาวแกเมอรเมด<br />

MOS ไดรับการรับรองโดยสถาบันจัดชั้นเรือซึ่งเปนที่ยอมรับตามมาตรฐานสากลหลายสถาบัน และเปนสมาชิกขององคกรการคาที่มีชื่อวา<br />

International Marine Contractors Association (IMCA) ซึ่งเปนองคกรทางการคาทั่วโลก สำหรับบริษัทที่ประกอบการธุรกิจบริการนอกชายฝง<br />

รายงานประจำป 2553 57


บริการของกองเรือ<br />

กองเรือของ MOS ไดรับการรับรองมาตรฐานจากสถาบัน DNV หรือ ABS ซึ่งทั้ง 2 สถาบันเปนสถาบันจัดชั้นเรือชั้นแนวหนา เรือของ MOS<br />

ตองเขารับการตรวจสภาพเรืออยางสม่ำเสมอจากสถาบันจัดชั้นเรือ นอกเหนือจากการเขาอูแหงและเขาซอมบำรุงตามตารางที่กำหนดไว MOS<br />

ใหบริการแกลูกคาในอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝงขั้นตนน้ำตลอดอายุการใชงานของสินทรัพย<br />

1. การสำรวจ<br />

การสำรวจกอนการติดตั้ง ซึ่งไดแก การกำหนดตำแหนงและการใหความชวยเหลือในการติดตั้งแทนขุดเจาะ และการซอมบำรุงอุปกรณใตน้ำ<br />

2. การพัฒนา<br />

การติดตั้งทอสงใตน้ำ ทอขนสง เชือกชวยชีวิต (control umbilicals) ทอและเสา การวางและฝงทอ การติดตั้งและยึดเสาและอุปกรณทอ<br />

การเดินเครื่อง การทดสอบและการตรวจสอบ และการวางและเชื่อมตอสายเคเบิ้ลและเชือกชวยชีวิต<br />

3. การผลิต<br />

การตรวจสอบ การซอมบำรุงและการซอมแซมโครงสรางที่ใชในการผลิต เสา ทอสง และอุปกรณใตน้ำ<br />

4. การรื้อถอน<br />

บริการรื้อถอนและแกไขฟนฟูสถานที่ บริการอุดหลุมและสละหลุมถาวร บริการกูซากและขนยายแทน บริการสละทอสงถาวร และการตรวจสอบ<br />

พื้นที่<br />

กองเรือของเมอรเมดสำหรับใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ มีดังตารางตอไปนี้<br />

ตารางที่ 15 : รายชื่อกองเรือที่ใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำของเมอรเมด<br />

ชื่อเรือ คำอธิบาย<br />

เมอรเมดคอมมานเดอร<br />

เรือใหบริการและสนับสนุนการตรวจสอบซอมแซม กอสราง<br />

ใตน้ำโดยระบบควบคุมการดำน้ำลึก (Saturation Systems)<br />

ปที่สราง<br />

(พ.ศ.)<br />

สัญชาติ<br />

ความยาว<br />

(เมตร)<br />

หองพัก<br />

(จำนวนคน)<br />

2530 ไทย 90 96<br />

เมอรเมดเพอรฟอรมเมอร เรือใหบริการดานการสำรวจ และตรวจสอบโครงสรางใตน้ำ 2525 ไทย 49 30<br />

ของแทนขุดเจาะน้ำมัน<br />

บารราคูดา (1) เรือใหบริการสำรวจและตรวจสอบ 2525 อินโดนีเซีย 39 26<br />

เมอรเมด ชาเลนเจอร เรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำชนิดอเนกประสงค 2551 ไทย 61 38<br />

เมอรเมด สยาม เรือใหบริการสนับสนุนโดยระบบควบคุมการดำน้ำลึก<br />

2545 จาไมกา 90 142<br />

(Saturation Systems)<br />

เมอรเมด แซฟไฟร เรือซึ่งสนับสนุนระบบควบคุมยานสำรวจใตน้ำและนักประดาน้ำ 2553 ปานามา 63 60<br />

เมอรเมด เอเชียนา<br />

เมอรเมด เอนดัวเรอร<br />

เรือใหบริการและสนับสนุนการตรวจสอบซอมแซม กอสราง<br />

ใตน้ำโดยระบบควบคุมการดำน้ำลึก (Saturation Systems)<br />

เรือใหบริการและสนับสนุนการตรวจสอบซอมแซม กอสราง<br />

ใตน้ำโดยระบบควบคุมการดำน้ำลึก (Saturation Systems)<br />

2553 หมูเกาะ<br />

มาแชลล<br />

99 100<br />

2553 ปานามา 95 86<br />

หมายเหตุ (1) เดิมคือ เมอรเมด ซัพพอรตเตอร ซึ่ง Seascape ขายใหกับ MOS ในเดือนตุลาคม 2553 และเปลี่ยนชื่อเปนบารราคูดา พรอมทั้งเปลี่ยนธงเปนอินโดนีเซีย<br />

58 รายงานประจำป 2553


ลูกคา<br />

ลูกคาของ MOS ประกอบดวยผูผลิตและจัดหาน้ำมันและกาซธรรมชาติอิสระรายใหญ บริษัทขนสงทางทอ และบริษัทกอสรางและวิศวกรรม<br />

นอกชายฝง ระดับการบริการที่ลูกคาแตละรายตองการขึ้นอยูกับงบประมาณรายจายฝายทุนของลูกคารายนั้นในปนั้นๆ ดังนั้น ลูกคาที่สรางรายได<br />

เปนสัดสวนที่มีนัยสำคัญในปหนึ่งอาจสรางรายไดจากสัญญาเปนสัดสวนที่ไมมีนัยสำคัญในปตอๆ ไปก็ไดลูกคาอันดับแรกๆ ของธุรกิจงานวิศวกรรม<br />

โยธาใตน้ำของ MOS และสัดสวนรายไดที่ไดรับจากลูกคาดังกลาวตอรายไดรวมของธุรกิจงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ มีดังนี้<br />

ป 2553 ไดแก CUEL Limited, Chevron <strong>Thai</strong>land Exploration and Production Limited, National Petroleum Construction Company,<br />

Mashhor DOF Subsea Sdn. Bhd., PTT Exploration and Production Public Co. Ltd. และ CJSC Romona ซึ่งคิดเปนรอยละ 85 ของรายได<br />

จากธุรกิจงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ<br />

MOS ประมาณวาในป 2553 MOS ไดใหบริการวิศวกรรมโยธาใตน้ำแกลูกคากวา 22 ราย โดยมีจำนวนสัญญา สัญญาที่เขาทำในตะวันออกกลาง<br />

เพิ่มขึ้นจากการที่ MOS เขาซื้อกิจการของ Subtech ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553<br />

พนักงาน<br />

MOS จำเปนตองพึ่งพาบุคลากรที่มีคุณภาพสูง ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 MOS มีพนักงานประมาณ 488 คน (เพิ่มขึ้นจาก 337 คน<br />

ในป 2552) ซึ่งสะทอนถึงการขยายตัวของธุรกิจจากการที่ MOS ไดรับมอบเรือลำใหมซึ่งมีขนาดใหญขึ้นในป 2553<br />

การแขงขัน<br />

การทำสัญญาในธุรกิจทางทะเลมีการแขงขันสูงมาก ในขณะที่ราคาเปนปจจัยอยางหนึ่ง แตความสามารถที่จะจัดหาเรือพิเศษ และวาจางและ<br />

รักษาบุคลากรที่มีทักษะความสามารถ รวมทั้งแสดงประวัติการมีความปลอดภัยที่ดี ก็เปนสวนที่สำคัญเชนกัน คูแขงของ MOS ไดแก Global GEO<br />

ASA, Hallin Marine Subsea International Plc. และ Sarku Engineering Services Sdn. Bhd. รวมถึงบริษัทขามชาติขนาดใหญที่เปนบริษัท<br />

ของยุโรปหรือสหรัฐอเมริกา เชน Subsea 7 Inc., Acergy S.A. และ Helix Energy Solutions Group Inc. บริษัทขามชาติเหลานี้สวนใหญเปน<br />

ผูประกอบธุรกิจทางดานงานวิศวกรรมโยธา งานจัดหา และนายหนารับเหมาโครงการ<br />

ปจจัยบวกและลบสำหรับป 2554 - 2555<br />

ป 2553 เปนปที่อุตสาหกรรมวิศวกรรมโยธาใตน้ำประสบความยากลำบาก เนื่องจากความผันผวนของราคาน้ำมัน ในป 2552 บริษัทน้ำมันและกาซ<br />

ธรรมชาติไดทบทวนและตัดแผนการลงทุนสำหรับป 2553 และ 2554 ในขณะเดียวกัน มีเรือตอใหมจำนวนมากที่ถูกเพิ่มเขาในกองเรือเนื่องจาก<br />

เรือที่สั่งตอในชวงป 2552 ไดสรางเสร็จ นอกจากนี้ ตลาดยังไดรับผลกระทบจากอุบัติเหตุที่บอน้ำมันมาคอนโดในอาวแม็กซิโก ซึ่งกอใหเกิดความ<br />

ไมแนนอนอยางสูงในดานขอกำหนดตามกฎระเบียบและความคาดหมายทั่วโลก สงผลโดยตรงใหสัญญางานวิศวกรรมโยธาใตน้ำจำนวนมาก<br />

ถูกชะลอหรือยกเลิก เมื่อบริษัทตางๆ ไดทำการประเมินขอบเขตและระดับของงานที่จำเปนตองปฏิบัติใหม<br />

เมื่อมองไปในอนาคต บริษัทฯ คาดวาป 2554 จะยังคงเปนปที่ยากลำบากเนื่องจากปริมาณกองเรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำยังคงมีจำนวนมากเกินไป<br />

อยางไรก็ตาม ในระยะกลางถึงระยะยาว บริษัทฯ คาดวาสถานการณสำหรับอุตสาหกรรมวิศวกรรมโยธาใตน้ำจะปรับตัวดีขึ้นเมื่อราคาน้ำมัน<br />

ที่ทรงตัวตลอดป 2553 ชวยสรางบรรยากาศการลงทุนที่ดีขึ้นสำหรับบริษัทน้ำมันและกาซธรรมชาติ สงผลใหบริษัทเหลานี้สามารถเขาลงทุน<br />

ในโครงการใหม และอนุมัติงานตรวจสอบ ซอมแซมและบำรุงรักษาสำหรับเครื่องมืออุปกรณที่มีอยู ซึ่งไดมีการยกเลิกหรือชะลอไปในระหวาง<br />

ป 2553<br />

เปนการยากที่จะประเมินผลสืบเนื่องในระยะยาวจากเหตุการณที่บอน้ำมันมาคอนโด แตเปนที่คาดวาความตองการงานตรวจสอบ ซอมแซม<br />

และบำรุงรักษานาจะสูงขึ้น เนื่องจากหนวยงานกำกับดูแลของรัฐบาลจะกำหนดใหมีการตรวจสอบเครื่องมืออุปกรณที่มีอยูอยางละเอียดและ<br />

ถี่ขึ้น โดยรวมแลว อุตสาหกรรมกำลังเคลื่อนยายไปในพื้นที่ซึ่งแหลงน้ำมันและกาซธรรมชาติแหงใหมมีตนทุนสูงขึ้นและขุดเจาะไดยากขึ้น ในขณะ<br />

เดียวกัน เปนที่คาดวาแรงกดดันทางดานกฎระเบียบจะยังคงสูงขึ้นตอไป คาดไดวาปจจัยเหลานี้จะสงผลทั้งความตองการอยางตอเนื่องที่จะเคน<br />

เอามูลคาเชิงเศรษฐกิจ (economic value) จากเครื่องมืออุปกรณที่มีอยู และความจำเปนที่สูงขึ้นของบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำสำหรับงาน<br />

ตรวจสอบ ซอมแซมและบำรุงรักษา รวมทั้งจะชวยเพิ่มกิจกรรมการสำรวจและการผลิตในพื้นที่หางไกลของโลกซึ่งมีความทาทายยิ่งขึ้น และ<br />

มีความจำเปนตองใชบริการเพื่อชวยเหลือในงานกอสรางและวิศวกรรมโยธาใตน้ำเชนกัน<br />

จากสินทรัพยที่ไดรับมอบในป 2553 ทำใหในปจจุบันเมอรเมดมีเรือที่ทันสมัยซึ่งเปนไปตามขอกำหนดทางดานกฎระเบียบของโลกที่เครงครัดที่สุด<br />

และสามารถปฏิบัติงานไดอยางดีในสภาพแวดลอมที่มีความทาทายทางกายภาพ เชน ทะเลเหนือและซัคคาลิน เนื่องจากเมอรเมดยังคงเสริมสราง<br />

ความสามารถในเชิงเทคนิคของตนตอไปและขยับขยายออกจากพื้นที่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตไปสูตลาดใหมๆ ตลอดป 2553 บริษัทฯ<br />

จึงเชื่อวาเมอรเมดพรอมสำหรับความทาทายทั้งหลายในอนาคต<br />

รายงานประจำป 2553 59


ธุรกิจบริการขุดเจาะ<br />

ถึงแมวาคาใชจายในการเคลื่อนยายเรือขุดเจาะ และความพรอมของเรือที่ใชในการเคลื่อนยาย<br />

เรือขุดเจาะอาจทำใหสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทานในภูมิภาคตางๆ มีความแตกตางกัน<br />

แตมีแนวโนมวาความแตกตางอยางมีนัยสำคัญนี้จะไมมีอยูตอไปในระยะยาวเนื่องจาก<br />

ความสามารถในการเคลื่อนยายไดของเรือขุดเจาะ ดังนั้นจึงนับไดวา MDL มีการดำเนินงาน<br />

อยูในตลาดเรือขุดเจาะนอกชายฝงทั่วโลกที่เสมือนเปนตลาดเดียว<br />

ในรอบหลายปที่ผานมา บริษัทน้ำมันไดใหความสำคัญกับการสำรวจไฮโดรคารบอนในเขตน้ำลึก<br />

มากยิ่งขึ้น ซึ่งเหตุผลหนึ่งในการนี้ก็คือการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีที่ทำใหการสำรวจนั้นมี<br />

ความเปนไปไดและคุมคามากยิ่งขึ้น ดวยเหตุนี้ ความสามารถในการทำงานที่ระดับน้ำลึกจึง<br />

เปนองคประกอบสำคัญในการพิจารณาวาเรือขุดเจาะมีความเหมาะสมสำหรับโครงการขุดเจาะ<br />

นั้น ๆ หรือไม โดยทั่วไป MDL จะถือวาสวนของตลาดระดับน้ำลึก (deepwater) คือสวนซึ่ง<br />

เริ่มตนที่ระดับน้ำลึกประมาณ 4,500 ฟุต และขยายไปจนถึงระดับน้ำลึกที่สุดเทาที่เรือขุดเจาะ<br />

จะสามารถทำการขุดเจาะได ซึ่งปจจุบันคือที่ระดับน้ำลึก 12,000 ฟุต และสวนของตลาด<br />

ระดับน้ำปานกลาง (midwater) คือสวนที่มีระดับน้ำลึกประมาณ 300 ฟุตถึง 4,500 ฟุต<br />

สวนของตลาดเรือขุดเจาะแบบ Tender และ Jack-up ทั่วโลกจะครอบคลุมถึงระดับน้ำลึก<br />

400 ฟุต สวนนี้ไดรับการพัฒนามากกวาสวนของตลาดระดับน้ำลึกอยางมีนัยสำคัญ เนื่องจาก<br />

ระดับน้ำที่ตื้นกวาของสวนนี้ทำใหเรือสามารถเขาถึงไดมากกวาสวนของตลาดที่มีระดับน้ำลึกกวา<br />

ตลาดสำหรับบริการเรือขุดเจาะ (ทั้งแบบ Semis, Drillships และ JUs) ในเอเชียกำลังเปนที่<br />

ทาทาย เนื่องจากเรือขุดเจาะจำนวนมากไดดำเนินงานตามสัญญาเสร็จสิ้นไปแลวในปนี้<br />

มีเรือขุดเจาะจำนวน 11 ลำ ที่พรอมใหบริการ (hot stacked) และจำนวน 35 ลำที่ไมมีสัญญา<br />

อยางไรก็ตาม ภาพรวมสำหรับป 2554 และ 2555 ดีสำหรับเรือขุดเจาะแบบ JUs และ Drillships<br />

ที่มีคุณภาพสูง เนื่องจากอัตราคาเชาและอัตราการใชประโยชนไดฟนตัวแลวจากสาเหตุบาง<br />

ประการ กลาวคือ อัตราคาเชาตอวันทั่วโลกสำหรับตลาดเรือขุดเจาะระหวางประเทศในขณะนี้มี<br />

ความมั่นคงอยูที่ประมาณ 110,000 – 125,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันสำหรับเรือขุดเจาะ<br />

แบบ Jack-ups ที่ทันสมัยและมีสมรรถนะสูง อัตราการใชประโยชนสำหรับตลาดเดียวกันได<br />

เพิ่มขึ้นจากรอยละ 81 ในฤดูรอนที่ผานมา เปนรอยละเกิน 90 อยางไรก็ตาม ตัวเลขอัตราการใช<br />

ประโยชนที่สูงขึ้นนี้ไดรับแรงกระตุนจากอุปสงคที่เพิ่มขึ้น มิใชจากอุปทานที่ลดลง โดยมีสาเหตุ<br />

หลักมาจากการใชจายดานการสำรวจและการผลิตที่สูงขึ้น และการกลับเขาตลาดของบริษัท<br />

น้ำมันอิสระรายเล็กเนื่องจากการที่ตนทุนการจัดหาเงินทุนไดลดลง อีกทั้งการที่ ICOs และ<br />

NOCs มีกิจกรรมเพิ่มขึ้น<br />

ตลาดเรือขุดเจาะแบบ Jack-up ระหวางประเทศมีลักษณะแปลกคือ เรือขุดเจาะจำนวนมาก<br />

ไดสรางขึ้นในยุค 70 และ 80 ซึ่งเปนชวงรุงเรืองของการสั่งตอเรือ ดังนั้น เรือขุดเจาะจำนวนมาก<br />

จึงมีอายุมากกวา 25 ป ขอมูลอายุที่ลักลั่นกันนี้เปนผลดีตอเจาของเรือขุดเจาะตอใหม เนื่องจาก<br />

เรือขุดเจาะลำเกาที่จอดนิ่งและตองการการซอมแซมหรือบำรุงรักษา (cold stacked) หรือที่<br />

อยูในอูเรือ อาจไมไดกลับเขามาในตลาดโดยไดรับอัตราคาเชาตอวัน ณ ปจจุบันอีก ซึ่งเปน<br />

การลดอุปทานสวนเกินในตลาดดวย<br />

60 รายงานประจำป 2553


No. of units ‘10-’12<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

1969<br />

JUs<br />

1974 1979 1984 1989 1994 1999 2004 2009<br />

Drillships Ultra deep>74500 7500>Deep>3000 Semis<br />

ที่มา : Pareto Research, CDS-Petrodata แผนภูมิ 23 : แนวโนมของกองเรือขุดเจาะ<br />

ตลาด “เรือขุดเจาะทองแบน” ระหวางประเทศ : เรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible และ Drillship<br />

ตลาดเรือขุดเจาะทองแบน (เรือทองแบน) ระหวางประเทศ สามารถแบงออกเปนเรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible และ Drillship เรือขุดเจาะ<br />

แบบ Semis และ Drillship ปฏิบัติงานอยูในสภาพระดับน้ำตื้น ระดับน้ำปานกลาง ระดับน้ำลึกและระดับน้ำลึกมาก (โปรดดูคำอธิบายสำหรับเรือ<br />

ขุดเจาะในทุกสภาพทางทะเลในสวน “แบบของเรือขุดเจาะ” ในหนาถัดๆ ไป) ณ เดือนกุมภาพันธ 2553 มีเรือขุดเจาะอยูประมาณ 233 ลำ<br />

ประกอบดวยเรือขุดเจาะแบบ Semis 186 ลำ และแบบ Drillship 48 ลำ ตารางดังตอไปนี้แสดงภาพรวมของกองเรือขุดเจาะทั่วโลก<br />

ตาราง 16 : ภาพรวมกองเรือขุดเจาะทั่วโลก<br />

กองเรือขุดเจาะ ระดับน้ำปานกลาง ระดับน้ำลึก ระดับน้ำลึกมาก<br />

กองเรือขุดเจาะปจจุบัน<br />

Contracted free 2010 34 11 1<br />

Contracted free 2011 20 16 12<br />

Contracted free later 37 28 42<br />

En route / Yard 0 2 6<br />

Hot / Warm stacked 10 1 0<br />

Cold stacked 12 1 0<br />

รวมกองเรือขุดเจาะปจจุบัน 113 59 61<br />

เรือขุดเจาะสั่งตอใหม<br />

Contracted newbuilds 5 3 38<br />

Uncontracted<br />

newbuilds 2010 1 0 6<br />

Uncontracted<br />

newbuilds later 1 0 24<br />

รวมเรือขุดเจาะสั่งตอใหม 7 3 68<br />

รวมกองเรือขุดเจาะ 120 62 129<br />

ที่มา : Pareto Research, CDS-Petrodata<br />

ในเอเชีย ตลาดถูกครองโดยเรือขุดเจาะระดับน้ำตื้นและระดับน้ำปานกลาง เรือขุดเจาะระดับน้ำปานกลางบางลำสามารถทำงานในบางพื้นที่เทานั้น<br />

เนื่องจากขนาดและคุณภาพของเรือ อยางไรก็ตาม กิจกรรมที่ระดับน้ำปานกลาง ระดับน้ำลึกและระดับน้ำลึกมากไดปรับตัวดีขึ้นตลอดป<br />

ตัวอยางเชน อัตราการใชประโยชนที่ระดับน้ำปานกลางในรอบหลายเดือนที่ผานมาอยูในระดับคงที่คือรอยละ 88 ราคาน้ำมันที่มีความแนนอน<br />

สูงขึ้น ปจจัยตางๆ กลาวคือ กิจกรรมของบริษัทน้ำมันที่ขยายตัวมากขึ้น และความพรอมของเรือขุดเจาะลำใหม ใหโอกาสที่ดีแกผูประกอบการ<br />

ของเอเชียในระยะกลาง ในสวนของเรือขุดเจาะแบบ JUs กองเรือขุดเจาะใหมที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัวสูงจะไดรับสัญญาเร็วกวากองเรือที่มี<br />

อายุมาก เมื่ออัตราการใชประโยชนปรับสูงขึ้น ตลาดจะเคลื่อนเขาสูวัฎจักรการตอเรืออีกครั้ง<br />

รายงานประจำป 2553 61


ตลาดบริการการขุดเจาะเปนตลาดวัฎจักรและมีความผันผวน เริ่มจากการสำรวจที่มีความผันผวนสูงสูตลาดการบริการผลิตน้ำมันและกาซ<br />

ธรรมชาติที่มีเสถียรภาพมากกวา<br />

Barge Plattorm Tender rig Jack-up Tender rig Semisub<br />

moored<br />

Semisub DP<br />

Drilling DP<br />

แบบของเรือขุดเจาะ<br />

เรือขุดเจาะแบบ Tender<br />

เรือขุดเจาะชนิดนี้มีรูปรางเปนเรือทองแบน สามารถผูกยึดกับแทนขุดเจาะได บนเรือประกอบดวยหองพักอาศัยสำหรับลูกเรือ ถังเก็บโคลน<br />

ปมสำหรับสูบถายโคลนที่ใชประกอบการปฏิบัติงานขณะขุดเจาะ และเครื่องผลิตกระแสไฟฟา อุปกรณที่ใชในการขุดเจาะพรอมอยูบนเรือ<br />

โดยมีปนจั่นที่สามารถยกแมแรงบนแทนขุดเจาะ จึงไมจำเปนตองอาศัยเรือแมแรงและอุปกรณอื่น<br />

เรือขุดเจาะแบบ Tender นี้ไดถูกพัฒนาสำหรับการผลิตจากกลางแทนขุดเจาะซึ่งใหบริการสำหรับบอขุดเจาะน้ำมันขนาดเล็ก เรือขุดเจาะชนิดนี้จะ<br />

เคลื่อนยายไปปฏิบัติงานตามแทนขุดเจาะไดโดยมีชุดอุปกรณขุดเจาะพรอมบนเรือ โดยปกติแลว เรือเจาะแบบทองแบนนั้น มีขนาดยาว 300 ฟุต<br />

กวาง 80 ฟุต มีระวางบรรทุกประมาณ 4,500 ตัน และสามารถใชไดในระดับความลึกที่บริเวณ 30 - 400 ฟุต เรือเจาะทองแบนนี้ยังสามารถผูกยึด<br />

ไดในที่ความลึกถึง 6,500 ฟุตโดยการใชที่ผูกยึดที่เตรียมไว มีที่พักใหลูกเรือไดมากกวา 100 คน<br />

นอกจากนี้ เรือขุดเจาะแบบ Tender มีอุปสงคในกลุมตลาดเฉพาะที่เรือขุดเจาะแบบ jack-up ไมสามารถเขาถึงได เชน ในพื้นที่ที่มีความหนาแนน<br />

ใตทะเลที่ขาตั้งของเรือขุดเจาะแบบ jack-up ไมสามารถหยั่งลงไปได พื้นที่ที่มีความลึกของชั้นดินที่ออนหรือโคลนซึ่งทำใหขาตั้งของเรือขุดเจาะชนิด<br />

jack-up ไมสามารถวางฐานที่มั่นคงได หรือยายออกเมื่อเสร็จงาน หรือพื้นที่ที่เปนน้ำลึกนอกเหนือจากความสามารถของการเจาะขาหยั่งของเรือขุด<br />

เจาะแบบ jack-up ในขณะที่เรือขุดเจาะแบบ tender สามารถทำไดดวยการผูกยึดกับแทนขุดเจาะไวกอน แมกระนั้นก็ตาม อัตราคาเชาเรือขุดเจาะ<br />

แบบ Tender มักจะตามตลาดขุดเจาะแบบ jack-up เนื่องจากทั้งสองตลาดนี้ถูกขับเคลื่อนดวยวัฎจักรในอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาติ<br />

เรือขุดเจาะแบบ Jack-up<br />

เรือขุดเจาะแบบ Jack-up สามารถเคลื่อนยายไดตามพื้นที่ที่ตองปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานขุดเจาะไดจากตัวเรือโดยตรง ประกอบไปดวย ขา 3<br />

ขา ที่ยืนอยูบนพื้นทองทะเลเพื่อใชยกตัวเรือใหลอยสูงจากระดับน้ำทะเลขณะปฏิบัติการขุดเจาะ และเมื่อตองการยายตำแหนงในการปฏิบัติงาน<br />

จะกระทำไดโดยลดระดับเรือใหลอยอยูบนน้ำทะเล แลวทำการเคลื่อนยายตัวเรือไปยังตำแหนงที่ตองการโดยอาศัยเรือที่ใชสงกำลังบำรุงลากไป<br />

เรือขุดเจาะแบบ Jack-up รุนใหมมีคานสำหรับไวเคลื่อนยายอุปกรณขุดเจาะตามตำแหนงทอตางๆ บนหลุมที่จะทำการขุดเจาะ โดยไมตองยายการ<br />

ติดตั้งอุปกรณขุดเจาะหรือตัวเรือ เรือขุดเจาะแบบ Ultra Premium Jack-up มีขีดความสามารถปฏิบัติงานไดในที่น้ำทะเลลึกมากกวา 300 ฟุต<br />

เรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible<br />

เรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible เปนแทนขุดเจาะที่ลอยอยูเหนือน้ำมีระบบปรับระดับกินน้ำลึกของเรือเพื่อใชปฏิบัติการที่ระดับความลึกของ<br />

น้ำทะเลตางๆ ไดโดยใชถังถวงน้ำอับเฉาในการปรับแตง และเพื่อเปนการชวยลดผลกระทบจากสภาวะตางๆ ในทะเล (คลื่น ลม และกระแสน้ำ)<br />

และชวยการทรงตัวของเรือใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible สามารถติดตรึงอยูกับที่ขณะปฏิบัติงานขุดเจาะโดยใช<br />

การทิ้งสมอหลายๆ ตัวเพื่อยึดตัวเรือ หรือระบบคอมพิวเตอรปรับแตงตำแหนงเรือผานสัญญาณดาวเทียม (Dynamic Positioning) เรือขุดเจาะแบบ<br />

Semi-submersible บางรุนมีเครื่องจักรที่ใชในการขับเคลื่อนตัวเองไปยังตำแหนงใหมได ถึงแมวาเรือขุดเจาะสวนใหญตองอาศัยเรือสงกำลัง<br />

บำรุงในการลากจูง<br />

62 รายงานประจำป 2553


เรือขุดเจาะแบบ Drillships<br />

เรือขุดเจาะแบบ Drillships เปนเรือที่มีเครื่องจักรเคลื่อนตัวเอง รูปรางคลายเรือบรรทุกสินคาทั่วไป สามารถเคลื่อนยายไปปฏิบัติงานในพื้นที่ตางๆ<br />

ไดมากกวาเรือขุดเจาะชนิดอื่นๆ การปฏิบัติงานขุดเจาะจะดำเนินการโดยผานจากชองใตทองเรือที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ (“moon pools”)<br />

เรือแบบ Drillships จะมีขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและบรรทุกน้ำหนักไดมากกวาเรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible rigs และเหมาะ<br />

สำหรับการขุดเจาะนอกชายฝงในและพื้นที่หางไกล เนื่องจากความสามารถในการบรรทุกน้ำหนักไดมากกวาและความสามารถในการเคลื่อนยาย<br />

การตรึงตัวเรือขณะปฏิบัติงานขุดเจาะใชวิธีการทิ้งสมอหลายตัว หรือระบบคอมพิวเตอรปรับแตงตำบลที่เชื่อมอัตโนมัติผานสัญญาณดาวเทียม<br />

เฉกเชนเดียวกันกับเรือขุดเจาะแบบ Semi-submersible<br />

นอกจากนี้ เรือขุดเจาะแบบ Tender มีอุปสงคเฉพาะกลุมในพื้นที่ที่เรือ Jack-up ไมสามารถทำได เชน พื้นที่ที่ถูกจำกัดโดยความหนาแนนใตน้ำ<br />

ซึ่งทำใหไมปลอดภัยที่จะหยั่งขาแทนเจาะลงไป พื้นที่ที่มีชั้นดินออนหรือชั้นโคลนหนา ทำใหเปนการยากที่เรือขุดเจาะจะสามารถหาฐานที่ตั้งซึ่ง<br />

มีความมั่นคง หรือถอนขาแทนเจาะเมื่อดำเนินงานเสร็จ หรือพื้นที่ที่มีระดับน้ำลึกเกินความสามารถที่ขาแทนเจาะของเรือจะหยั่งถึง แตเรือขุดเจาะ<br />

แบบ Tender สามารถเขาถึงไดโดยการใชที่ผูกยึดที่เตรียมไว อยางไรก็ตาม อัตราคาเชาตอวันในตลาดเรือขุดเจาะแบบ Tender โดยทั่วไป<br />

มักจะตามตลาดเรือขุดเจาะแบบ Jack-up เนื่องจากวัฎจักรของทั้งสองตลาดถูกผลักดันโดยวงจรของอุตสาหกรรมของน้ำมันและกาซธรรมชาติ<br />

ขอมูลธุรกิจ<br />

MDL เปนผูใหบริการรับจางดำเนินงานขุดเจาะหลุมน้ำมันและกาซธรรมชาตินอกชายฝงระหวางประเทศ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 MDL<br />

เปนผูถือกรรมสิทธิ์สวนใหญในเรือขุดเจาะแบบ Tender (tender assist drilling units) จำนวน 2 ลำ ธุรกิจหลักของ MDL คือการรับจางใหบริการ<br />

เรือขุดเจาะและอุปกรณที่เกี่ยวของ รวมทั้งจัดหาแรงงานซึ่งคิดคาจางแบบรายวันเปนหลัก เพื่อการขุดเจาะหลุมน้ำมันและกาซธรรมชาติ<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 กองเรือขุดเจาะของ MDL ปฏิบัติอยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใตและตะวันออกกลาง<br />

ผลประกอบการในรอบป 2553<br />

ธุรกิจบริการการขุดเจาะมีรายได 1,123.3 ลานบาท ลดลงรอยละ 49.64 เทียบกับป 2552 และมีผลขาดทุนสุทธิ 107.3 ลานบาท ลดลงรอยละ<br />

117.6 เทียบกับป 2552 ผลขาดทุนนี้รวมขาดทุนจำนวน 80.9 ลานบาทจากการขายเรือขุดเจาะ เคเอ็ม-1<br />

การบริหารจัดการกองเรือ ความปลอดภัย และการบำรุงรักษาเรือ<br />

ปจจุบัน MDL ปฏิบัติการเรือขุดเจาะแบบ Tender (tender-assisted drilling rig) ซึ่งมีความเหมาะสมตองานขุดเจาะเพื่อการผลิตน้ำมันและกาซ<br />

ธรรมชาติ (production drilling) ที่ระดับน้ำตื้นและสภาวะที่สงบ เรือขุดเจาะของ MDL เปนแบบเคลื่อนยายได และสามารถยายไปยังพื้นที่ใหม<br />

ตามความตองการของลูกคา เรือขุดเจาะของ MDL ไดรับการออกแบบใหสามารถทำงานนอกทาเรือเปนระยะเวลานาน และสวนใหญจะมี<br />

หองพักอาศัยสำหรับลูกเรือ ลานจอดเฮลิคอปเตอร และพื้นที่จัดเก็บสำหรับทอและอุปกรณที่ใชในการขุดเจาะ<br />

ตาราง 17 : รายชื่อกองเรือขุดเจาะ<br />

ชื่อเรือ ปที่สราง/ปที่มี<br />

การปรับปรุงลาสุด<br />

สมาคมจัดอันดับ<br />

ชั้นเรือ<br />

ความลึกใตทะเล<br />

(เมตร)<br />

ความลึกที่ขุดได (เมตร)<br />

กานเจาะ 5 นิ้ว<br />

ขนาดบรรทุก<br />

เอ็มทีอาร-1 2521/2541 ABS 100 6,100 112 คน<br />

เอ็มทีอาร-2 2524/2540/2550 BV 100 3,350 115 คน<br />

ที่มา : TTA<br />

เรือขุดเจาะของ MDL เปนเรือขุดเจาะที่ซื้อมาจากตลาดมือสองในเดือนเมษายนและกรกฏาคม ป 2548 ตามลำดับ เรือขุดเจาะทั้ง 2 ลำ จดทะเบียน<br />

เปนเรือสัญชาติไทย โดยมีบริษัทยอยของ บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค จำกัด คือ บริษัท เอ็มทีอาร-1 จำกัด (“เอ็มทีอาร-1”) และบริษัท เอ็มทีอาร-2<br />

จำกัด (“เอ็มทีอาร-2”) เปนเจาของเรือ เรือขุดเจาะเอ็มทีอาร-1 สรางขึ้นในป 2521 และไดรับการซอมบำรุงในป 2541 และ 2549 สามารถอยู<br />

ในระดับน้ำลึกไดถึง 100 เมตร และสามารถเจาะลึกลงไปในความลึกถึง 6,100 เมตร ของผิวดิน และบรรทุกคนไดถึง 112 คน เรือขุดเจาะ<br />

เอ็มทีอาร-2 สรางขึ้นในป 2524 และไดรับการซอมบำรุงในป 2540 สามารถอยูในระดับน้ำลึกไดถึง 100 เมตร และสามารถเจาะลึกลงไปใน<br />

ความลึกถึง 3,350 เมตร ของผิวดิน และบรรทุกคนไดถึง 115 คน<br />

รายงานประจำป 2553 63


เรือขุดเจาะทั้งสองลำไดรับการจัดอันดับชั้นจากสมาคมจัดอันดับชั้นเรือที่มีชื่อเสียง โดยจัดลำดับจากมาตรฐานของการปฏิบัติงานและความ<br />

ปลอดภัย เรือขุดเจาะทั้งสองลำดังกลาวไดถูกจัดลำดับโดยสมาคมจัดชั้นเรือนานาชาติ อาทิ Det Norske Veritas (“DNV”), American Bureau of<br />

Shipping (“ABS”) หรือ Bureau Veritas (“BV”) โดยเรือขุดเจาะเอ็มทีอาร-1 ถูกจัดลำดับชั้นโดย ABS และเรือขุดเจาะเอ็มทีอาร-2 ถูกจัดลำดับ<br />

ชั้นโดย BV สมาคมจัดชั้นเรือดังกลาวจะเขามาตรวจสภาพเรือทุกป เรือขุดเจาะทั้ง 2 ลำ เขาอูแหงทุกๆ 5 ป และไดรับการตรวจสภาพแบบพิเศษจาก<br />

สมาคมจัดอันดับชั้นเรือตางๆ ดังกลาว<br />

บริการของกองเรือ<br />

สัญญาใหบริการขุดเจาะนอกชายฝงของ MDL จะมีการเจรจาตอรองเปนรายๆ ไป และมีเงื่อนไขและขอกำหนดที่แตกตางกัน MDL ไดรับสัญญา<br />

มาจากการประมูลแขงขันกับผูรับจางรายอื่นๆ เปนสวนใหญ สัญญาวาจางในการขุดเจาะจะกำหนดเงื่อนไขการชำระเงินเปนอัตรารายวัน<br />

โดยใชอัตราที่สูงกวาในชวงที่เรือขุดเจาะปฏิบัติงาน และอัตราที่ต่ำลงในชวงของการเตรียมการหรือเมื่อการปฏิบัติงานขุดเจาะหยุดชะงักหรือ<br />

ถูกจำกัดเนื่องจากความเสียหายของอุปกรณ สภาพอากาศที่รายแรง หรือสภาพอื่นๆ ซึ่งอยูนอกเหนือการควบคุมของ MDL<br />

สัญญาวาจางในการขุดเจาะไดรับมาจากการประมูลหรือจากการเจรจา ระยะเวลาของสัญญาก็แตกตางกันขึ้นอยูกับพื้นที่ทางภูมิศาสตร<br />

สภาพธรณีวิทยาที่จะตองขุดเจาะ อุปกรณและการบริการ สภาพพื้นที่ที่จะขุดเจาะ และระยะเวลาการทำงานที่คาดวาจะแลวเสร็จ<br />

สัญญาใหบริการขุดเจาะซึ่งใชอัตราคาบริการรายวันมักมีระยะเวลาที่ครอบคลุมชวงเวลาของงานขุดเจาะสำหรับหลุมเดี่ยวหรือหลุมที่เปนกลุม<br />

หรือมีระยะเวลาตามที่กำหนด สำหรับสัญญาบางฉบับที่ MDL เขาทำกับลูกคา ลูกคาสามารถขอใชสิทธิบอกเลิกไดโดยชำระคาปรับในการบอกเลิก<br />

สัญญากอนกำหนด อยางไรก็ตาม คาปรับในการบอกสัญญากอนกำหนดดังกลาวอาจจะไมสามารถชดเชยสำหรับการสูญเสียสัญญาใหแก<br />

MDL ไดทั้งหมด ตามธรรมเนียมปฏิบัติ สัญญาจะรวมขอกำหนดการบอกเลิกสัญญาโดยอัตโนมัติหรือการใชสิทธิบอกเลิกสัญญาโดยลูกคา<br />

โดยไมตองชำระคาปรับในการบอกเลิกสัญญากอนกำหนดในกรณีตางๆ อาทิ การไมปฏิบัติตามสัญญา การที่เครื่องจักรไมสามารถทำงานได<br />

หรือความบกพรองในการปฏิบัติงานอันเนื่องจากอุปกรณ หรือปญหาเกี่ยวกับการดำเนินงาน หรือเมื่อเครื่องจักรไมสามารถทำงานไดเปนระยะ<br />

เวลานานเนื่องจากเหตุสุดวิสัย ซึ่งกรณีตาง ๆ เหลานี้สวนใหญอยูนอกเหนือการควบคุมของ MDL นอกจากนี้ ในบางครั้งลูกคาอาจขอใชสิทธิขยาย<br />

ระยะเวลาของสัญญาออกไปเพื่อทำการขุดเจาะหลุมเพิ่มเติม หรืออาจขอขยายระยะเวลาของสัญญาออกไปอีกระยะหนึ่ง<br />

ในบางภูมิภาคของโลก มีธรรมเนียมและวิธีปฏิบัติในทองถิ่นหรือขอกำหนดของรัฐบาลซึ่งกำหนดใหตองจัดตั้งกิจการรวมคาขึ้นรวมกับผูประกอบ<br />

การในทองถิ่นซึ่ง MDL อาจมีอำนาจควบคุมไดหรือไมมีอำนาจควบคุม<br />

ลูกคา<br />

MDL ดำเนินงานขุดเจาะนอกชายฝงใหแกบริษัทน้ำมันระหวางประเทศชั้นนำหลายบริษัท รวมทั้งบริษัทน้ำมันซึ่งอยูในความควบคุมของรัฐบาลและ<br />

บริษัทน้ำมันอิสระ ในรอบบัญชี 2553 ลูกคารายสำคัญเพียงรายเดียวของ MDL คือ Chevron Indonesia Company มีสวนแบงรายไดใหกับ MDL<br />

คิดเปนกวารอยละ 95 ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 เรือขุดเจาะเอ็มทีอาร-1 ไมไดอยูภายใตสัญญาแตมีความพรอมที่จะใหบริการ (warm<br />

stacked) เปนเรือชนิด Accommodation Work Barge ภายหลังจากที่หมดอายุสัญญาซึ่งทำไวกับ Cudd Pressure Control Inc. สวนเรือขุดเจาะ<br />

เอ็มทีอาร-2 จะยังคงปฏิบัติงานตามสัญญาที่ทำไวกับ Chevron Indonesia Company ตอไปจนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554<br />

พนักงาน<br />

MDL ตองการบุคลากรซึ่งมีทักษะความสามารถสูงเพื่อการปฏิบัติงานเรือขุดเจาะ ดังนั้น MDL จึงไดดำเนินโครงการจัดหาและฝกอบรมบุคคลากร<br />

และโครงการเพื่อความปลอดภัยของบุคลากรอยางครอบคลุม ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 MDL มีพนักงาน 178 คน<br />

คูแขง<br />

คูแขงรายสำคัญของ MDL คือบริษัทผูใหบริการขุดเจาะนอกชายฝงทั่วโลกหรือในภูมิภาค ซึ่งรวมถึง SeaDrill Limited และ Global Tender Barges<br />

ในการพิจารณาคัดเลือกผูรับจางซึ่งมีเรือขุดเจาะที่เหมาะสมเพื่อเขาปฏิบัติงาน ราคามักเปนปจจัยหลัก นอกจากนี้ ยังมีปจจัยในการแขงขันอื่นๆ อีก<br />

ไดแก ความพรอมของเรือขุดเจาะ ประวัติความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ชื่อเสียงทางดานคุณภาพ ประสบการณของลูกเรือ และสภาพของ<br />

อุปกรณและประสิทธิภาพ<br />

64 รายงานประจำป 2553


ตารางดานลางนี้แสดงถึงบริษัทผูเปนเจาของเรือขุดเจาะ<br />

ตาราง 18 : ตลาดเรือขุดเจาะ<br />

ชื่อบริษัทที่เปนเจาของเรือ จำนวนเรือที่เปนเจาของ จำนวนเรือที่กำลังสราง รวม<br />

SeaDrill Ltd. 14 3 17<br />

KCA Deutag 7 0 7<br />

Mermaid Drilling Ltd. 2 1 3<br />

Global Tender Barges 3 0 3<br />

PDVSA 2 0 2<br />

Others 0 3 3<br />

รวม 28 7 35<br />

ที่มา : Fearnleys<br />

ปจจัยบวกและลบสำหรับป 2554 - 2555<br />

ในขณะที่ผูประกอบการจำนวนมากของโลกเนนที่ตลาดบริการการขุดเจาะที่ระดับน้ำลึก แตตลาดนี้ตองการใชเงินลงทุนจำนวนมาก และ<br />

ถูกครองโดยลูกคารายใหญเพียงไมกี่ราย ซึ่งลูกคารายสำคัญที่สุดคือ Petrobas ดวยขนาดของเมอรเมด ปจจุบัน จึงยังไมมีความเหมาะสม<br />

ที่บริษัทฯ จะเขาลงทุนในเรือขุดเจาะสำหรับตลาดนี้<br />

อยางไรก็ตาม ยังมีโอกาสที่นาสนใจอื่นๆ อีกมากในตลาดบริการการขุดเจาะนอกชายฝงสำหรับเรือขุดเจาะที่ใหมและทันสมัย เนื่องจากลูกคา<br />

กำลังมองหาเรือขุดเจาะที่มีความเร็ว ความปลอดภัย ความคลองตัว และความสามารถสูงกวากันมากขึ้น เพื่อตอบสนองความตองการของตน<br />

ดังนั้น บริษัทฯ จึงพบบอยขึ้นวาลูกคาไดกำหนดขอจำกัดเกี่ยวกับอายุของเรือขุดเจาะซึ่งสามารถเขาประมูลได และถึงแมวาจะไมมีขอกำหนด<br />

ในเรื่องนี้ แตจะมีเพียงเรือขุดเจาะที่ทันสมัยเทานั้นซึ่งสามารถเปนไปตามขอกำหนดเฉพาะทางเทคนิคที่ลูกคากำหนดได<br />

เปนที่เห็นไดอยางชัดเจนในตลาดเรือขุดเจาะแบบ Jack-up วาอัตราคาเชาและอัตราการใชประโยชนของเรือขุดเจาะแบบ Jack-up ที่มีอายุมาก<br />

ไดลดลงและจะยังคงลดลงตอไปอีก ในขณะที่เรือขุดเจาะแบบ Jack-up ซึ่งใหมและทันสมัยจะมีอัตราคาเชาและอัตราการใชประโยชนที่สูง<br />

การลงทุนของเมอรเมดใน AOD และเรือขุดเจาะแบบ Jack-up ที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัวสูงและทันสมัยจึงเปนกาวที่สำคัญไปสูการตอบสนอง<br />

ความตองการที่สูงขึ้นของลูกคา และบริษัทฯ เชื่อมั่นวาบริษัทฯ จะประสบความสำเร็จในการจัดหาสัญญาระยะยาวซึ่งมีความนาสนใจสำหรับ<br />

เรือขุดเจาะเหลานี้กอนที่จะมีการสงมอบเรือ<br />

ธุรกิจเหมืองถานหิน<br />

ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552 บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้ง พีทีอี แอลทีดี ไดเขาซื้อหุนรอยละ 21.18 ของเมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี (“เมอรตัน”)<br />

ซึ่งเปนกลุมการลงทุนที่มีฐานในประเทศฮองกง เพื่อพัฒนาสินทรัพยที่เปนถานหินในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟค เมอรตันไดรวมลงทุนกับ SKI<br />

Construction Group, Inc. ในประเทศฟลิปปนสเพื่อจัดตั้งกิจการรวมคาที่มีชื่อวา SKI Energy Resources Inc. (“SERI”) SERI มีพื้นที่สัมปทาน<br />

เหมืองมากกวา 12,500 เฮกตารในเซบู ประเทศฟลิปปนส เหมืองแหงแรกของ SERI อยูที่ดาเนา (Danao) ซึ่งอยูใน Cebu เชนกัน สามารถ<br />

ผลิตถานหินไดเปนครั้งแรกในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 และเริ่มทำการขายถานหินครั้งแรกในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 ที่เหมืองดาเนา SERI<br />

มีสัญญาซื้อขายถานหินใหกับ Glencore AG ตราบใดที่เหมืองมีถานหินที่ขุดได (offtake agreement) และ SERI ก็ยังคงสำรวจและขุดเจาะ<br />

เพื่อหาความเปนไปไดในเหมืองแหงใหมตอไป ในขณะเดียวกัน เมอรตันและ SERI กำลังขอสัมปทานทั้งในประเทศฟลิปปนสและที่อื่นๆ<br />

ในภูมิภาค<br />

เมื่อบริษัทฯ ไดดำเนินการลงทุนในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับถานหินผานการลงทุนในเมอรตันนั้น กลุมบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

มีการขนสงถานหินเปนจำนวนมากอยูแลว และเห็นวาตลาดถานหินจะไปสูระดับที่แข็งแกรง ตลอดชวง 12 ถึง 18 เดือนที่ผานมา ตลาดถานหินมี<br />

ความแข็งแกรงเปนไปตามความคาดหมาย ความตองการถานหินจึงนาจะสดใสตลอดหลายปขางหนานี้ ดังจะเห็นไดจากรายงานการวิเคราะห<br />

สถานการณตลาดถานหินทั่วโลกในมุมมองของอุปสงคและอุปทานที่จะไดกลาวถึงตอจากนี้<br />

รายงานประจำป 2553 65


ภาพรวมของถานหินประเภทใหความรอน (Thermal Coal)<br />

การเปลี่ยนแปลงอยางมากในทิศทางของสินคากอใหเกิดรูปแบบการกำหนดราคาที่ไมปกติ<br />

ตลาดถานหินประเภทใหความรอนที่ขนสงโดยเรือเดินทะเลของโลกเผชิญการเปลี่ยนแปลงอยางมากในดานทิศทางของการนำเขาและการสงออก<br />

ในรอบ 18 เดือนที่ผานมา จีนซึ่งเคยอยูในระดับกลางๆ ในดานการนำเขาสุทธิในป 2551 ไดกลายเปนผูนำเขาสุทธิรายใหญในป 2552 กระบวนการ<br />

นี้ยังคงดำเนินอยูในตนป 2553 แอฟริกาใตซึ่งแตเดิมนั้น สินคาสงออกสวนใหญจะเคลื่อนยายเขาสูภูมิภาคแอตแลนติก ในปจจุบัน พบวามีสินคา<br />

สงออกเปนจำนวนถึงรอยละ 75 ที่มุงหนาสูอินเดียและภูมิภาคแปซิฟค แมกระทั่งโคลอมเบียยังไดเริ่มการนำเขาไปยังภูมิภาคแปซิฟค<br />

ซึ่งทำใหตลาดดั้งเดิมของตนออนแอ<br />

แผนภูมิ 24 ทิศทางการคาถานหินประเภทใหความรอนไดเคลื่อนเขาสูภูมิภาคแปซิฟคมากขึ้น<br />

36mt<br />

Russia<br />

84mt<br />

12mt<br />

USA<br />

11mt<br />

USA<br />

19mt<br />

15mt<br />

Colombia<br />

69mt<br />

9mt<br />

32mt<br />

W Europe<br />

106mt<br />

15mt<br />

E Europe<br />

33mt<br />

26mt<br />

27mt<br />

8mt<br />

India<br />

75mt<br />

45mt<br />

55mt<br />

China<br />

18/102mt<br />

Vietnam<br />

18mt<br />

Indonesia<br />

105mt<br />

Japan, Korea,<br />

Taiwan<br />

255mt<br />

10mt<br />

112mt<br />

Major exporter<br />

Major importer<br />

S Africa<br />

66mt<br />

285mt<br />

Australia<br />

138mt<br />

China imports/exports<br />

10mt into North Asia<br />

ที่มา: GTIS, Macquarie Research, มิถุนายน 2553<br />

การปรับเปลี่ยนรูปรางของการคาโลกไดนำไปสูรูปแบบการกำหนดราคาที่ไมปกติบางอยาง ราคาสำหรับการสงมอบในยุโรป (API#2) ในตอน<br />

เริ่มตนของป ออนตัวลงเปนอยางมาก โดยสัมพันธกับที่อื่นๆ ราคาเหลานี้ไดออนตัวลงจนกระทั่งต่ำกวาราคาเอฟโอบี ริชารดส เบย ซึ่งแสดงถึง<br />

ปริมาณสินคาติดลบ ความแตกตางของราคาเหลานี้ไดเรงการผลักดันถานหินจากภูมิภาคแอตแลนติกไปยังภูมิภาคแปซิฟค<br />

110 110<br />

Month ahead forward price (USD/t)<br />

100<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

100<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

Month ahead forward price (USD/t)<br />

50 Jan<br />

09 Feb<br />

09 Mar<br />

09 Apr<br />

09 May<br />

09 Jun<br />

09<br />

FOB Newcastle<br />

Jul<br />

09 Aug<br />

ที่มา: McClosky, globalCOAL, Macquarie Research, มิถุนายน 2553<br />

09 Sep<br />

09 Oct<br />

09 Nov<br />

09 Dec<br />

09 Jan<br />

10 Feb<br />

10 Mar<br />

10 Apr<br />

10 May<br />

10 Jun<br />

10<br />

Thermal coal prices<br />

FOB South Africa<br />

Delivered Europe<br />

50<br />

แผนภูมิ ภมิ 25 : จนกระทั่งเมื่อเร็วๆ นี้ ราคาสงมอบ<br />

ยุโรปไดออนตัวลงคอนขางมาก<br />

66 รายงานประจำป 2553


การตกลงสัญญาของญี่ปุนที่ 98 ดอลลารสหรัฐอเมริกา คือจุดเริ่มตนของความสมดุลของอุปสงค-อุปทานที่เขาใกลกัน<br />

ในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมากในตลาดการขนสงทางทะเล แนวโนมนับตั้งแตเดือนมีนาคมมีการปรับตัวขึ้นโดยทั่วไป สัญญาที่ใชป<br />

การเงินของญี่ปุนซึ่งทำกับ JPUs มีการตกลงที่ราคาสูงกวาระดับที่คาดหมาย คือ 98 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตัน โดยราคา spot มีการเคลื่อนไหว<br />

โดยทั่วไปที่สอดคลองกับเหตุการณที่นาแปลกใจนี้<br />

มีเหตุผลที่ดีที่จะเชื่อไดวาราคาถานหินประเภทใหความรอนจะยังคงสูงขึ้นตอไปเมื่อเคลื่อนเขาสูป 2554 และปตอๆ ไป นักวิเคราะหไดปรับราคา<br />

เงินเยนขึ้นเปน 105 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตันในป 2554 และ 100 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตันในป 2555 และที่เฉลี่ย 90 ดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

ตอตันเมื่อเคลื่อนเขาสูป 2558 นอกจากนี้ นักวิเคราะหไดปรับสมมุติฐานราคาระยะยาวจาก 75 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตัน เปน 80 ดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกาตอตัน ตามเงื่อนไขราคาดอลลารสหรัฐอเมริกาของป 2553 เปรียบเทียบกับ 95 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตัน ตามเงื่อนไขราคา<br />

ดอลารสหรัฐอเมริกา ณ ปจจุบัน<br />

นักวิเคราะหคาดวายุโรปจะมีความมั่นคง<br />

มีปจจัยหลายอยางที่ทำใหนักวิเคราะหมั่นใจกับโอกาสในระยะใกล ถึงแมวาจะมีความกังวลทางดานเศรษฐกิจที่รบกวนตลาดอยูในขณะนี้ ปจจัย<br />

อยางแรกคือ เปนที่ปรากฏวาอุปสงคในยุโรปจะมีความมั่นคง โดยราคา API#2 ไดปรับตัวขึ้นอยางมากตลอดเดือนที่ผานมา ซึ่งอาจเปนการสะทอน<br />

ในบางสวนถึงการเก็งราคาถานหินของธนาคารเพื่อการลงทุนของสหรัฐอเมริกาที่ในเวลานี้ไดไปผิดทิศทางแลว แตขอมูลการนำเขาที่เร็วสำหรับ<br />

ยุโรปชี้ใหเห็นวาสภาวะของอุปสงคอาจจะไมเลวรายไปกวาที่เปนอยูในปจจุบัน<br />

เปนขอเท็จจริงที่ไมอาจโตแยงไดวาอุปสงคของถานหินมีความออนตัวมาก การนำเขาของสเปนและสหราชอาณาจักรไดถดถอยไปถึงรอยละ 50<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมา ในชวงสองเดือนแรกของปนี้ และการนำเขาของเยอรมันไดลดลงไปรอยละ 28 เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมา<br />

สำหรับทั้งปโดยรวม นักวิเคราะหคาดวาการนำเขาของยุโรปตะวันตกจะลดลงไป 13 ลานตันจากระดับของปที่แลว<br />

mt annualised<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

Mar 08 Sep 08 Mar 09 Sep 09 Mar 10<br />

UK Steam Coal Imports German steam coal imports<br />

ที่มา: Eurostat, Macquarie Research, มิถุนายน 2553<br />

แผนภูมิ 26 : การนำเขาของสหราชอาณาจักรและ<br />

เยอรมนีไมปรากฏวาจะเลวรายลง<br />

Utility stocks (mt hard coal)<br />

24<br />

22<br />

20<br />

18<br />

16<br />

14<br />

12<br />

8<br />

6<br />

Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec<br />

ที่มา: McCloskey, Macquarie Research, มิถุนายน 2553<br />

2007 2008 2009 2010<br />

แผนภูมิ 27 : ปริมาณสินคาของสหราชอาณาจักร<br />

กำลังปรับตัวจากระดับที่สูงมากซึ่งเห็นไดในชวง<br />

กอนหนานี้ของป<br />

รายงานประจำป 2553 67


อยางไรก็ตาม จากมุมมองของไตรมาสตอไตรมาส นักวิเคราะหไมคิดวาอุปสงคของถานหินประเภทใหความรอนจะเลวรายมากจนเกินไป ในขณะ<br />

ที่สเปนกำลังพยายามออกกฎระเบียบภายในประเทศเพื่อบังคับใหผูผลิตไฟฟาอิสระใชถานหินภายในประเทศ สเปนจะยังคงตองนำเขาถานหิน<br />

บางสวนเพื่อที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกำเนิดของสหภาพยุโรป (EU emission standards) และในขณะที่การนำเขาของ<br />

สหราชอาณาจักรออนตัวลงมากเมื่อปริมาณสินคาไดลดลง การฟนตัวของกิจกรรมในเยอรมนีกำลังชวยบรรเทาดานลบนี้ไว นอกจากนี้ การปรับขึ้น<br />

ของราคากาซไดชวยกระตุนความนาสนใจของถานหินในภูมิภาคนี้<br />

ปรากฏการณนี้มีความสำคัญถึงแมวาความมั่นคงของอุปสงคในยุโรปจะหยุดกระแสของการขนสงออกจากภูมิภาคแอตแลนติกเขาสูภูมิภาค<br />

แปซิฟค ปรากฏการณนี้มีความสำคัญนับตั้งแตจุดเริ่มตนของป ตัวอยางเชน ในเดือนมกราคม สินคาสงออกถึงรอยละ 50 จากริชารดเบยเดินทาง<br />

เขาสูภูมิภาคแอตแลนติก ปจจุบัน ตัวเลขนั้นเหลือเพียงรอยละ 25 โดยสินคาสงออกรอยละ 50 มุงหนาไปยังอินเดีย กระแสการสงออกนี้ ชวยรักษา<br />

ระดับอุปสงคในตลาดที่แข็งแกรงกวามากในอินเดียและภูมิภาคแปซิฟค<br />

อุปทานที่จำกัดภายนอกประเทศอินโดนีเซีย<br />

อุปทานจากผูสงออกรายใหญ ยกเวนอินโดนีเซีย มีความจำกัดมากกวาที่คาดไวในปนี้ การสงออกถานหินประเภทใหความรอนจากออสเตรเลียได<br />

ออนตัวลงในชวง 4 เดือนแรก และต่ำกวาระดับของปที่แลว 2.5 ลานตน สวนหนึ่งเนื่องมาจากปญหาของรถไฟและสภาพอากาศ แตก็ยังมีสาเหตุมา<br />

จากการใหความสำคัญกับการขนสงถานหินโคกมากกวาเมื่อเปรียบเทียบกับปที่แลว ที่จริงแลว การขนสงที่ริชารด เบย เริ่มตนขึ้นกอนหนาปที่แลว<br />

ถึงแมวาจะมีการนัดหยุดงานของสายการเดินเรือ มีคำถามวาสถานการณนี้จะยังคงดำเนินอยูในเดือนตอๆ ไปหรือไม การผลิตในโคลอมเบียมี<br />

ความซบเซาพอสมควร สวนการสงออกของรัสเซียที่มีความแข็งแกรงกวาสวนใหญมุงหนาไปที่ตลาดในภูมิภาคแอตแลนติก<br />

38 mt 65%<br />

36<br />

34<br />

60%<br />

32<br />

30<br />

55%<br />

28<br />

26<br />

50%<br />

24<br />

45%<br />

22<br />

20<br />

40%<br />

1Q07 2Q07 3Q07 4Q07 1Q08 2Q08 3Q08 4Q08 1Q09 2Q09 3Q09 4Q09 1Q10 2Q10 3Q10E<br />

Australian Thermal exports (LHS)<br />

Thermal % of total (RHS)<br />

ที่มา: Eurostate, Macquarie Research, มิถุนายน 2553<br />

แผนภูมิ ภมิ 28 : มีการกลับไปใชถานหินโคก<br />

านหินโคก<br />

เปนอยางมากในออสเตรเลีย<br />

mt<br />

400<br />

45%<br />

350<br />

300<br />

40%<br />

250<br />

35%<br />

200<br />

150<br />

30%<br />

100<br />

25%<br />

50<br />

0<br />

20%<br />

Jan 08 Apr 08 Jul 08 Oct 08 Jan 09 Apr 09 Jul 09 Oct 09 Jan 10 Apr 10 Jul 10<br />

Sub-bitunimous (LHS) Bituminous (LHS) Sub-bitunimous proportion (RHS)<br />

ที่มา: McCloskey, Macquarie Research, มิถุนายน 2553<br />

แผนภูมิ 29 : การตอบสนองทางดานอุปทานของ<br />

องทางดานอุปทานขอ<br />

อินโดนีเซียอยูในระดับที่สูงมาก โดนีเซียอยในร ถึงแมวาสวน<br />

ที่เพิ่มขึ้นนั้นคือซับบิทูมินัส<br />

68 รายงานประจำป 2553


อุปทานของอินโดนีเซียมีความแข็งแกรงขึ้นมากในไตรมาสที่ 4 ของป 2552 และไตรมาสแรกของป 2553 โดยเมื่อคิดเปนรายป มีปริมาณใกลเคียง<br />

กับ 300 ลานตัน จึงเปนการยากที่จะดำรงการเติบโตยิ่งขึ้นตอไป เนื่องจากฝนในเดือนเมษายนจะทำใหการขนสงชะงักงัน และแผนการผลิตไฟฟาใน<br />

ประเทศจะไดรับการตอบสนองมากขึ้นในปลายป นอกจากนี้ สัดสวนที่เพิ่มขึ้นของการสงออกเมื่อเร็วๆ นี้ยังเปนสวนของถานหินซับบิทูมินัสดวย<br />

ซึ่งชี้วาจากพื้นฐานที่ไดมีการปรับปรุงทางดานพลังงาน ดานการสงออกถานหินไมไดเติบโตขึ้นเร็วเทากับระดับที่ขอมูลบงชี้<br />

อุปสงคที่กำลังเพิ่มขึ้น - จับตาจีนและอินเดีย<br />

ในขณะที่อุปทานลดลงจากระดับซึ่งเห็นในไตรมาสที่ 4 ของป 2551 ปรากฏวาอุปสงคมีความแข็งแกรง การนำเขาถานหินไปในเกาหลี ญี่ปุน<br />

และไตหวันปรับตัวสูงขึ้น จีนและอินเดียซึ่งเปนตัวขับเคลื่อนที่สำคัญของอุปสงคของถานหินกำลังกาวตอไป การสงออกของอินเดียกำลังสูงขึ้น<br />

แตมีการเพิ่มขึ้นอยางมากในการนำเขาสุทธิของจีน ซึ่งเปนที่นาสนใจที่สุด คืออยูที่ระดับปละ 107 ลานตัน<br />

ในระยะสั้น อาจมีขอกังวลเกี่ยวกับการชะลอตัวในจีน ซึ่งอาจนำไปสูการออนตัวลงบางในตลาดถานหินที่ขนสงทางทะเล เปนที่ปรากฏวาตลาด<br />

ถานหินของจีนมีสมดุลที่ดีพอสมควร โดยปริมาณสินคาไดเพิ่มขึ้นถึงระดับที่นาสบายใจขึ้น ราคาในประเทศดูเหมือนวาไดหยุดการปรับขึ้นแลว<br />

และอาจลดลงบางในเดือนตอๆ ไป<br />

อยางไรก็ตาม ถานหินนำเขาจากบางทาเรือยังคงมีราคาคอนขางแพง และราคาในประเทศเมื่อเปรียบเทียบกับราคามาตรฐานนิวคาสเซิลยังคง<br />

หางกันพอสมควร มีขอสังเกตวาปจจัยนี้ไดสงผลใหเกิดการลดลงอยางมากของการสงออกจากออสเตรเลียไปยังจีนแลว แตราคายังคงทรงตัวอยู<br />

ถึงแมวาจีนไดกระจายการนำเขาถานหิน แตการนำเขาสุทธิของจีนจะมีการลดลงในปริมาณมากพอสมควร ซึ่งจะทำใหปริมาณรวมรายป<br />

อยูที่ 82 ลานตัน แตอยาคาดหวังวาปจจัยนี้จะกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอราคา ดังตัวอยางที่ชัดเจนเมื่อ 3 เดือนที่แลว<br />

Price ($/t, delivered China)<br />

140<br />

130<br />

120<br />

110<br />

100<br />

2,500<br />

2,000<br />

1,500<br />

90<br />

1,000<br />

80<br />

500<br />

70<br />

60<br />

Jan 09 Apr 09 Jul 09 Oct 09 Jan 10 Apr 10<br />

0<br />

Newcastle delivered (LHS) China delivered (LHS) Aus exports to China (RHS)<br />

ที่มา: Eurostat, Macquarie Research, มิถุนายน 2553 แผนภูมิ 30 : การคาถานหินของจีนปดในชวงหนึ่ง<br />

‘000t<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา: McCloskey, Macquarie Research, มิถุนายน 2553 แผนภูมิ 31 : จีนกระจายไปยังแหลงนำเขาอื่นๆ<br />

รายงานประจำป 2553 69


ความสมดุลของอุปสงคและอุปทานที่เขาใกลกันขึ้นในระยะกลางขับเคลื่อนโดยจีนและอินเดีย<br />

เมื่อมองในระยะกลาง ความสมดุลของอุปสงคและอุปทานสำหรับถานหินประเภทใหความรอนที่ขนสงทางทะเลจะเขาใกลกัน และตลาด<br />

จะขาดแคลนในอีกสามปขางหนา ในดานของอุปสงคนั้น อุปสงคของถานหินในตลาดที่พัฒนาแลวในยุโรปตะวันตกและญี่ปุนจะเพิ่มขึ้นบาง<br />

แตก็นาจะยังคงต่ำกวาจุดที่สูงสุด เนื่องจากพื้นที่เหลานี้ของโลกไดเติบโตเต็มที่ไปแลว และมีการคาดการณวาจะมีการเติบโตของอุปสงค<br />

จากประเทศเล็กๆ ในเอเชีย โดยสอดคลองกับโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดีในภูมิภาคนี้<br />

นักวิเคราะหมีความเห็นวาอินเดียและจีนเปนตัวขับเคลื่อนที่สำคัญ ทั้งสองประเทศเปนผูผลิตถานหินรายใหญซึ่งสรางรายไดสูงมาก แตก็ยังเปน<br />

ประเทศเกิดใหมซึ่งเปนที่คาดวาจะมีอุปสงคทางดานพลังงานเติบโตขึ้นถึงประมาณรอยละ 7 ตอป อยางไรก็ตาม มีขอแตกตางที่สำคัญบาง<br />

อยางเกี่ยวกับลักษณะที่ประเทศทั้งสองนี้จะเปนตัวขับเคลื่อนอุปสงคของถานหินไปขางหนา<br />

อินเดียขาดแคลนพลังงาน...และพยายามใชประโยชนทรัพยากรของตน<br />

อินเดียมีความขาดแคลนพลังงาน ในขณะที่อินเดียมีปริมาณสำรองถานหินอยูมาก ประเทศนี้กำลังพยายามที่ใชประโยชนทรัพยากรในทองถิ่น<br />

ดวยกาวที่เร็วเพียงพอทามกลางปญหาตางๆ เริ่มตั้งแตกฎหมายสิ่งแวดลอม ขอจำกัดทางดานสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและความไมมั่นคงทาง<br />

พลเรือนจากขบวนการกอการรายของกลุมนิยมลัทธิเหมาซึ่งเปนอุปสรรคตอการผลิตถานหินในพื้นที่สำคัญ<br />

อินเดียมีแผนการใหญเกี่ยวกับถานหินนำเขาเพื่อเปนพลังงานสำหรับโรงไฟฟาขนาดใหญหลายแหงซึ่งสรางขึ้นโดยเฉพาะที่ใกลเคียงกับชายฝง<br />

และเมื่อเร็วๆ นี้ไดทำการขยายประสิทธิภาพของทาเรือออกไปอยางมาก แมจะไมเปนขาว ในขณะนี ้แผนการเหลานี้กำลังอยูในขั้นสำคัญ มีตัวเลข<br />

ประมาณการแบบอนุรักษนิยมพอสมควรสำหรับการนำเขาซึ่งคำนวณจากโรงไฟฟาตามที่วางแผนไว โดยไดพิจารณาถึงความลาชาที่ผานมาใน<br />

อดีตของโครงการนี้ดวย อยางไรก็ตาม ยังไมอาจพิสูจนไดวาการนำเขาจะแข็งแกรงขึ้น เมื่อพิจารณาจากระดับซึ่งมีขนาดใหญอยางนาแปลกใจ<br />

ที่ 60 ลานตันในป 2552<br />

จีนมีความแตกตาง - ไมขาดแคลนถานหินแตตนทุนกำลังสูงขึ้น<br />

อุปสงคของจีนเปนเรื่องที่แตกตาง เนื่องจากการนำเขาถูกมองวาเปนโอกาสเมื่อพิจารณาจากราคา มากกวาที่จะเปนการผลักดันการใชถานหินนำ<br />

เขาตามที่วางแผนไว เพื่อใหแนใจในเรื่องนี้ จีนมีถานหินอยูมากและไมมีอุปสรรคมากมายในการใชปริมาณสำรองเหลานี้ตามที่เห็นไดในอินเดีย<br />

แตตนทุนในการนำถานหินใหมเขาสูตลาดในจีนกำลังสูงขึ้นเรื่อยๆ นอกจากนี้ แนวโนมการแข็งคาของสกุลเงินเมื่อเปรียบเทียบกับสกุลเงิน<br />

สวนใหญหมายถึงการที่ถานหินนำเขาจะเปนที่แขงขันไดมากยิ่งขึ้น<br />

นักวิเคราะหประเมินวาตนทุนเปนเงินสดสำหรับเหมืองขนาดเล็กในเมืองชานซีอยูที่ประมาณ 75 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตัน เอฟโอบี ตามอัตรา<br />

แลกเปลี่ยนปจจุบัน นักเศรษฐศาสตรจีนพยากรณวาภาวะเงินเฟอในจีนจะอยูที่ประมาณรอยละ 5 ตอปในระยะกลาง ถึงแมวาจะมีเหตุผลที่ดีใน<br />

การเชื่อวานี่จะเปนการปรับขึ้นขั้นต่ำสุดสำหรับตนทุนการผลิตถานหิน โดยเฉพาะอยางยิ่ง คาขนสงนั้นกำลังกลายเปนคาใชจายที่สูงมาก โดยเฉพาะ<br />

ในสวนของปริมาณถานหินใหมที่ยังไมไดนำมาใช ตัวอยางเชน คาขนสงจากเขตมองโกเลียในมายังทาเรืออยูที่ประมาณ 300-350 หยวน ตอตัน<br />

หรือ 50 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตัน ซึ่งคิดคราวๆ เทากับตนทุนการผลิตโดยเฉลี่ยบนเสนกราฟแสดงตนทุนของทั่วโลก<br />

ในดานของการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยน เงินหยวนนาจะสูงขึ้นรอยละ 7.7 เมื่อเปรียบเทียบกับเงินดอลลารสหรัฐอเมริกาในอีกสองสามป<br />

ขางหนา กลาวคือ เทากับ 1 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอ 6.30 หยวน เมื่อมองภาพนี้ การแข็งคาในระดับนี้จะเปนการกำจัดสวนตางในปจจุบัน<br />

ระหวางถานหินซึ่งสงมอบที่นิวคาสเซิลกับถานหินที่ขนสงภายในประเทศ<br />

<br />

การผลิตไฟฟาพลังงานความรอนของอินเดีย<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา: CEA, Macquarie Research, มิถุนายน 2553<br />

แผนภูมิ 32 : การผลิตไฟฟาพลังงานความรอน<br />

ไดลดลงในระยะหลัง ....<br />

70 รายงานประจำป 2553


Mt<br />

140<br />

อุปสงคการนำเขาของดินเดีย<br />

120<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

2008 2009 2010F 2011F 2012F 2013F 2014F 2015F<br />

UMPPs Major Coasal IPPs Non-specific imports<br />

ที่มา: GTIS, Macquarie Research, มิถุนายน 2553<br />

แผนภูมิ 33 : แตประสิทธิภาพการผลิตไฟฟา<br />

พลังงานความรอนที่สูงขึ้นจะขับเคลื่อน<br />

คลื่อน<br />

ความตองการนำเขาไปขางหนา<br />

Cost (USD/t, FOB)<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

Global seaborne thermal coal cost curve<br />

50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600<br />

Volume (mt)<br />

United States South Africa Russia Indonesia Colombia<br />

China<br />

Canada Australia Marginal cost in Northern China<br />

ที่มา: Bloomberg, มิถุนายน 2553<br />

Marginal cost of production in Northern China<br />

แผนภูมิ 34 กราฟแสดงตนทุนเปรียบเทียบ<br />

กับจีน<br />

เมื่อนำภาพเหลานี้มารวมกัน ดูเหมือนวาตนทุนสวนเพิ่มของถานหินที่ขนสงในประเทศในจีนนาจะสูงถึง 90 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอตันหรือมาก<br />

กวาในอีกไมกี่ป ปจจัยนี้จะเปนการสนับสนุนในดานตนทุนสำหรับตลาดการขนสงทางทะเล เนื่องจากการขนสงถานหินในประเทศมีความสัมพันธ<br />

อยางมากกับตลาดการขนสงทางทะเล การขนสงถานหินในประเทศอยูที่ปละประมาณ 510 ลานตันในขณะที่เริ่มตนป 2553 เปรียบเทียบกับตลาด<br />

การขนสงทางทะเลทั้งสิ้นประมาณ 690 ลานตัน<br />

ในแงของความสมดุลของอุปสงคและอุปทาน การนำเขาถานหินของจีนภายหลังจากป 2553 อาจจะไมเพิ่มขึ้นเปนอยางมาก โดยถานหินนำเขาจะ<br />

เปนสัดสวนที่เล็กกวาการใชถานหินในประเทศ ที่เปนเชนนี้เนื่องจากราคาอาจจะสูงขึ้น ถึงแมวานักวิเคราะหจะไดประมาณการในเรื่องอุปสงคของ<br />

จีนแบบระมัดระวังแลว<br />

การเติบโตในดานอุปทานของอินโดนีเซียจะชาลง สวนการเติบโตของออสเตรเลียจะเร็วขึ้น<br />

ในดานการเติบโตของอุปทาน มีการประมาณการวาอุปทานจากแอฟริกาใตและโคลอมเบียจะมีการเติบโตอยางมาก ถึงแมวาความเสี่ยงที่สำคัญ<br />

อยูที่ผูสงออกรายใหญสุดสองรายคือ อินโดนีเซียและออสเตรเลีย การผลิตถานหินในอินโดนีเซียมีการเติบโตอยางแข็งแกรงมากในหลายปที่ผานมา<br />

และไดสงผลใหการสงออกเติบโตขึ้นเปนอยางสูงโดยคิดเปนสามเทานับจากป 2546 แตก็มีอุปสรรคบางอยางที่นาจะทำใหการเติบโตของ<br />

การสงออกนี้ชะลอลงในอีกสองสามปขางหนา<br />

ปจจัยขอแรกคือมีการใชถานหินภายในประเทศเพิ่มขึ้น เนื่องจากแผนการผลิตไฟฟาเริ่มที่จะเขามามีบทบาท มีการคาดการณวาโครงการ “10,000<br />

MW Crash Program” จะเริ่มยกระดับปริมาณการใชถานหินภายในประเทศเมื่อกาวเขาสูปลายป 2553 และป 2554 และจะเปนการเพิ่มปริมาณ<br />

การใชถานหินภายในประเทศอีกประมาณ 30 ลานตันในชวงสามปขางหนา<br />

รายงานประจำป 2553 71


ตาราง 19 : การใชถานหินภายในประเทศของอินโดนีเซียนาจะเพิ่มขึ้น 22 ลานตันในป 2554 และ 17 ลานตันในป 2555 เนื่องจากมีการผลิต<br />

ไฟฟาเพิ่มขึ้น<br />

2010 E 2011 E 2012 E 2013 E 2014 E 2015 E<br />

PLN Existing 22.5 22.5 22.5 22.5 22.5 22.5<br />

10,000MW phase I 3.6 22.6 30.5 33.5 36.0 36.0<br />

10,000MW phase II - - - 0.8 5.1 5.1<br />

Others 0.1 0.2 0.6 1.3 1.5 1.8<br />

IPP Existing 10.4 10.4 10.5 10.4 10.4 10.4<br />

New - 2.9 11.4 16.0 24.3 29.9<br />

Total (Consultant forecase) 36.6 58.6 75.4 84.5 99.8 105.7<br />

Macquarie Forecast 37.5 48.2 61.2 71.6 82.5 90.7<br />

ที่มา : Mining Strategic Consultant, Macquarie Research, ธันวาคม 2553<br />

ปจจัยขอที่สอง คือ อินโดนีเซียกำลังเริ่มที่จะประสบขอจำกัดทางดานสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานในแงของการใชสัมปทานที่มีอยูเดิมในเขตพื้นที่<br />

ชายฝง เพื่อที่จะกระตุนการเติบโตตอไป จำเปนตองมีการลงทุนจำนวนมากในสาธารณูปโภคเขาไปในพื้นที่ตอนกลางของกะลิมันตัน ในพื้นที่นั้น<br />

ไดมีการเขาซื้อที่ดินอยางมากเพื่อกอสรางทางรถไฟ อันจะเปนการกระตุนการผลิตเกินกวาที่มีการคาดการณไวในปจจุบันเมื่อเคลื่อนเขาสูป 2558<br />

ซึ่งหมายความวา มีแนวโนมที่ถานหินนี้จะแพงขึ้น เมื่อพิจารณาจากตนทุนของสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่จำเปน<br />

สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานเปนปญหาสำหรับผูสงออกของออสเตรเลียในบางครั้ง ถึงแมวาการลงทุนจำนวนมากในสวนนี้ในรอบหลายปที่ผานมา<br />

นาจะชวยเพิ่มเงินปนผลไดในอีกสองสามปขางหนา กิจกรรมที่ทาเรือ NCIG แหงใหมในนิวคาลเซิลนาจะเพิ่มขึ้นถึงจุดเต็มประสิทธิภาพภายในป<br />

2554 ในขณะที่การดำเนินงานในสวนของโครงการรถไฟเชื่อมตอ Northern Missing Link เพิ่งจะเริ่มตน และนาจะเริ่มสงเสริมการใชรถไฟไปยัง<br />

แอบบอตพอยตไดเมื่อเคลื่อนเขาสูป 2556 เทอรมินัลบนเกาะวิกกินสขนาด 25 ลานตันตอปนาจะแลวเสร็จภายในป 2556 โดยในขณะนี้<br />

การทำสัญญารับซื้อ (take-or-pay agreements) กับเหมืองกำลังดำเนินอยู<br />

'000t<br />

550,000<br />

500,000<br />

450,000<br />

400,000<br />

350,000<br />

300,000<br />

250,000<br />

200,000<br />

150,000<br />

100,000<br />

50,000<br />

-<br />

ประสิทธิภาพของสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและการสงออกของออสเตรเลีย<br />

2000<br />

2001<br />

2002<br />

2003<br />

2004<br />

2005<br />

2006<br />

2007<br />

2008<br />

2009<br />

2010<br />

2011<br />

2012<br />

2013<br />

2014<br />

2015<br />

ที่มา: Port websites, Macquarie Research, มิถุนายน 2553<br />

'000t<br />

550,000<br />

500,000<br />

450,000<br />

400,000<br />

350,000<br />

300,000<br />

250,000<br />

200,000<br />

150,000<br />

100,000<br />

50,000<br />

-<br />

Newcastle Gladstone Other<br />

Goonyella (DBCT, Hay Point) Total Australia Coal Exports Abbot Point<br />

แผนภูมิ 35 : ประสิทธิภาพของสาธารณูปโภค<br />

ขั้นพื้นฐานและการสงออกของออสเตรเลีย<br />

ขอคิดสุดทาย...สภาพคลองของตลาดภูมิภาคแปซิฟคจะดีขึ้นหรือไม<br />

ประเด็นที่สำคัญประเด็นสุดทายคือในขณะที่ทิศทางการคาถานหินประเภทใหความรอนซึ่งขนสงทางทะเลกำลังถูกขับเคลื่อนมากขึ้น จากการ<br />

พัฒนาในเขตมหาสมุทรแปซิฟคและอินเดีย แตกิจกรรมในตลาดยังคงอยูภายใตอิทธิพลของตลาดยุโรป การคาตามสัญญา API#2 ยังคงคิด<br />

เปนประมาณรอยละ 50 ของตลาดโดยรวม โดยราคาถานหินที่ทาเรือนิวคาสเซิลซึ่งใชเปนเกณฑสำหรับสินคาจากอินโดนีเซียดวย ยังคงขาด<br />

ความคลองตัวพอสมควร นี่คือบางสิ่งที่ตองเปลี่ยนแปลงในอีกหาปขางหนาเพื่อใหความชัดเจนยิ่งขึ้นกับการกำหนดราคาในภูมิภาคแปซิฟค<br />

และเขาไปในอินเดีย<br />

72 รายงานประจำป 2553


Volume (lots)<br />

160,000<br />

140,000<br />

120,000<br />

100,000<br />

80,000<br />

60,000<br />

40,000<br />

20,000<br />

0<br />

Jan<br />

Feb<br />

Mar<br />

Apr<br />

May<br />

Jun<br />

Jul<br />

Aug<br />

Sep<br />

Oct<br />

Nov<br />

Dec<br />

Jan<br />

Feb<br />

Mar<br />

Apr<br />

May<br />

Jun<br />

Jul<br />

Aug<br />

Sep<br />

Oct<br />

Nov<br />

Dec<br />

Jan<br />

Feb<br />

Mar<br />

Apr<br />

2008 2009 2010<br />

Newcastle Richard’s Bay Rotterdam<br />

ที่มา : Intercontinental Exchange, Macquarie Research, มิถุนายน 2553<br />

70,000<br />

60,000<br />

50,000<br />

40,000<br />

30,000<br />

20,000<br />

10,000<br />

0<br />

Open Interest (lots)<br />

แผนภูมิ 36 : สัญญาฟวเจอรถานหิน ICE การคา<br />

อยูภายใตอิทธิพลของ ยใตอิทธิพลขอ API#2 จำเปนตองมี<br />

คลองตัวมากขึ้นในภูมิภาคแปซิฟค<br />

ตาราง 20 : อุปสงคและอุปทานของถานหินประเภทใหความรอน<br />

อุปสงค (ลานตัน) 2007 2008 2009 2010F 2011F 2012F 2013F 2014F 2015F<br />

Western Europe 135 136 127 114 118 123 121 120 120<br />

Eastern Europe 36 35 31 33 39 41 46 49 51<br />

USA 29 28 19 17 20 22 25 25 25<br />

Other Atlantic 26 27 24 24 26 29 31 34 36<br />

Total Atlantic 225 225 200 189 203 215 223 228 232<br />

Atlantic growth -5.3% -0.1% -11% -5.7% 7.4% 5.8% 3.8% 2.4% 1.4%<br />

Asia, inc 366 371 430 483 505 534 559 581 605<br />

Japan 120 121 103 108 110 111 111 111 109<br />

Korea 66 72 80 87 88 88 90 96 103<br />

Taiwan 57 56 53 57 60 62 66 68 70<br />

China 40 35 80 102 104 106 109 105 107<br />

Hong Kong 12 11 12 13 13 13 13 13 13<br />

India 35 36 60 70 80 100 110 120 133<br />

Malaysia 13 16 15 18 21 24 26 26 26<br />

<strong>Thai</strong>land 15 15 16 16 17 18 20 25 25<br />

Philippines 7 8 9 11 11 12 13 13 13<br />

Vietnam 1 1 1 1 1 1 2 4 6<br />

Other Pacific 16 16 19 21 24 28 32 33 33<br />

Total Pacific 382 388 449 504 529 563 591 614 638<br />

Pacific growth 9.2% 1.5% 15.8% 12.2% 5.0% 6.4% 5.0% 3.9% 3.9%<br />

อุปสงครวม 607 612 649 693 732 777 814 842 870<br />

เปลี่ยนแปลงรอยละปตอป 3.3% 0.9% 6.0% 6.7% 5.7% 6.2% 4.7% 3.5% 3.3%<br />

อุปทาน (ลานตัน) 2007 2008 2009 2010F 2011F 2012F 2013F 2014F 2015F<br />

Australia 112 126 139 145 160 175 189 199 208<br />

Indonesia 195 200 233 270 272 279 292 301 314<br />

China 45 36 18 18 17 16 15 15 15<br />

Vietnam 25 17 24 18 16 16 16 16 16<br />

Canada 4 5 7 7 7 8 9 9 9<br />

South Africa 66 62 61 62 70 75 80 86 90<br />

Russia 72 72 82 87 94 98 100 100 100<br />

Poland 8 5 5 4 3 3 3 3 3<br />

USA 11 18 12 11 14 16 18 22 24<br />

Colombia 65 69 63 65 71 78 85 88 90<br />

Venezuela 5 4 4 4 4 4 4 4 4<br />

Mozambique - - - - - 1 1 4 5<br />

อุปทานรวม 607 612 649 692 729 769 813 847 878<br />

เปลี่ยนแปลงรอยละปตอป 3.3% 0.9% 6.0% 6.6% 5.3% 5.6% Chart 8 : Vessel Owners<br />

(15,000-59,999<br />

5.7%<br />

dwt)<br />

4.2% 3.7%<br />

ยอดคงเหลือ - - -1 -3 -8 -1 5 8<br />

ที่มา : GTIS, Macquarie Research, มิถุนายน 2553<br />

รายงานประจำป 2553 73


กลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน<br />

กลุมธุรกิจโครงสรางพื้นฐานประกอบดวยกลุมบริษัทที่ใหบริการและโลจิสติคส ดังตอไปนี้<br />

1. บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด ซัพพลายส จำกัด - ใหบริการจัดหาอุปกรณที่ใชบนเรือ และบริการใหเชาพื้นที่จัดเก็บสินคา<br />

2. บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส จำกัด - ใหบริการโลจิสติคสใหกับบุคคลภายนอก<br />

3. บริษัท ชารจา พอรต เซอรวิสเซส แอลแอลซี - ใหบริการดูแลจัดการในทาเรือในเอเชียและตะวันออกกลาง<br />

4. บริษัท Baria Serece - เปนบริษัทรวมที่ใหบริการทาเรือเอกชน ซึ่งตั้งอยูที่ Phu My ตอนใตของจังหวัด Vung Tau ประเทศเวียดนาม<br />

5. บริษัท บาคองโค จำกัด - ผลิตและจัดสงปุยคุณภาพสูง พรอมทั้งมีคลังสินคาในประเทศเวียดนาม<br />

6. บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) - ขายและใหบริการโลจิสติคสถานหินแบบครบวงจร<br />

ธุรกิจจัดหาอุปกรณบนเรือ บริการโลจิสติกส และธุรกิจขนถายสินคา<br />

บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด ซัพพลายส จำกัด (CMSS) ซึ่งบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนอยูทั้งหมด ใหบริการ<br />

จัดหาอุปกรณที่ใชบนเรือและบริการเกี่ยวกับโลจิสติคส รวมถึงการจัดหาวัสดุที่ใชในการดูแลสินคาระหวางขนสง เชน ไมรองค้ำสินคา การจัดหา<br />

อุปกรณในการขนถายสินคา การใหบริการตรวจนับสินคา ใหบริการรถยกสินคา การใชเชาพื้นที่จัดเก็บสินคา รวมถึงการบริหารและการกระจาย<br />

การสงสินคา นอกจากนี้ CMSS ยังใหบริการดานการขนสงสินคาขึ้น/ลงเรือ บรรจุและขนสงสินคาไปยังเรือและผู รับปลายทางอีกดวย<br />

ขอมูลธุรกิจ<br />

CMSS ใหบริการตางๆ (ยกเวนการใหเชาพื้นที่จัดเก็บสินคา) แกเรือของโทรีเซนมากกวาเรือของบริษัทอื่นๆ จนกระทั่งบริษัทฯ ยกเลิกการใหบริการ<br />

เดินเรือแบบประจำเสนทาง (กุมภาพันธ พ.ศ. 2553) จากการที่ CMSS อยูในอุตสาหรรมนี้มาตั้งแตป พ.ศ. 2544 ทำให CMSS ยังคงสามารถ<br />

มีงานเขามาอยางตอเนื่องจากฐานลูกคาที่มีอยางกวางขวางและทำให CMSS มีรายไดและกำไรที่มั่นคงตลอดปที่ผานมา<br />

ผลประกอบการในรอบป 2553<br />

CMSS ไดใหบริการขนถายสินคาจำนวน 1.4 ลานตัน และปลอยพื้นที่คลังสินคาใหลูกคาเชาจนเต็มพื้นที่ทั้งหมดที่มีขนาด 16,000 ตารางเมตร<br />

ในปที่ผานมา ทำให CMSS มีรายไดจากการขาย 116 ลานบาท ขณะที่ผลกำไรสุทธิเพิ่มมากกวารอยละ 28.4 เปน 10.8 ลานบาท<br />

74 รายงานประจำป 2553


ลูกคา<br />

กลุมลูกคาของ CMSS มีหลากหลายและสินคาที่ขนถายมีทั้งสินคาเทกองและสินคาที่บรรจุ<br />

หีบหอ เชน เครื่องจักรกล วัสดุการกอสราง ผลิตภัณฑเหล็ก สินคาหนักที่ใชในโครงการ สินคา<br />

การเกษตรและแรตางๆ<br />

พนักงาน<br />

CMSS มีพนักงานประจำเพียง 11 คน ซึ่งมีความเปนมืออาชีพ ในการทำงานรวมกับผูรับเหมา<br />

บุคคลภายนอก ผูใชแรงงานในการขนของขึ้นลงเรือ (ประมาณ 500 คน) คนขับรถ และคน<br />

ควบคุมอุปกรณการปฏิบัติงานตางๆ<br />

คูแขง<br />

มีผูประกอบการในประเทศจำนวนมากที่ทำธุรกิจนี้ และแขงขันกับ CMSS ในดานราคา<br />

แต CMSS ไดพัฒนาชื่อเสียงของตนดวยเครื่องอุปกรณที่มีคุณภาพที่ไดมาตรฐานสากล และ<br />

เปนมืออาชีพในการจัดการเกี่ยวกับผูใชแรงงานในการขนของขึ้นลงเรือ สิ่งเหลานี้ชวยให CMSS<br />

สามารถเอาชนะอุปสรรคในดานราคาและสามารถหาลูกคาไดอยางตอเนื่อง<br />

ปจจัยบวกและลบสำหรับป 2554-2555<br />

CMSS คาดหวังวาจะมีรายไดและกำไรคงที่ตลอดป 2554 และยังคงมองหาสวนแบงดานอื่นๆ<br />

ในอุตสาหกรรมการเดินเรือ (นอกเหนือจากเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง) รวมถึงเรือบรรทุก<br />

ยานยนต (RORO) และเรือคอนเทนเนอร และเนื่องจากพื้นที่คลังสินคาของ CMSS มีลูกคา<br />

เต็มพื้นที่แลว ดังนั้น CMSS อาจหาโอกาสในการขยายพื้นที่คลังสินคา โดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

เพื่อลูกคาหลักรายหนึ่งของ CMSS อยางไรก็ตาม โอกาสที่จะซื้อที่ดินเพิ่มเติมในราคาที่<br />

เหมาะสมตอการสรางคลังสินคาก็เปนเรื่องที่อาจจะไมสามารถเปนไปตามคาดการณได<br />

ธุรกิจโลจิสติคสใหกับบุคคลภายนอก<br />

ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ไดมีการกอตั้ง บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส จำกัด (“GTL”)<br />

เพื่อใหบริการโลจิสติคสในประเทศ โดยบริษัทฯ ถือหุนรอยละ 51 ใน GTL และที่เหลือรอยละ 29<br />

ถือโดย GACL (เพื่อใหเปนไปตามกฎระเบียบของธุรกิจคลังสินคา) และอีกรอยละ 20 ถือโดย<br />

นายลารส ชาเวสตอรม ซึ่งเปนประธานของกลุมบริษัทกัลฟ เอเจนซี่ GTL ไดดำเนินโครงการ<br />

สรางคลังเก็บสินคาขนาด 10,000 ตารางเมตร ในการนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ชลบุรี<br />

ประเทศไทย เพื่อใหบริการโลจิสติกส และใหเชาคลังเก็บสินคาขนาด 6,000 ตารางเมตร<br />

ในการนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ประเทศไทย<br />

ขอมูลธุรกิจ<br />

GTL ใหบริการโลจิสติคสกับบุคคลภายนอก ซึ่งดูแลเกี่ยวกับคลังเก็บสินคา การจัดการคลังเก็บ<br />

สินคา และการกระจายสินคาใหแกลูกคาในประเทศและลูกคานานาชาติ ทั้งนี้ GTL มีตลาด<br />

กลุมลูกคาเฉพาะ และทำสัญญาทั้งระยะกลางถึงระยะยาวกับกลุมลูกคาที่คัดเลือกแลว<br />

โดยคลังสินคามีสินคาใหจัดเก็บจนเต็มพิกัดตลอดป 2553<br />

ผลประกอบการในรอบป 2553<br />

GTL มีรายไดทั้งหมด 125.7 ลานบาท และมีกำไรสุทธิ 5 ลานบาท<br />

รายงานประจำป 2553 75


ลูกคา<br />

ลูกคาของ GTL สวนใหญเปนกลุมลูกคาที่มีสินคาจำพวกอุปโภคบริโภค (Fast Moving<br />

Customer Goods) และกลุมอิเล็กทรอนิกส รวมถึงกลุม Mead Johnson / ซาราลี / โคลเลอร /<br />

กลุม Central Retail / มิตซูบิชี อิเล็กทริค และ BIO Strong<br />

พนักงาน<br />

GTL มีพนักงานจำนวนทั้งสิ้น 56 คน ซึ่งมีความรูเชิงลึกในดานบริการโลจิสติคส<br />

คูแขง<br />

มีผูประกอบการชาวไทยและชาวตางชาติจำนวนมากที่ดำเนินธุรกิจแบบเดียวกันกับ GTL ใน<br />

ประเทศไทย ทำใหเกิดสภาพแวดลอมที่มีการแขงขันสูง อยางไรก็ตาม GTL เนนความเชี่ยวชาญ<br />

เฉพาะจุดและใหบริการที่เพิ่มมูลคาใหแกลูกคากลุมเล็กๆ ที่เปนลูกคาประจำ จึงเปนการชวย<br />

ลดความเสี่ยงจากการแขงขันดานราคาได<br />

ปจจัยบวกและลบสำหรับป 2554 - 2555<br />

ขณะที่พื้นที่คลังสินคามีลูกคาใชบริการเต็มพื้นที่แลว GTL ก็ยังคงมองหาโอกาสการลงทุน<br />

เพิ่มขึ้นอยูเสมอ โดยการขยายคลังสินคาของตนเองออกไป ซึ่งการขยายตัวดังกลาวจะตอง<br />

ไดสัญญาระยะกลางถึงระยะยาวจากลูกคาเปาหมายกอน ซึ่ง GTL กำลังประเมินลูกคาเฉพาะ<br />

กลุมเพื่อรองรับแผนการขยายตัว โดยจะเนนกลุมบริษัทสินคาอุปโภคบริโภค (FMCG)<br />

ขนาดเล็ก<br />

นอกจากนี้ GTL ยังคงมองหาโอกาสในการขยายหรือเพิ่มมูลคาโดยอาศัยฐานลูกคาปจจุบัน<br />

เชน ใหบริการงานบริหารทั่วไปสำหรับสำนักงาน/โรงงาน ใหบริการบรรจุหีบหอ<br />

76 รายงานประจำป 2553


การบริหารทาเรือ<br />

บริษัท ชารจา พอรต เซอรวิสเซส แอลแอลซี (SPS) เปนบริษัทรวมของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เปนการรวมทุนระหวาง<br />

การทาเรือชารจา ในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส และโทรีเซน ชิปปง เอฟแซดอี (TSF) โดยถือหุนรอยละ 51 และรอยละ 49 ตามลำดับ ทั้งนี้ SPS<br />

ไดรับสัมปทานในการขนถายสินคา การจัดการและเก็บรักษาสินคา การสงสินคา การดูแลดานการตลาดใหกับผูประกอบการเรือสินคาทั่วไปทุกชนิด<br />

ผูประกอบการเรือ RoRo และเรือบรรทุกสินคาเทกองแชแข็ง ที่ทาเรือคาลิด ทาเรือฮัมริจาร และทาเรือชารจา ครีก เปนเวลา 10 ป โดยเมื่อครบ<br />

กำหนด 10 ป จะมีการตอสัญญาโดยอัตโนมัติเปนเวลาอีก 5 ป<br />

SPS ไดกอตั้งขึ้นเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2545 โดยเปนสวนหนึ่งของโครงการแปรรูปทาเรือรัฐวิสาหกิจเปนทาเรือเอกชน ทั้งนี้ พนักงานทั้งหมดและ<br />

อุปกรณตาง ๆ ในเรือ ถูกโอนเขามายังบริษัทนี้ทั้งหมด ทาเรือคาลิดเปนทาเรือที่ใหญที่สุดในบรรดาทาเรือทั้งสามแหงที่อยูภายใตสัญญาสัมปทาน<br />

และตั้งอยูหางจากดูไบไปทางใตประมาณ 16 กิโลเมตร ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ทาเรือทั้งสามแหงใหบริการรับ-สงปริมาณสินคารวมกันได<br />

มากกวาปละ 1 ลานตัน<br />

บริษัทรวมลงทุน Baria Serece<br />

ในเดือนพฤศจิกายน 2553 บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้ง พีทีอี แอลทีดี ซึ่งบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนอยูทั้งหมด ไดเขาซื้อหุน<br />

รอยละ 20 ของ Baria Serece จาก Yara Asia Pte. Ltd. ทั้งนี้ Baria Serece เปนเจาของและบริหารทาเรือ Phu My ทางเวียดนามตอนใต<br />

ทาเรือแหงนี้เปนทาเรือน้ำลึกที่ขนถายสินคาแหงที่ใหญที่สุดในประเทศเวียดนาม สามารถรองรับความจุไดถึง 6 ลานตันสำหรับสินคาการเกษตร<br />

ถานหิน และปุย ซึ่งทาเรือ Phy My ตั้งอยูที่แมน้ำ Thi Vai หางจากทะเลเปดประมาณ 17 ไมล และอยูติดกับนิคมอุตสาหกรรม Phu My นอกจากนี้<br />

ทาเรือดังกลาวยังสามารถรองรับเรือบรรทุกสินคาที่กินน้ำลึก 12 เมตรและมีระวางขับน้ำ (displacement) 60,000 เดทเวทตัน ดังนั้น ทาเรือนี้จึง<br />

เหมาะกับเรือประเภท Handy max และ Panamax ดวย เนื่องจากไมตองใชเรือลำเลียงกอนเรือเขาทา มีการคาดการณวาทาเรือนี้จะทำการปรับปรุง<br />

ทาเทียบเรือที่สำคัญๆ ในป 2554 เพื่อที่จะสามารถรองรับเรือ Panamax ที่มีขนาดระวาง 80,000 เดทเวทตันไดดวย<br />

ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ปริมาณสินคาที่เขาทาเรือนี้มีจำนวน 4.88 ลานตัน โดยเปนสินคาเกษตรคิดเปนรอยละ 72 ของปริมาณสินคา<br />

ทั้งหมด<br />

ธุรกิจปุย<br />

โรงงานปุยของบาคองโคมีพื้นที่ 56,000 ตารางเมตร และตั้งอยูใน Phu My ซึ่งอยูติดกับทาเรือ Baria Serece นอกจากการผลิตปุย บาคองโคมีใบ<br />

อนุญาตใหเชาคลังสินคาบางสวน ซึ่งจะทำใหสามารถพัฒนาไปสูธุรกิจ โลจิสติกสมืออาชีพในอนาคต<br />

บาคองโค ผลิตปุยเคมี NPK ในนิคมอุตสาหกรรม Phu My จำนวน 300,000 ตันตอป นอกจากการขายและเปนผูจัดจำหนายปุยของตนเองแลว<br />

บาคองโคยังสงออกและเปนผูจัดหา (supplier) ยาฆาแมลงและและเมล็ดพันธุพืชตางๆ จากการที่โรงงานของบาคองโคตั้งอยูขางทาเรือ Phu My<br />

ดังนั้นคลังสินคาของบาคองโคจึงอาจจะนำมาใชประโยชนในการเปนที่เก็บสินคาจากทาเรือ Phu My ที่ไมสามารถจัดเก็บได และการที่บริษัท<br />

โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ถือหุนรอยละ 20 (ผานบริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้ง พีทีอี แอลทีดี) ใน Baria Serece ทำใหบาคองโคจะกลาย<br />

เปนหุนสวนสำคัญของทาเรือ Phu My<br />

รายงานประจำป 2553 77


สถานการณตลาด<br />

ประเทศเวียดนามเปนผูสงออกพริกไทยรายใหญที่สุดในโลก เปนผูสงออกขาวและกาแฟใหญเปนลำดับที่สองของโลก และประชากรของเวียดนาม<br />

รอยละ 70 ทำงานดานเกษตรกรรม ประเทศเวียดนามนำเขาปุยจำนวนมากเพื่อตอบสนองความตองการของตลาด สำนักงานสถิติเวียดนาม<br />

(The Vietnam General Statistics Office หรือ GSO) กลาววา ในป 2552 ประเทศเวียดนามนำเขาปุย 4.31 ลานตันหรือคิดเปนมูลคา 1.35<br />

พันลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้นรอยละ 41.88 แตมูลคาลดลงรอยละ 8.42 เมื่อเทียบกับป 2551 เนื่องจากบริษัทตางๆ<br />

นำเขาปุยมากขึ้นเมื่อราคาในตลาดโลกลดลงซึ่งเปนผลมาจากเศรษฐกิจตกต่ำ<br />

จากการคาดการณสำหรับป 2553 แสดงใหเห็นวา ปริมาณและมูลคาลดลงจากป 2552 แตอยางไรก็ตาม การนำเขาปุยยังคงดำเนินตอไป<br />

เนื่องจากผลผลิตปุยในประเทศตอบสนองความตองการไดเพียงครึ่งเดียวเทานั้น ทั้งนี้ ปุย เชน DAP (Diammonium Phosphate) และ<br />

โปแตชตองนำเขา เนื่องจากบริษัทในประเทศเวียดนามยังไมสามารถผลิตไดเอง<br />

ตารางขางลางแสดงถึงปริมาณและมูลคาการนำเขาปุยของประเทศเวียดนามตั้งแตป 2551 ถึงป 2553<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา : Vietnam General Statistics Office<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

แผนภูมิ 37 : ปริมาณและมูลคาการนำเขาปุย<br />

ของประเทศเวียดนาม<br />

จากการตรวจสอบของกระทรวงการพัฒนาทองถิ่นและเกษตรกรรมของประเทศเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development<br />

(MARD) พบวา ปุยที่ผลิตในประเทศจำนวนมากมีคุณภาพต่ำกวามาตรฐาน ซึ่งรอยละ 40 จาก 201 ตัวอยาง เปนปุยมีคุณภาพต่ำกวามาตรฐาน<br />

นอกจากนี้ ยังพบวา ผูผลิตในประเทศและผูผลิตที่เปนบริษัทระหวางประเทศมากกวา 500 รายมีปุยปลอมและปุยคุณภาพต่ำ ทั้งนี้ พบวาในป 2552<br />

มีการละเมิดคุณภาพและทรัพยสินทางปญญา 600 กรณี ซึ่งรอยละ 25-30 จากกรณีดังกลาวตางเกี่ยวของกับปุย<br />

เมื่อดูจากแนวโนมความตองการปุยในประเทศเวียดนามแลว จะพบวาประเทศเวียดนามจะยังคงใชปุยสูงขึ้นไปเรื่อยๆ เนื่องจากราคาพืชผลทางการ<br />

เกษตรมีราคาดีและนโยบายการสนับสนุนจากรัฐบาลเวียดนาม ที่ใหผลตอบแทนเพิ่มเติมแกชาวนาเพื่อใหชาวนามีกำไรที่ดีขึ้นจากผลผลิตที่เพิ่มขึ้น<br />

จากรายงานของสมาคมปุยแหงประเทศเวียดนาม (The Vietnam Fretiliser Association) ไดกลาวไววา ประเทศเวียดนามจะใชปุยประมาณ<br />

8.9 ลานตันในป 2553 ซึ่งเทียบกับป 2552 ประเทศเวียดนามใชปุย 8.3 ลานตัน<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ที่มา : Figure 2. Vietnam’s fertiliser consumption has risen sharply in recent years (VFA, 2010)<br />

แผนภูมิ 38 : ความตองการปุย<br />

78 รายงานประจำป 2553


การผลิตขาวมีการใชปุยมากที่สุด และจะเก็บเกี่ยว 3 ครั้งตอป ซึ่งในชวงฤดูหนาวและฤดูใบไมผลิจะมีการใชปุยมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับฤดูกาล<br />

อื่นๆ จากลักษณะภูมิประเทศ พบวา สามเหลี่ยมแมน้ำโขงและตะวันออกเฉียงใตของประเทศเวียดนามมีพื้นที่ใชสอยทางการเกษตรมากกวา<br />

รอยละ 65 ดังนั้น บริเวณนี้จึงเปนตลาดปุยที่ใหญที่สุดของประเทศเวียดนาม<br />

สวนใหญผลิตผลการเกษตรทางตอนใตผลิตเพื่อการสงออก ซึ่งชาวนาตางใหความสำคัญกับคุณภาพ และเลือกปุยที่มีตราที่มีชื่อเสียง และยอม<br />

จายเงินมากขึ้น เพื่อใหการผลิตและผลิตผลไดปริมาณเพิ่มขึ้น ในทางกลับกัน ชาวนาทางตอนเหนือกลับใหความสนใจเกี่ยวกับคุณภาพนอยกวา<br />

ทำใหราคาเปนปจจัยสำคัญ สงผลใหพบปุยที่ดอยคุณภาพและปุยปลอมทางตอนเหนือมากกวา<br />

กลาวโดยสรุป เปนที่คาดการณวาจะมีผูผลิตปุยประมาณ 5.6 ลานตันในป 2553 รวมถึงปุยยูเรียจำนวน 946,000 ตัน ปุยที่มีฟอสเฟตเปนสวน<br />

ผสมหลัก 1.7 ลานตัน / ปุย NPK จำนวน 2.7 ลานคัน และปุย DAP 260,000 ตัน และเพื่อใหตอบสนองความตองการดังกลาว ปริมาณการนำเขา<br />

ปุยจึงนาจะไปถึง 3.3 ลานตัน<br />

ขอมูลธุรกิจ<br />

จากสถานการณดังกลาวขางตน จะเห็นไดวา บาคองโคจะไดประโยชนในหลายๆ ดาน บาคองโค ตั้งมานาน 15 ปและกระจายสินคาของตนเอง<br />

ในประเทศเวียดนามตอนใต โดยใชตราสินคา (The STORK) ซึ่งเปนสัญลักษณที่มีชื่อเสียงและมีความหมายในดานคุณภาพและความนาเชื่อถือ<br />

นอกจากนี้ บาคองโคยังมีกระบวนการผลิตปุยโดยใช 5 ขั้นตอนเมื่อเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นๆ ที่ผลิตปุย NPK ซึ่งบาคองโคยังคงคิดคนและ<br />

ขยายสินคาโดยใชกระบวนการผลิตปุยทั้งเคมี ฟสิกสและชีววิทยา<br />

แผนภูมิ 39 กระบวนการผลิตปุยของบาคองโค<br />

ในป 2553 บาคองโคยังคงรักษาการผลิตไวที่ 151,000 ตันและนำนโยบายการชำระสินคาเปนเงินสดมาใชกับลูกคา ซึ่งการที่สามารถใชนโยบายนี้<br />

ไดแสดงใหเห็นวาสินคาของบาคองโคมีชื่อเสียงในดานคุณภาพ ซึ่งบาคองโคจะยังคงตรวจสอบและประดิษฐสูตรที่ดีที่สุดและจะปรับผลิตภัณฑ<br />

ใหมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น ขณะเดียวกัน บาคองโคก็จะเนนการตลาดในทุกระดับไมวาจะเปน ชาวนา ผูคาปลีก และผูคาสง<br />

รายงานประจำป 2553 79


สวนในแงการผลิต บาคองโคใหความสำคัญตอการพัฒนาคุณภาพการผลิต ปรับปรุงตนทุนการผลิตใหมีความเหมาะสมมากที่สุดผานกระบวนการ<br />

ชั่งน้ำหนักดวยระบบใหมเพื่อกระบวนการผลิตในขั้นตอนตางๆ ปรับปรุงอุปกรณการบรรจุถุงใหเปนอัตโนมัติและอุปกรณขนถายอัตโนมัติเพื่อให<br />

ระบบโลจิสติคสมีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

ผลประกอบการในป 2553<br />

บาคองโคมีรายไดจากการขาย 2,146.4 ลานบาท และมีกำไรสุทธิหลังหักภาษี 211.71 ลานบาท ขณะที่คลังเก็บสินคาสามารถเก็บสินคาไดจำนวน<br />

150,000 ตัน หรือคิดเปนรอยละ 53 ของพื้นที่คลังสินคาทั้งหมด โดยมีกำไรสุทธิ 3.3 ลานบาท<br />

ลูกคา<br />

บาคองโคมีเครือขายผูคาสงประมาณ 200 ราย และผูคาปลีกประมาณ 4,000 ราย ซึ่งขณะนี้อยูในกระบวนการรวมเครือขายใหมีประสิทธิภาพมาก<br />

ขึ้น ทั้งนี้ ชาวนา ซึ่งเปนผูใชจริง (end user) มีประมาณ 2 ลานคน<br />

พนักงาน<br />

บาคองโคมีพนักงานทั้งสิ้น 342 คน สวนใหญพนักงานเหลานี้ทำงานมากกวา 8 ป ซึ่งแบงเปน<br />

l ฝายโรงงาน : เปนคนงาน 240 คน ชางเทคนิค วิศวกรและผูจัดการตางๆ<br />

l ฝายธุรการ : 20 คน ไดแก ฝายการเงิน ฝายบุคคลและการบริหารงานทั่วไป<br />

l ฝายขายและการตลาด : 50 คน ไดแก วิศวกรฝายขาย และเจาหนาที่การตลาดและการบริหารงานทั่วไป<br />

l สาขาไฮฟอง : ผูแทนประจำสาขา-20 คน<br />

คูแขง<br />

การแขงขันเปนสิ่งสำคัญในตลาดเวียดนาม ดังที่ไดกลาวไวแลวขางตน คือ มีผูผลิตมากกวา 500 ราย สวนใหญเปนบริษัทที่มีรัฐบาลเปนเจาของ<br />

ซึ่งรายใหญที่สุด คือ Petro Vietnam ทั้งนี้ Petro Vietnam อยูในระหวางการกอสรางโรงงานผลิตปุยยูเรียขนาดใหญในนิคมอุตสาหกรรม Phu My<br />

โดยมีกำลังการผลิตทั้งสิ้น 4.0 ลานตัน และวางแผนไววาจะสรางโรงงานผลิตปุย NPK เพื่อผลผลิต 400,000 ตันในป 2555 อยางไรก็ตาม โรงงาน<br />

ปุย NPK ยังไมไดรับการยืนยันและการกอสรางยังไมไดเริ่มขึ้น<br />

ปจจัยบวกและลบสำหรับป 2554-2555<br />

ราคาวัตถุดิบมีแนวโนมที่จะเพิ่มขึ้นทั้งในตลาดในและระหวางประเทศ ซึ่งสวนใหญเปนวัตถุดิบในการผลิตปุย DAP ยูเรียและโปแตช ซึ่งเปน<br />

ไปตามราคาพืชผลที่สูงขึ้นและสวนใหญมีการเก็บตุนไวนอย การเพิ่มขึ้นของราคาวัตถุดิบจะทำใหตนทุนการขายเพิ่มขึ้นในระยะสั้นและระยะกลาง<br />

อยางไรก็ตาม บาคองโคสามารถรักษานโยบายการขายดวยเงินสด และระดับสินคาคงคลังแบบ just in time ไวได ทำใหบาคองโคสามารถผลัก<br />

ภาระตนทุนที่สูงขึ้นนี้ดวยการขึ้นราคาสินคา<br />

บาคองโคคาดวาระดับการผลิตจะเพิ่มขึ้นเล็กนอยในป 2554 และยังคงรักษานโยบายการขายดวยเงินสดตอไป และจะยังคงปรับปรุงคุณภาพตอไป<br />

โดยถือเปนเปาหมายและทิศทางที่สำคัญอันหนึ่ง และหากผลผลิตมีมากขึ้นก็อาจจะมองหาตลาดเพื่อสงออก<br />

กลาวโดยสรุป จากการที่บาคองโคมีพื้นที่ติดกับทาเรือ Phu My ทำใหบาคองโคสามารถขยายขีดความสามารถในดานธุรกิจคลังสินคาและ<br />

โลจิสติคสโดยการซื้อที่ดินในนิคมอุตสาหกรรม Phu My และสรางคลังสินคาใหมเพื่อรองรับปริมาณสินคาจาก Baria Serece<br />

80 รายงานประจำป 2553


ธุรกิจโลจิสติคสถานหิน<br />

ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส จำกัด (อะธีน) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 99.9 ไดเขาซื้อหุนรอยละ 48.46 ของ<br />

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) (UMS) จากผูถือหุนรายใหญจำนวนสองรายของ UMS และไดเขาซื้อใบสำคัญแสดงสิทธิรอยละ<br />

5.55 ของ UMS จากผูถือหุนรายใหญรายหนึ่งของ UMS ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 อะธีนทำคำเสนอซื้อหุนและใบสำคัญแสดงสิทธิของ UMS อีก<br />

รอยละ 41.09 และใบแสดงสิทธิของ UMS อีกรอยละ 91.64 ซึ่งทำใหอะธีน ถือหุนใน UMS คิดเปนจำนวนรวมทั้งสิ้นรอยละ 89.55<br />

UMS ทำธุรกิจเกี่ยวกับการคาถานหินและบริการโลจิสติคสแบบ “จากตนทางถึงปลายทาง” (end-to-end) และ “ตรงตอเวลา” (just-in-time) ใน<br />

ประเทศไทย UMS เปนเจาของโรงผสมถานหิน และคลังสินคา 2 แหง เรือลำเลียง 12 ลำ และรถบรรทุก 26 คัน เพื่อตอบสนองความตองการถานหิน<br />

ในประเทศที่สูงขึ้นของลูกคากลุมอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม ซึ่งใชเครื่องกำเนิดไอน้ำเชื้อเพลิงจากถานหิน<br />

UMS นำเขาถานหินที่มีคุณภาพซึ่งมีคาความรอนระดับกลาง ซึ่งสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมต่ำ ถานหินมีการนำเขามาจากอินโดนีเซียเพื่อขายไปให<br />

แกอุตสาหกรรมตางๆ ในประเทศ รวมถึงอุตสาหกรรมกระดาษ สิ่งทอ อาหารสำเร็จรูปและซีเมนต ทั้งนี้ กลยุทธการนำเขาถานหินของ UMS มีการ<br />

ปรับเปลี่ยนเพื่อใหเขากับขอกำหนดทางวิศวกรรมของหมอไอน้ำที่ใชในอุตสาหกรรมแตละประเภท UMS วางเปาหมายที่จะเปนผูนำในการขายและ<br />

สงถานหินใหกับอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็กในประเทศ<br />

สถานการณการตลาด<br />

แผนภูมิขางลางแสดงถึงประเภทของถานหิน การเก็บสำรอง คุณสมบัติทั่วไป และการนำมาใช<br />

แผนภูมิ 40 : ประเภทของถานหิน การเก็บสำรอง คุณสมบัติทั่วไป และการนำมาใช<br />

ที่มา : World Coal Institute<br />

รายงานประจำป 2553 81


ตารางขางลางแสดงถึงคุณสมบัติเฉพาะและรายละเอียดตางๆ ของถานหินแตละประเภท<br />

ตาราง 21 : คุณสมบัติเฉพาะและรายละเอียดตางๆ ของถานหินแตละประเภท<br />

ประเภท<br />

ปริมาณความรอนที่ไดจากการเผาไหมถานหิน<br />

ตอหนึ่งหนวยน้ำหนัก (kcal/kg.)*** คาความชื้น (%)* ขี้เถา (%)* กำมะถัน(%)<br />

แอนทราไซท 6,500 – 8,000 5-8 5-12 0.1-1.0<br />

บิทูมินัส 5,500 – 6,500 8-15 1-12 0.1-1.5**<br />

ซับบิทูมินัส 4,500 – 5,500 24-30 1-10 0.1-1.5**<br />

ลิกไนต 3,000 – 4,000 30-38 15-20 2.0-5.0<br />

* Percentage by weight<br />

** 1% of sulphur would produce approximately 500 ppm of sulphur dioxide<br />

*** Calorific value is the heating or energy value of the fuel per kilogram of weight.<br />

จากตารางขางตน ถานหินที่มีคุณภาพสูงที่สุด (ความรอน ความชื้น และกำมะถัน) คือ แอนทราไซท บิทูมินัส ซับบิทูมินัส และลิกไนตตามลำดับ<br />

ในป 2552 ปริมาณการใชลิกไนตและถานหินทั้งหมดมีประมาณ 33.52 ลานตัน ลดลงจากป 2551 รอยละ 2.9 หรือประมาณ 34.51 ลานตัน<br />

ขณะที่การใชคลิกไนตในป 2552 มีจำนวน 15.82 ลานตัน ซึ่งผูใชที่สำคัญ คือ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ขณะที่ปริมาณสวนที่เหลือ 2.03<br />

ลานตันใชกับอุตสาหกรรมประเภทตางๆ ไมวาจะเปน ซีเมนต กระดาษ และอาหาร ทั้งนี้การใชลิกไนตในอุตสาหกรรมในประเทศมีปริมาณ<br />

ลดลง เนื่องจากการลดลงของปริมาณการจัดหาถานหินลิกไนตในประเทศจากบริษัท ลานนารีซอรสเซส จำกัด (มหาชน) ซึ่งหยุดการผลิตไป<br />

การนำเขาถานหินในป 2552 มีปริมาณทั้งสิ้น 15.587 ลานตัน ลดลงจากปที่ผานมา รอยละ 1.9 ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมมีปริมาณการใช<br />

10.55 ลานตัน ที่เหลืออีก 5.12 ลานตันใชโดยบริษัทผลิตไฟฟาเอกชน (ผูผลิตไฟฟารายเล็ก และผูผลิตไฟฟาอิสระ) ทั้งนี้ กลาวโดยรวมวา<br />

ปริมาณการนำเขาและมูลคาถานหินในประเทศสูงขึ้นอยางสม่ำเสมอระหวางป 2548-2552<br />

พันตัน<br />

18,000<br />

15,679 15,587<br />

16,000<br />

13,778<br />

14,000<br />

12,000<br />

10,551<br />

10,000 8,006<br />

8,000<br />

6,000<br />

4,000<br />

2,000<br />

2548 2549 2550 2551 2552<br />

ที่มา : Energy Policy and Planning Office แผนภูมิ 41 : ปริมาณการนำเขาถานหิน<br />

82 รายงานประจำป 2553


ที่มา : Energy Policy and Planning Office<br />

แผนภูมิ 42 : มูลคาการสงออกถานหิน<br />

เหตุผลสำคัญประการหนึ่งสำหรับแนวโนมขางตนนี้ คือ ขอไดเปรียบของถานหินในดานราคาเมื่อเปรียบเทียบกับน้ำมันเชื้อเพลิง แมวาราคา<br />

ตอหนวยของมูลคาความรอนสำหรับถานหินจะนอยกวาน้ำมันเชื้อเพลิงและกาซธรรมชาติ ถานหินก็ยังคงมีความไดเปรียบในเรื่องราคาถึง<br />

รอยละ 60-65 เมื่อเทียบกับน้ำมันเชื้อเพลิงในปจจุบัน<br />

ในความเปนจริงนั้น การใชถานหินในฐานะที่เปนแหลงพลังงานสามารถลดตนทุนการผลิตได และขอมูลทางสถิติแสดงใหเห็นวา ผูประกอบการ<br />

ที่ใชเครื่องจักรในการผลิตมีแนวโนมที่จะเปลี่ยนจากน้ำมันเชื้อเพลิงเปนถานหิน เพื่อที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันในระยะยาว<br />

แผนภูมิขางลางแสดงถึงการเปรียบเทียบราคาระหวางเชื้อเพลิง 3 ประเภท<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

ราคา (บาทตอ 1 ลาน kcal)<br />

<br />

<br />

ที่มา : www.eppo.go.th, www.dmf.go.th<br />

แผนภูมิ 43 : การเปรียบเทียบราคาระหวาง<br />

เชื้อเพลิง 3 ประเภท<br />

ขอมูลธุรกิจ<br />

จากตัวเลขขางตน แนวโนมและตลาดของถานหินในประเทศไทยเปนไปในทิศทางที่ดี มีโอกาสสำคัญที่จะทำให UMS สามารถขยายลูกคาและ<br />

ตลาด และในฐานะที่เปนหนึ่งในผูบุกเบิกธุรกิจโลจิสติคสถานหินในประเทศไทย UMS ยังคงรักษาชื่อเสียงในประเทศและตางประเทศไดเปน<br />

อยางดี<br />

UMS รายงานปริมาณการขายมากกวา 1.0 ลานตันในป 2553 และไดดำเนินการปรับปรุงกระบวนการคัดแยกถานหินและลงทุนในอุปกรณ<br />

เพิ่มเติมเพื่อสรางผลิตภัณฑตัวใหมออกมา<br />

รายงานประจำป 2553 83


ผลประกอบการป 2553<br />

UMS รายงานวา มีรายไดจากการขายทั้งสิ้น 2,719.1 ลานบาท และขาดทุนสุทธิ 49.3 ลานบาทสำหรับรอบปบัญชี 2553 (ตุลาคม 2552 กันยายน<br />

2553) แตอยางไรก็ตาม UMS มีกำไรสุทธิใน 11 เดือนเปนจำนวน 79.1 ลานบาท (ไมรวมขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากการทำ<br />

สัญญาลวงหนา) โดยบริษัทฯ บันทึกกำไรของ UMS เขามาในงบการเงินรวมของบริษัทฯ ในสัดสวนรอยละ 48.46 จากชวงวันที่ 1 พฤศจิกายน -<br />

31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และรอยละ 89.55 จากชวงวันที่ 1 มกราคม - 30 กันยายน พ.ศ. 2553<br />

คูแขง<br />

ธุรกิจการขายถานหินในประเทศไทยมีประมาณ 20 ราย ซึ่งประมาณ 15 รายเปนคูแขงโดยตรงกับ UMS ในตลาดอุตสาหกรรมขนาดกลางและ<br />

ขนาดเล็ก ทั้งนี้ UMS เปนผูนำตลาดในพื้นที่ดังกลาว โดยมีสัดสวนทางการตลาดประมาณรอยละ 35<br />

ปจจับบวกและลบสำหรับป 2554 - 2555<br />

จากสิ่งที่กลาวมาแลว จะเห็นไดวา อุตสาหกรรมการผลิตมีแนวโนมที่จะเปลี่ยนการใชน้ำมันเชื้อเพลิงมาเปนถานหินเพิ่มมากขึ้น ซึ่ง UMS<br />

ยังคงสนับสนุนลูกคาใหหันมาใชถานหิน โดยใหคำแนะนำดานตางๆ ไมวาจะเปน การใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการใชถานหิน การใหคำปรึกษา<br />

เกี่ยวกับขอกำหนดทางเทคนิคของหมอไอน้ำที่ใชถานหินและการจัดหาถานหินที่มีคุณภาพอยางสม่ำเสมอ<br />

ราคาถานหินมีแนวโนมที่ดีขึ้น และ UMS คาดหวังวาในป 2554 ราคาขายถานหินโดยเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นตามภาวะตลาด นอกจากนี้ UMS<br />

ไดเริ่มเขาไปในโรงานปูนซีเมนต และคาดหวังวาการผลิตซีเมนตจะมีเพิ่มขึ้นเนื่องจากโครงสรางขั้นพื้นฐานทั้งภาครัฐและเอกชนกำลังเริ่มฟนตัว<br />

84 รายงานประจำป 2553


นโยบายวาดวยการรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทฯ<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) มีความมุงมั่นที่จะดำรงตนใหเปนบริษัทฯ ที่เปนแบบอยางที่ดีของสังคม (Good Corporate Citizen)<br />

ในการดำเนินงานและการทำกิจกรรมทุกดาน บริษัทฯ ดำเนินกิจการดวยหลักจริยธรรมและหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีเพื่อใหสอดคลองกับ<br />

ผลประโยชนของสังคม และสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยใหความสำคัญกับผูมีสวนไดเสียของบริษัทฯ คุณภาพ ความปลอดภัย<br />

การเคารพสิทธิมนุษยชน การมีสวนรวมในชุมชนและการพัฒนาสังคม และการคุมครองสิ่งแวดลอม<br />

การกำกับดูแลกิจการที่ดี<br />

บริษัทฯ ไดกำหนดนโยบายวาดวยการกำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งระบุถึงนโยบายวาดวยสิทธิของผูมีสวนไดเสียของบริษัทฯ รวมถึงหลักจริยธรรม<br />

และจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ไวแลวอยางชัดเจน<br />

บริษัทฯ ยึดมั่นในคานิยมหลักของบริษัทฯ ไดแก คุณธรรม ความเปนเลิศ จิตสำนึกในการทำงานรวมกัน และการยึดมั่นในพันธะ ซึ่งคานิยมเหลานี้<br />

ไดหลอหลอมรากฐานของการกำกับดูแลกิจการที่ดีที่สุดใหกับบริษัทฯ บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามนโยบายวาดวยการกำกับดูแลกิจการที่ดีรับฟง และ<br />

ดำเนินกิจการใหสอดคลองกับความตองการของผูถือหุน สำหรับขอมูลเพิ่มเติมอานไดที่หัวขอ “รายงานวาดวยการกำกับดูแลกิจการ”<br />

ในรายงานประจำปฉบับนี้ ไดที่หนา 195 ถึง 212<br />

การดูแลพนักงานและเคารพสิทธิมนุษยชน<br />

บริษัทฯ ตระหนักถึงคุณคาของพนักงานและมุงรักษาพนักงานใหทำงานในระยะยาว เนื่องจากเปนสิ่งสำคัญตอการเติบโตของกลุมบริษัทฯ<br />

บริษัทฯ จึงจัดใหมีการดำเนินงาน สงเสริมดานแรงงานสัมพันธอยางตอเนื่องในแนวทางตอไปนี้<br />

ก) การจางงานที่เปนธรรม<br />

บริษัทฯ มีความมุงหมายที่จะรับและรักษาพนักงานที่มีความสามารถไว ตลอดจนสรางสมดุลระหวางชีวิตและการทำงาน (life/work balance)<br />

ใหกับพนักงานมากขึ้น กลุมบริษัทฯ มีสวัสดิการใหกับพนักงานประจำ รวมถึงกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประกันชีวิต ประกันสุขภาพสวนบุคคล<br />

วันหยุดลาคลอด และวันหยุดอื่นๆ นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ยังจัดใหมีโครงการพัฒนาสำหรับบุคคลและโครงการฝกอบรมโดยทั่วไป เพื่อเพิ่มทักษะ<br />

ในการทำงานใหกับพนักงานอีกดวย โดยโครงการเหลานี้จะสอดคลองกับหนาที่ความรับผิดชอบงานของพนักงานแตละคนในกลุมบริษัทฯ และมี<br />

การเชื่อมโยงกับผลการประเมินการปฏิบัติงานประจำปของพนักงานแตละคนอีกดวย<br />

ข) การดูแลพนักงานและสวัสดิการ<br />

กลุมบริษัทฯ ไดจัดตั้งคณะกรรมการสวัสดิการ (Welfare Committee) เพื่อที่จะใหคำปรึกษาและคำแนะนำเกี่ยวกับสวัสดิการตางๆ ใหกับพนักงาน<br />

โดยหนาที่และความรับผิดชอบหลักๆ ของคณะกรรมการสวัสดิการประกอบไปดวย การใหคำแนะนำเกี่ยวกับสวัสดิการตางๆ การตรวจเช็ค<br />

และตรวจสอบสวัสดิการที่มอบใหแกพนักงาน รวมทั้งใหความคิดเห็น และเสนอแนะแนวทางเพิ่มเติม หรือที่จำเปนเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการตางๆ<br />

ค) การสื่อสารภายในองคกร<br />

กลุมบริษัทฯ ใหความสำคัญกับการสื่อสารภายในองคกรกับพนักงานทุกระดับ เพื่อใหพนักงานทราบขาวสาร กิจกรรม รวมถึงทิศทางการดำเนินงาน<br />

ของบริษัทฯ อยางทั่วถึง โดยมีชองทางและกิจกรรมการสื่อสารที่สำคัญ อาทิเชน<br />

l การประชุมทั้งบริษัทฯ (Company Town Hall) จัดขึ้นเปนประจำในชวงสิ้นไตรมาสของงบประมาณการเงิน เพื่อชี้แจงถึงผลการดำเนินงาน<br />

ปจจัยที่มีผลตอการดำเนินงานและทิศทางการดำเนินงานตอไปในอนาคต โดยจะมีการถายทอดไปยังพนักงานในกลุมบริษัทฯ ทั้งในและ<br />

ตางประเทศ เพื่อใหพนักงานไดรับทราบขาวสารและทิศทางการดำเนินงานของบริษัทฯ อยางทั่วถึงกัน<br />

l Intranet หรือเว็บไซต เปนศูนยกลางขอมูลขาวสารภายในองคกร โดยจะเผยแพรขอมูลหรือประกาศที่เกี่ยวของกับพนักงาน, ขอมูลกิจกรรมหรือ<br />

หลักสูตรอบรมภายในองคกร และเรื่องอื่นๆ รวมทั้งเกร็ดความรูตางๆ ที่เปนประโยชน ซึ่งเนื้อหาและ Design จะมีการ update ใหมีความใหม<br />

และนาสนใจอยูเสมอ<br />

l E - Newsletter หรือวารสารภายในองคกร บริษัทฯ ไดจัดใหมีวารสารภายในองคกรชื่อ “The Bridge Focus” เผยแพรรายไตรมาส โดยจะ<br />

เปนการรวบรวมขาวและกิจกรรมสำคัญของบริษัทในเครือ รวมทั้งมีบทสัมภาษณผูบริหารหรือพนักงานในกลุมบริษัทฯ ในแงมุมตางๆ และ<br />

คอลัมนอื่นๆ ที่เปนประโยชนตอพนักงาน โดยจะสงถึงพนักงานในเครือที่ทำงานในสำนักงานทาง E-mail รวมทั้งผลิตเปนเลมเพื่อสงไปที่เรือ<br />

สำหรับพนักงานที่ทำงานบนเรือดวย<br />

รายงานประจำป 2553 85


l CEO Message หรือสารจาก CEO ที่สงถึงพนักงานในเครือทาง Email และ poster<br />

ติดบอรดภายในองคกร เปนชองทางการสื่อสารระหวาง CEO ถึงพนักงานเปนประจำ<br />

ทุกเดือน<br />

l กิจกรรมการดูงาน บริษัทฯ ไดจัดทริปดูงานบริษัทในเครือเพื่อเปนการถายทอดความรู<br />

และแลกเปลี่ยนประสบการณของธุรกิจตางๆ ในกลุมบริษัทฯ รวมถึงเปนการสรางโอกาส<br />

ในการทำความรูจักและสรางความสัมพันธระหวางพนักงาน โดยเปดโอกาสใหพนักงานทุกคน<br />

ที่สนใจไปรวมกิจกรรมได<br />

l ชองทางสื่อสารดวน เชนการสง sms เปนการสงขอความถึงพนักงานเมื่อมีเหตุการณสำคัญ<br />

เรงดวน เปนตน<br />

ง) การจัดกิจกรรมตางๆ<br />

งานกิจกรรม Maritime Awards เปนงานประจำปที่จัดขึ้น เพื่อประกาศเกียรติคุณใหกับ<br />

บุคลากรผูปฏิบัติงานบนกองเรือและบนฝงของบริษัทฯ ที่มีพฤติกรรมที่นายกยอง และมี<br />

ผลงานดีเดน ซึ่งบริษัทฯ มีการเชิญสมาชิกในครอบครัวของพนักงานที่ไดรับรางวัลมารวมงาน<br />

ดังกลาวดวย เพื่อยกยองเชิดชู ใหกำลังใจแกพนักงานเหลานั้นตอหนาบุคคลอันเปนที่รัก<br />

กลุมบริษัทไดจัดกิจกรรม<br />

Happy TTA เปนกิจกรรม<br />

เพื่อใหพนักงานผอนคลาย<br />

อีกทั้ง กลุมบริษัทฯ ยังไดจัดกิจกรรม Happy TTA เปนกิจกรรมเพื่อใหพนักงานผอนคลายและ<br />

มีความสุขมากขึ้น ตัวอยางกิจกรรมในโครงการนี้ เชน บริการนวดตัวผอนคลายใหที่โตะทำงาน<br />

กิจกรรมฟงธรรมสรางสุขกับพระอาจารยจากรายการธรรมะเดลิเวอรี่ โยคะ บอดี้คอมแบท<br />

เปนตน<br />

จ) ความปลอดภัยและสุขอนามัยในสถานประกอบการ<br />

กลุมบริษัทฯ มีความมุงหมายที่จะใหพนักงานทุกคนทำงานในสถานที่ทำงานที่มีความปลอดภัย<br />

บริษัทฯ ไดกำหนดนโยบายความปลอดภัย และจัดตั้งคณะกรรมการอาชีวอนามัยความปลอดภัย<br />

และสิ่งแวดลอมในสถานประกอบการ (Occupational Health and Safe Working<br />

Environment Committee) เพื่อสรางอาชีวอนามัยและสิ่งแวดลอมในบริษัทฯ ที่ปลอดภัย<br />

พนักงานทุกคนจะตองรายงานสภาพแวดลอมของการทำงานที่ไมปลอดภัยตอผูบังคับบัญชาหรือ<br />

ผูที่ไดรับมอบอำนาจจากบริษัทฯ พนักงานตองเคารพและปฏิบัติตามนโยบายอาชีวอนามัย<br />

ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมในสถานประกอบการของกลุมบริษัทฯ และใหขอเสนอแนะตางๆ<br />

(ถามี) ตอผูบังคับบัญชาหรือผูที่ไดรับมอบอำนาจจากบริษัทฯ<br />

86 รายงานประจำป 2553


การมีสวนรวมในชุมชนและการพัฒนาสังคม<br />

การมีสวนรวมในชุมชนและการพัฒนาสังคมของบริษัทฯ มีสวนประกอบหลัก 2 สวน คือ<br />

การบริจาคเงิน และการสนับสนุนองคกรตางๆ ทั้งสวนทองถิ่นและระดับชาติ กลุมบริษัทฯ<br />

สนับสนุนหลายกลุมธุรกิจและหอการคาตางๆ รวมทั้งสมาคมเจาของเรือไทย ซึ่งมีผูบริหาร<br />

ระดับสูงของกลุมบริษัทฯ เปนกรรมการในสมาคมดังกลาว อีกทั้ง กลุมบริษัทฯ ไดมีนโยบาย<br />

สนับสนุนใหพนักงานสละเวลาเพื่อชุมชนและอนุญาตตอคำขอที่เหมาะสมของพนักงานที่จะ<br />

ลางานเพื่อไปประกอบกิจกรรมเพื่อชุมชน<br />

ก. การบริจาคเงิน<br />

บริษัทฯ ไดสนับสนุนการใหทุนการศึกษาแกนักเรียนจากศูนยฝกพาณิชยนาวี นิสิตและนักศึกษา<br />

จากมหาวิทยาลัยบูรพาและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รวมทั้งบุตรธิดาของลูกเรือเสมอมา<br />

ภาพรวมกับพนักงานจิตอาสา<br />

าพรวมกบ งานจตอา<br />

บริจาคเงินและสิ่งของใหกับ<br />

สมาคมรวมปญญาคนพิการ<br />

โครงการ “น้ำเอยน้ำใจ” เปนโครงการที่บริษัทฯ จัดตั้งขึ้น เพื่อนำเงินไปชวยเหลือและสนับสนุน<br />

องคกรการกุศลตางๆ ที่ขาดแคลน หรือเปนงบประมาณเพื่อชวยบรรเทาทุกขแกผูประสบ<br />

สาธารณภัยตางๆ<br />

ภาพบริจาคเงินเพื่อสรางหองน้ำ และซื้ออุปกรณการเรียนใหกับเด็กนักเรียนวัดดอนมะกอก<br />

จังหวัดเพชรบุรี<br />

ข. กิจกรรมเพื่อชุมชน<br />

บริษัทฯ เขารวมเปนสมาชิกของสมาคมเจาของเรือไทย สมาคมเจาของเรือและตัวแทนเรือ<br />

กรุงเทพฯ เพื่อรวมเปนสวนหนึ่งในการชวยพัฒนาใหอุตสาหกรรมเดินเรือมีความกาวหนา<br />

พัฒนาอยางตอเนื่อง<br />

บริษัทฯ ใหการสนับสนุนความรูในการปฏิบัติงานจริงแกสถาบันการเดินเรือ รวมทั้งมหาวิทยาลัย<br />

ตางๆ อาทิ ศูนยฝกพาณิชยนาวี มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพื่อสงเสริม<br />

ใหนักเรียน นิสิตและนักศึกษามีความเขาใจถึงความสำคัญของธุรกิจพาณิชยนาวี<br />

บริษัทฯ สนับสนุนใหพนักงานมีสวนรวมในกิจกรรมชวยเหลือสังคม อาทิ เปนผูบรรยายรับเชิญ<br />

ในชั้นเรียนใหแกมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยหลายแหงเกี่ยวกับความรูทางดานพาณิชยนาวี<br />

บริษัทฯ ไดจัดโครงการกระดาษหนาที่สาม (Sight In Hand) เพื่อรวบรวมกระดาษที่ใชแลวใน<br />

สำนักงานและนำไปบริจาคใหกับมูลนิธิชวยเหลือคนตาบอดในพระบรมราชินูปถัมภ ในการนำ<br />

ไปจัดทำหนังสือพิมพอักษรเบรลล ซึ่งโครงการนี้ จะเปนโครงการที่จัดทำอยางตอเนื่อง เพื่อชวย<br />

รณรงคในเรื่องของการลดโลกรอน และกระตุนใหเกิดจิตสำนึกในการใชทรัพยากรตางๆ อยาง<br />

เกิดประโยชนสูงสุด<br />

ภาพบรรยากาศการไปบริจาค<br />

กระดาษและเลี้ยงอาหาร<br />

กลางวันแกเด็กตาบอด<br />

รายงานประจำป 2553 87


4) การคุมครองสิ่งแวดลอม<br />

บริษัทฯ ตระหนักวาในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อาจมีกิจกรรมที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและชุมชนที่บริษัทฯ ดำเนินการอยู บริษัทฯ จึงไดมี<br />

ความรับผิดชอบที่จะจัดการกับผลกระทบเหลานี้และหาทางแกไขอยางมีประสิทธิผลเทาที่จะทำได บริษัทฯ จึงไดยึดมั่นที่จะพัฒนาบทบาท<br />

ทางดานสิ่งแวดลอมนี้และหาแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดในการพัฒนาองคกรอยางยั่งยืน<br />

ก. นโยบายเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม<br />

บริษัทฯ มีความมุงหมายที่จะ<br />

l ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการดำเนินงานของบริษัทฯ และประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอม รวมทั้งหาทางที่จะลดผลกระทบ<br />

ตอสิ่งแวดลอมกอนที่จะเริ่มดำเนินงานใหมๆ<br />

l ลดปริมาณการใชวัตถุดิบในการปฏิบัติงานตางๆ การนำกลับมาใชใหมแทนการทิ้งวัตถุดิบถาทำได และสนับสนุนการนำวัสดุที่ใชแลว<br />

กลับมาใชอีก<br />

l หาทางที่จะปรับปรุงการใชพลังงานในอาคารอยางมีประสิทธิผลและใชพลังงานอยางชาญฉลาดในการปฏิบัติงานทั้งหมด<br />

l ลดระดับการปลอยมลพิษจากสถานที่ทำงานของบริษัทฯ ในจุดที่ทำได<br />

l ริเริ่มโครงการตางๆ ที่มุงที่จะลดปริมาณของเสีย<br />

l มีความรับผิดชอบตอการกำจัดสิ่งปฏิกูล<br />

l ประสานงานกับบริษัทผูนำสงวัตถุดิบใหบริษัทฯ โดยใชนโยบายการซื้อที่มีคุณภาพ เพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการปฏิบัติการ<br />

ของบริษัทเหลานั้น<br />

ข. การจัดการความเสี่ยงทางดานสิ่งแวดลอม<br />

ในการดำเนินงานของกลุมบริษัทฯ จะตองใชพลังงานอยางตอเนื่อง และการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกมาในบรรยากาศ นอกจากนี้ บริษัทฯ<br />

ใชกระดาษเปนปริมาณมากในการทำรายงาน และในกระบวนการจัดเก็บเอกสาร ทั้งกับองคกรเองและกับลูกคา พลังงานที่ใชเพื่อใหเกิดแสงสวาง<br />

ความรอนของอุปกรณและเครื่องใชสำนักงาน<br />

ระบบความเย็นในสำนักงาน และอุปกรณเครื่องใชสำนักงาน ลวนเปนอีกปจจัยสำคัญของกระบวนการ กลุมบริษัทฯ ใหความสนใจกับสิ่งตาง ๆ<br />

ตอไปนี้ เพื่อใหมั่นใจไดวามีระบบที่รองรับในการรักษาสิ่งแวดลอม<br />

1) แสงสวาง<br />

บริษัทฯ สนับสนุนใหมีการใชหลอดไฟแบบประหยัดพลังงาน และมีการแบงพื้นที่ออกเปนสัดสวนเพื่อใหสามารถปดไฟไดหากไมจำเปน<br />

2) เครื่องปรับอากาศ<br />

มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศทั่วทั้งอาคารสำนักงานของบริษัทฯ เพื่อใหแนใจวาระบบความเย็นจะทำงานอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด<br />

บริษัทฯ จัดตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมการทำงานที่ประมาณ 25 องศาเซลเซียส<br />

3) กระดาษ<br />

กลุมโทรีเซนมองหาวิธีที่จะลดปริมาณการใชกระดาษและนำกระดาษที่ใชแลวกลับมาใชใหมใหมากขึ้น บริษัทฯ มุงมั่นที่จะลดยอดการสั่งซื้อ<br />

กระดาษ และสนับสนุนพนักงานใหนำกระดาษที่ใชแลวกลับมาใชใหม นอกจากนี้ พนักงานไดรับการสนับสนุนใหใชการสื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส<br />

ในรูปแบบของอีเมล และการสแกนเอกสารแลวเก็บในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส<br />

4) ขยะ<br />

ขยะทั่วไปในสำนักงานจะถูกเก็บและกำจัดโดยพนักงานทำความสะอาดทุกวัน และนำไปที่เครื่องอัดขยะเพื่อทำการกำจัดขยะโดยบริษัทเก็บขยะ<br />

ที่ทำสัญญาวาจางไว หรือพนักงานของรัฐที่จะเขามาเก็บขยะทุกสัปดาห<br />

5) กองเรือของบริษัทฯ<br />

จากความพยายามลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการขนสงทางเรือระหวางประเทศทั่วโลกนั้น คณะกรรมการองคกรทางทะเลระหวางประเทศ<br />

(IMO) ไดรวมกันทำงานอยางพิถีพิถันเปนเวลาหลายปในการพัฒนาระบอบการใชบังคับ ที่ประกอบดวยมาตรการทางดานเทคนิคและดานการ<br />

ปฏิบัติการที่ในปจจุบันอุตสาหกรรมการขนสงทางเรือระหวางประเทศนำมาตรการตางๆ มาบังคับใชโดยสมัครใจ<br />

88 รายงานประจำป 2553


เมื่อกรอบขอบังคับที่จัดทำโดยองคกรทางทะเลระหวางประเทศ (IMO) ไดมีผลบังคับใช คาดวาจะสามารถชวยลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนได<br />

ออกไซคจากการขนสงทางเรือระหวางประเทศไดอยางมาก เมื่อมาตรการทางดานเทคนิคและดานการปฏิบัติการไดมีผลบังคับใชแลวในป 2563<br />

จะชวยลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซคในชั้นบรรยากาศไดถึง 250 ลานตันตอปเมื่อเทียบกับเมื่อมีการทำธุรกิจโดยปรกติ และไดถึง 600 ลานตัน<br />

ในป 2573<br />

บริษัทฯ ตระหนักถึงความรับผิดชอบที่ควรมีตอผลกระทบดังกลาว จึงมีมาตรการที่จะชวยลดผลกระทบสภาวะเรือนกระจกดังตอไปนี้<br />

1) การสรางจิตสำนึกของกองเรือในการลดปริมาณการปลอยกาซที่มีผลกระทบสูอากาศ<br />

2) จัดทำแผนกลยุทธและปฏิบัติการลดปริมาณการปลอยกาซสำหรับกองเรือดังนี้<br />

l การใชน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีสวนผสมของซัลเฟอรที่ต่ำกวาและทดลองใชน้ำยาพิเศษผสมในน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อชวยใหการเผาไหมสมบูรณ<br />

ยิ่งขึ้น และลดความสิ้นเปลืองของน้ำมันเชื้อเพลิงลง<br />

l ใชระบบการควบคุมการใชปริมาณน้ำมันหลอลื่น (Alpha Lubricator) เพื่อลดความสิ้นเปลืองของน้ำมันเชื้อเพลิงในกระบอกสูบ<br />

l บำรุงและดูแลรักษาอุปกรณตางๆ ใหอยูในสภาพที่เหมาะสม เพื่อสามารถปฏิบัติการไดเต็มประสิทธิภาพ<br />

l การซอมแซมบำรุงเรืออยางตอเนื่อง เพื่อใหมั่นใจไดวาอุปกรณทั้งหมดทำงานไดเต็มประสิทธิภาพ<br />

l ทดสอบกระบวนการขัดลางตัวเรือ 100% และใชสีที่ลดแรงเสียดทานของน้ำทะเล<br />

l นำ Green Passport Certification มาใชกับเรือ<br />

l สนับสนุนวิจัยคนควาตางๆ เพื่อการพัฒนาวิธีใหมๆ ในการลดสภาวะเรือนกระจกที่เกิดจากเรือ<br />

นอกจากนี้ ยังมีการคาดการณวา จะมีการเก็บภาษีเพิ่มเติมจากธุรกิจเรือจากการสรางมลภาวะดังกลาว เราจึงพยายามที่จะลงทุนในโครงการตางๆ<br />

ที่มีสวนชวยสนับสนุนการบำบัดภาวะโลกรอน ซึ่งไมเพียงแตสนับสนุนกลยุทธการลดปริมาณการปลอยกาซเสียของเรือเทานั้น แตยังเปนการลงทุนที่<br />

คุมคากวาการที่ตองเสียคาใชจายที่ถูกเรียกเก็บดังกลาว<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) 2553 89


คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ<br />

ผลการดำเนินงานของกลุมบริษัทฯ<br />

ผลการดำเนินงานทางธุรกิจของบริษัทฯ ไดรับอิทธิพลจากปจจัยกระตุนหลักจำนวนหนึ่ง ในการประเมินผลการดำเนินงานทางธุรกิจระยะยาว<br />

ผูบริหารของบริษัทฯ ใหความสำคัญกับเปาหมายซึ่งประกอบดวย การเติบโตของรายไดอยางมั่นคง การควบคุมตนทุนโดยตรง การเติบโตของผล<br />

กำไรจากการดำเนินงาน การเพิ่มผลกำไรที่ไมไดเกิดจากการดำเนินงานอยางสูงสุด และการเติบโตอยางตอเนื่องของผลกำไรในสวนของผูถือหุน<br />

และอัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุนเฉลี่ย<br />

ตาราง 22 : ผลการดำเนินงานของกลุม<br />

ลานบาท 2553 (2) 2552 (2) เทียบปตอป (รอยละ)<br />

รายไดจากการดำเนินงาน 18,386.51 19,795.00 -7.1%<br />

ตนทุนจากการดำเนินงาน 17,545.04 18,336.22 -4.3%<br />

กำไรจากการดำเนินงาน 841.47 1,458.78 -42.3%<br />

กำไร/ขาดทุนที่ไมไดเกิดจากการดำเนินงาน -45.90 354.93 -112.9%<br />

กำไรสุทธิ 795.57 1,813.71 -56.1%<br />

อัตรากำไรสุทธิ(1) 4.33% 9.16% -52.7%<br />

อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุนโดยเฉลี่ย 3.04% 7.06% -56.9%<br />

หมายเหตุ<br />

(1)<br />

: กำไรสุทธิ/รายไดจากการดำเนินงาน<br />

(2)<br />

: ผลประกอบการของบริษัทฯ ของป 2552 ไดรวมผลประกอบการ 2 เดือนจากบาคองโค ในขณะที่ของป 2553 ไดรวมผลประกอบการทั้งปจากบาคองโค และ<br />

11 เดือน จาก UMS รวมถึงผลกำไรตามวิธีสวนไดเสียของ Petrolift ในระยะเวลา 6 เดือน<br />

การที่ผลกำไรและรายไดของบริษัทฯ ลดลงนั้นมีสาเหตุหลักมาจากผลขาดทุนที่มีนัยสำคัญของเมอรเมด ซึ่งเกิดจากอัตราการใชประโยชนจาก<br />

สินทรัพยและคาเชาเรือที่ลดลงทั้งในสวนของงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำและในสวนของงานขุดเจาะ อยางไรก็ตาม ผลการขาดทุนดังกลาวไดถูกหัก<br />

กลบกับการเติบโตของผลกำไรของกลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน ซึ่งสวนใหญมาจากบาคองโค และกำไรจากกลุมธุรกิจขนสงที่คอนขางคงที่ ซึ่ง<br />

หลักๆ มาจากธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง<br />

ผลกำไรของกลุมธุรกิจหลัก<br />

ตารางตอไปนี้แสดงผลการดำเนินงานของสายธุรกิจหลักโดยไมหักรายการระหวางกัน ซึ่งผลการดำเนินงานนี้ไมรวมรายการที่ไมเกิดจากการดำเนิน<br />

งาน เชน กำไรจากการขายเงินลงทุนและกำไรจากการทำ cross currency swap สรุปไดตามตารางดานลางนี้<br />

ตาราง 23 : ผลกำไรจากการดำเนินงานของกลุมธุรกิจหลัก<br />

ลานบาท<br />

กลุมธุรกิจขนสง<br />

กลุมธุรกิจ<br />

พลังงาน<br />

2553<br />

กลุมธุรกิจโครงสราง<br />

ขั้นพื้นฐาน สวนของบริษัทฯ (1) รวม<br />

รายไดจากธุรกิจหลัก 9,640.30 3,476.36 4,897.25 -120.81 17,893.10<br />

คาใชจายจากธุรกิจหลัก/ตนทุนขาย 6,986.25 2,641.82 3,914.73 -24.95 13,517.85<br />

กำไรขั้นตน (2) 2,654.05 834.54 982.52 -95.86 4,375.25<br />

คาเสื่อมราคาและการตัดจำหนาย 1,033.26 626.65 131.35 170.77 1,962.03<br />

คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร 876.78 480.90 426.05 283.19 2,066.92<br />

กำไรจากการขายเรือ 495.17 - - - 495.17<br />

กำไรจากการดำเนินงาน 1,239.18 -273.01 425.12 -549.82 841.47<br />

หมายเหตุ (1) : สวนของบริษัทฯ หมายถึง TTA และบริษัทอื่นในกลุมซึ่งเปนบริษัทที่ถือหุนเพื่อการลงทุน และรวมการตัดรายการระหวางกัน<br />

(2)<br />

: กำไรขั้นตนที่แสดงตามตารางขางบนนี้ไมรวมคาเสื่อมราคาและการตัดจำหนาย ซึ่งจะทำใหตางกับตัวเลขที่ไดรายงานไวในงบการเงินของบริษัทฯ<br />

90 รายงานประจำป 2553


ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง<br />

ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองมีกำไรสุทธิ (ไมรวมผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน) เปนเงินจำนวน 1,113.34 ลานบาท สำหรับรอบปบัญชี 2553<br />

เทียบกับกำไรสุทธิจำนวน 719.38 ลานบาท ในปที่แลว กลุมธุรกิจขนสงมีสวนแบงกำไรคิดเปนรอยละ 128.38 ใหกับกำไรสุทธิของกลุมบริษัทฯ<br />

ในชวงรอบปบัญชี 2553 เทียบกับรอยละ 57.62 ในชวงรอบปบัญชี 2552<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ มีเรือทั้งสิ้น 27 ลำ และมีเรืออีก 5 ลำ ที่บริษัทฯ เชามาระยะยาว เพื่อเสริมกองเรือ โดยเรือ 4 ลำ ที่เชามา<br />

จะหมดสัญญาเชาในป 2554 และอีก 1 ลำจะหมดสัญญาเชาในป 2555 กองเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของมีระวางบรรทุกสินคารวมทั้งสิ้น 905,809<br />

เดทเวทตัน และเรืออีก 5 ลำ ที่บริษัทฯ เชามาเพื่อเสริมกองเรือ มีระวางบรรทุกสินคารวม 255,994 เดทเวทตัน<br />

วันทำการ : เนื่องจากปริมาณการคาเติบโตขึ้น ทำใหตลาดตองการเรือที่มีขนาดใหญขึ้น ซึ่งถูกผลักดันดวยการเพิ่มขึ้นของปริมาณเรือในตลาด<br />

จากการที่บริษัทฯ ไดยกเลิกการใหบริการเรือขนบรรทุกสินคาแหงแบบเทกองแบบประจำเสนทางไปเมื่อเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2553 นั้น สงผลใหมี<br />

การขายเรือที่มีระวางสองชั้น (tween-decker) ไป 5 ลำ รวมระวางบรรทุกที่จำหนายไป 81,180 เดทเวทตัน เนื่องจากมีความยากลำบากที่จะหางาน<br />

ใหกับเรือเหลานี้ในตลาดที่ใหบริการเดินเรือแบบไมประจำเสนทาง นอกจากนี้ ยังไดขายเรือชนิด box-shape จำนวน 6 ลำ รวมระวางบรรทุกที่<br />

จำหนายไป 174,989 เดทเวทตัน เนื่องจากเรือดังกลาวมีอายุมาก<br />

บริษัทฯ ไดรับมอบเรือที่สั่งตอใหมขนาด Supramax จำนวน 1 ลำ และซื้อเรือมือสองที่มีความทันสมัยขนาด Supramax จำนวน 1 ลำในป 2553<br />

ทำใหเพิ่มระวางบรรทุกเขามาในกองเรืออีก 111,138 เดทเวทตัน ดังนั้นขนาดระวางบรรทุกเฉลี่ยของเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของเพิ่มขึ้นรอยละ 8.31<br />

ในชวงรอบปบัญชี 2553 จำนวนวันเดินเรือทั้งหมดของกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองที่บริษัทฯ เปนเจาของลดลงรอยละ 23.19 จำนวนเรือที่<br />

บริษัทฯ เปนเจาของที่ปฏิบัติการเต็มเวลาในป 2553 คิดเปนจำนวนเทากับ 28.02 ลำ เทียบกับ 37.66 ลำในป 2552 บริษัทฯ ไดเชาเรือมาเสริม<br />

กองเรือคิดเปน 3,096 วันเดินเรือ (หรือเทียบเทากับ 8.48 ลำที่ปฎิบัติการเต็มเวลา) ในป 2553 เทียบกับ 5,023 วันเดินเรือ (หรือเทียบเทากับ 13.76<br />

ลำที่ปฎิบัติการเต็มเวลา) ในป 2552 โดยรวม ไดมีจำนวนเรือที่ปฏิบัติการเต็มเวลา คิดเปนจำนวนเทากับ 36.50 ลำ และ 51.42 ลำในป 2553<br />

และป 2552 ตามลำดับ<br />

ตารางตอไปนี้สรุปการเปลี่ยนแปลงของขนาดกองเรือของบริษัทฯ ตามวันเดินเรือในรอบปปฏิทิน และวันทำการของเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของและ<br />

เรือที่เชามาเสริมกองเรือ<br />

ตาราง 24 : สรุปขอมูลกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง<br />

วัน<br />

2553 2552<br />

จำนวนวัน เปลี่ยนแปลงรอยละ จำนวนวัน เปลี่ยนแปลงรอยละ<br />

เดทเวทตันเฉลี่ย 29,444 8.31% 27,185 0.38%<br />

จำนวนวันเดินเรือในรอบปปฏิทิน 11,113 -23.19% 14,468 -7.92%<br />

จำนวนวันเดินเรือที่มี 10,430 -25.89% 14,073 -6.62%<br />

จำนวนวันทำการ 10,227 -25.59% 13,745 -7.33%<br />

อัตราการใชประโยชนจากเรือที่เปนเจาของ 98.05% 0.39% 97.67% -0.75%<br />

จำนวนวันเดินเรือทำการของกองเรือที่เชามาเพิ่มเติม 3,096 -38.36% 5,023 -30.95%<br />

จำนวนวันเดินเรือทำการทั้งหมด 13,323 -29.01% 18,768 -15.10%<br />

จำนวนเฉลี่ยของเรือที่เปนเจาของ 28.02 -25.60% 37.66 -7.33%<br />

จำนวนเรือเทียบเทา 36.50 -29.02% 51.42 -15.09%<br />

ปริมาณสินคาทั้งหมดที่บริษัทฯ ขนสงในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 14.02 เปน 10.08 ลานตัน แมวาจำนวนเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของจะลดลง<br />

อยางมากในชวงปนี้ และจำนวนวันเดินเรือที่เชามาเสริมกองเรือลดลง แตปริมาณสินคาที่บริษัทฯ ขนสงนั้นไมไดลดลงมากนัก เนื่องจากบริษัทฯ<br />

ไดบริหารเรือที่มีขนาดใหญขึ้นและมีอัตราการใชประโยชนของกองเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของที่เพิ่มขึ้น<br />

รายงานประจำป 2553<br />

91


ตาราง 25 : ปริมาณสินคาตามประเภทของการใหบริการ<br />

ชนิดของการใหบริการ คิดเปนตัน<br />

รอบปบัญชี 2553 รอบปบัญชี 2552<br />

ปริมาณที่ขนสง เทียบปตอป (รอยละ) ปริมาณที่ขนสง เทียบปตอป (รอยละ)<br />

บริการแบบประจำเสนทาง 492,249 -70.89% 1,691,218 -53.68%<br />

บริการแบบไมประจำเสนทาง - สัญญารับ<br />

ขนสงสินคาลวงหนา 2,817,746 2.92% 2,737,919 -9.74%<br />

บริการแบบไมประจำเสนทาง - เชาเหมาลำ<br />

เปนเที่ยว 1,459,385 -50.26% 2,934,011 0.84%<br />

บริการแบบไมประจำเสนทาง - ชาเหมาลำ<br />

เปนระยะเวลา 5,306,379 21.82% 4,355,755 -42.70%<br />

รวม 10,075,759 -14.02% 11,718,903 -31.85%<br />

รายไดจากการเดินเรือในแตละเที่ยว : รายไดจากการเดินเรือในแตละเที่ยวในป 2553 ลดลงรอยละ 33.01 เปน 9,272.55 ลานบาท เทียบกับ<br />

13,842.17 ลานบาท ในป 2552 โดยมีสาเหตุจากจำนวนวันเดินเรือทำการโดยรวมที่ลดลง อยางไรก็ตาม จากสภาวะตลาดที่ดีขึ้น และการบริหาร<br />

กองเรือที่ดีขึ ้น สงผลใหอัตราคาเชาเรือเฉลี่ยของกองเรือบริษัทฯ ในชวงป 2553 เปน 12,619 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน เทียบกับ 11,127<br />

ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน ในป 2552 หากบริษัทฯ หักผลขาดทุนจากการเชาเรือมาเสริมกองเรือ อัตราคาเชาของกองเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของ<br />

จะเทากับ 13,032 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันในปนี้ ซึ่งดีขึ้นกวาปที่ผานมาคิดเปนรอยละ 18.91 สำหรับป 2553 รายไดจากคาระวางประมาณ<br />

รอยละ 40.53 มาจากสัญญารับขนสงสินคาลวงหนาสัญญาแบบเชาเหมาลำเปนระยะเวลายาว (period time charters) และสัญญารับขนสง<br />

สินคาลวงหนา (“COA”) เทียบกับรอยละ 28.28 ของปที่ผานมา ดังนั้น อัตราคาเชาเรือเฉลี่ยของบริษัทฯ จึงมีความผันผวนนอยกวาตลาด<br />

สาเหตุหลักที่อัตราคาเชาเรือปรับตัวสูงขึ้นในปนี้ ไดแก ก) ผลทางบวกจากการที่บริษัทฯ ยกเลิกการใหบริการการเดินเรือแบบประจำเสนทาง<br />

ซึ่งทำใหบริษัทฯ สามารถใชเรือในภูมิภาคที่ไดคาจางสูงกวา ซึ่งรวมถึงแอตแลนติคดวย ข) การใหเชาเรือทั้งแบบเปนระยะเวลาและแบบระยะสั้น<br />

ปรับตัวดีขึ้น และ ค) สัดสวนรายรับที่มีความแนนอนมีเพิ่มขึ้น ทำใหอัตราคาระวางเรือของบริษัทฯ ไมผันผวนไดงายหากมีการเปลี่ยนแปลงของ<br />

อัตราคาระวางในตลาดระยะสั้น<br />

ตาราง 26 : ผลการดำเนินงานเฉลี่ย<br />

ดอลลารสหรัฐอเมริกา / วัน รอบปบัญชี 2553 รอบปบัญชี 2552 เทียบปตอป (รอยละ)<br />

อัตราแลกเปลี่ยนดอลลารสหรัฐอเมริกาตอเงินบาท (เฉลี่ย) 32.56 34.72 -6.22%<br />

อัตราคาระวางเรือเฉลี่ย (1) 12,619 11,127 13.41%<br />

- อัตราคาระวางเรือที่บริษัทเปนเจาของ 13,032 10,960 18.91%<br />

- อัตราคาระวางเรือที่เชามาเสริมกองเรือ (2) -413 167 -347.31%<br />

สวนของเจาของเรือ (1) 4,806 4,446 8.10%<br />

คาใชจายในการเขาอูแหง 1,378 1,210 13.88%<br />

คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร 1,520 1,307 16.30%<br />

ตนทุนทางการเงิน 48 428 -88.79%<br />

คาเสื่อมราคาและการตัดจำหนาย 2,977 2,434 22.31%<br />

ภาษีเงินได 213 69 208.70%<br />

กำไรจากการดำเนินงาน (1) 1,677 1,233 36.01%<br />

หมายเหตุ :<br />

(1)<br />

ตัวเลขตอวันที่คำนวณไดนั้นคิดจากจำนวนวันเดินเรือที่มี (available service days)<br />

(2)<br />

อัตราคาระวางเรือของเรือที่เชามาเสริมกองเรือเปนอัตราสุทธิที่หักคาใชจายของเที่ยวเรือแลว<br />

คาใชจายของเจาของเรือ : คาใชจายของเจาของเรือลดลงรอยละ 30.41 เปน 1,999.41 ลานบาท เนื่องจากเรือที่ใชในการดำเนินงานมีจำนวน<br />

ลดลง อยางไรก็ตาม ถาคำนวณจากตัวเลขตอวันเดินเรือ คาใชจายในสวนของเจาของเรือเพิ่มขึ้นรอยละ 8.10 สาเหตุหลักเนื่องจากมีเหตุการณ<br />

ที่ไมทราบลวงหนาที่สงผลใหมีตนทุนในการซอมและบำรุงรักษาที่ราคาแพง นอกจากนี้ ตนทุนประกันภัยเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสำคัญ (เพิ่มขึ้นรอยละ<br />

50.27) จากการเรียกเก็บคาเบี้ยประกันเพิ่มจากบริษัทฯ ประกันของบริษัทฯ<br />

92 รายงานประจำป 2553


ในป 2553 มีเรือที่เขารับการตรวจสอบระดับพิเศษและเขาอูแหงจำนวน 6 ลำ ซึ่งเกือบครึ่งหนึ่งของจำนวนดังกลาวไดมีการรายงานไปแลวใน<br />

ป 2552 (12 ลำ ในป 2552) ในป 2553 ตนทุนในการเขาอูแหงอยูที่ประมาณ 31.37 ลานบาทตอลำ เทียบกับ 43.31 ลานบาทตอลำในป 2552<br />

คาใชจายในการเชาเรือแบบเหมาลำเปนระยะเวลา : คาใชจายในการเชาเรือแบบเหมาลำเปนระยะเวลาในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ<br />

27.02 เปน 2,389.09 ลานบาท เทียบกับ 3,273.65 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 เนื่องจากจำนวนเรือที่บริษัทฯ เชามาเสริมกองเรือลดลง ในรอบป<br />

บัญชี 2553 บริษัทฯ เชาเรือมาเปนจำนวนเทียบเทากับ 8.48 ลำที่วิ่งเต็มเวลาหรือ 72 เที่ยวเรือ ทั้งที่เปนการเชามาเปนเที่ยวหรือแบบระยะสั้นเพื่อ<br />

นำมาใชบริการขนสงสินคาในเสนทางประจำ และที่มีสัญญารับขนสงสินคาไวลวงหนา ในรอบปบัญชี 2552 บริษัทฯ เชาเรือมาเพิ่มเติมเปนจำนวน<br />

เทียบเทากับ 13.76 ลำที่วิ่งเต็มเวลาหรือ 111 เที่ยวเรือ เพื่อใชในวัตถุประสงคเชนเดียวกันกับที่กลาวมาแลว นอกจากนี้ อัตราคาเชาเรือเฉลี่ยของ<br />

บริษัทฯ เพิ่มขึ้นรอยละ 29.29 เปน 23,703 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 18,333 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันใน<br />

รอบปบัญชี 2552 สัญญาเชาเรือที่มีอัตราคาเชาที่สูงจะหมดอายุสัญญาในป 2554 และนาจะทำใหผลการดำเนินงานของบริษัทฯ ดีขึ้น<br />

กำไรขั้นตน (margin) : กำไรขั้นตนระหวางรายไดจากคาระวางขั้นตนและคาใชจายจากการดำเนินงานของเรือไดปรับตัวดีขึ้น คิดเปนรอยละ<br />

46.24 ในป 2553 เทียบกับรอยละ 40.37 ในป 2552 อัตรากำไรสุทธิ ซึ่งรวมคาใชจายของเจาของเรือก็ปรับตัวดีขึ้นเปนรอยละ 24.68 ในปนี้ เทียบ<br />

กับรอยละ 19.62 ในป 2552<br />

คาเสื่อมราคาและการตัดจำหนาย : คาเสื่อมราคาและการตัดจำหนายในรอบปบัญชี 2553 ลดลง รอยละ 14.99 เปน 1,010.98 ลานบาทเทียบ<br />

กับ 1,189.32 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 คาเสื่อมราคาและการตัดจำหนายลดลงอยางมากเนื่องจากการขายเรือ 11 ลำ และมีเรือจำนวน 2 ลำ<br />

ที่ตัดคาเสื่อมราคาเต็มอายุการใชงานแลวในชวงรอบปบัญชี 2553 เทียบกับการขายเรือ 8 ลำ และมีเรือจำนวน 3 ลำที่ตัดคาเสื่อมราคาเต็ม<br />

อายุการใชงานแลวในชวงรอบปบัญชี 2552<br />

ผลการดำเนินงานดานอื่นๆ ของธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง<br />

คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร : คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหารในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 32.32 เปน 571.90<br />

ลานบาท เทียบกับ 844.99 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 คาใชจายที่ลดลงมีสาเหตุหลักๆ จากจำนวนเรือที่ใชดำเนินงานลดลงในป 2553 ถึงแมวา<br />

จำนวนเรือที่ใชในการดำเนินงานจะลดลง แตตนทุนคงที่บางรายการก็ไมสามารถลดลงตามไปดวย ดังนั้น คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการ<br />

บริหารตอวันเดินเรือที่มีอยูในป 2553 เทากับ 1,520 ดอลลารสหรัฐอเมริกา เพิ่มขึ้นรอยละ 16.30 จาก 1,307 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันเดินเรือที่<br />

มีอยูในป 2552<br />

การเพิ่มขึ้นของคาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหารเกิดจากการตั้งสำรองเผื่อหนี้จะสูญจำนวน 66.46 ลานบาท เพื่อเปนการจายคาชดเชย<br />

และคาบริหารจัดการอื่นๆ ในการยกเลิกการใหบริการเรือประจำเสนทาง ซึ่งสาเหตุที่บริษัทฯ ยกเลิกการใหบริการเรือประจำเสนทางในเดือน<br />

กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 เนื่องจากเสนทางนี้ใหผลกำไรต่ำกวาที่คาดไวเมื่อเทียบกับการใหบริการชนิดอื่นๆ ของกองเรือบริษัทฯ<br />

ดอกเบี้ยรับ/ดอกเบี้ยจาย : ดอกเบี้ยจายในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 38.39 เปน 60.34 ลานบาท จาก 97.94 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552<br />

สาเหตุหลักที่ดอกเบี้ยจายลดลงมาจากการชำระคืนเงินกูระหวางกันของบริษัทเดินเรือในกลุมกับบริษัทฯ ซึ่งทำใหเงินกูคงเหลือระหวางกันเฉลี่ยเปน<br />

1,984.40 ลานบาท เทียบกับ 2,037.57 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 ดอกเบี้ยรับในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 47.51 เปน 45.83 ลานบาท<br />

เทียบกับ 87.32 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 สาเหตุหลักที่ดอกเบี้ยรับลดลงมาจากเงินสดคงเหลือลดลงจากการที่บริษัทฯ ซื้อเรือขนาด<br />

Supramax จำนวน 2 ลำ<br />

กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน : ในรอบปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 220.96 ลานบาท เทียบกับ<br />

8.05 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2552 ผลขาดทุนนี้มีสาเหตุหลักมาจากการแปลงคารายการสินทรัพยและหนี้สินจากสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

เปนเงินบาท ณ วันสิ้นรอบบัญชี โดยที่เงินบาทแข็งคาขึ้นดวย ทั้งนี้ผลขาดทุนไมมีผลกระทบที่สำคัญตอกระแสเงินสด<br />

กำไรจากการขายเรือ : บริษัทฯ มีการขายเรือ 11 ลำ ในรอบปบัญชี 2553 คือ ทอร จัสมิน ทอร เซลเลอร ทอร คอมมานเดอร ทอร สปริต ทอร<br />

ทริบิวท ทอร ซี ทอรทรานสิท ทอร สกาย ทอร เวนเจอร ทอร ทราเวลเลอร และ ทอร สกิปเปอร จำนวนเงินสดที่ไดรับจากการขายเรือทั้ง 11 ลำเทากับ<br />

1,320.58 ลานบาท กำไรทางบัญชีรวมจากการขายเรือเทากับ 495.17 ลานบาท หรือ 390.44 ลานบาทหลังหักภาษี กำไรทางบัญชีทั้งหมดจากการ<br />

ขายเรือ 8 ลำในปที่แลวเทากับ 33.51 ลานบาท<br />

ภาษีเงินได : บริษัทฯ มีภาษีเงินไดเพิ่มขึ้นรอยละ 115.31 เปน 72.22 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 33.54 ลานบาทในป 2552 อัตราภาษี<br />

ที่แทจริง (effective tax rate) ในรอบปบัญชี 2553 และในรอบปบัญชี 2552 เทากับรอยละ 7.49 และ 4.50 ตามลำดับ สาเหตุหลักที่ภาษีเงินไดนั้น<br />

เพิ่มสูงขึ้นมาจากภาษีกำไรจากการขายเรือ<br />

รายงานประจำป 2553<br />

93


ธุรกิจงานบริการที่เกี่ยวของกับการเดินเรือ<br />

ในป 2553 ธุรกิจงานบริการที่เกี่ยวของกับการเดินเรือมีสวนแบงกำไรใหกับกลุมบริษัทฯ เทากับ 86.47 ลานบาท เทียบกับ 229.38 ลานบาทในป<br />

2552<br />

ธุรกิจเรือบรรทุกน้ำมันและกาซธรรมชาติ<br />

ในป 2553 บริษัทฯ บันทึกเงินกำไรสุทธิจากบริษัท ปโตรลิฟท จำกัด จำนวน 51.86 ลานบาท จากเดือนเมษายน ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 ตาม<br />

สัดสวนการลงทุนรอยละ 38.83 ในบริษัทฯ นี้<br />

สวนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำและสวนงานขุดเจาะ<br />

ในรอบปบัญชี 2553 เมอรเมดมีผลขาดทุนสุทธิตามงบการเงินรวมของเมอรเมด เทากับ 339.49 ลานบาท ดังนั้น บริษัทฯ จึงบันทึกผลขาดทุนสุทธิ<br />

ในงบการเงินรวมของ บริษัทฯ เทากับ 193.98 ลานบาท (หมายเหตุ: ตัวเลขสวนแบงกำไรสุทธิใหกับบริษัทฯ เปนตัวเลขตามมาตรฐานบัญชีของ<br />

สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีไทย (<strong>Thai</strong> GAAP) อยางไรก็ตาม ขอมูลที่จะแสดงในตารางขางลางนี้มาจากตัวเลขของเมอรเมดที่ใชมาตรฐาน<br />

บัญชีสากล IFRS)<br />

ตาราง 27 : วิเคราะหผลประกอบการจากงบการเงินรวมของเมอรเมดในรอบปบัญชี 2553<br />

ลานบาท รอบปบัญชี 2553 รอบปบัญชี 2552 เทียบปตอป (รอยละ)<br />

รายไดจากการบริการ 3,476 5,210 -33.3%<br />

กำไรขั้นตน 231 1,439 -83.9%<br />

กำไรจากการดำเนินงาน/ - ขาดทุน - 187 964 -119.4%<br />

คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร - 556 - 486 14.4%<br />

กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน /- ขาดทุน -80 -56 42.9%<br />

กำไรสุทธิ (- ขาดทุน) - 456 747 -161.0%<br />

กำไรขั้นตน 6.65% 27.62% -75.9%<br />

กำไรขั้นตนจากการดำเนินงาน -5.38% 18.50% -129.1%<br />

หมายเหตุ *: ขอมูลนี้คัดมาจากงบการเงินของเมอรเมดซึ่งสงใหกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศสิงคโปร<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 เมอรเมดเปนเจาของและบริหารเรือที่ใหบริการนอกชายฝงจำนวน 8 ลำ ซึ่ง 4 ลำ เปนเรือสนับสนุนงานประดาน้ำ<br />

ชนิด DP2 DSV นอกจากนี้ เมอรเมดยังเปนเจาของและบริหารเรือขุดเจาะอีกจำนวน 2 ลำ ณ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 เมอรเมดเขาถือหุนรอยละ<br />

49 ใน Asia Offshore Drilling Limited (“AOD”) ซึ่งไดสั่งตอเรือขุดเจาะแบบ jack-up ใหมจำนวน 2 ลำ ชนิด Mod V – B Class ที่มีความสามารถ<br />

ในการปฏิบัติงานในน้ำลึกที่ระดับ 350 ฟุต กับ Keppel FELS ประเทศสิงคโปร<br />

สวนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด (“MOS”)<br />

ขนาดเฉลี่ยของกองเรือในกลุมเรือบริการนอกชายฝงเพิ่มขึ้นรอยละ 26.68 ในป 2553 เนื่องจากมีการรับมอบเรือที่สั่งตอใหม ไดแก เรือเมอรเมด<br />

แซฟไฟร เรือเมอรเมด เอเชียนา และเรือเมอรเมด เอ็นดัวเรอร ในเดือนกุมภาพันธ มิถุนายน และกันยายน พ.ศ. 2553 ตามลำดับ และไดซื้อเรือมือ<br />

สอง ชื่อ เมอรเมด สยาม ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2553<br />

รายไดจากคาบริการ : รายไดจากคาบริการในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 25.33 เปน 2,077.41 ลานบาท มีสาเหตุหลักมาจาก ประการแรก<br />

อัตราการใชประโยชนจากเรือเฉลี่ยที่ลดลงเปนรอยละ 39.54 เทียบกับรอยละ 52.64 ของปที่ผานมา อัตราการใชประโยชนที่ลดลงนี้เปนผลมา<br />

จากการที่เรือจำนวน 4 ลำที่เขามาเพิ่มเติมในกองเรือไมไดมีงานเขามาอยางสม่ำเสมอที่จะใหรายไดและกำไรสูงสุดเพิ่มเขามาในกองเรือ<br />

ซึ่งไดแก เรือเมอรเมด แซฟไฟร เรือเมอรเมด สยาม เรือเมอรเมด เอเชียนา และเรือเมอรเมด เอ็นดัวเรอร ในรอบปบัญชี 2553 จำนวนวันเดินเรือ<br />

ที่มี (available days) และจำนวนวันทำการ (operating days) ของเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำของ MOS มีทั้งสิ้นจำนวน 2,309 วัน<br />

และ 913 วัน ตามลำดับ ซึ่งนอยกวาของในรอบปบัญชี 2552 สาเหตุอีกประการหนึ่งคืออัตราคาเชาเรือรายวัน (day rate) ที่ลดลง อัตราคาเชาเรือ<br />

รายวันเฉลี่ยในรอบปบัญชี 2553 เทากับ 25,213 ดอลลารสหรัฐอเมริกา ลดลงประมาณรอยละ 21.73<br />

94 รายงานประจำป 2553


ตาราง 28 : สรุปขอมูลกองเรือใหบริการนอกชายฝง<br />

รายการการปฏิบัติงานของกองเรือ<br />

รอบปบัญชี 2553 รอบปบัญชี 2552<br />

จำนวนวัน เทียบปตอป (รอยละ) จำนวนวัน เทียบปตอป (รอยละ)<br />

เรือใหบริการนอกชายฝงที่บริษัทเปนเจาของ 2,312 26.68% 1,825 15.29%<br />

เรือใหบริการนอกชายฝงที่เชามาเพิ่มเติม 92 -87.40% 730 -0.27%<br />

จำนวนวันเดินเรือในรอบปปฏิทิน 2,404 -5.91% 2,555 10.37%<br />

จำนวนวันเดินเรือที่มี 2,309 -7.79% 2,504 14.39%<br />

อัตราการใชประโยชนจากเรือ 39.54% -24.89% 52.64% -38.84%<br />

ในรอบปบัญชีนี้ รายไดจากการบริการของ MOS ไดเพิ่มมาจาก Seascape Group (บริษัทที่ MOS ถือหุนรอยละ 80) จำนวน 300.22 ลานบาท<br />

และจาก Subtech Ltd. (บริษัทที่ MOS ถือหุนรอยละ 97) จำนวน 183.40 ลานบาท Seascape และ Subtech มีสวนแบงกำไรขั้นตนใหกับ MOS<br />

เทากับ 110.84 ลานบาท และ 65.62 ลานบาท ตามลำดับ<br />

คาใชจายในการใหบริการ : คาใชจายในการใหบริการของงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำประกอบดวย คาใชจายของเจาของเรือ คาใชจายในการเชา<br />

เรือ และคาเสื่อมราคา คาใชจายในการใหบริการในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 10.22 เปน 2,181.70 ลานบาท เทียบกับ 2,430.02 ลานบาท<br />

ในรอบปบัญชี 2552 คาใชจายของเจาของเรือในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 17.56 เปน 1,747.35 ลานบาท หรือ 22,326 ดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกาตอวันเดินเรือในรอบปปฏิทิน (calendar-vessel-day) ในป 2553 เทียบกับ 2,119.62 ลานบาท หรือ 23,894 ดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

ตอวันเดินเรือในรอบปปฏิทินในป 2552 คาใชจายของเจาของเรือที่ลดลงสวนใหญเนื่องจากอัตราการใชประโยชนจากเรือลดลง คาเสื่อมราคาเพิ่ม<br />

ขึ้นรอยละ 44.61 เปน 448.87 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 310.40 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 คาเสื่อมราคาที่เพิ่มขึ้นจำนวน 138.47<br />

ลานบาท เปนสวนหนึ่งของการตัดคาเสื่อมในปบัญชีนี้ของเรือที่ไดมาจากการสั่งตอใหม และเรือมือสอง<br />

กำไร/-ขาดทุนจากการขายสินทรัพย : ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 เมอรเมดไดขายหุนรอยละ 25 ที่ถืออยูใน บริษัท เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น<br />

เอสดีเอ็น บีเอชดี (“WCI”) เมอรเมดไดรับเงินจากการขายประมาณ 743.37 ลานบาท และบันทึกกำไรจากการขายประมาณ 349.21 ลานบาท<br />

ในรอบปบัญชี 2553 กำไรที่บันทึกในงบการเงินของบริษัทฯ คือ 343.30 ลานบาท<br />

สวนของงานขุดเจาะ - บริษัท เมอรเมด ดริลลิ่งค จำกัด (“MDL”)<br />

รายไดจากคาบริการ : รายไดจากคาบริการในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 51.37 เปน 1,076.30 ลานบาท หรือ 45,288 ดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

ตอวันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฏิทินเทียบกับ 2,213.03 ลานบาท หรือ 87,315 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฏิทิน<br />

ในป 2552 อัตราการใชประโยชนเฉลี่ยของเรือขุดเจาะในรอบปบัญชี 2553 เทากับรอยละ 56.71 เทียบกับรอยละ 94.93 ในป 2552 เนื่องจากมี<br />

เพียงเรือขุดเจาะ MTR-2 ลำเดียวที่ทำงานขุดเจาะในรอบปบัญชี 2553<br />

คาใชจายในการใหบริการ : คาใชจายในการใหบริการของงานขุดเจาะประกอบดวย คาใชจายของเจาของเรือและคาเสื่อมราคา คาใชจายใน<br />

การใหบริการในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 31.99 เปน 866.77 ลานบาท เทียบกับ 1,274.56 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 คาใชจายของ<br />

เจาของเรือในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 39.06 เปน 651.81 ลานบาท หรือ 27,427 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฎิทิน<br />

ในป 2553 เทียบกับ 1,069.63 ลานบาท หรือ 42,202 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฏิทินในป 2552 คาใชจายของเจาของ<br />

เรือที่ลดลงสวนใหญเนื่องจากมีเพียงเรือขุดเจาะ MTR-2 เพียง 1 ลำที่ปฏิบัติงานในป 2553 คาเสื่อมราคาเพิ่มขึ้นรอยละ 4.20 เปน 213.53<br />

ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 204.93 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 คาเสื่อมราคาที่เพิ่มขึ้นมีสาเหตุหลักมาจากมีอุปกรณสำหรับ<br />

ขุดเจาะที่เพิ่มขึ้น<br />

ตาราง 29 : อัตราการใชประโยชนจากเรือของกองเรือขุดเจาะ<br />

รายการปฏิบัติการของเรือขุดเจาะ<br />

รอบปบัญชี 2553 รอบปบัญชี 2552<br />

จำนวนวัน เทียบปตอป (รอยละ) จำนวนวัน เทียบปตอป (รอยละ)<br />

จำนวนวันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฏิทิน 730 0.0% 730 -0.3%<br />

จำนวนวันเดินเรือที่มีอยู 730 0.0% 730 -0.3%<br />

จำนวนวันเดินเรือทำการ 414 -40.3% 693 37.0%<br />

อัตราการใชประโยชนจากเรือ 56.71% -40.6% 94.93% 37.3%<br />

รายงานประจำป 2553<br />

95


กำไร/-ขาดทุนจากการขายสินทรัพย : เมอรเมดไดขายการลงทุนใน Kencana Rig 1 Pte. Ltd., Mermaid Kencana Rigs (Labuan) Pte. Ltd.<br />

และ Kencana Mermaid Drilling Sdn. Bhd. ซึ่งเปนเจาของเรือขุดเจาะ KM-1 ในเดือนมิถุนายนในปนี้ ผลขาดทุนจากการขายการลงทุนนี้<br />

คิดเปนเงินจำนวนรวม 178.55 ลานบาท ผลขาดทุนที่บันทึกในงบการเงินของบริษัทฯ คือ 180.94 ลานบาท<br />

ผลการดำเนินงานอื่นๆ ของเมอรเมด<br />

คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร : เมอรเมดมีคาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหารเพิ่มขึ้นรอยละ 14.59 เปน 556.45 ลานบาท<br />

ในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 485.61 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 เกือบรอยละ 90 ของการเพิ่มขึ้นเปนเงินจำนวนรวม 63.23 ลานบาท<br />

มีสาเหตุหลักที่เกิดจากคาใชจายในการบริหารบริษัทยอยใหมตางๆ ซึ่งไดแก Subtech Ltd. ที่เมอรเมดไดเขาถือหุนในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2553<br />

และ Nemo Subsea AS ที่เมอรเมดไดเขาถือหุนในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553<br />

ตนทุนทางการเงิน : เมอรเมดมีตนทุนทางการเงินเพิ่มขึ้นรอยละ 14.28 เปน 95.89 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 83.91 ลานบาท<br />

ในรอบปบัญชี 2552 โดยมีสาเหตุหลักจากเงินกูคงเหลือเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นจำนวน 3,435.72 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 2,247.87 ลานบาท<br />

ในรอบปบัญชี 2552<br />

ดอกเบี้ยรับ : เมอรเมดมีรายไดจากดอกเบี้ยรับในรอบปบัญชี 2553 ลดลงรอยละ 60.89 เปน 6.50 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 16.62<br />

ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 สาเหตุหลักที่ดอกเบี้ยรับลดลงเนื่องจากในรอบปบัญชี 2553 เมอรเมดไมมีดอกเบี้ยรับจากเงินกูระยะสั้นที่มาจาก<br />

บริษัทรวม เมื่อเทียบกับที่เคยไดรับจำนวน 8.29 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 และอัตราดอกเบี้ยในเงินฝากแบบประจำลดลงในรอบปบัญชี 2553<br />

เมื่อเทียบกับในรอบปบัญชี 2552 เมอรเมดมีเงินสดคงเหลือเฉลี่ยรวมเงินฝากแบบประจำในรอบปบัญชี 2553 เปนเงินจำนวน 3,067.00 ลานบาท<br />

เทียบกับ 1,755.59 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552<br />

กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน : เมอรเมดมีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้นรอยละ 43.99 เปน 79.93 ลานบาท ในรอบปบัญชี<br />

2553 เทียบกับ 55.51 ในรอบปบัญชี 2552 ผลขาดทุนที่เพิ่มขึ้นนี้มีสาเหตุหลักมาจากการแปลงคารายการสินทรัพยและหนี้สินจากสกุลเงินดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกาเปนเงินบาท ณ วันสิ้นรอบบัญชี ทั้งนี้ผลขาดทุนไมมีผลกระทบที่สำคัญตอกระแสเงินสด<br />

กำไรสุทธิจากการขายสินทรัพย อาคารและอุปกรณและสินทรัพยไมมีตัวตน : ในรอบปบัญชี 2553 เมอรเมดมีกำไรสุทธิจากการขายอุปกรณ<br />

เปนเงินจำนวน 11.80 ลานบาท เทียบกับ 21.25 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552<br />

รายไดอื่นๆ : เมอรเมดมีรายไดอื่นๆ เพิ่มขึ้นรอยละ 2.21 เปน 29.20 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 28.57 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2552<br />

ภาษีเงินได : เมอรเมดมีภาษีเงินไดเพิ่มขึ้นรอยละ 67.07 เปน 193.32 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 115.71 ลานบาทในรอบปบัญชี<br />

2552 สาเหตุหลักที่ภาษีเงินไดนั้นเพิ่มสูงขึ้นมาจากการลดลงของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (รับรูเปนคาใชจายภาษีเงินไดในงบกำไร<br />

ขาดทุน) เปนเงินจำนวน 130.00 ลานบาท หักกลบกับการลดลงของภาษีเงินไดปกติจำนวน 52.66 ลานบาท การลดลงของภาษีเงินไดปกติลดลง<br />

เนื่องจากมีเรือขุดเจาะ MTR-2 เพียงลำเดียวที่ปฏิบัติงานในประเทศอินโดนีเซียในป 2553 ในขณะที่มีเรือขุดเจาะ 2 ลำ ปฏิบัติงานในประเทศ<br />

อินโดนีเซียในปที่ผานมา ภาษีเงินไดที่ไมเกี่ยวของกับสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสวนใหญมาจากภาษีเงินไดนิติบุคคลและภาษีจากกำไร<br />

ของสาขา ที่เกิดจากการปฏิบัติงานของเรือขุดเจาะในประเทศอินโดนีเซีย<br />

ธุรกิจโลจิสติคสถานหิน<br />

บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) (“UMS”) ในรอบปบัญชี 2553 (1 ตุลาคม 2552 - 30 กันยายน 2553) UMS มีผลขาดทุนสุทธิจำนวน<br />

49.28 ลานบาท อยางไรก็ตาม UMS มีสวนแบงกำไรสุทธิใหกับบริษัทฯ (ไมรวมผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงที่มาจากสัญญา<br />

ลวงหนา) จำนวน 79.14 ลานบาท สำหรับชวงระยะเวลา 11 เดือนนับตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 - 30 กันยายน พ.ศ. 2553<br />

บริษัทฯ บันทึกผลกำไรของ UMS เขามาในงบการเงินรวมของบริษัทฯ รอยละ 48.46 นับจากวันที่ 1 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ<br />

รอยละ 89.55 จากผลกำไรของ UMS ในชวงวันที่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2553 เพื่อใหตรงกับรอบบัญชีของบริษัทฯ<br />

96 รายงานประจำป 2553


ตาราง 30 : ผลการดำเนินงานตามงบการเงินรวมของ UMS<br />

ลานบาท 2553 (1) 2552 (1) เทียบปตอป (รอยละ)<br />

รายไดจากการขายถานหิน 2,719.09 2,877.86 -5.52%<br />

รวมรายได 2,761.48 2,926.30 -5.63%<br />

ตนทุนขาย 2,250.27 2,194.23 2.55%<br />

กำไรขั้นตน 468.82 683.63 -31.42%<br />

คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร 335.95 342.40 -1.88%<br />

ตนทุนทางการเงิน 68.22 62.23 9.63%<br />

กำไรสุทธิ / - ขาดทุนสุทธิ -49.28 218.57 -122.55%<br />

หมายเหตุ (1) : ตัวเลขขางตนเปนชวงระยะเวลาจากวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 – 30 กันยายน พ.ศ. 2552 (รอบปบัญชี 2552) และ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 – 30 กันยายน พ.ศ.<br />

2553 (รอบปบัญชี 2553)<br />

รายไดจากการขายถานหิน : UMS มีรายไดจากการขายถายหินในรอบปบัญชี 2553 และในรอบปบัญชี 2552 เปน เงินจำนวน 2,719.09 ลาน<br />

บาทและ 2,877.86 ลานบาทตามลำดับ รายไดจากการขายถานหินลดลงรอยละ 5.52 เนื่องจากราคาขายเฉลี่ยลดลงแตปริมาณการขายถานหิน<br />

เพิ่มขึ้น ปริมาณการขายถานหินที่เพิ่มขึ้นรอยละ 8.94 สวนใหญเปนผลมาจากยอดขายถานหินที่ขายใหกับลูกคาขนาดใหญปรับตัวดีขึ้น โดยเฉพาะ<br />

ในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต ปริมาณการขายถานหินใหลูกคาขนาดใหญเพิ่มขึ้นรอยละ 39.28 เปน 210,877 เมตริกตัน จาก 151,406 เมตริกตันในป<br />

2552 ซึ่งสอดคลองกับการเติบโตของเศรษฐกิจในปจจุบันจากการลงทุนที่เพิ่มขึ้นในภาคอสังหาริมทรัพย และในโครงการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน<br />

ตางๆ ในขณะที่ยอดขายถานหินใหกับลูกคาขนาดกลางและขนาดเล็ก ประกอบดวยบริษัทที่อยูในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม และใน<br />

อุตสาหกรรมสิ่งทอ ไดปรับตัวเพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 3.94 อยางไรก็ตาม UMS ก็ยังคงเปนผูนำในสวนแบงทางการตลาดของลูกคากลุมนี้ และ<br />

เนื่องจากราคาขายถานหินกับลูกคาขนาดใหญโดยทั่วไปมีราคาไมสูงมาก ดังนั้นราคาขายเฉลี่ยในป 2553 จึงลดลงรอยละ 13.27 UMS มียอดขาย<br />

ถานหินเปนจำนวน 1.20 ลานตันในปนี้<br />

ตนทุนขาย : ตนทุนขายเพิ่มขึ้นรอยละ 2.55 เปน 2,250.27 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 2,194.23 ลานบาทในรอบปบัญชีที่ผานมา<br />

องคประกอบหลักของตนทุนขาย ประกอบดวย ตนทุนถานหิน และคาระวาง ตนทุนที่เพิ่มขึ้นนี้หลักๆ มาจากคาระวางที่เพิ่มสูงขึ้น คิดเปนรอยละ<br />

10.37 เทียบกับปที่ผานมา<br />

ผลการดำเนินงานอื่นๆ ของ UMS<br />

คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร : UMS มีคาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหารลดลงรอยละ 1.88 เปน 335.95 ลานบาทใน<br />

รอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 342.40 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 แมวาคาใชจายดังกลาวจะลดลง แตคาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร<br />

เมื่อเทียบสัดสวนกับการขายถานหินกลับเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 12.36 ในป 2553 เทียบกับรอยละ 11.90 ในป 2552 เนื่องจากคาใชจายเกี่ยวกับ<br />

การขนสงทางบกสูงขึ้น เพราะราคาน้ำมันดีเซลสูงขึ้น และมีการขายถานหินในปริมาณเพิ่มขึ้น<br />

ตนทุนทางการเงิน : UMS มีดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้นรอยละ 9.63 เปน 68.22 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 62.23 ลานบาทในรอบปบัญชี<br />

2552 เนื่องจาก UMS ตองการเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ้นเพื่อใชในการบริหารสินคาคงคลังที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น<br />

ภาษีเงินได : UMS มีภาษีเงินไดลดลงรอยละ 61.04 ในรอบปบัญชี 2553 เปน 25.90 ลานบาท เทียบกับ 66.49 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552<br />

อยางไรก็ตาม อัตราภาษีที่แทจริง (effective tax rate) ในรอบปบัญชี 2553 และในรอบปบัญชี 2552 เทากับรอยละ 28.19 และ 21.19 ตามลำดับ<br />

โดยมีเหตุผล 2 ประการ ประการแรก อัตราภาษีรอยละ 20 สำหรับการเปนบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย MAI ไดหมดลงในสิ้นป 2552<br />

ประการที่สอง มีคาใชจายที่หักลดหยอนทางภาษีได (tax deductable expense) เกิดขึ้นในการลงทุนสินทรัพยถาวรบางรายการในรอบปที่ผานมา<br />

ธุรกิจปุยและบริการคลังสินคา<br />

บริษัท บาคองโค จำกัด (“บาคองโค”) ในรอบปบัญชี 2553 บาคองโคไดมีสวนแบงยอดขายจำนวน 2,149.73 ลานบาท สวนแบงกำไรขั้นตน 360.66<br />

ลานบาท และสวนแบงกำไรสุทธิ 211.71 ลานบาทใหกับกลุมบริษัทฯ<br />

รายงานประจำป 2553<br />

97


ตาราง 31 : ผลการดำเนินงานของบาคองโค<br />

ลานบาท รอบปบัญชี 2553<br />

ยอดขาย 2,149.73<br />

กำไรขั้นตน 360.66<br />

กำไร / - ขาดทุนสุทธิ 211.71<br />

ยอดขาย : บาคองโคมียอดขายปุย 151,973 เมตริกตันในรอบปบัญชี 2553 เนื่องจากฤดูกาลหลักของการขายปุยจะอยูในชวงเดือนกันยายนถึง<br />

ธันวาคม และมีนาคมถึงเดือนมิถุนายนหรือกรกฎาคมของทุกป อยางไรก็ตาม บาคองโครายงานวา ในปนี้มีการซื้อปุยมากขึ้นในชวง low season<br />

ในเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม พ.ศ. 2553 เนื่องจากปริมาณการผลิตปุยเขาสูทองตลาดลดนอยลงประกอบกับราคาพืชผลสูงขึ้น<br />

กำไรขั้นตน : ในรอบปบัญชี 2553 บาคองโคมีกำไรขั้นตน ปรับตัวดีขึ้นอยางมีนัยสำคัญเปนรอยละ 16.78 เทียบกับรอยละ 8.30 ในรอบป<br />

บัญชี 2552<br />

ยอดขายอื่นๆ : บาคองโคไดเริ่มใหบริการคลังสินคาในเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 และในชวง 9 เดือนสิ้นสุด 30 กันยายน พ.ศ. 2553 มีอัตราการใช<br />

ประโยชนเฉลี่ยของพื้นที่ในคลังสินคาเฉลี่ยรอยละ 52.41 ของปริมาณพื้นที่คลังสินคาทั้งหมดที่จะสามารถรองรับได หรือคิดเปน 150,933 เมตริกตัน<br />

และมีสวนแบงกำไรสุทธิใหกับบริษัทฯ จำนวน 3.35 ลานบาท<br />

ผลการดำเนินงานอื่นๆ ของบาคองโค<br />

คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร : บาคองโคมีคาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหารลดลงรอยละ 16.74 เปน 78.88 ลานบาท<br />

ในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 94.61 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 สาเหตุหลักที่คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหารลดลงมาจากมีการ<br />

ควบคุมตนทุนวัตถุดิบที่ดีขึ้น และมีประสิทธิภาพในการผลิตที่ดีขึ้น<br />

ตนทุนทางการเงิน : บาคองโค มีดอกเบี้ยรับจำนวน 8.23 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2553 และดอกเบี้ยจายจำนวน 1.69 ลานบาท ในรอบปบัญชี<br />

2552 ในป 2553 บางคองโคไดชำระคืนเงินกูทั้งหมดแลว<br />

ผลการดำเนินงานอื่นๆ<br />

ดอกเบี้ยรับและเงินปนผลรับ : บริษัทฯ มีรายไดจากดอกเบี้ยรับและเงินปนผลลดลงรอยละ18.02 เปน 106.57 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2553<br />

เทียบกับ 129.99 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 ดอกเบี้ยรับลดลงรอยละ 24.54 เปน 94.65 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 125.43 ลาน<br />

บาทในรอบปบัญชี 2552 กลุมบริษัทฯ มีเงินสดคงเหลือเฉลี่ยลดลงเปน 9,588.54 ลานบาทเทียบกับ 11,123.35 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552<br />

นอกจากนี้ ผลตอบแทนจากเงินสดลดลงจากป 2552 สวนเงินปนผลรับปรับตัวดีขึ้นเปน 11.91 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 เทียบกับ 4.56 ลาน<br />

บาทในรอบปบัญชี 2552<br />

สวนแบงผลกำไร/ขาดทุนจากการลงทุนบริษัทรวมและกิจการรวมคา : สวนแบงกำไรจากการลงทุนในบริษัทรวม ปโตรลิฟท และกิจการรวมคา<br />

ในรอบปบัญชี 2553 เพิ่มขึ้นเปน 80.31 ลานบาท เทียบกับ 29.88 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 Petrolift มีสวนแบงผลกำไรใหกับกลุมบริษัทฯ<br />

เปนเงินจำนวน 51.86 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 บริษัท โทรีเซน (อินโดไชนา) เอส.เอ. มีสวนแบงผลกำไรใหกับกลุมบริษัทฯ เปนเงินจำนวน<br />

19.53 ลานบาท และ 18.60 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 และในรอบปบัญชี 2552 ตามลำดับ ในขณะที่บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี<br />

(ประเทศไทย) จำกัด มีสวนแบงขาดทุนใหกับกลุมบริษัทฯ เปนเงินจำนวน 5.08 ลานบาท และ 2.85 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553 และในรอบป<br />

บัญชี 2552 ตามลำดับ เมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี มีสวนแบงขาดทุนใหกับกลุมบริษัทฯ เปนเงินจำนวน 5.78 ลานบาท ในรอบปบัญชี 2553<br />

กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน : ในรอบปบัญชี 2553 กำไรสุทธิจากอัตราแลกเปลี่ยนเปนเงินจำนวน 24.34 ลานบาท เทียบกับขาดทุน<br />

สุทธิจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 9.87 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 ซึ่งเกิดจากการแข็งคาของเงินบาทในป 2553 ตอสกุลเงินดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกา ซึ่งกำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสวนใหญของบริษัทฯ เกิดจากการแปลงคารายการหนี้สินและเงินสดและรายการเทียบเทา<br />

เงินสดจากสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกาเปนเงินบาทเมื่อสิ้นรอบบัญชีในแตละป ซึ่ง ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 เงินสดและรายการเทียบเทา<br />

เงินสดของกลุมบริษัทฯ ที่เปนสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 58.01 และในสวนที่เปนหนี้สินระยะยาวที่เปนสกุลเงินดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 54.14<br />

กำไร (ขาดทุน) จากการยกเลิกหุนกูแปลงสภาพ : ในรอบปบัญชี 2553 บริษัทฯ ไดดำเนินการซื้อคืนพรอมทั้งยกเลิกหุนกูแปลงสภาพบางสวน<br />

เพิ่มเติมคิดเปนจำนวนเงินตน 10,500,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา หรือรอยละ 9.26 ของจำนวนเงินตนคงคางภายใตหุนกูแปลงสภาพทั้งหมด<br />

จำนวน 113,400,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา กำไรที่ไดจากการยกเลิกหุนกูแปลงสภาพคิดเปนเงิน 9.63 ลานบาท และ 673.33 ลานบาทในรอบป<br />

บัญชี 2553 และในรอบปบัญชี 2552 ตามลำดับ ในวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ ไดไถถอนหุนกูแปลงสภาพจำนวน 1 ใน 3 หรือจำนวน<br />

34,300,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา ของจำนวนเงินตนคงคาง 102,900,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา ดวยเงินสด ในราคาไถถอน 109,640 ดอลลาร<br />

98 รายงานประจำป 2553


สหรัฐอเมริกาตอหนึ่งหุนกู ทั้งนี้ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 จำนวนเงินตนคงคางภายใตหุนกูแปลงสภาพทั้งหมดหลังการไถถอนหุนกูแปลง<br />

สภาพครั้งที่ 1 คิดเปนเงินจำนวน 68,600,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

คาความนิยมติดลบ : บริษัทฯ ไมมีคาความนิยมติดลบ (negative goodwill) ในรอบปบัญชี 2553 แตในรอบปบัญชี 2552 บริษัทฯ มีคา<br />

ความนิยมติดลบจากการเขาซื้อ EMCG เปนเงิน 287.21 ลานบาท เนื่องจากราคาที่ซื้อมาต่ำกวามูลคาทางบัญชี เมื่อวันที่ 23 กรกฏาคม พ.ศ.<br />

2552 บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ไดเขาซื้อ EMCG ซึ่งเปนผูถือหุนรอยละ 100 ในบาคองโค ในราคารวม 7.8 ลานยูโร หรือ 374.07<br />

ลานบาท<br />

จากปจจัยที่ไดกลาวมาขางตนและการตัดรายการระหวางกันตางๆ เปนผลใหกำไรสุทธิของบริษัทฯ ลดลงเปน 795.57 ลานบาทในรอบปบัญชี 2553<br />

เทียบกับ 1,813.71 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552<br />

คาใชจายฝายทุน<br />

ตารางขางลางนี้แสดงคาใชจายฝายทุนของกลุมบริษัทฯ (capex) ในชวงที่ผานมาจนถึง ณ สิ้นกันยายน พ.ศ. 2553 และภาะระผูกพันฝายทุนที่ตอง<br />

จายในอนาคต<br />

ตาราง 32 : การลงทุนฝายทุนที่มีภาระผูกพัน<br />

ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ตนทุนโครงการ<br />

คาใชจายถึงวันที่ 30<br />

กันยายน 2553<br />

ภาระผูกพันฝายทุนที่<br />

ตองชำระในป 2554<br />

ภาระผูกพันฝายทุนที่<br />

ตองชำระในป 2555<br />

การปรับปรุงกองเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง 142.97 31.61 90.57 20.79<br />

เรือที่เชามาเสริมกองเรือ 49.57 22.88 25.29 1.40<br />

MOS – เรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำ 256.76 256.76 - -<br />

AOD – เรือขุดเจาะ 2 ลำ 360.00 - 70.80 -<br />

รายจายฝายทุนของ UMS และ Baconco 1.54 0.08 0.52 0.37<br />

ณ สิ้นกันยายน พ.ศ. 2553 กลุมบริษัทฯ มีกองเรือที่เปนเจาของทั้งหมด 27 ลำ โดยรอยละ 28.26 ของเรือที่บริษัทฯ เปนเจาของอยูกำลังจะมีอายุ<br />

หรือมีอายุเกิน 25 ปเมื่อถึงสิ้นป 2554 ดังนั้น กลุมบริษัทฯ ยังคงจะขายเรือหรือขายเปนเศษซากตอไป แผนการปรับปรุงกองเรือของบริษัทฯ นั้นได<br />

รวมการรับมอบเรือทอร เฟรนดชิป ซึ่งเปนเรือที่สั่งตอใหมลำแรกจากอูตอเรือ Oshima เมื่อเดือนมกราคมในปนี้ นอกจากนี้ ยังมีเรือที่สั่งตอใหมอีก 4<br />

ลำ ซึ่ง 3 ลำ จะมาจากอูตอเรือ Vinashin และอีก 1 ลำ จากอูตอเรือ Oshima ที่จะมีกำหนดรับมอบเรือในป 2554 และป 2555 เงินลงทุนรวมสำหรับ<br />

เรือ 4 ลำนี้ คิดเปนจำนวนเงินประมาณ 142.97 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

ตาราง 33 : เรือที่จะอายุครบ 25 ป<br />

เรือที่จะอายุครบ 25 ป รอบปบัญชี 2553 รอบปบัญชี 2554 รอบปบัญชี 2555<br />

จำนวน (ลำ) 2 3 1<br />

เดทเวทตัน 70,258 77,144 20,358<br />

กลุมบริษัทฯ ยังคงมองหาเรือมือสองอยางตอเนื่อง เมื่อไมนานมานี้ บริษัทฯ ไดเขาซื้อเรือ ทอร แอ็คชีพเวอรที่ราคา 34.50 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 นอกจากนี้ ยังไดซื้อเรือ ทอร อินฟนิตี้ ที่ราคา 30.25 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา และเรือ ทอร อินดิเพนเดนซ ที่ราคา<br />

30.75 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา เขามาเสริมกองเรือในเดือนธันวาคม 2553 เงินทุนที่ใชในแผนปรับปรุงกองเรือมาจากการผสมผสานระหวาง<br />

กระแสเงินสดจากการดำเนินงานและจากวงเงินกูรวมหลายสถาบัน (syndicated loan facility) จำนวน 360 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกาโดยมี<br />

ธนาคารนอรเดียเปนแกนนำ<br />

ในรอบปบัญชี 2553 กลุมบริษัทฯ ไดชำระคางวดสำหรับเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำและอุปกรณจำนวน 4 ลำ คิดเปนเงินรวม 4,829.00<br />

ลานบาท ณ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ไมมีคาใชจายฝายทุนที่สำคัญที่เกี่ยวกับเรือขุดเจาะหรือเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่จะครบกำหนด<br />

ชำระในป 2554 นอกเหนือจากที่จะไดกลาวไวขางลางนี้<br />

รายงานประจำป 2553<br />

99


ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 บริษัท เอเชีย ออฟชอร ดริลลิงค จำกัด (“AOD”) ซึ่งเปนบริษัทรวมของเมอรเมด ไดลงนามในสัญญากับ Keppel<br />

Offshore & Marine Limited ซึ่งเปนบริษัทยอยของ Keppel FELS ในการสั่งตอเรือขุดเจาะชนิด jack-up ที่มีคุณภาพสูงจำนวน 2 ลำ โดยมีมูลคา<br />

สัญญารวม 360 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา หากรวมกับสิทธิที่จะสามารถสั่งตอเรือขุดเจาะ jack-up ชนิดเดียวกันไดอีก 2 ลำในอนาคต (และถา<br />

AOD ใชสิทธินี้) จะทำใหมูลคาของสัญญาคิดเปนเงินจำนวน 720 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ในการนี้ AOD ไดจัดหาเงินทุนดวยการขายหุนที่ออก<br />

ใหม (IPO) ใหกับบุคคลเฉพาะเจาะจง (private placement) ที่เปนนักลงทุนสถาบันในนอรเวยและนักลงทุนสถาบันระหวางประเทศ โดยไดรับเงิน<br />

จาก IPO เมื่อตนเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 และทำใหเมอรเมดถือหุนรอยละ 49 ในหุนที่ออกและเรียกชำระแลวของ AOD รวมเปนเงินที่ลงทุนใน<br />

AOD ทั้งสิ้น 49 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

ในรอบปบัญชี 2553 เรือบรรทุกสินคาแหงเทกองเขาอูแหงจำนวน 6 ลำ คิดเปนเงิน 188.23 ลานบาท เทียบกับรอบปบัญชี 2552 มีเรือบรรทุกสินคา<br />

แหงเทกองเขาอูแหงจำนวน 12 ลำ คิดเปนเงิน 519.71 ลานบาท และเมอรเมดมีเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่เขาอูแหงจำนวน 3 ลำ<br />

คิดเปนเงิน 37.34 ลานบาท เทียบกับป 2552 มีเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่เขาอูแหงจำนวน 1 ลำ คิดเปนเงิน 0.23 ลานบาท ในระหวาง<br />

รอบปบัญชี 2553 เรือขุดเจาะ MTR-1 เขารับการตรวจสอบสภาพตามระยะเวลา คิดเปนเงิน 1.85 ลานบาท เทียบกับป 2552 เรือขุดเจาะ MTR-1<br />

และ MTR-2 เขารับการตรวจสอบสภาพตามระยะเวลา คิดเปนเงิน 9.26 ลานบาท ธุรกิจอื่นๆ ลงทุนเปนเงินรวม 91.51 ลานบาทในระหวางป 2553<br />

เทียบกับ 14.10 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 สวนใหญเกี่ยวกับการขยายสินทรัพยที่ใชในการปฏิบัติงาน<br />

UMS ใชเงินจำนวน 2.33 ลานบาทในป 2553 เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องจักรสำหรับธุรกิจหลักของ UMS และในโครงการถานหินปนเม็ด<br />

ปจจุบัน UMS กำลังปรับปรุงและขยายถนนและโรงงานของคลังสินคานครหลวง และคาดวาจะเสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 สวนบาคองโค<br />

นั้น คาใชจายฝายทุนสวนใหญเกิดจากการเชาซื้อคลังสินคา (warehousing leases)<br />

กระแสเงินสด<br />

ตารางตอไปนี้แสดงรายการเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดที่ไดมาจาก (ใชไป) ในกิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมจัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุน<br />

ตาราง 34 : สรุปรายการกระแสเงินสด<br />

ลานบาท รอบปบัญชี 2553 รอบปบัญชี 2552<br />

กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน 1,550.23 5,000.69<br />

กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน -10,883.10 - 4,617.08<br />

กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน 7,305.19 - 1,111.25<br />

กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน ในรอบปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงานลดลงเปน 1,550.23 ลานบาท<br />

เทียบกับ 5,000.69 ลานบาทในรอบปบัญชี 2552 โดยมีสาเหตุหลักจากการที่ธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองมีกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน<br />

ลดลงและจากผลขาดทุนของเมอรเมด กระแสเงินสดจากการดำเนินงานที่ลดลงของธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองและเมอรเมด กระแสเงินสด<br />

สุทธิจากการดำเนินงานของเมอรเมดในป 2553 ลดลงรอยละ 75.59 เปน 453.71 ลานบาท<br />

กระแสเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน ในรอบปบัญชี 2553 เงินสดสุทธิที่ใชไปในกิจกรรมลงทุน เทากับ 10,883.10 ลานบาท และในรอบป<br />

บัญชี 2552 เทากับ 4,617.08 ลานบาท การไดมาซึ่งสินทรัพยและคาใชจายฝายทุนที่สำคัญของกลุมบริษัทฯ (capex) สำหรับในรอบปบัญชี 2553<br />

คือ ก) การเขาซื้อหุนใน UMS จำนวน 3,977.81 ลานบาท ข) การชำระคางวดสุดทายสำหรับเรือ ทอร เฟรนดชิป จำนวน 1,073.22 ลานบาท<br />

ค) การชำระเงินคางวดสุดทายในการซื้อเรือเมอรเมด สยาม เรือเมอรเมด เอเชียนา เรือเมอรเมด แซฟไฟร และเรือ เมอรเมด เอ็นดัวเรอร จำนวนรวม<br />

4,829.00 ลานบาท ง) การเขาซื้อหุนใน Subtech จำนวน 248.58 ลานบาท จ) การเขาซื้อหุนใน Petrolift Inc. จำนวน 904.52 ลานบาท<br />

ฉ) การซื้อเรือ ทอร แอ็คชีพเวอร เปนเงิน 1,112.63 ลานบาท และ ช) คาใชจายในการเขาอูแหงสะสมสำหรับธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองและ<br />

เมอรเมดจำนวน 255.32 ลานบาท<br />

กระแสเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน ในรอบปบัญชี 2553 บริษัทฯ ไดใชเงินสดไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (financing activities) เทากับ<br />

7,305.19 ลานบาท และในรอบปบัญชี 2552 เทากับ 1,111.25 ลานบาท เงินที่ไดจากเงินกูระยะยาวเปนเงินจำนวน 10,684.97 ลานบาท ซึ่งเปน<br />

ผลมาจากการเบิกเงินกูเพื่อซื้อเรือ ซื้อกิจการ และการออกหุนกูเปนเงินบาท ในชวงรอบปบัญชี 2553 บริษัทฯ ไดมีการลงนามในสัญญาเงินกูรวม<br />

จากหลายสถาบันการเงิน (syndicated loan agreement) เปนจำนวน 200 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา และออกหุนกูในประเทศเปนเงินบาทจำนวน<br />

4 พันลานบาท เพื่อใชเปนเงินทุนในการเขาซื้อและควบรวมกิจการ (merger and acquisitions) และชำระคืนหนี ้เงินกูในไตรมาสที่ 1 ของรอบป<br />

บัญชี 2553 เมอรเมดระดมทุนโดยการออกหุนสามัญเพิ่มทุน และรับเงินจำนวน 3,591.17 ลานบาท และบริษัทฯ ลงทุนในหุนเพิ่มทุน เพื่อรักษา<br />

สัดสวนการถือหุนในเมอรเมดรอยละ 57.14 นอกจากนี้ ในชวงรอบปบัญชี 2553 บริษัทฯ ไดใชเงินจำนวน 1,418.54 ลานบาทเพื่อใชในการซื้อและ<br />

ไถถอนหุนกูแปลงสภาพ และบริษัทฯ จายเงินปนผลที่เปนเงินสดในชวงรอบปบัญชี 2553 เปนเงินจำนวน 379.42 ลานบาท<br />

100 รายงานประจำป 2553


สภาพคลองและแหลงเงินทุน<br />

ตารางตอไปนี้แสดงโครงสรางเงินทุนของบริษัทฯ<br />

ตาราง 35 : โครงสรางเงินทุนรวมของบริษัทฯ<br />

ลานบาท<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน<br />

2553 2552<br />

หนี้สิน:<br />

เงินเบิกเกินบัญชี 5.54 -<br />

หนี้สินระยะสั้น 1,613.48 110.10<br />

สวนของหุนกูแปลงสภาพที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ป 1,048.13 1,334.36<br />

สวนของหนี้ระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ป 1,130.41 559.49<br />

หุนกู 5,207.26 2,668.72<br />

หนี้สินระยะยาวและหนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน 5,233.95 2,314.12<br />

รวมหนี้สิน 14,238.77 6,986.79<br />

สวนของผูถือหุน<br />

หุนสามัญ มูลคาหุนละ 1 บาท ที่ออกจำหนายและชำระแลวเต็มมูลคา จำนวน 708,004,413 หุน 708.00 708.00<br />

สวนเกินมูลคาหุนสามัญ 1,540.41 1,540.41<br />

กำไรสะสม 21,982.13 21,565.98<br />

อื่นๆ 7,301.60 7,277.05<br />

รวมสวนของผูถือหุน 31,532.14 31,091.44<br />

รวมเงินทุนทั้งหมด 45,770.91 38,078.23<br />

อัตราสวนหนี้สินตอทุนทั้งหมด 0.31 0.18<br />

อัตราสวนเงินสดสุทธิ / - หนี้สินสุทธิ / ทุนทั้งหมด - 0.08 0.13<br />

ตารางขางลางนี้แสดงถึงสัดสวนหนี้สินของบริษัทฯ ยังคงอยูในระดับต่ำ และความสามารถในการชำระหนี้ยังคงแข็งแกรง<br />

ตาราง 36 : วิเคราะหแหลงเงินทุนของบริษัท<br />

ลานบาท<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน<br />

2553 2552<br />

กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน 1,550.23 5,000.69<br />

เงินสดและเงินลงทุนระยะสั้น 10,414.49 11,822.56<br />

หนี้สินรวม 14,238.77 6,986.79<br />

เงินสดสุทธิ/-หนี้สิน -3,824.28 4,835.77<br />

สวนของผูถือหุน 31,532.14 31,091.44<br />

เงินสดสุทธิ / - หนี้สินสุทธิ / ทุน (เทา) -0.12 -<br />

หนี้สินรวม / ทุน (เทา) 0.45 0.22<br />

รายงานประจำป 2553<br />

101


ตาราง 37 : Credit Metrics และสภาพคลอง<br />

ลานบาท<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน<br />

2553 2552<br />

มูลคาตามบัญชีตอหุน 44.54 43.91<br />

กำไรกอนหักดอกเบี้ย, ภาษี, คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย (EBITDA) 2,970.84 3,455.32<br />

อัตรากำไรกอนหักดอกเบี้ย, ภาษี, คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย EBITDA margin (%) 15.90% 17.29%<br />

หนี้สินรวม/EBITDA (เทา) 4.79 2.02<br />

เงินสดสุทธิ หรือ –หนี้สิน/EBITDA (เทา) -1.29 1.40<br />

เงินสดสุทธิ หรือ –หนี้สิน/ทุน (เทา) -0.12 0.16<br />

EBITDA/คาใชจายจากดอกเบี้ยสุทธิ (เทา) 7.14 13.68<br />

อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน (เทา) 2.27 2.77<br />

รอบการหมุนเงินสด (วัน) 10 10<br />

ลูกหนี้การคา 33 42<br />

เจาหนี้การคา 23 32<br />

เงินทุนหมุนเวียน/รายได 0.46 0.48<br />

ระดับของเงินสดที่มีอยูของกลุมบริษัทฯ และวงเงินสินเชื่อ เพียงพอกับภาระผูกพันของคาใชจายฝายทุนของกลุมบริษัทฯ (capex) ณ วันที่ 30<br />

กันยายน พ.ศ. 2553 กลุมบริษัทฯ มีวงเงินสินเชื่อที่มีสัญญาแลวเปนเงินจำนวน 857.97 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ซึ่งเงินจำนวน 677.97 ลาน<br />

ดอลลารสหรัฐอเมริกา เปนวงเงินพรอมใช หนี้สินระยะยาวมากกวารอยละ 80 ของกลุมบริษัทฯ มีวันครบกำหนดชำระยาวนานกวา 12 เดือน เมื่อ<br />

จำแนกหนี้สินของกลุมบริษัทฯ รอยละ 50.14 จะมาจากธนาคารพาณิชยและที่เหลืออีกรอยละ 49.57 จะมาจากตลาดตราสารหนี้ และที่เหลืออีก<br />

รอยละ 0.29 เปนสัญญาเชาทางการเงิน<br />

ตาราง 38 : วันครบกำหนดอายุหนี้สินระยะยาว<br />

ลานบาท ภายใน 12 เดือน 12-24 เดือน 24 เดือน รวม<br />

หุนกู 1,048 1,207 4,000 6,255<br />

TTA 1,048 1,207 4,000 6,255<br />

UMS - - - -<br />

เมอรเมด - - - -<br />

หนี้สินจากธนาคาร 1,106 869 4,352 6,327<br />

TTA 117 115 1,156 1,388<br />

UMS 293 92 233 618<br />

เมอรเมด 696 662 2,963 4,321<br />

หนี้สินอื่นๆ 24 10 3 37<br />

TTA 8 - - 8<br />

UMS 15 9 - 24<br />

เมอรเมด 1 1 3 5<br />

รวม 2,178 2,086 8,355 12,619<br />

จำแนกเปน % 17.26% 16.53% 66.21% 100.00%<br />

102 รายงานประจำป 2553


นิยามและแนวคิดตางๆ ทางการเงินและการดำเนินงาน<br />

คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการเกี่ยวกับผลการดำเนินงานของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ใชขอมูลจากงบการเงิน<br />

รวมของบริษัทฯ ซึ่งจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย ในการวิเคราะหผลการดำเนินงานดังกลาว บริษัทฯ ไดใชนิยามและ<br />

แนวคิดตางๆ ทั้งทางการเงินและการดำเนินการมาประกอบการวิเคราะหดังนี้<br />

l วันเดินเรือ/วันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฏิทิน (Calendar-Ship-Days/Calendar-Rig-Days) หมายถึง จำนวนวันทั้งหมดในปปฏิทินที่<br />

บริษัทฯ เปนเจาของเรือ ซึ่งรวมถึงเรือขุดเจาะ เรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำ และเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองในรอบปบัญชี รวมวันที่ไมไดใช<br />

ประโยชนจากเรือ (off hire days) กับการซอมแซมครั้งใหญ การเขาอูแหง หรือ การตรวจสอบระหวางระยะเวลา 5 ป (intermediate survey) หรือ<br />

การตรวจสอบระดับพิเศษ<br />

l วันเดินเรือที่มี (Available Service Days) หมายถึง จำนวนวันเดินเรือ/วันเดินเรือขุดเจาะในรอบปปฏิทิน หักดวยจำนวนวันที่ไมสามารถใช<br />

ประโยชนจากเรือที่ทราบลวงหนา (off-hire) เนื่องจากเรือเขาอูแหงหรือเขารับการปรับปรุงสภาพเรือตามกำหนด และหักดวยจำนวนวันที่ใชในการ<br />

เดินเรือใหอยูในตำแหนงที่ตองการ วันเดินเรือชนิดนี้จะเปนจำนวนวันซึ่งเรือสามารถสรางรายไดใหบริษัทฯ<br />

l วันทำการ (Operating Days) หมายถึง จำนวนวันเดินเรือที่มี (available service days) หักดวยจำนวนวันที่ไมสามารถใชประโยชนจากเรือ<br />

(off-hire) เนื่องจากสาเหตุใดๆ ก็ตาม และรวมถึงสถานการณที่ไมสามารถคาดเดาไดในการเดินเรือแตละเที่ยว วันเดินเรือชนิดนี้จะเปนวันที่กองเรือ<br />

สรางรายไดใหกับบริษัทฯ จริงๆ<br />

l อัตราการใชประโยชนจากเรือ (Fleet Utilisation) เปนอัตราที่คำนวณการใชประโยชนจากเรือ โดยการนำวันทำการ (operating days)<br />

หารดวยวันเดินเรือที่มี (available service days) ในรอบปบัญชี อัตราการใชประโยชนจากเรือจะเปนตัวบงชี้ประสิทธิภาพของบริษัทฯในการจัดสรร<br />

เรือและเรือขุดเจาะ และเพื่อที่จะลดวันที่ไมสามารถใชประโยชนจากเรือและเรือขุดเจาะอันเนื่องมาจากเหตุผลอื่นๆ ที่ไมใชการเขาอูซอมตามปกติ<br />

หรือเพื่อการปรับปรุงและปรับสภาพเรือใหดีขึ้น หรือการใชเวลาเดินเรือเพื่อใหอยูในตำแหนงที่ตองการ<br />

l จำนวนเรือเฉลี่ย (Average number of vessels) กำหนดใหจำนวนเรือเฉลี่ย คือจำนวนเรือที่อยูในกองเรือในรอบปบัญชี โดยวัดจากผลรวม<br />

ของจำนวนวันทำการเดินเรือทั้งหมดของเรือที่บริษัทเปนเจาของ และจำนวนวันเดินเรือของเรือที่เชามาเสริมกองเรือ หารดวยจำนวนวันในรอบ<br />

ปปฏิทิน (calendar days) จำนวนที่ไดจะแสดงถึงจำนวนเรือทั้งหมดที่ไดใชงานและทำรายไดในชวงรอบปบัญชี<br />

l รายไดจากคาบริการ (Revenues from Services) คือรายไดที่ไดจากกลุมธุรกิจขนสงซึ่งรวมถึงธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง (การใหบริการ<br />

แบบประจำเสนทาง แบบไมประจำเสนทางชนิดใหเชาเหมาลำเปนเที่ยว และแบบเปนระยะเวลา รวมทั้งแบบเซ็นสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา)<br />

และธุรกิจงานบริการที่เกี่ยวของกับการเดินเรือ (รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ และคานายหนา) จากธุรกิจพลังงานซึ่งรวมถึงธุรกิจ<br />

บริการนอกชายฝง (บริการขุดเจาะและบริการวิศวกรรมโยธาใตน้ำ) อัตราคาเชาเรือและจำนวนวันทำการของเรือและเรือขุดเจาะมีผลตอรายได<br />

การผสมผสานของการใหบริการประเภทตางๆ (เชน การใหบริการเรือประจำเสนทาง เชาเหมาลำเปนระยะเวลา การใหเชาเหมาลำเปนเที ่ยว การให<br />

เชาเหมาลำชนิดเซ็นสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา การบริการขุดเจาะ และการบริการวิศวกรรมโยธาใตน้ำ) มีผลตอรายไดเชนกัน โดยอัตราคาเชา<br />

เรือแบบเหมาลำในระยะสั้นจะมีความผันผวนมากกวา เนื่องจากจะอิงกับอัตราตลาด ณ เวลาที่เกิดรายการในขณะนั้น<br />

l รายไดจากการขาย (Revenues from Sales) คือรายไดที่ไดจากกลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐานซึ่งรวมถึงรายไดจากการขายถานหินที่มีขนาด<br />

ตางๆ กัน และรายไดจากการขายปุย ราคาตลาดของถานหินและปุย และปริมาณการหมุนเวียนของสินคา (turnover volume) มีผลกระทบโดยตรง<br />

ตอรายได<br />

l คาใชจายในการเดินเรือแตละเที่ยว (Voyage Expenses) คือ คาใชจายทั้งหมดที่ใชในการเดินเรือในเที่ยวนั้นๆ ซึ่งรวมถึงคาน้ำมัน<br />

คาธรรมเนียมทาเรือ คาขนถายสินคาขึ้นลงเรือ คาธรรมเนียมการผานคลอง คาธรรมเนียมตัวแทนเรือ และคานายหนา โดยปกติแลวลูกคาจะเปน<br />

ผูจายคาใชจายในการเดินเรือในแตละเที่ยวกรณีที่เชาเหมาลำแบบเปนระยะเวลา สวนกรณีที่เปนแบบประจำเสนทาง และแบบเชาเหมาลำเปน<br />

เที่ยวและการเซ็นสัญญารับขนสงสินคาไวลวงหนา บริษัทฯ จะตองเปนผูรับภาระคาใชจายในการเดินเรือแตละเที่ยวเองทั้งหมด ซึ่งคาใชจายในการ<br />

เดินเรือแตละเที่ยวนั้นบริษัทฯ ไดรวมอยูในอัตราคาเชาแลวโดยใชวิธีประมาณการคาใชจาย บริษัทฯ คาดวาคาใชจายจากการขนถายสินคาขึ้นลง<br />

เรือ และคาน้ำมันจะเปนคาใชจายหลักของคาใชจายในการเดินเรือแตละเที่ยวทั้งหมดของบริษัทฯ เนื่องจากเรือสวนใหญของบริษัทฯ จะใชสำหรับ<br />

รับขนสงสินคาแบบประจำเสนทางและแบบเชาเหมาลำเปนเที่ยวและแบบที่มีการเซ็นสัญญารับขนสินคาไวลวงหนา<br />

l รายไดสุทธิจากการเดินเรือในแตละเที่ยว (Net Voyage Revenues) รายไดสุทธิจากการเดินเรือในแตละเที่ยวคำนวณจากรายไดจากการ<br />

เดินเรือในแตละเที่ยว ลบดวยคาใชจายในการเดินเรือแตละเที่ยว เนื่องจากคาใชจายในการเดินเรือแตละเที่ยวที่เกิดขึ้นจะแตกตางกันไปตาม<br />

รูปแบบของการใหบริการ บริษัทฯ จึงใชรายไดสุทธิจากการเดินเรือในแตละเที่ยวมาใชเปรียบเทียบผลการดำเนินงานของการใหบริการในรูปแบบ<br />

ตางๆ<br />

รายงานประจำป 2553<br />

103


l อัตราคาเชาเรือ (Time Charter Equivalent Rates) เปนการนำรายไดสุทธิจากการเดินเรือในแตละเที่ยว (Net Voyage Revenues) หารดวย<br />

จำนวนวันเดินเรือในรอบปปฏิทิน (Calendar-Ship-Days) อัตราคาเชาเรือจะเปนหนวยวัดผลงานหลักที่ใชเทียบกำไรตอวันที่ไดรับจากการใหเชา<br />

แบบเปนระยะเวลากับแบบใหเชาเปนเที่ยว หรือกำไรตอวันที่ไดจากเรือประจำเสนทางหรือสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา ทั้งนี้เปนเพราะวาโดย<br />

ปกติคาระวางเรือที่ไดรับไมวาจะเปนการใหบริการแบบใดก็ตาม ดังที่ไดกลาวมาแลวจะไมไดแสดงออกมาเปนรายวัน ในขณะที่คาเชาเรือชนิดให<br />

เชาเหมาลำเปนระยะเวลาจะแสดงออกมาเปนรายวัน<br />

l คาใชจายในการดำเนินงานเกี่ยวกับเรือเดินทะเล (Vessel Operating Expenses) คาใชจายในการดำเนินงานเกี่ยวกับเรือเดินทะเล โดย<br />

รวมเรือใหเชาเหมาลำทุกประเภทยกเวนการเชาเรือเปลา บริษัทฯ รับผิดชอบคาใชจายในการดำเนินงานซึ่งประกอบดวยเงินเดือนลูกเรือและคาใช<br />

จายที่เกี่ยวของ คาใชจายที่เกี่ยวกับการซอมและบำรุงรักษาเรือ คาใชจายดานประกันภัย คาอะไหลและวัสดุสิ้นเปลือง คารักษาสถานภาพทะเบียน<br />

เรือ และคาใชจายจิปาถะอื่นๆ คาใชจายในการดำเนินงานเกี่ยวกับเรือเดินทะเลของบริษัทฯ โดยทั่วไปถือวาเปนคาใชจายคงที่ ซึ่งจะเพิ่มขึ ้นตาม<br />

ขนาดกองเรือ นอกจากนี้ยังมีปจจัยอื่นๆ ที่อยูนอกเหนือการควบคุมของบริษัทฯ ที่อาจจะสงผลใหคาใชจายประเภทนี้เพิ่มขึ้นได ตัวอยางเชน หาก<br />

จำนวนอุบัติเหตุทางทะเลทั่วโลกมีเพิ่มขึ้นมากกวาในอดีตมากอาจสงผลใหบริษัทฯ ตองชวยรวมจายเบี้ยประกันภัยสูงขึ้น หรือตนทุนน้ำมันเครื่องที่<br />

อาจสูงขึ้นตามภาวะการขึ้นราคาน้ำมันดิบที่สูงขึ้นอยางรวดเร็ว<br />

l การนำเรือเขาอูแหง (Dry-Docking) โดยปกติบริษัทฯ จะตองนำเรือและเรือขุดเจาะของบริษัทฯ เขาอูแหงเพื่อการตรวจสอบ ซอมแซมและบำรุง<br />

รักษา รวมไปถึงการปรับปรุงเรือเพื่อใหเปนไปตามขอกำหนดตางๆ ของหนวยงานรัฐหรือขอกำหนดที่ตองปฏิบัติตามในการประกอบธุรกิจเดินเรือ<br />

ซึ่งโดยปกติ บริษัทฯ จะนำเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง และเรือขุดเจาะเขาอูแหงทุกๆ 2 ปครึ่ง ถึง 5 ปขึ้นอยูกับประเภทของเรือและอายุการใชงาน<br />

โดยในระหวางนั้นจะมีการตรวจสอบระดับพิเศษโดยสมาคมจัดชั้นเรือซึ่งจะทำในชวงปที่ 2 และ 3 กอนกำหนดการการเขาอูแหงในปที่ 5 โดยคาใช<br />

จายเกี่ยวกับการนำเรือเขาอูแหง จะบันทึกเปนคาใชจายรอตัดจำหนาย (capitalisation) โดยวิธีตัดจำหนายแบบเสนตรงโดยคำนวณใหพอกับระยะ<br />

เวลาที่จะตองเขาอูในปตอๆ ไป นับจากวันที่เรือออกจากอูแหง บริษัทฯ บันทึกคาใชจายที่เกี่ยวกับการซอมแซมและบำรุงรักษาเรือตามปกติเปนคา<br />

ใชจายประจำงวด ในกรณีที่เห็นวาการซอมแซมดังกลาวของเรือและเรือขุดเจาะมิใชเปนการปรับปรุง หรือเพื่อตออายุการใชงานออกไป<br />

l ตนทุนขาย (Cost of Sales) สวนประกอบหลักของตนทุนขายของถานหิน คือ ตนทุนถานหินและคาระวางในการขนสงเพื่อนำเขาถานหินจาก<br />

ประเทศอินโดนีเซีย สวนประกอบหลักของตนทุนขายสำหรับการผลิตปุยรวมถึงตนทุนวัตถุดิบ แรงงาน และคาสาธารณูปโภค<br />

l คาเสื่อมราคาและการตัดจำหนาย (Depreciation and Amortisation) ประกอบดวย 2 สวน คาเสื่อมราคาจะใชวิธีเสนตรงในการคำนวณ<br />

ตลอดอายุการใชงานของสินทรัพย โดยคำนวณจากตนทุนการในการไดมาซึ่งสินทรัพยและสวนประกอบหลักของสินทรัพยแตละชิ้น (รวมถึงเรือ<br />

บรรทุกสินคาแหงเทกอง เรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำและเรือขุดเจาะ) หักดวยมูลคาซาก อายุการใชงานของสินทรัพยจะอยูระหวาง 3 ป ถึง 30 ป ทั้งนี้<br />

ขึ้นอยูกับสินทรัพยและสวนประกอบหลักของสินทรัพยนั้น คาเสื่อมราคาของแตละธุรกิจนั้นหลากหลาย ขึ้นอยูกับระดับของการลงทุนและการขาย<br />

การลงทุนที่เกิดขึ้น ณ ชวงเวลาใดๆ คาตัดจำหนายจะเชื่อมโยงกับการเขาอูแหงของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองและเรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำ และ<br />

เชื่อมโยงกับการเขารับการตรวจสภาพตามระยะเวลาของเรือขุดเจาะ คาตัดจำหนายไดถูกรายงานไวในคาใชจายในการดำเนินงานของเรือ และคา<br />

ใชจายที่เกี่ยวของกับงานบริการนอกชายฝง อยางไรก็ตาม คาตัดจำหนายยังรวมถึงการตัดจำหนายสินทรัพยที่ไมมีตัวตน ซึ่งรวมถึงเครื่องหมาย<br />

ทางการคาและผลประโยชนจากความสัมพันธกับลูกคาที่ไดมาจากการรวมธุรกิจ ซึ่งรับรูดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่ไดมา รวมถึงสิทธิในการใช<br />

โปรแกรมคอมพิวเตอรที่รับรูดวยตนทุนในการไดมา คาตัดจำหนายของสินทรัพยที่ไมมีตัวตน คำนวณโดยใชวิธีเสนตรงตลอดอายุการใหประโยชน<br />

ของสินทรัพยจาก 3 ป ถึง 20 ป<br />

l คาใชจายทั่วไปและคาใชจายในการบริหาร (General and Administrative Expenses) ไดแก คาใชจายที่เกี่ยวของกับพนักงานที่อยูบนบก<br />

เชน เงินเดือน คาเชาสำนักงาน คาใชจายทางดานที่ปรึกษากฎหมายและคาบริการวิชาชีพ รวมทั้งคาใชจายทั่วไปอื่นๆ บริษัทฯ คาดวาคาใชจาย<br />

ทั่วไปและคาใชจายในการบริหารจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากการรวมบริษัทยอยที่บริษัทฯ ไดเขาไปซื้อกิจการเขามาในงบการเงินรวม<br />

104 รายงานประจำป 2553


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน<br />

เรียน ผูถือหุน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2553<br />

คณะกรรมการบริษัทฯ ไดใหความสำคัญตอหนาที่และความรับผิดชอบ ในการดูแลกิจการบริษัทใหมีการจัดการที่ดี ใหเปนไปตามกฎหมาย<br />

วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุนดวยความซื่อสัตยสุจริต ระมัดระวัง รักษาผลประโยชนของบริษัท ผูถือหุนและ<br />

ผูลงทุนทั่วไป โดยกำกับดูแลใหรายงานทางการเงินของบริษัทฯ มีการบันทึกขอมูลทางบัญชีที่ถูกตอง ครบถวน สามารถสะทอนฐานะการเงินและ<br />

ผลดำเนินงานที่เปนจริงของบริษัทฯ<br />

คณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวย กรรมการอิสระที่เปนผูทรงคุณวุฒิมีคุณสมบัติครบถวนตามขอกำหนด<br />

ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหเขามาทำหนาที่สอบทานใหบริษัทฯ มีการรายงานการเงินอยางถูกตองเพียงพอ สอบทานระบบควบคุม<br />

ภายใน รวมทั้งสอบทานการปฏิบัติของบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย<br />

หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบไดรายงานผลการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการบริษัทฯ แลว<br />

คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นวา งบการเงินประจำป 2553 ของบริษัทฯ และบริษัทยอย ที่คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานรวมกับ<br />

ฝายบริหาร และผูสอบบัญชีของบริษัทฯ ไดตรวจสอบแลว ไดแสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานโดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญ<br />

ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป<br />

นายอัศวิน คงสิริ<br />

ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต<br />

ประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร<br />

รายงานประจำป 2553<br />

105


รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

106 รายงานประจำป 2553


งบดุล<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552<br />

หมายเหตุ<br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

งบการเงินรวม<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

งบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

<br />

<br />

5 8,458,186,441 10,718,892,581 1,737,995,202 5,094,123,584<br />

6 1,956,302,332 1,103,667,980 892,051,504 316,817,533<br />

- 7 1,652,583,734 1,783,838,080 - -<br />

31.2 403,243 5,392,478 120,393,052 8,563,895<br />

31.4 - - 3,703,287,317 1,707,130,195<br />

<br />

31.4 4,000,000 4,000,000 163,635,982 149,727,681<br />

- 8 1,999,580,533 310,927,209 - -<br />

634,896,460 702,127,414 - -<br />

177,507,593 167,242,415 4,838,301 4,535,740<br />

- 9 538,523,903 347,942,501 16,427,133 8,514,854<br />

15,421,984,239 15,144,030,658 6,638,628,491 7,289,413,482<br />

<br />

31.4 368,315,000 7,323,000 4,835,416,407 432,582,833<br />

10 - - 15,863,624,005 14,529,626,502<br />

11 1,182,453,051 656,181,924 11,213,000 11,213,000<br />

12 54,315,153 42,606,698 8,771,110 8,771,110<br />

- 77,696,842 - -<br />

- 14 26,042,041,447 22,969,337,348 255,706,903 270,007,235<br />

13 3,834,040,193 933,374,740 - -<br />

- <br />

15 704,219,713 165,958,339 139,981,854 61,378,755<br />

- 16 1,266,094,317 1,644,320,097 44,231,758 1,923,828<br />

33,451,478,874 26,496,798,988 21,158,945,037 15,315,503,263<br />

48,873,463,113 41,640,829,646 27,797,573,528 22,604,916,745<br />

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

รายงานประจำป 2553<br />

107


งบดุล<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552<br />

<br />

<br />

หมายเหตุ<br />

งบการเงินรวม<br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

งบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

17 5,544,249 - - -<br />

18 1,605,982,823 102,600,000 - -<br />

- 923,547,922 1,054,706,557 22,561,685 16,241,025<br />

31.3 9,582,861 19,211,283 2,054,158 3,094,432<br />

143,840,557 901,269,395 8,330,058 187,843<br />

424,951,640 305,433,527 - -<br />

31.4 7,500,000 7,500,000 3,384,762,234 3,007,220,588<br />

22 1,048,132,540 1,334,358,919 1,048,132,540 1,334,358,919<br />

19 1,106,259,935 534,136,658 - -<br />

20 24,150,856 25,357,212 - 3,945,610<br />

<br />

21 66,150,976 115,559,424 - -<br />

132,389,433 106,025,455 - -<br />

929,472,864 743,951,342 50,779,298 31,505,149<br />

373,207,154 215,543,017 14,361,794 15,163,178<br />

6,800,713,810 5,465,652,789 4,530,981,767 4,411,716,744<br />

<br />

- <br />

22 5,207,264,541 2,668,717,839 5,207,264,541 2,668,717,839<br />

19 5,220,979,022 2,301,392,647 - -<br />

<br />

20 12,957,004 12,722,004 - -<br />

<br />

21 99,406,889 100,904,254 11,692,726 1,744,722<br />

10,540,607,456 5,083,736,744 5,218,957,267 2,670,462,561<br />

17,341,321,266 10,549,389,533 9,749,939,034 7,082,179,305<br />

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

108 รายงานประจำป 2553


งบดุล<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552<br />

หมายเหตุ<br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

งบการเงินรวม<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

งบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

()<br />

<br />

23<br />

- 933,004,413 933,052,865 933,004,413 933,052,865<br />

- 708,004,413 708,004,413 708,004,413 708,004,413<br />

23 1,540,410,208 1,540,410,208 1,540,410,208 1,540,410,208<br />

(50,029,892) (50,029,892) - -<br />

<br />

- - 124,542,422 124,542,422<br />

10 2,564,206,648 2,611,057,091 - -<br />

<br />

(901,356,705) (38,150,433) - -<br />

6 50,971,727 25,630,124 12,916,568 6,387,091<br />

<br />

- 28 93,500,000 93,500,000 93,500,000 93,500,000<br />

21,888,632,476 21,472,478,442 15,568,260,883 13,049,893,306<br />

25,894,338,875 26,362,899,953 18,047,634,494 15,522,737,440<br />

5,637,802,972 4,728,540,160 - -<br />

31,532,141,847 31,091,440,113 18,047,634,494 15,522,737,440<br />

48,873,463,113 41,640,829,646 27,797,573,528 22,604,916,745<br />

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

รายงานประจำป 2553<br />

109


งบกำไรขาดทุน<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552<br />

หมายเหตุ<br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

งบการเงินรวม<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

งบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

<br />

<br />

9,272,551,048 13,842,172,684 - -<br />

3,476,365,397 5,209,869,112 - -<br />

503,454,116 542,081,782 - -<br />

4,640,737,178 365,800,359 - -<br />

17,893,107,739 19,959,923,937 - -<br />

<br />

<br />

7,932,525,157 12,138,959,454 - -<br />

3,230,503,176 3,745,320,816 - -<br />

126,244,833 126,435,109 - -<br />

3,918,587,536 330,683,674 - -<br />

15,207,860,702 16,341,399,053 - -<br />

2,685,247,037 3,618,524,884 - -<br />

30 1,136,659,702 1,287,628,692 3,611,426,495 3,708,174,099<br />

3,821,906,739 4,906,153,576 3,611,426,495 3,708,174,099<br />

228,500,998 9,429,931 - -<br />

2,108,677,657 1,985,394,062 278,132,277 214,750,053<br />

131,862,961 175,843,035 82,825,000 59,564,707<br />

2,469,041,616 2,170,667,028 360,957,277 274,314,760<br />

25 1,352,865,123 2,735,486,548 3,250,469,218 3,433,859,339<br />

11, 12 80,305,584 29,877,456 - -<br />

<br />

1,433,170,707 2,765,364,004 3,250,469,218 3,433,859,339<br />

- (510,615,005) (378,045,390) (352,682,105) (322,025,612)<br />

922,555,702 2,387,318,614 2,897,787,113 3,111,833,727<br />

26 (255,847,516) (211,257,100) - -<br />

666,708,186 2,176,061,514 2,897,787,113 3,111,833,727<br />

<br />

795,573,570 1,813,706,088 2,897,787,113 3,111,833,727<br />

(128,865,384) 362,355,426 - -<br />

666,708,186 2,176,061,514 2,897,787,113 3,111,833,727<br />

<br />

<br />

27 1.12 2.56 4.09 4.40<br />

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

110 รายงานประจำป 2553


งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552<br />

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 บาท<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

1 .. 2552 708,004,413 1,540,410,208 (50,029,892) 2,611,057,091 (38,150,433) 25,630,124 93,500,000 21,472,478,442 4,728,540,160 31,091,440,113<br />

<br />

- - - - (863,206,272) - - - (108,012,507) (971,218,779)<br />

- - - - - - - - 1,701,523,192 1,701,523,192<br />

- - - - - - - - (564,664,802) (564,664,802)<br />

- - - (46,850,443) - - - - 9,282,313 (37,568,130)<br />

6 - - - - - 25,341,603 - - - 25,341,603<br />

() - - - - - - - 795,573,570 (128,865,384) 666,708,186<br />

29 - - - - - - - (379,419,536) - (379,419,536)<br />

30 .. 2553 708,004,413 1,540,410,208 (50,029,892) 2,564,206,648 (901,356,705) 50,971,727 93,500,000 21,888,632,476 5,637,802,972 31,532,141,847<br />

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

รายงานประจำป 2553<br />

111


งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552<br />

งบการเงินรวม พ.ศ. 2552 บาท<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

1 .. 2551 643,684,422 1,540,410,208 (50,029,892) 2,611,057,091 15,473,090 (37,882,086) 87,000,000 20,211,992,713 4,193,389,740 29,215,095,286<br />

23, 29 64,319,991 - - - - - - (64,319,991) - -<br />

<br />

- - - - (53,623,523) - - - (2,901,451) (56,524,974)<br />

- - - - - - - - 241,730,465 241,730,465<br />

6 - - - - - 63,512,210 - - - 63,512,210<br />

- - - - - - - 1,813,706,088 362,355,426 2,176,061,514<br />

- 29 - - - - - - - (482,400,368) (66,034,020) (548,434,388)<br />

28 - - - - - - 6,500,000 (6,500,000) - -<br />

30 .. 2552 708,004,413 1,540,410,208 (50,029,892) 2,611,057,091 (38,150,433) 25,630,124 93,500,000 21,472,478,442 4,728,540,160 31,091,440,113<br />

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

112 รายงานประจำป 2553


งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552<br />

งบการเงินเฉพาะบริษัท บาท<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

1 .. 2552 708,004,413 1,540,410,208 124,542,422 6,387,091 93,500,000 13,049,893,306 15,522,737,440<br />

6 - - - 6,529,477 - - 6,529,477<br />

- - - - - 2,897,787,113 2,897,787,113<br />

- 29 - - - - - (379,419,536) (379,419,536)<br />

30 .. 2553 708,004,413 1,540,410,208 124,542,422 12,916,568 93,500,000 15,568,260,883 18,047,634,494<br />

1 .. 2551 643,684,422 1,540,410,208 124,542,422 (37,882,086) 87,000,000 10,491,279,938 12,849,034,904<br />

23, 29 64,319,991 - - - - (64,319,991) -<br />

6 - - - 44,269,177 - - 44,269,177<br />

- - - - - 3,111,833,727 3,111,833,727<br />

- 29 - - - - - (482,400,368) (482,400,368)<br />

28 - - - - 6,500,000 (6,500,000) -<br />

30 .. 2552 708,004,413 1,540,410,208 124,542,422 6,387,091 93,500,000 13,049,893,306 15,522,737,440<br />

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

รายงานประจำป 2553<br />

113


งบกระแสเงินสด<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552<br />

หมายเหตุ<br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

114 รายงานประจำป 2553<br />

งบการเงินรวม<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

งบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

() 24 1,550,233,746 5,000,685,420 (516,627,917) (72,614,655)<br />

<br />

<br />

(8,356,001,501) (4,726,323,664) (100,923,784) (28,398,807)<br />

(255,322,174) (553,309,568) - -<br />

(9,420,422,070) (4,275,955,045) (6,618,317,603) (1,019,488,949)<br />

31.4 - - (4,448,129,219) (5,671,079,787)<br />

31.4 (390,668,400) - (5,045,796,970) -<br />

10 (4,396,706,205) (321,009,884) (1,333,997,513) (3,091,811,274)<br />

11 (904,521,327) (169,455,500) - -<br />

- (77,696,842) - -<br />

<br />

1,386,982,616 665,414,522 2,103 1,813,642<br />

8,550,989,146 3,669,330,700 6,081,343,304 1,000,330,700<br />

<br />

10 2,135,049,364 - - 68,877,676<br />

11 743,780,794 - - -<br />

31.4 - 1,140,393,570 2,270,636,949 5,661,397,465<br />

31.4 4,000,000 4,000,000 553,669,756 1,491,321,458<br />

11,914,175 4,560,800 3,775,250 4,560,800<br />

10 - - 973,362,320 2,803,164,980<br />

11 - 15,599,525 - -<br />

12 7,822,268 7,370,700 7,822,268 7,370,700<br />

() (10,883,103,314) (4,617,080,686) (7,656,553,139) 1,228,058,604<br />

<br />

1,125,400,000 - - -<br />

- 7,500,000 5,238,970,246 7,526,838,391<br />

19 6,684,969,790 1,480,900,070 2,601,528,180 -<br />

22 4,000,000,000 - 4,000,000,000 -<br />

<br />

1,568,987,479 241,730,491 - -<br />

(978,148,655) (138,400,000) - -<br />

- - (2,541,340,860) (7,567,223,226)<br />

(3,243,967,332) (812,721,114) (2,581,332,739) (4,950,789)<br />

(46,850,443) - - -<br />

22 (7,243,900) - (7,243,900) -<br />

22 (1,060,247,300) - (1,060,247,300) -<br />

22 (358,293,277) (1,341,827,581) (358,293,277) (1,341,827,581)<br />

- (66,034,020) - -<br />

29 (379,419,536) (482,400,367) (379,419,536) (482,400,368)<br />

() 7,305,186,826 (1,111,252,521) 4,912,620,814 (1,869,563,573)


งบกระแสเงินสด<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552<br />

หมายเหตุ<br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

งบการเงินรวม<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

งบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

(2,027,682,742) (727,647,787) (3,260,560,242) (714,119,624)<br />

10,718,892,581 11,527,798,624 5,094,123,584 5,829,519,739<br />

8,691,209,839 10,800,150,837 1,833,563,342 5,115,400,115<br />

(238,567,647) (81,258,256) (95,568,140) (21,276,531)<br />

8,452,642,192 10,718,892,581 1,737,995,202 5,094,123,584<br />

30 <br />

5 8,458,186,441 10,718,892,581 1,737,995,202 5,094,123,584<br />

(5,544,249) - - -<br />

8,452,642,192 10,718,892,581 1,737,995,202 5,094,123,584<br />

<br />

30 .. 2553 .. 2552 <br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

งบการเงินรวม<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

งบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

พ.ศ. 2553<br />

บาท<br />

พ.ศ. 2552<br />

บาท<br />

26,716,899 44,406,676 - -<br />

<br />

37,506,361 183,136,212 11,221,558 5,475,463<br />

1,835,461 6,820,628 - -<br />

( 29) - 64,319,991 - 64,319,991<br />

- - 2,193,897,549 -<br />

( 11) 21,818,442 - - -<br />

หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้เปนสวนหนึ่งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

รายงานประจำป 2553<br />

115


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

116 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

117


118 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

119


120 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

121


122 รายงานประจำป 2553


123<br />

รายงานประจำป 2553


124 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

125


126 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

127


128 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

129


130 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

131


132 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

133


134 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

135


136 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

137


138 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

139


140 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

141


142 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

143


144 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

145


146 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

147


148 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

149


150 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

151


152 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

153


154 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

155


156 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

157


158 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

159


160 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

161


162 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

163


164 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

165


166 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

167


168 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

169


170 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

171


172 รายงานประจำป 2553


31 ()<br />

31.4 /<br />

) 30 <br />

<br />

<br />

.. 2553 .. 2552 .. 2553 .. 2552<br />

<br />

<br />

- - 3,703,287 1,707,130<br />

- - - -<br />

- - 3,703,287 1,707,130<br />

1.25 <br />

(.. 2552 : 1.25 )<br />

<br />

<br />

<br />

.. 2553 .. 2552 .. 2553 .. 2552<br />

<br />

- - 4,991,729 570,988<br />

372,315 11,323 7,323 11,323<br />

<br />

<br />

372,315 11,323 4,999,052 582,311<br />

1 4,000 4,000 163,636 149,728<br />

1 5 368,315 7,323 4,835,416 432,583<br />

<br />

372,315 11,323 4,999,052 582,311<br />

14 .. 2552 Soleado Holdings Pte., Ltd. (“Soleado”) <br />

Merton Investments NL BV (“Merton”) 15 Merton <br />

3 23 .. 2552<br />

Merton SKI Energy Resources Inc. (“SERI”) 2 <br />

SERI 30 .. 2553 <br />

12 (.. 2552 : )<br />

รายงานประจำป 2553<br />

173


174 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

175


176 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

177


178 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

179


180 รายงานประจำป 2553


รายงานประจำป 2553<br />

181


182 รายงานประจำป 2553


โครงสรางรายได<br />

(ลานบาท)<br />

รายได<br />

ประเภทธุรกิจ<br />

2551 2552 2553<br />

รายได รอยละ รายได รอยละ รายได รอยละ<br />

1. รายไดจากการเดินเรือ ธุรกิจเดินเรือ 28,453.61 80.42 13,842.17 65.06 9,272.55 48.52<br />

2. รายไดจากธุรกิจบริการนอกชายฝง ธุรกิจบริการนอกชายฝง 5,285.44 14.94 5,209.87 24.48 3,476.36 18.91<br />

3. รายไดจากการขาย ธุรกิจการผลิตและขายปุย - - 365.80 1.72 4,640.74 24.28<br />

4. รายไดจากกลุมบริษัทที่ใหบริการ<br />

1,364.50 3.86 1,704.28 8.01 1,545.46 8.09<br />

และแหลงอื่นๆ<br />

5. ดอกเบี้ยรับ 207.71 0.57 125.43 0.59 94.65 0.50<br />

6. สวนแบงกำไรจากบริษัทรวม<br />

74.21 0.21 29.88 0.14 80.31 0.42<br />

และกิจการรวมคา<br />

รวม 35,382.47 100 21,277.43 100 19,110.07 100<br />

คาตอบแทนของผูสอบบัญชี<br />

1. คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee)<br />

บริษัทฯ และบริษัทยอยจายคาตอบแทนการสอบบัญชีใหแกสำนักงานสอบบัญชีในรอบปบัญชีที่ผานมาเปนเงินรวม 19,614,531 บาท<br />

2. คาบริการอื่น (Non-audit fee)<br />

บริษัทฯ และบริษัทยอยจายคาตอบแทนอื่นใหแกสำนักงานสอบบัญชีสำหรับรอบปบัญชีที่ผานมาเปนเงิน 2,833,888 บาท ซึ่งสวนใหญเปน<br />

คาตอบแทนเกี่ยวกับการสอบทานราคาซื้อกิจการใหมที่ลงทุน และการตรวจสอบบริษัทยอยเพื่อใหเปนไปตามเงื่อนไขของบัตรสงเสริมการลงทุน<br />

(BOI) และบัตรสงเสริมของประเทศสิงคโปร (AIS)<br />

รายงานประจำป 2553<br />

183


ปจจัยความเสี่ยง<br />

ความเสี่ยงมีอยูในทุกธุรกิจ นอกเหนือไปจากความเสี่ยงภายในและภายนอกองคกรซึ่งธุรกิจในปจจุบันของบริษัทฯ ประสบอยู บริษัทฯ ยังให<br />

ความระมัดระวังในดานความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับกิจกรรมการกระจายธุรกิจของบริษัทฯ ดวย ในป 2553 บริษัทฯ ไดใชแนวทางการบริหาร<br />

ความเสี่ยงสำหรับองคกร (Enterprise Risk Management (ERM)) เพื่อที่จะบงชี้ วัดคาและควบคุมความเสี่ยงตางๆ ที่พบอยูในการดำเนินงาน<br />

ของบริษัทฯ แผนระยะกลางของบริษัทฯ ไดรวมเอาการสงเสริมวัฒนธรรมที่มุงเนนการตระหนักถึงความเสี่ยงอยางสูงไวเปนสวนหนึ่งของแผนดวย<br />

เพื่อที่พนักงานในระดับตางๆ จะสามารถระบุ ตรวจตราและจัดการความเสี่ยงตางๆ ซึ่งอยูภายใตการควบคุมของตนได<br />

แนวทางการบริหารความเสี่ยงสำหรับองคกรชวยใหฝายตางๆ ที่เกี่ยวของสามารถประเมินความเสี่ยงที่สำคัญและการควบคุมทั้งหลายได<br />

กระบวนการบริหารความเสี่ยงจะถูกขับเคลื่อนโดยธุรกิจหลัก 3 ธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งอยูในสถานะดีที่สุดที่จะบงชี้ถึงความเสี่ยงที่ตอเนื่องและ<br />

ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหมอันมีนัยสำคัญในธุรกิจของตน ฝายบริหารจะพิจารณาทบทวนผลลัพธของกระบวนการประเมินความเสี่ยงเหลานี้ และ<br />

คณะกรรมการของบริษัทฯ จะพิจารณาทบทวนแผนภูมิความเสี่ยงรวม (consolidated risk map) ทุกไตรมาส นอกจากนี้ ความเสี่ยงที่ถูกระบุ<br />

และการควบคุมเพื่อลดความเสี่ยงจะถูกตรวจสอบโดยเปนสวนหนึ่งของแผนการตรวจสอบภายในเปนระยะของบริษัทฯ<br />

รายละเอียดดังตอไปนี้คือความเสี่ยงที่สำคัญและปจจัยที่ชวยความเสี ่ยงแตละประเภทในจำนวนความเสี่ยงทั้ง 4 ประเภทซึ่งกลุมบริษัทฯ พิจารณา<br />

วามีความสำคัญที่สุด อันไดแก ความเสี่ยงดานกลยุทธ ความเสี่ยงดานการเงิน ความเสี่ยงดานปฏิบัติการ และความเสี่ยงดานการปฏิบัติตาม<br />

กฎระเบียบ โดยที่ความเสี่ยงดานชื่อเสียงเปนคุณลักษณะรวมกันของความเสี่ยงทั้งสี่ประเภท ถึงแมวาบริษัทฯ ไดระบุความเสี่ยงบางประการ<br />

ซึ่งอาจมีผลกระทบตอธุรกิจของบริษัทฯ ไวในสวนนี้ แตความเสี่ยงเหลานี้มิใชความเสี่ยงทั้งหมด ยังมีความเสี่ยงอื่นๆ อีกซึ่งไมเปนที่ทราบในขณะนี้<br />

หรือความเสี่ยงอื่นๆ ซึ่งในเวลานี้ไมถือวามีนัยสำคัญเทากับความเสี่ยงทั้งหลายที่ระบุไวในสวนนี้ อาจมีผลกระทบตอธุรกิจของบริษัทฯ ในอนาคตได<br />

ความเสี่ยงดานกลยุทธ<br />

ความเสี่ยงดานกลยุทธสะทอนถึงผลกระทบที่เกิดกับกำไรหรือเงินทุนของกลุมอันเนื่องมาจากการตัดสินใจทางธุรกิจที่เกิดผลในทางลบ<br />

การดำเนินการตามการตัดสินใจซึ่งไมประสบผลตามที่ตั้งใจไว หรือการไมตอบสนองตอแรงกดดันทางดานการแขงขัน หรือสภาพแวดลอม<br />

หรือกฎระเบียบอื่นๆ บริษัทฯ เชื่อวาความเสี่ยงดังตอไปนี้คือความเสี่ยงดานกลยุทธที่สำคัญซึ่งกลุมประสบอยูในขณะนี้<br />

ความซับซอน เนื่องจากกลุมไดเติบโตขึ้นและไดเพิ่มกิจกรรมทั้งในประเทศและระหวางประเทศ ความซับซอนของการดำเนินงาน และทักษะ<br />

ความสามารถที่จำเปนสำหรับการบริหารจัดการการดำเนินงานดังกลาวอยางมีประสิทธิภาพจึงไดเพิ่มขึ้นดวยเชนกัน ในขณะนี้ กลุมบริษัทฯ<br />

มีทั้งบริษัทยอยซึ่งกลุมเปนผูถือหุนรายใหญ และบริษัทรวม โดยบริษัทเหลานี้จำนวนหนึ่งจดทะเบียนอยูในตลาดหลักทรัพยแหงตางๆ นอกเหนือ<br />

ไปจากความเสี่ยงดานกฎระเบียบและการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (ซึ่งกลาวถึงทายนี้) การเติบโตอยางตอเนื่องของกลุมทั้งในธุรกิจเดิมและโดยผาน<br />

การลงทุนใหม จะกอใหเกิดความทาทายที่ไมสิ้นสุดในการบริหารจัดการธุรกิจตางๆ และการจัดใหมีทรัพยากรบุคคลซึ่งมีคุณภาพสูงเพื่อการควบคุม<br />

ดูแล เพื่อที่จะลดความเสี่ยงนี้ บริษัทฯ ไดใชความพยายามเพิ่มขึ้นอยางมากในการสรรหา ฝกอบรมและพัฒนาบุคลากร และแผนการรักษาบุคลากร<br />

เพื่อตอบสนองความจำเปนทางดานบุคลากรตามที่คาดหมาย กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารจะปรึกษาหารือประเด็นปญหา<br />

เกี่ยวกับทรัพยากรบุคคลที่สำคัญกับทุกสายธุรกิจและฝายบริหารธุรกิจทุกไตรมาส<br />

การลงทุน เนื่องจากธุรกิจของบริษัทฯ จำนวนหนึ่งตองการเงินลงทุนสูงมาก เวลา ลักษณะ การกำหนดราคาและการจัดหาเงินลงทุนทั้งในธุรกิจ<br />

เดิมและกิจกรรมใหมจึงมีความสำคัญมาก บริษัทฯ ไดกำหนดหลักเกณฑการลงทุนที่เขมงวดและติดตามอยางใกลชิดเมื่อมีการปรึกษาหารือ<br />

เกี่ยวกับการลงทุนใหม บริษัทฯ ไดลดความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการตัดสินใจลงทุนใหเหลือนอยที่สุดดวยการใชแนวทางโดยละเอียด และการพิจารณา<br />

ทบทวนการลงทุนที่สำคัญทั้งหมดแบบหลายระดับ โดยเฉพาะอยางยิ่ง คณะกรรมการการลงทุนจะพิจารณาทบทวนการลงทุนเชิงกลยุทธที่สำคัญ<br />

รวมทั้งกิจกรรมการกระจายการลงทุนที่มีศักยภาพทั้งหมด กอนที่จะสามารถสงเรื่องไปยังคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา เนื่องจาก<br />

คณะกรรมการการลงทุนประกอบดวยกรรมการหลายคนในคณะกรรมการบริษัทฯ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน และ<br />

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมกลยุทธ องคประกอบที่สำคัญของการตัดสินใจลงทุนใดๆ จึงผานการพิจารณาทบทวนและเห็นชอบจากผูบริหาร<br />

อาวุโสกอนที่จะขอการอนุมัติ<br />

เศรษฐศาสตรมหภาค/สภาพแวดลอม บริษัทฯ บริหารจัดการความเสี่ยงดวยการพิจารณาทบทวนแผนกลยุทธซึ่งกำหนดขึ้นโดยแตละ<br />

หนวยธุรกิจเปนระยะ การพิจารณาทบทวนดังกลาวมุงเนนที่การรักษาหรือสงเสริมความสามารถในการแขงขัน การบงชี้โอกาสสำหรับการเติบโต<br />

เพิ่มเติม และการตอบสนองการเปลี่ยนแปลงหรือแนวโนมทางดานอุตสาหกรรม กฎระเบียบหรือเศรษฐกิจมหภาคซึ่งมีผลกระทบตอแตละธุรกิจ<br />

ในทุกๆ เดือน คณะผูบริหารจะประชุมเพื่อตรวจติดตามผลการดำเนินงานของกลุมและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงแผนธุรกิจ<br />

และกลยุทธระยะสั้น เพื่อความมั่นใจถึงการบรรลุเปาหมายที่กำหนด นอกจากการใชทักษะความสามารถภายในองคกรในกระบวนการตรวจ<br />

ติดตามและพิจารณาทบทวนนี้แลว ผูบริหารยังปรึกษาหารือกับผูเชี่ยวชาญทางดานอุตสาหกรรมและการเงิน และสื่อสารกับสถาบันและแหลง<br />

อื่นๆ ที่เชื่อถือไดอยางสม่ำเสมอ เพื่อตรวจสอบความเชื่อถือไดของขอมูล และวิเคราะหความแตกตางระหวางสมมุติฐานตางๆ การพิจารณาทบทวน<br />

อยางตอเนื่องนี้ทำใหสามารถดำเนินการแกไขไดลวงหนากอนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญซึ่งอาจมีผลกระทบตอผลการดำเนินงานของ<br />

กลุมบริษัทฯ<br />

184 รายงานประจำป 2553


ความเสี่ยงดานการเงิน<br />

ความเสี่ยงทางดานการเงินหลักๆ ของกลุมบริษัทฯ ไดแก ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยง<br />

จากคูสัญญา กลุมบริษัทฯ ใชเครื่องมือทางการเงิน เชน สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ<br />

สัญญากำหนดอัตราแลกเปลี่ยนต่ำสุดและสูงสุด และสัญญาแลกเปลี่ยนที่ราคาจะถูกกำหนดดวยราคาคงที่ เพื่อจัดการกับความเสี่ยงทางการเงิน<br />

หลักๆ วัตถุประสงคของการใชเครื่องมือทางการเงินเหลานี้คือ เพื่อที่จะลดความไมแนนอนของกระแสเงินสดในอนาคตที่เกิดขึ้นจากการ<br />

เปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน และเพื่อการจัดการสภาพคลองของทรัพยากรเงินสด บริษัทฯ มีนโยบายที่จะไมเขาทำธุรกรรมตราสารอนุพันธ<br />

ทางการเงินที่เกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยเพื่อจุดประสงคในการเก็งกำไร<br />

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน<br />

ธุรกิจขนสงสินคาระหวางประเทศทางทะเล ธุรกิจบริการนอกชายฝง ธุรกิจโลจิสติคสและคลังสินคา และธุรกิจปุยใชเงินสกุลดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

เปนสกุลเงินหลักสำหรับธุรกรรมการคาและการเขาซื้อสินทรัพย กลุมบริษัทฯ จัดการความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยนทั้งในระดับกลุมบริษัทฯ<br />

และระดับบริษัทโดยวิธีการปองกันความเสี่ยงโดยกลไกธรรมชาติ (natural hedging) บริษัทฯ จะสรางสมดุลระหวางรายไดที่เปนเงิน<br />

ตางประเทศกับรายจายดานการคาและเงินกูที่เปนเงินตางประเทศ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนสวนใหญไดรับการปองกันโดยกลไกธรรมชาติ<br />

เนื่องจากรายไดและคาใชจายการดำเนินงานสวนใหญอยูในสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดรับเงินกูในสกุลเงินดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกาเพื่อเปนเงินทุนสนับสนุนธุรกิจและการเขาซื้อกิจการที่กอรายไดในสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน<br />

ที่เหลือไดรับการจัดการโดยตราสารการเงิน เชน สัญญาซื้อขายลวงหนา และการจัดการเงินฝากในสกุลเงินตราตางประเทศ<br />

บริษัทฯ ไดเขาทำสัญญาอนุพันธ เชน การแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ยเพื่อกำหนดตนทุนทางการเงินของบริษัทฯ สัญญาแลกเปลี่ยน<br />

สกุลเงินและสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยชวยปองกันกลุมบริษัทฯ จากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี ่ยนและอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 30<br />

กันยายน พ.ศ. 2553 เมอรเมดมีเงินกูจำนวน 932.84 ลานบาท หรือ 26.68 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ซึ่งไดรับการปองกันความเสี่ยงผาน<br />

สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศและสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับธนาคารในประเทศ ในปที่ผานมา เมอรเมดไดเขาทำสัญญา<br />

แลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับธนาคารพาณิชยสำหรับสินเชื่อเงินกูระยะยาวในสกุลดอลลารสหรัฐอเมริกาจำนวน 45.93 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดเขาทำสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ยกับธนาคารในประเทศแหงหนึ่งสำหรับหุนกูสกุลเงินบาท ระยะเวลา<br />

5 ป เปนสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 มียอดหุนกูคงเหลือจำนวน 62.15 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา และหุ นกูนี้มี<br />

ยอดตามสกุลเงินเดิมจำนวน 2,000 ลานบาท บริษัทฯ รับรูกำไรหรือขาดทุนจากการปองกันความเสี่ยงนี้ในวันที่มีการตกลงทำสัญญาลวงหนา<br />

แตละฉบับ<br />

บริษัทฯ ไดมีการเขาทำสัญญากำหนดอัตราแลกเปลี่ยนต่ำสุดและสูงสุดเพื่อปองกันกลุมบริษัทฯ จากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน ทั้งนี้<br />

เพื่อการจำกัดอัตราที่จะใชในการชำระหนี้สินในสกุลเงินตราตางประเทศ ในชวงป 2550 บริษัทฯ ไดเขาทำสัญญากำหนดอัตราแลกเปลี่ยนต่ำสุด<br />

และสูงสุดเพื่อจำกัดความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนที่เกี่ยวของกับสัญญากอสรางเรือในสกุลเงินเยนจำนวน 2 ลำ เปนมูลคาทั้งสิ้น 7,353 ลาน<br />

เยน สัญญาดังกลาวกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนต่ำสุดและสูงสุดอยูระหวาง 105 เยน ถึง 120 เยน ตอ 1 ดอลลารสหรัฐอเมริกา สัญญาฉบับแรกครบ<br />

กำหนดแลวเมื่อมีการสงมอบเรือทอร เฟรนดชิป และสัญญาฉบับที่สองจะครบกำหนดในป 2554 เมื่อมีการสงมอบเรือตอใหมลำที่สอง<br />

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย<br />

กลุมบริษัทฯ ไดพยายามที่จะจัดการกับความเสี่ยงตอความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยและลดตนทุนดอกเบี้ย โดยความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย<br />

สามารถลดลงไดดวยการบริหารการใชอัตราดอกเบี้ยทั้งแบบคงที่และลอยตัวสำหรับเงินกูยืม และการใชตราสารอนุพันธ เชน การแลกเปลี่ยนอัตรา<br />

ดอกเบี้ยสำหรับเงินกูยืมระยะยาว นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ยังบริหารจัดการระยะเวลาโดยรวมของเงินกูยืมอยางตอเนื่อง กลุมบริษัทฯ มีความเสี่ยง<br />

ดานตลาดที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา เนื่องจากเงินกูยืมในสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกาเกือบ<br />

ทั้งหมดมีอัตราสวนตางคงที่ซึ่งผูกอยูกับอัตราดอกเบี ้ย LIBOR แบบลอยตัว หุนกูแปลงสภาพไดใชอัตราดอกเบี้ยรายปแบบคงที่ที่รอยละ 2.50<br />

ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาน้ำมันเชื้อเพลิง<br />

ความผันผวนของราคาน้ำมันอาจจะมีผลกระทบตอคาใชจายในธุรกิจการขนสงสินคาแหงเทกองทางทะเลอยางมากและอาจสงผลกระทบตอรายได<br />

ของกลุมบริษัทฯ ที่ผานมากลุมบริษัทฯ ไดเขาทำสัญญากำหนดคาเงินลวงหนากับสถาบันการเงินที่ชวยปองกันกลุมบริษัทฯ จากการเคลื่อนไหวของ<br />

ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงไดบางสวน โดยมีการกำหนดราคาตายตัวที่ใชในการคำนวณผลกำไรหรือการขาดทุนในอนาคต วิธีการนี้มีความสำคัญและมี<br />

ประสิทธิภาพสำหรับการลดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคาน้ำมันเชื้อเพลิงในอนาคตในชวงระหวางวันที่ตกลงเขาทำสัญญาขนสงสินคา<br />

และวันที่ไดทำการขนสงสินคาจริง เนื่องจากธุรกิจขนสงสินคาแหงเทกองทางทะเลมีวันเดินเรือที่ราคาคาขนสงสินคาที่กำหนดตายตัวมากขึ้น ดังนั้น<br />

กลุมบริษัทฯ คาดวาจะทำการปองกันความเสี่ยงสำหรับความตองการน้ำมันเชื้อเพลิงที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตสำหรับสัญญาขนสงสินคาระยะ<br />

ยาวแตละฉบับ โดยการเขาทำสัญญาแลกเปลี่ยนน้ำมันเชื้อเพลิงและสัญญาซื้อขายน้ำมันเชื้อเพลิงลวงหนา ในเวลาที่เจรจาตอรองสัญญาขนสง<br />

สินคาระยะยาวแตละฉบับ<br />

รายงานประจำป 2553<br />

185


ความเสี่ยงจากคูสัญญา<br />

รายไดจากคาระวางทั้งที่เปนสินคาแหงเทกองและเรือวิศวกรรมโยธาใตน้ำสวนใหญนั้นลูกคาจะจายเงินลวงหนา หรือจายกอนที่ลูกคาจะไดรับสินคา<br />

สำหรับการขายถายหิน ลูกคารายใหญเปนบริษัทมหาชนที่มีความมั่นคงในประเทศไทย สวนการขายถานหินใหกับลูกคาวิสาหกิจขนาดกลางและ<br />

ขนาดเล็กนั้นมีจำนวนไมมาก บริษัทฯ ขายปุยทั้งหมดในรูปแบบเงินสด บริษัทฯ ไมคิดวาความเสี่ยงจากคูสัญญามีนัยสำคัญ และตนทุนใน<br />

การปองกันความเสี่ยงดังกลาวจะมากเกินกวาผลประโยชนที่จะเปนไปได ดังนั้น บริษัทฯ จึงไมเขาทำสัญญาอนุพันธใดๆ สำหรับความเสี่ยงนี้<br />

ความเสี่ยงจากการปฏิบัติการ<br />

บริษัทฯ เผชิญกับการแขงขันที่รุนแรงในตลาดหลายแหงที่บริษัทฯ ดำเนินงานอยู ซึ่งอาจกอใหเกิดผลกระทบในดานตอผลการดำเนินงาน<br />

ของบริษัทฯ<br />

ความเสี่ยงจากความปลอดภัยและถูกตองของขอมูล<br />

บริษัทฯ ไดดำเนินการใหเปนที่มั่นใจวาระบบวิเคราะหธุรกิจที่จำเปนจะมีความพรอม และการเขาถึงขอมูลทางธุรกิจที่เกี่ยวของจะสามารถทำได<br />

แมในยามที่องคประกอบบางสวนไมสามารถทำงานได ทั้งนี้ โดยการจัดใหมีโครงสรางองคประกอบทางเทคนิค เครือขายและไซตแบบซ้ำซอน<br />

รวมทั้งมาตรการในกรณีฉุกเฉินที่ผานการทดสอบและมีความเหมาะสม<br />

บริษัทฯ มีแนวทางการรักษาความปลอดภัย ซึ่งรวมถึงมาตรการปองกันทางดานองคกร เทคนิคและซอฟตแวรเพื่อควบคุมการเขาถึงขอมูล สิทธิ<br />

ในการเขาถึงขอมูล การปองกันไวรัส และการปองกันขอมูล โดยมีการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการเหลานี้และประสิทธิภาพของมาตรการ<br />

เหลานี้อยางตอเนื่อง บริษัทฯ ทำการตรวจสอบทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางสม่ำเสมอ เพื่อใหมั่นใจวาความเสี่ยงทางดานเทคโนโลยี<br />

สารสนเทศไดรับการประเมิน และมีการใชมาตรการที่เหมาะสม<br />

ความเสี่ยงทางธุรกิจ<br />

กลุมธุรกิจขนสง<br />

ความเสี่ยงทางธุรกิจที่เกี่ยวกับกลุมขนสงดวยเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง<br />

l ความผันผวนของอัตราคาเชาเรืออาจมีผลกระทบทางลบตอรายไดและรายรับของกลุม<br />

อัตราคาเชาเรือของเรือบรรทุกสินคาแหงเทกองโดยหลักแลวเปนกระบวนการที่มาจากความสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทานของเรือ และ<br />

บริการตางๆ ของเรือ ปจจัยอื่นๆ รวมถึงอุปสงคและการผลิตสินคาแหงเทกอง ระยะทางการขนสงสินคาแหงเทกองทางทะเล ความเปลี่ยนแปลง<br />

ของการคาทางทะเล และรูปแบบการขนสงอื่นๆ จำนวนการรับมอบเรือที่สั่งตอใหม การปลดระวางเรือเกา สภาพเศรษฐกิจโลก การพัฒนาตางๆ<br />

ในการคาระหวางประเทศ การแขงขันจากการขนสงประเภทอื่น ความแออัดของทาเรือและคลอง และจำนวนของเรือที่ไมสามารถใหบริการได<br />

อาจมีอิทธิพลตออัตราคาเชาเรืออยางมีนัยสำคัญ ถาอัตราคาเชาเรือลดลง ผลประกอบการของกลุ มบริษัทฯ และความสามารถในการทำกำไร<br />

ในอนาคตของกลุมบริษัทฯ อาจไดรับผลกระทบอยางมีนัยยะสำคัญใน การผันแปรของอัตราคาเชาเรืออาจทำใหเกิดความผันผวนในรายไดและ<br />

กำไรของกลุมบริษัทฯ<br />

เพื่อจำกัดความผันผวนนี้ จุดมุงหมายของกลุมบริษัทฯ คือการใหบริการกองเรือที่หลากหลายและมีความสมดุล กลุมบริษัทฯ แบงเรือจำนวน<br />

หนึ่งเพื่อใหเชาเหมาลำแบบระยะยาวโดยมีสัญญารับขนสงสินคาลวงหนาและใหบริการแบบไมประจำเสนทางเปนสวนประกอบ กลุมบริษัทฯ<br />

ยังไดกระจายชนิดของสินคาที่ขนสงโดยพยายามไมมุงเนนไปที่สินคาชนิดใดชนิดหนึ่ง<br />

l สถานการณโลกที่อาจสงผลกระทบตอผลการดำเนินงานและสภาวะทางการเงินของกลุมบริษัทฯ<br />

ในอดีต การขัดแยงทางการเมืองไดสงผลใหเกิดการจูโจมเรือเดินทะเล การวางทุนระเบิดใตน้ำ และการจูโจมในรูปแบบอื่นๆ ที่เปนการขัดขวาง<br />

การเดินเรือระหวางประเทศ ทั้งนี้ พฤติกรรมการกอการรายและโจรสลัดไดสงผลกระทบตอเรือสินคาในนานน้ำทวีปตางๆ อาทิ ในบริเวณทะเล<br />

ตะวันออกกลางและทะเลจีนใต นอกจากนี้ การคว่ำบาตรทางการทูตก็ไดสงผลกระทบตอบริษัทขนสงทางทะเลที่มีสัญญากับประเทศที่ถูกคว่ำบาตร<br />

เหตุการณเหลานี้ลวนแลวแตจะสงผลกระทบตอผลการดำเนินงานของกลุมบริษัทฯ<br />

การจูโจมโดยโจรสลัดที่มีอยูอยางตอเนื่อง และจากการที่บริษัทฯ ไดประสบกับเหตุการณเรือถูกโจรสลัดจับเรียกคาไถในโซมาเลียเมื่อสองปที่แลว<br />

ทำใหบริษัทฯ ไดจัดหามาตรการเพิ่มเติมที่สำคัญในเรื่องของการปองกัน การเตรียมความพรอม การฝกฝน กระบวนการ และการอบรมลูกเรือกอน<br />

ที่จะนำเรือเขาไปในเขตของโจรสลัด นอกจากนี้ ยังรวมถึงมาตรการการติดตั้งแนวรั้วลวดหนามที่พันรอบตลอดลำตัวเรือ การปองกันหองพักของ<br />

ลูกเรือและหองบังคับการเรือ เครื่องมือปองกันรางกายและศีรษะแบบทหาร และการใชเสนทางเชื่อมตอทางทะเลที่มีการตรวจตรา นอกจากนี้<br />

ยังมีการแสวงหามาตราการปองกันและขัดขวางอื่นๆ กับที่ปรึกษาฝายพลเรือนและฝายทหารอีกดวย ยิ่งไปกวานั้น บริษัทฯ ไดซื้อประกันเพิ่มเติม<br />

เพื่อคุมครองภาระที่อาจเกิดขึ้นจากการที่เรือถูกโจรสลัดยึดหรือถูกจับเรียกคาไถ และบริษัทฯ อาจเพิ่มพื้นที่คุมครองความเสี่ยง หรือพิจารณา<br />

ทบทวนเสนทางการคาของเรือเนื่องจากการขยายตัวจากภัยของโจรสลัด<br />

186 รายงานประจำป 2553


แมวากลุมบริษัทฯ จะพยายามอยางเต็มที่ในทุกๆ ดาน เพื่อที่ประเมินจุดแข็งทางดานการเงินของผูเชาเรือ แตวิกฤติการณทางการเงินอาจ<br />

สงผลกระทบตอผูเชาเรือที่ทำสัญญาไวกับกลุมบริษัทฯ สภาวะการลมละลายและปญหาทางการเงินของผูเชาเรือ อาจทำใหตองมีการเจรจา<br />

ตอรองกับผูเชาเรือใหมอีกครั้ง หรือแมกระทั่งตองยกเลิกสัญญาเชาเหมาลำที่ทำไวกอนครบกำหนด<br />

l ความเสี่ยงของกลุมบริษัทฯ จากการใหบริการเชาเหมาลำระยะสั้นในตลาดเชาเรือระยะสั้น อาจทำใหเกิดความผันผวนตอ<br />

ความสามารถในการทำกำไร<br />

อัตราคาเชาเรือในตลาดเชาเรือระยะสั้นหลายตลาดที่กลุมบริษัทฯ ดำเนินธุรกิจอยูนั้นมีความหลากหลายอยางมากขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ<br />

ไดแก จำนวนเรือในกองเรือโลก การกระจายกำลังเรือ การที่มีเรือใหมเขามาในตลาด การปลดระวางเรือเกา และอุปสงคของสินคาที่จะขนสง<br />

นอกจากนี้จุดที่เรือวิ่งรับขนสงสินคายังมีผลตอความสามารถของกลุมบริษัทฯ ในการใชเรืออยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อตอบสนอง<br />

ตอความผันผวนของความตองการในการเชาเรือในระยะสั้นและสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา<br />

สำหรับรอบบัญชีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 รอยละ 87.84 ของรายไดจากคาระวางรวม และรอยละ 83.20 ของรายไดสุทธิจากการเดินเรือ<br />

ในแตละเที่ยวไดมาจากการใหบริการแบบประจำเสนทาง การใหเชาเหมาลำและสัญญาอื่นๆ ที่มีการกำหนดราคาตามตลาดเชาเรือระยะสั้น<br />

จากการที่กลุมธุรกิจเรือบรรทุกสินคาแหงเทกอง มีรายไดบางสวนจากการใหเชาเรือที่อัตราตลาดเชาเรือระยะสั้น การลดลงของอัตราคาเชาเรือ<br />

ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งจึงมีผลกระทบตอผลประกอบการของกลุมบริษัทฯ ในชวงเวลานั้นๆ<br />

นโยบายของกลุมบริษัทฯ คือ การสรางรายไดที่สม่ำเสมอตลอดป โดยการทำสัญญากับลูกคาไวลวงหนาชนิดใหเชาเหมาลำเปนระยะเวลาและ<br />

จากสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา ดังนั ้นจึงสามารถชวยลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราคาเชาเรือในตลาดเชาเรือระยะสั้นได<br />

อยางไรก็ตาม บริษัทฯ อาจเลือกที่จะหลีกเลี่ยงสัญญาเชาเรือระยะยาวในชวงที่ตลาด คาระวางเรือซบเซาเปนระยะเวลาตอเนื่อง<br />

l ความสำเร็จของกลุมบริษัทฯ อนาคตขึ้นอยูกับความสามารถในการบริหารความเจริญเติบโตของกลุมธุรกิจ<br />

ปจจุบันกลุมบริษัทฯ มีแผนงานในการขยายและปรับปรุงกองเรือใหม กลุมบริษัทฯ ไดลงนามในสัญญาสั่งตอเรือใหมเปนจำนวนหลายลำ และจะ<br />

มองหาโอกาสในการซื้อเรือใหม และ/หรือซื้อเรือมือสองตอไปอีก ซึ่งในการนี้จะตองอาศัยเจาหนาที่บนเรือ ลูกเรือ พนักงาน รวมทั้งเทคโนโลยีสาร<br />

สนเทศและระบบตางๆ ของกลุมบริษัทฯ ที่จะบริหารกองเรือและดำเนินการใหเปนไปตามแผนการขยายและปรับปรุงกองเรือใหม โดยไมลด<br />

คุณภาพการบริการใหกับบริษัทที่เปนลูกคา อยางไรก็ดีกลุมบริษัทฯ ไมสามารถยืนยันไดวาทรัพยากรบุคคลและเทคโนโลยีของกลุ มบริษัทฯ<br />

จะประสบผลสำเร็จในการบริหารแผนการขยายและปรับปรุงกองเรือใหม<br />

นอกเหนือจากแผนงานในการขยายและปรับปรุงกองเรือใหม อีกสวนของกลยุทธของกลุมบริษัทฯ คือการหาโอกาสในการขยายธุรกิจไปยังภูมิภาค<br />

ใหมๆ และหาบริการใหมๆ (ตัวอยางเชน การขยายไปสูการใหบริการตางๆ นอกชายฝง) ซึ่งจะชวยทำใหกลุมบริษัทฯ สามารถเพิ่มความแข็งแกรง<br />

ทางการแขงขัน หรือตอยอดจากสายธุรกิจที่มีอยูในขณะนี้ กลุมบริษัทฯ อาจจะไมประสบความสำเร็จจากการปฏิบัติตามกลยุทธสวนใดสวนหนึ่ง<br />

หรือทั้งหมดของกลยุทธที่บริษัทฯ ไดวางไว<br />

นโยบายของกลุมบริษัทฯ คือการพัฒนาบุคลากรที่สำคัญ และพัฒนาระบบพื้นฐานอยางตอเนื่อง ในป 2553 กลุมบริษัทฯ ไดทำการทบทวน<br />

กระบวนการทางธุรกิจของตนอยางละเอียด และเลือกใชระบบ Enterprise Resource Planning (ERP) เพื่อที่จะเพิ่มผลผลิต ศักยภาพ และ<br />

เพิ่มประสิทธิภาพในการเขาถึงขอมูลตัวเลขทางการเงินทั้งในสวนของกลุมบริษัทฯและภายในกลุมบริษัทเรือขนสงสินคาแหงเทกอง<br />

l กลุมบริษัทฯ อาจตองมีรายจายเพื่อการบำรุงรักษากองเรือขนสงสินคาแหงเทกองที่ไมไดคาดการณลวงหนา<br />

ในกรณีที่เรือของกลุมบริษัทฯ ไดรับความเสียหาย (เชน จากสภาพอากาศหรืออุบัติเหตุ) เรือเหลานี้จะถูกนำไปซอมแซมที่อูแหง ซึ่งตนทุนและระยะ<br />

เวลาการซอมที่อูแหงนั้นไมสามารถคาดการณได จึงเปนไปไดที่คาซอมแซมนั้นอาจเปนเงินจำนวนที่สูงและไมอยูในความคุมครองของบริษัทประกัน<br />

การสูญเสียรายไดในระหวางที่เรือเหลานี้ถูกซอมแซมและปรับปรุงใหม รวมทั้งตนทุนที่เกิดขึ้นจริงจากการซอมแซมเหลานี้ จะทำใหกำไรของกลุม<br />

บริษัทฯ ลดลง นอกจากนี้ในบางครั้งพื้นที่สำหรับการนำเรือเขาอูแหงนั้นมีจำนวนจำกัด และไมไดอยูในสถานที่ที่สะดวกตอการนำเรือไปซอมแซม<br />

อีกดวย<br />

นอกจากนี้ ความเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่ไมไดคาดการณมากอนในดานของกฏระเบียบตางๆ ของรัฐบาลและมาตรฐานดานความปลอดภัยหรือ<br />

ดานอุปกรณอื่นๆ อาจทำใหเกิดคาใชจายในการเปลี่ยนแปลง หรือการเพิ่มเติมอุปกรณใหมๆ ใหกับเรือที่มีสภาพเกาเพื่อใหเปนไปตามกฎระเบียบ<br />

และมาตรฐานเหลานั้น ดังนั้น กลุมบริษัทฯ อาจไมสามารถใชประโยชนจากเรือบางลำเปนเวลานาน หรือเปนเวลานานกวาที่คาดการณไว ดังนั้น<br />

จึงไมสามารถมั่นใจไดวาเรือของกลุมบริษัทฯ จะไมตองเขารับการซอมแซมเพิ่มเติม ซึ่งจะทำใหเกิดคาใชจายจำนวนมาก<br />

เรือของกลุมบริษัทฯ จะถูกหยุดการใชงานในชวงระยะเวลาหนึ่งเปนประจำ ทั้งนี้ เพื่อตรวจเช็คสภาพเรือและการดูแลรักษาเรือตามปกติ ในกรณี<br />

ที่เรือจำเปนตองถูกซอมแซมมากกวาที่คาดการณไว ก็จะทำใหเวลาที่จะนำเรือกลับมาใชประโยชนขยายออกไป ความลาชาดังกลาวอาจทำใหเกิด<br />

ผลกระทบตอธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ซึ่งก็จะมีผลตอการดำเนินงาน และสภาวะทางการเงิน<br />

รายงานประจำป 2553<br />

187


นโยบายของกลุมบริษัทฯ คือการลงทุนเปนจำนวนมากเพื่อรักษามาตรฐานของกองเรือขนสงสินคาแหงเทกองใหอยูในระดับสูง เพื่อจำกัดระยะเวลา<br />

การหยุดใชงาน อัตราการใชประโยชนของกองเรือในรอบบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 คิดเปนรอยละ 98.09 นอกจากนี้ กลุม<br />

บริษัทฯ ยังมีการกำหนดชวงเวลาการเขาอูแหงของกองเรือลวงหนาเปนเวลาหนึ่งถึงสองป และเจรจาขอพื้นที่ในอูแหงลวงหนา ในหลายๆ กรณี<br />

เราไดเจรจากับอูตอเรือที่เราตองการเพื่อกำหนดราคาการนำเรือเขาอูแหง และเพื่อใหแนใจวาเรือจะอยูใกลกับสถานที่เหลานี้ เมื่อถึงกำหนดเวลา<br />

ที่เรือตองเขาอูแหง<br />

l ความลาชาในการรับมอบเรือใหม การรับมอบเรือมือสองแบบทันที หรือการซอมแซมเรือที่มีอยูอาจทำใหเกิดผลกระทบ<br />

ทางลบตอรายไดของกลุมบริษัทฯ<br />

แผนงานในการทยอยปรับปรุงกองเรือของกลุมบริษัทฯ มีจุดประสงคเพื่อลดอายุเฉลี่ยของกองเรือ โดยแผนที่จะสั่งซื้อเรือตอใหมที่จะไดรับใน<br />

อนาคตนั้น จะมีการรับมอบตรงเวลาและจะนำมาใชงานตามแบบอยางของเรือที่ระบุไว การเลื่อนเวลาในการสงมอบเรือจากอูตอเรือออกไปเปน<br />

ระยะเวลานาน หรือการมีขอบกพรองในการปฏิบัติงานอยางมีนัยสำคัญจะเกิดผลกระทบตอธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ผลกระทบตอผลการดำเนินงาน<br />

และสถานภาพการเงินของบริษัทฯ ความลาชาในการสงมอบเรืออาจเกิดขึ้นจากปญหาของอูตอเรือ การไมสามารถชำระหนี้ หรือเหตุสุดวิสัยที่<br />

กลุมบริษัทฯ หรืออูตอเรือไมสามารถควบคุมไดหรือเหตุผลอื่นๆ ในกรณีที่เหตุการณเหลานี้ และความสูญเสียตางๆ ที่เกิดขึ้นไมไดรับการชดเชย<br />

ความเสียหายหรือมีการทำประกันไมเพียงพอ อาจมีผลกระทบตอผลประกอบการทางการเงินของกลุมบริษัทฯ<br />

นโยบายของกลุมบริษัทฯ คือการที่จะหาอูตอเรือที่มีคุณภาพ มีประสบการณการตอเรือที่เพียงพอ และมีทีมงานดูแลการตอเรือใหมที่แข็งขัน<br />

ซึ่งจะทำการตรวจสอบดูแลการตอเรือของกลุมบริษัทฯ สม่ำเสมอ ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจไดวากลุมบริษัทฯ จะไดรับเรือที่มีคุณภาพ ไดรับการแจงเตือน<br />

ถามีความเสี่ยงที่อาจมีผลตอการสงมอบเรือลาชา นอกจากนี้ ทางกลุมบริษัทฯ จะพิจารณาการซื้อเรือมือสองโดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงที่ราคาเรือ<br />

ลดต่ำลง ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของแผนการปรับปรุงกองเรือ ระยะเวลาในการรับมอบเรือมือสองที่สั้นลงสามารถที่จะชดเชยการลาชาในการรับมอบ<br />

เรือที่สั่งตอใหมจากอูตอเรือ อยางไรก็ตาม ถาราคาเรือมือสองในตลาดไมไดอยูในระดับที่สามารถซื้อได อาจมีผลกระทบตอรายไดของกลุมบริษัทฯ<br />

กลุมธุรกิจพลังงาน<br />

ความเสี่ยงทางธุรกิจที่เกี่ยวกับกลุมธุรกิจใหบริการนอกชายฝง (ผานเมอรเมด)<br />

l อุตสาหกรรมการใหบริการงานนอกชายฝงนั้นขึ้นอยูกับอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาติเปนสวนใหญ ซึ่งไดรับผลกระทบ<br />

จากความผันผวนของราคาน้ำมันและกาซธรรมชาติ<br />

กลุมบริษัทฯ ใหบริการงานนอกชายฝง ใหกับอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาติโดยผานเมอรเมด และธุรกิจงานบริการนอกชายฝงของกลุม<br />

บริษัทฯ อาจไดรับผลกระทบจากความผันผวนราคาของน้ำมันและกาซธรรมชาติ ซึ่งมีผลกระทบตอกิจกรรมการสำรวจ การพัฒนา และการผลิต<br />

น้ำมันและกาซธรรมชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใตซึ่งเมอรเมดใหบริการอยู<br />

บริษัทตางๆ ที่สำรวจน้ำมันและกาซธรรมชาติอาจยกเลิกหรือลดกิจกรรมการสำรวจ ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับราคาตลาดของน้ำมันและกาซธรรมชาติ ซึ่งจะ<br />

ทำใหอุปสงคของงานบริการนอกชายฝงตางๆ ของกลุมบริษัทฯ ลดตามลงไปดวย ปริมาณกิจกรรมการผลิตและขุดเจาะที่ลดลงเปนระยะเวลานาน<br />

อาจจะมีผลกระทบตอการปฏิบัติงานและธุรกิจของกลุมบริษัทฯ<br />

กลุมบริษัทฯ มุงเนนไปที่ธุรกิจเฉพาะตางๆ เชน วิศวกรรมโยธาใตน้ำและการขุดเจาะน้ำมัน เพื่อชวยลดความผันผวนของกำไร ธุรกิจวิศวกรรมโยธา<br />

ใตน้ำของกลุมบริษัทฯ จะมุงเนนไปที่สวนงานธุรกิจปลายน้ำ (downstream) โดยเฉพาะการตรวจสอบ การซอมบำรุงรักษาอุปกรณโครงสรางที่มีอยู<br />

ซึ่งจำเปนจะตองผานมาตรฐานความปลอดภัย โดยไมตองคำนึงถึงราคาน้ำมันและกาซธรรมชาติวาจะเปนอยางไร เรือขุดเจาะจะนำไปใชในงาน<br />

ขุดเจาะในสวนของการผลิตเปนสวนใหญ ซึ่งเปนสวนที่มีความผันผวนนอยกวาสวนงานขุดเจาะดานอื่นๆ และยังชวยลดภาวะผลกระทบดาน<br />

ความเสี่ยงจากกา ผันผวนของราคาน้ำมันและกาซธรรมชาติในตลาดที่มีตอกลุมบริษัทฯ<br />

l อุปสงคของธุรกิจงานบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ มีการแขงขันสูง มีความผันผวน และผลของการดำเนินงานบริการนอก<br />

ชายฝงตางๆ อาจมีความผันผวน<br />

อุปสงคของการบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ ในชวงเวลาที่มีอุปสงคสูงแตอุปทานมีอยูจำกัดจะมีอัตราคาเชาเรือสูง แตสวนใหญมักจะตาม<br />

ดวยชวงเวลาที่มีอุปสงคต่ำ ทำใหอุปทานลนตลาด และมีผลทำใหอัตราคาเชาเรือต่ำ การที่มีเรือสั่งตอใหม เรือที่มีการปรับปรุงสภาพ เรือขุดเจาะ<br />

หรือเรือสนับสนุนงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำที่นำกลับมาใชปฏิบัติงานอีก และเรือตางๆ เหลานี้เขามาในตลาดทำใหเกิดอุปทานในตลาดมากขึ้น<br />

ซึ่งจะทำใหยากตอการขึ้นอัตราคาเชาเรือ หรืออาจมีผลทำใหอัตราคาเชาเรือลดลงไป ชวงเวลาที่มีอุปสงคต่ำทำใหมีการแขงขันที่รุนแรงมากขึ้น และ<br />

ทำใหสินทรัพยตางๆ ไมไดถูกนำมาใชประโยชนในบางชวงเวลา ทรัพยสินที่ใหบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ อาจตองถูกปลอยทิ้งไวโดยไมได<br />

ใชงาน หรือไมเชนนั้นแลวกลุมบริษัทฯ ตองยอมทำสัญญาที่ไดรับคาตอบแทนต่ำตามสภาพตลาดในอนาคต นอกจากนี้ ความสามารถของกลุม<br />

บริษัทฯ ในการตอสัญญา หรือทำสัญญาใหม และเงื่อนไขของสัญญาเหลานี้ขึ้นอยูกับสภาวะตางๆ ของตลาดในเวลาที่มีการพิจารณาสัญญา<br />

ตางๆ ดังกลาว<br />

188 รายงานประจำป 2553


นอกจากนี้ เนื่องดวยสัญญาการใหบริการงานวิศวกรรมโยธาใตน้ำสวนใหญมีลักษณะเปนสัญญาระยะสั้น การเปลี่ยนแปลงตางๆ ของสภาวะตลาด<br />

สามารถสงผลกระทบตอธุรกิจของกลุมธุรกิจนี้อยางรวดเร็ว นอกจากนี้ เนื่องดวยธุรกิจงานบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ เปนธุรกิจที่ทำสัญญา<br />

เปนโครงการ ดังนั้น กระแสเงินสดหมุนเวียนของกลุมธุรกิจงานบริการนอกชายฝงจึงไมอาจคาดเดาไดและอาจไมสม่ำเสมอ และจากความผันผวน<br />

ของอุปสงคของกลุมธุรกิจงานบริการนอกชายฝง อาจทำใหผลประกอบการของกลุมธุรกิจงานบริการนอกชายฝงผันผวนได<br />

กลยุทธของบริษัทฯ คือ การใหสินทรัพยของบริษัทฯ มีสัญญาระยะยาวซึ่งจะชวยใหมีรายไดที่จะไมไดรับผลกระทบจากสภาพตลาดระยะสั้น<br />

และยังเปนเกราะปองกันความเสี่ยงจากการผันผวนของตลาด<br />

l ธุรกิจงานบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ มีความเสี่ยงจากการปฏิบัติงานหลายประการ<br />

ธุรกิจงานบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ มีความเสี่ยงหลายอยางที่มาจากอุตสาหกรรมน้ำมันและกาซธรรมชาติ อาทิ อัคคีภัย ภัยธรรมชาติ<br />

ระเบิด การทะลักของน้ำมันออกจากบอ การเผชิญกับความดันผิดปกติ การระเบิดของปลองภูเขาไฟ ทอน้ำมันแตกและน้ำมันรั่ว ความเสี่ยง<br />

ตางๆ เหลานี้อาจมีผลตามมาอยางรายแรง รวมทั้งการสูญเสียของชีวิตหรือบาดเจ็บอยางรุนแรง ความเสียหายตอทรัพยสิน และอุปกรณของ<br />

กลุมบริษัทฯ หรือของบริษัทลูกคา สรางมลภาวะตอสิ่งแวดลอม การฟองรองเรียกคาเสียหายตอการบาดเจ็บของบุคคล ผลกระทบตางๆ<br />

ทางการเมือง และความเสียหายตอชื่อเสียงกลุมบริษัทฯ<br />

ธุรกิจงานบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ ยังมีความเสี่ยงจากความขัดของของอุปกรณ ซึ่งอาจตองใชเวลาในการซอมแซมนานและทำใหรายได<br />

ของกลุมบริษัทฯ ตองสูญเสียไป กลุมบริษัทฯ อาจตองหยุดการดำเนินการบางสวนถามีอุปกรณสำคัญสวนใดชำรุดจนกวากลุมบริษัทฯ<br />

สามารถทดแทน และ/หรือ ซอมแซมสวนนั้นได ความลมเหลวในระบบการทำงานหลักอาจทำใหเกิดการสูญเสียชีวิต หรือการบาดเจ็บที่รายแรง<br />

ความเสียหายหรือความสูญเสียตอเรือ และอุปกรณและขอพิพาททางการเมืองหรือทางกฎหมายที่ยืดเยื้อและมีผลเสียตอชื่อเสียงของบริษัทฯ<br />

กรณีที ่กลาวมามีผลกระทบทางลบตอชื่อเสียงกลุมบริษัทฯ สภาวะทางการเงิน และผลการดำเนินงาน และความสามารถของกลุมบริษัทฯ<br />

ในการดำเนินธุรกิจบริการนอกชายฝงตอไป<br />

กลุมบริษัทฯ ลงทุนอยางตอเนื่องในกองเรือ โดยเนนการบำรุงรักษาอยางเต็มที่ รวมไปถึงการเขาซอมแซมตามกำหนดระยะเวลา เพื่อที่จะลด<br />

ความเสี่ยงดานความบกพรองของอุปกรณ นอกจากนี้กลุมบริษัทฯ ยังคงเนนย้ำดานความปลอดภัยอยูเสมอ โดยมีระบบบริหารจัดการความ<br />

ปลอดภัยที่ครบถวนพรอมใชงาน ซึ่งจะประกอบไปดวยแนวทางความปลอดภัยที่ชัดเจน รวมไปถึงการจัดฝกอบรมดานความปลอดภัยอยางละเอียด<br />

และจัดโครงการเพื่อสรางความตระหนักถึงเรื่องความปลอดภัย ยิ่งไปกวานั้น ลูกคาก็มีการตรวจสอบกองเรืออยูเปนประจำ และไดใหขอมูลกับ<br />

บริษัทฯ เพื่อบันทึกในโครงการตรวจซอมและบำรุงรักษากองเรือ<br />

l ลูกคาในตลาดเฉพาะกลุมของธุรกิจงานบริการนอกชายฝงมีจำนวนจำกัด และการสูญเสียลูกคาที่สำคัญอาจทำใหเกิดผลกระทบที่<br />

สำคัญตอผลการดำเนินงานของกลุมบริษัทฯ<br />

ลูกคาที่มีศักยภาพในธุรกิจนี้มีจำนวนจำกัด โดยเฉพาะในธุรกิจขุดเจาะ และจำนวนโครงการที่มีศักยภาพในธุรกิจบริการนอกชายฝงก็มีจำนวน<br />

จำกัดเชนกัน ในปหนึ่งๆ จำนวนสัญญา และโครงการไมกี่โครงการ มีสัดสวนที่สำคัญตอรายไดของธุรกิจบริการนอกชายฝงของกลุมบริษัทฯ<br />

นอกจากนี้เนื่องดวยเมอรเมดมีเรือขุดเจาะทั้งสิ้น 2 ลำ การสูญเสียลูกคาของธุรกิจการขุดเจาะไปรายหนึ่งทำใหมีผลกระทบตอธุรกิจขุดเจาะ และ<br />

อาจสงผลถึงรายไดและผลกำไรของกลุ มบริษัทฯ โดยรวม ถาเมอรเมดไมสามารถหาลูกคารายใหมมาทดแทนลูกคาที่สูญเสียไปได นอกจากนี้<br />

รายไดและกำไรของเมอรเมด และผลประกอบการของกลุมบริษัทฯ อาจไดรับผลกระทบ ถาลูกคาสำคัญรายใดของเมอรเมดยกเลิกสัญญาหรือ<br />

ไมตอสัญญากับเมอรเมด และกลุมบริษัทฯ ไมสามารถหาลูกคารายใหมมาทดแทนลูกคาเหลานี้ได<br />

กลุมบริษัทฯ ตองทำงานอยางหนักเพื่อรักษาความสัมพันธและชื่อเสียงที่ดีของบริษัทกับลูกคารายใหญทุกราย และ ณ ปจจุบันนี้ ยังไมมีลูกคา<br />

รายใดเลยที่ยกเลิกสัญญาที่ทำไวกับบริษัทอันเนื่องมาจากผลการทำงานของเมอรเมด หรือแมแตเมอรเมดเองก็ไมเคยมีปญหาในการเขาไปประมูล<br />

สัญญาฉบับใหมๆ จากลูกคาที่เคยใหงานประมูล ในเรื่องของเทคนิคที่ดอยคุณภาพ<br />

กลุมธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน<br />

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับกลุมธุรกิจโลจิสติกสถานหิน (ผาน UMS)<br />

ความเสี่ยงจากการขนสง<br />

กลุมบริษัทฯ โดย UMS นำเขาถานหินมาจากประเทศอินโดนีเซียเปนประจำ ไมวาจะเปนจำนวนที่นำเขามาหรือความถี่ในการนำเขา โดยจะใชเรือ<br />

บรรทุกสินคาแหงเทกองหรือเรือลำเลียง ดังนั้น จึงมีความเสี่ยงที่เปนไปไดอยูสองประการ คือ ความพรอมของเรือที่จะใชขนสง และอัตราคาระวาง<br />

เรือที่อาจจะผันผวนในชวงระยะเวลาที่จะมีการขนสง<br />

รายงานประจำป 2553<br />

189


กลุมบริษัทฯ มีวิธีการจัดการความเสี่ยงนี้หลายวิธี ซึ่งรวมถึงการเขาทำสัญญารับขนสงสินคาลวงหนา (contracts of affreightment) สำหรับ<br />

ความตองการในการขนสงสวนหนึ่ง การเขาทำสัญญาแบบมีกำหนดเวลา (term contracts) และสัญญาแบบทันที (spot contracts) สำหรับ<br />

การจัดหาถานหิน และการรับการสนับสนุนอยางตอเนื่องในการติดตามความเคลื่อนไหวของอัตราคาระวางจากหนวยงานที่มีความเชี่ยวชาญ<br />

ภายในกลุมบริษัทฯ<br />

ความเสี่ยงจากตนทุนสินคาขายที่มีความผันผวน<br />

ปจจัยหลักที่มีผลกระทบตอราคาตนทุนขายสินคา ไดแก ราคาถานหิน คาระวางเรือ และอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ โดยทั่วไป ดัชนี<br />

ราคาของปจจัยเหลานี้จะอิงตามราคาตลาดโลก ดังนั้น ความผันผวนดานราคาของปจจัยเหลานี้จะมีผลกระทบโดยตรงกับตนทุนสินคาขายของ<br />

บริษัทฯ โดยหากราคาถานหิน และคาระวางเรือปรับตัวขึ้น และอัตราแลกเปลี่ยนออนคาลง จะสงผลใหตนทุนสินคาขายของบริษัทฯ สูงขึ้นดวย<br />

ราคาถานหินจะมีการปรับตัวขึ้นลงตามอุปสงคและอุปทานในตลาดโลก และเมื่อมีอัตราคาระวางเขามาเกี่ยวของดวย การปรับตัวของราคาก็จะ<br />

ขึ้นอยูกับอุปสงคและอุปทานของสินคาโภคภัณฑหลากชนิดมากยิ่งขึ้น รวมทั้งระวางบรรทุกที่รองรับดวย ทั้งนี้ กลุมบริษัทฯ มีการติดตามดัชนี<br />

ราคาถานหินและคาระวางเรืออยางใกลชิด เพื่อใหบริษัทฯ สามารถบริหารตนทุนสินคาขายไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

ตนทุนสินคาขายของบริษัทฯ ประมาณรอยละ 90 อยูในสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา ในขณะที่รายรับทั้งหมดเปนเงินบาท ทั้งนี้เนื่องมาจาก<br />

รูปแบบทางธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ที่มีการนำเขาถานหินมาจากประเทศอินโดนีเซียและจำหนายใหกับอุตสาหกรรมภายในประเทศ ทำให<br />

กลุมบริษัทฯ มีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน กลุมบริษัทฯ บริหารความเสี่ยงนี้ดวยการใชสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา<br />

(Forward Contract) สำหรับตนทุนการนำเขาทั้งหมด ดังนั้น กลุมบริษัทฯ จึงสามารถลดความเสี่ยงทางดานอัตราแลกเปลี่ยนไดมาก<br />

ความเสี่ยงจากการคูแขงรายใหม<br />

ในหลายปที่ผานมา มีคูแขงรายใหมหลายรายที่ไดเขามาในตลาดจำหนายถานหินในประเทศไทย เนื่องจากธุรกิจการคาถานหินตองการเงินลงทุน<br />

นอยกวาอุตสาหกรรมอื่นๆ ปจจุบัน หมอไอน้ำที่ใชถานหินในอุตสาหกรรมมีอยูเปนจำนวนคงที่ ดังนั้น การแขงขันที่เพิ่มขึ้นไดสงผลใหอัตรากำไร<br />

ขั้นตนโดยรวมของผูคาถานหินแคบลง<br />

กลุมบริษัทฯ ยังคงใชกลยุทธหลักเพื่อที่จะสรางความแตกตางของผลิตภัณฑของกลุมออกจากผลิตภัณฑของคูแขง กลุมบริษัทฯ ไดใชประสบการณ<br />

และความรูอยางกวางขวาง โดยผานทางทรัพยากรการจัดการและการขายของกลุม เพื่อใหคำแนะนำแกลูกคาเกี่ยวกับคุณภาพของถานหินที่<br />

เหมาะสมกับหมอไอน้ำแตละประเภท รวมทั้งใหคำแนะนำสำหรับการสอบถามทางดานเทคนิคและที่เกี่ยวกับบริการอื่นๆ<br />

ปจจุบัน กลุมบริษัทฯ เปนผูทำการคัดเลือกและปรับปรุงคุณภาพถานหินใหเหมาะสมกับหมอไอน้ำแตละประเภทที่ใชโดยโรงงานอุตสาหกรรม<br />

ขนาดกลางและเล็ก เพื่อใหมั่นใจถึงการมีประสิทธิภาพสูง และสามารถลดตนทุนการผลิตของลูกคาได วิธีการนี้ไดรับการตอนรับจากลูกคาเปน<br />

อยางดี กระบวนการเพิ่มมูลคาของกลุมบริษัทฯ ที่นอกเหนือไปจากการคาขายถานหินโดยทั่วไป ไดสรางอุปสรรคในการเขาตลาดสำหรับ<br />

ผูประกอบการรายใหมที่ตองการทั้งเงินทุนหมุนเวียนสำหรับที่ดิน อุปกรณคัดแยกและเครื่องจักร เพื่อการแขงขันในธุรกิจโลจิสติกสถานหินแบบ<br />

ครบวงจร<br />

ความเสี่ยงดานผลิตภัณฑทดแทนและการขยายตลาด<br />

โดยทั่วไป ทรัพยากรพลังงานหลักที่ใชในอุตสาหกรรมของประเทศไทย ไดแก น้ำมันเตา กาซธรรมชาติ และถานหิน น้ำมันเตาเปนแหลงเชื้อเพลิง<br />

ที่บริษัทผูผลิตสวนใหญเลือกใช เนื่องจากการจัดหาทำไดสะดวก การใชงานไมยุงยากและงายตอการบำรุงรักษา สวนกาซธรรมชาติสวนใหญจะ<br />

ใชในโรงงานผลิตไฟฟา เนื่องจากมีราคาถูกกวาน้ำมันเตา สวนการใชถานหินเปนแหลงพลังงานยังไมเปนที่แพรหลาย<br />

แนวโนมราคาน้ำมันเตาที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง สงผลใหตนทุนในอุตสาหกรรมโดยรวมเพิ่มขึ้นตาม สงผลใหหลายอุตสาหกรรมเริ่มที่จะหาแหลง<br />

พลังงานทดแทนสำหรับการผลิตและการจัดการตนทุนการผลิต ในขณะที ่ถานหินยังเปนแหลงตนทุนราคาถูกซึ่งมีความเปนไปได แตผูผลิต<br />

หลายรายก็กำลังมองหาแหลงพลังงานทดแทน อาทิ แกลบ เศษไม และพลังงานชีวภาพอื่นๆ<br />

อยางไรก็ตาม ถานหินมีขอไดเปรียบที่สำคัญเหนือกวาแหลงพลังงานอื่นๆ ในดานตนทุน และถานหินยังเปนเชื้อเพลิงที่มีปริมาณสำรองอยูมาก<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับแหลงพลังงานธรรมชาติอื่นๆ และอาจพบไดในประเทศตางๆ มากกวา 100 ประเทศ<br />

บริษัทฯ คาดหวังวาความตองการถานหินจะเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกลนี้ ขณะที่ตนทุนการผลิตจะมีความสำคัญมากขึ้นในทุกอุตสาหกรรม<br />

หลายอุตสาหกรรมไดหันมาใหความสนใจในถานหินเปนแหลงพลังงานทดแทน สำหรับผูผลิตเดิม การพิจารณาเปลี่ยนจากการใชหมอไอน้ำ<br />

ซึ่งใชน้ำมันเตาเปนหมอไอน้ำที่ใชถานหินจะตองการเงินลงทุน กลุมบริษัทฯ มีแผนที่จะขยายตลาดดวยการใหความรูแกลูกคาเปาหมายเกี่ยวกับ<br />

ประสิทธิภาพของถานหิน และเสนอแนวทางที่สามารถปฏิบัติไดในการเปลี่ยนหมอไอน้ำซึ่งใชน้ำมันเตาเปนหมอไอน้ำที่ใชถานหิน<br />

190 รายงานประจำป 2553


ความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอม<br />

ถานหินมีหลายประเภท ไดแก แอนทราไซต บิทูมินัส ซับบิทูมินัสและลิกไนต เมื่อนำถานหินมาเผาไหม ออกซิเจนในอากาศจะทำปฏิกิริยากับ<br />

ถานหิน และกอใหเกิดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ถามีการสูดดมกาซซัลเฟอรไดออกไซดหรือถากาซซัลเฟอรไดออกไซดสัมผัสกับผิวหนัง อาจทำให<br />

ปอดอักเสบ และเกิดโรคภูมิแพ ในขณะเดียวกันฝุนผงจากถานหินก็อาจทำใหเกิดอาการภูมิแพดวยเชนกัน<br />

ปจจุบัน กลุมบริษัทฯ นำเขาถานหินประเภทบิทูมินัสและซับบิทูมินัส โดยถานหินทั้ง 2 ประเภทเปนถานหินที่มีคุณภาพสูง และมีกำมะถันในระดับต่ำ<br />

(ปริมาณกำมะถันอยูในชวง 0.1-1.5 เปอรเซ็นต ในขณะที่น้ำมันเตามีกำมะถันอยูในชวง 0.1-3.0 เปอรเซ็นต) ทำใหมีผลกระทบกับสิ่งแวดลอม<br />

นอยกวาเมื่อนำมาใชงาน ซึ่งแตกตางไปจากที่สาธารณชนทั่วไปรับรูเกี่ยวกับถานหินและการใชถานหิน<br />

เพื่อที่จะลดการรับรูในเชิงลบเกี่ยวกับเรื่องดังกลาวและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับสิ่งแวดลอม กลุมบริษัทฯ จึงไดติดตามกระบวนการผลิตอยาง<br />

ใกลชิดโดยสอดคลองกับกฎขอบังคับของรัฐบาล<br />

นอกจากนี้ กลุมบริษัทฯ ไดพยายามที่จะบริหารจัดการการแพรกระจายของฝุนละอองดวยความระมัดระวัง เพื่อที่จะลดผลกระทบทางดาน<br />

สิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่ง กลุมบริษัทฯ ไดลดการแพรกระจายของฝุนละอองดวยการใชระบบการจัดเก็บแบบปด หรือการจัดใหมีผาใบ<br />

คลุมรอบกองถานหิน การฉีดน้ำดักฝุนไมใหฟุงกระจาย การสรางรั้วสูงรอบคลังสินคา และการปลูกตนไมโดยรอบบริเวณที่ดินเพื่อดักฝุนละออง<br />

รถที่บรรทุกถานหินจะมีผาใบปดคลุมมิดชิดไมใหเศษถานหินตกพื้น<br />

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับกลุมธุรกิจปุย (ผานบาคองโค)<br />

ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับความผันผวนของราคาวัตถุดิบ<br />

ราคาวัตถุดิบของปุยทั้งในประเทศและทั่วโลกสามารถผันผวนได ดังนั้น กลุมบริษัทฯ โดยบาคองโค จึงอาจตองปรับเปลี่ยนรายการสินคา โดยเฉพาะ<br />

อยางยิ่งเมื่อตลาดเผชิญกับแนวโนมที่ตกต่ำ หรือสวนตางที่ลดลงเมื่อตลาดมีแนวโนมสูงขึ้น สิ่งเหลานี้ยอมเกิดขึ้นไดหากบริษัทฯ ไมสามารถปรับ<br />

ราคาตามตลาดไดอยางรวดเร็ว<br />

ในขณะที่ความเสี่ยงนี้ไมสามารถกำจัดไปไดทั้งหมด แตอาจบรรเทาหรือลดลงไดดวยการจัดการโดยใชแนวทาง 2 อยางคือ ก) การดำรง<br />

สินคาคงคลังใหต่ำ เพื่อที่จะจำกัดความเสี่ยงในสถานการณที่ตลาดมีแนวโนมตกต่ำ และ ข) การใชนโยบายราคาที่แนนอนและสวนลด<br />

พรอมกับการบริหารจัดการลูกคาบนพื้นฐานของการมีคุณภาพที่เหนือกวา เพื่อใหกลุมบริษัทฯ สามารถรักษาสวนตางเมื่อราคาวัตถุดิบปรับตัวสูงขึ้น<br />

ความเสี่ยงตอการขาดแคลนวัตถุดิบ<br />

กลุมบริษัทฯ จัดซื้อวัตถุดิบทั้งจากในประเทศและตางประเทศ ซึ่งโดยทั่วไปอุปทานจะสมดุลกันที่ 50/50 คือ ในประเทศรอยละ 50 และตางประเทศ<br />

รอยละ 50<br />

ดวยนโยบายเชิงกลยุทธของบริษัทฯ ในการดำรงสินคาคงคลังที่ต่ำและการจัดซื้อวัตถุดิบแบบทันเวลาพอดี สงผลใหกลุมบริษัทฯ อาจมีความเสี่ยง<br />

ตอโอกาสที่จะขาดแคลนวัตถุดิบไดสูงขึ้นในเวลาที่อุปทานทั้งจากตางประเทศและในประเทศมีความฝดเคือง นอกจากนี้ การขาดแคลนยังอาจ<br />

เกิดขึ้นจากปญหาที่เกี่ยวของกับการขนสง (ความลาชาของเรือ)<br />

กลุมบริษัทฯ ไดสรางความสัมพันธที่ดีระยะเวลายาวกับจำนวนผูจัดหาสินคาขนาดกลางและขนาดใหญทั้งในและตางประเทศ ซึ่งผูจัดหาสินคา<br />

เหลานี้ตางใหการสนับสนุนบริษัทฯ อยางตอเนื่อง บนพื้นฐานของขอผูกพันทางดานคุณภาพ การยึดมั่นในขอผูกพันทางสัญญา และการชำระเงิน<br />

ทันทีของกลุมบริษัทฯ<br />

คูแขงในประเทศที่เพิ่มขึ้น<br />

ประเทศเวียดนาม คือ ตลาดที่มีการแขงขันสูงสำหรับปุยและเคมีเกษตรกรรม (Agrochemical) ปจจุบัน การผลิตของปุย NPK ในเวียดนาม<br />

(การผสมและการอัดเม็ด) อยูในระดับเกินขีดความสามารถ และกำลังมีการวางแผนอีกหลายโครงการสำหรับปตอๆ ไป<br />

บริษัทฯ ไดเลือกกลยุทธการสรางความแตกตางและมุงเนนที่ผลิตภัณฑพิเศษ เพื่อจำกัดความเสี่ยงในการแขงขัน ในภาพรวมบริษัทฯ มีสูตรปุย<br />

มากกวา 50 สูตร ตั้งแตสูตรที่ใชในตลาดทั่วไปจนถึงสูตรพิเศษเฉพาะ ซึ่งทำใหมั่นใจไดวาบริษัทฯ ยังคงนำหนาในการแขงขัน เนื่องจากโดยทั่วไป<br />

แลวจะมีการผลิตผลิตภัณฑเพียง 10-15 ประเภท<br />

กลุมบริษัทฯ มีกระบวนการผลิตหลายระบบ อีกทั้งยังเพิ่มมูลคาใหกับผลิตภัณฑดวยกระบวนการผลิตเฉพาะ เชน การอัดแนน (Compaction)<br />

USP และการเคลือบปุยดวยสารชีวภาพ ดวยแนวทางนี้ กลุมบริษัทฯ สามารถรักษาชื่อเสียงของผลิตภัณฑและภาพลักษณในตลาดในฐานะ<br />

ผูใหบริการที่มีคุณภาพสูงและมีการสรางสรรคนวัตกรรมอยางสม่ำเสมอ<br />

รายงานประจำป 2553<br />

191


การสงมอบที่ตรงเวลา<br />

ดวยนโยบายการผลิตแบบทันเวลาพอดีของกลุมบริษัทฯ สินคาสำเร็จรูปคงคลังจึงมีปริมาณต่ำ ซึ่งอาจทำใหเกิดความเปนไปไดสูงขึ้นที่จะสงมอบ<br />

สินคาใหแกลูกคาลาชา<br />

บริษัทฯ จัดการความเสี่ยงนี้โดยใชแนวทางการจัดการโซอุปทานที่ดี ดวยการสื่อสารอยางสม่ำเสมอและมีประสิทธิภาพระหวางฝายปฏิบัติการ<br />

ขายกับฝายผลิต โรงงานจะทราบถึงคำสั่งที่เขามาลวงหนาหลายสัปดาห<br />

บริษัทฯ ดำรงกำลังการผลิตไวอยางสม่ำเสมอ รวมกับแผนการบำรุงรักษาอุปกรณและเครื่องจักรเพื่อปองกันความชำรุดบกพรอง ผลิตภัณฑ<br />

ซึ่งผานกระบวนการถุงแบบอัตโนมัติและการลำเลียงในขั้นสุดทาย จะถูกจัดสงใหกับลูกคาโดยเร็ว<br />

ความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยน<br />

กลุมบริษัทฯ จัดซื้อวัตถุดิบมากกวาครึ่งจำนวนดวยสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา และขายสินคาสำเร็จรูปภายในประเทศเปนเงินเวียดนาม<br />

จากการที่รัฐบาลเวียดนามไดลดคาเงินเวียดนามอยางมากและตอเนื่อง ความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยนจึงยังคงมีอยู เนื่องจากเงินเวียดนามไมได<br />

เปนสกุลเงินที่สามารถแลกเปลี่ยนไดโดยทั่วไป ขอบเขตการใชจึงมีอยูจำกัด ความเสี่ยงทางดานอัตราแลกเปลี่ยนนี้อาจจัดการไดดวยการดำรง<br />

สินคาคงคลังใหต่ำ และการใชนโยบายการซื้อขาย/ชำระเงินดวยเงินสด เพื่อใหมีหนี้ลูกคาเปนศูนย แนวทางนี้ชวยใหบริษัทฯ สามารถชำระเงิน<br />

ใหแกผูจัดหาสินคาไดทันที และลดความเสี่ยงจากสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังสงออกสินคาบางประเภท ซึ่งกอใหเกิดรายไดที่เปนสกุลเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา รายไดนี้ใชในการชำระเงินใหแก<br />

ผูจัดหาวัตถุดิบ<br />

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติตามกฎขอบังคับ<br />

รัฐบาลเวียดนามกำหนดมาตรฐานที่เจาะจงสำหรับสูตรปุยเพื่อคุมครองผูบริโภค และมีการบังคับใชบทลงโทษตางๆ ถาผลิตภัณฑไมได<br />

ผลิตขึ้นตามขอกำหนดเฉพาะที่ผานการทดสอบ<br />

กลุมบริษัทฯ นำเขาวัตถุดิบจากผูจัดหาสินคาในประเทศและตางประเทศที่เชื่อถือได อีกทั้งมีชื่อเสียงในฐานะเปนผูผลิตปุยที่มีคุณภาพสูง<br />

นอกจากนี้ แนวทางของกลุมบริษัทฯ ในการสรางสรรคสูตรการผลิต ทำใหมั่นใจไดวาบริษัทฯ จะปฏิบัติตามหรือเหนือกวามาตรฐาน<br />

ตางๆ ที่รัฐบาลกำหนดไวเสมอ<br />

ความเสี่ยงดานการปฏิบัติตามกฎระเบียบ<br />

ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของกฎระเบียบในประเทศที่บริษัทฯ มีการลงทุน<br />

บริษัทฯ ใชมาตรการที่เปนไปไดทั้งปวงเพื่อปองกันสถานภาพทางกฎหมายของบริษัทฯ และปองกันมิใหความเสี่ยงทางดานกฎหมายเกิดขึ้น<br />

โครงการปฏิบัติตามกฎระเบียบไดนำมาใชกำกับดูแลพนักงานของบริษัทฯ ทั่วโลก โครงการนี้กำหนดใหพนักงานปฏิบัติตามกฎหมายและแนวทาง<br />

ปฏิบัติ รวมทั้งใหการอบรมและการสนับสนุนที่เกี่ยวของแกพนักงาน ซึ่งหัวใจสำคัญของโครงการนี้คือจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ<br />

ซึ่งเปนการกำหนดแนวทางการประพฤติปฏิบัติอยางมีจรรยาบรรณ และเสริมดวยแผนการอบรมและทดสอบ รวมทั้งสายดวน (Whistle Blow Line)<br />

เพื่อการรายงานการละเมิดที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติตามกฎระเบียบ<br />

เพียงเทาที่เปนไปไดและสามารถปฏิบัติได กลุมบริษัทฯ ไดทำการจำกัดความเสี่ยงที่เกี่ยวกับความรับผิดและความเสียหายดวยการประกันภัย<br />

โดยประเภทและขอบเขตของการประกันภัยนี้จะไดรับการปรับปรุงเปนระยะเพื่อใหเปนไปตามความตองการ ณ เวลาปจจุบัน<br />

ความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย<br />

การที่บริษัทฯ ยึดถือมาตรฐานทางเทคนิคและหลักปฏิบัติขั้นสูง ทำใหสามารถปองกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น และลดผลกระทบที่อาจเปนไปไดของ<br />

ความเสียหายดังกลาวใหเหลือนอยที่สุด อีกทั้งทำใหมั่นใจถึงการดำเนินงานอยางตอเนื่องของเครื่องจักรและอุปกรณ บริษัทฯ ทำการปรับปรุง<br />

มาตรการปองกันเหลานี้เปนระยะ บริษัทฯ มีการตรวจสอบความปลอดภัยทางดานสุขอนามัยและสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบ ณ ที่ทำการทุกแหง<br />

บริษัทฯ ลดความเสี่ยงที่เกิดกับบุคคลและสิ่งแวดลอมดวยการตรวจสอบและใหคำปรึกษา<br />

ความเสี่ยงจากผลกระทบทางดานสังคมและชุมชน<br />

เพื่อจัดการความเสี่ยงเหลานี้ บริษัทฯ มีการตรวจติดตามและวิเคราะหผลกระทบที่การเปลี่ยนแปลงในกฎหมายและกฎระเบียบทางดานสิ่งแวดลอม<br />

และความปลอดภัยที่มีตอการดำเนินงานของบริษัทฯ บริษัทฯ ประสานงานอยางใกลชิดกับหนวยงานของรัฐ และใชขอมูลที่มีอยูเพื่อการพัฒนา<br />

แผนงานและมาตรการตอบสนอง รวมทั้งจัดใหมีกิจกรรมชุมชนสัมพันธอยางตอเนื่องในพื้นที่การดำเนินงานตางๆ โดยมุงเนนที่การมีสวนรวม<br />

ของชุมชนอยางสม่ำเสมอ<br />

192 รายงานประจำป 2553


การถือครองหุนโดยคณะกรรมการและผูบริหาร<br />

ตารางที่ 39 : การถือครองหุนโดยคณะกรรมการ ณ วันที่ 30 กันยายน 2553<br />

1. ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต (1)<br />

คูสมรส<br />

2. นายอัศวิน คงสิริ<br />

คูสมรส<br />

3. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต (2)<br />

คูสมรส<br />

4. นายสตีเฟน ฟอรดแฮม<br />

คูสมรส<br />

5. นางปรารถนา มงคลกุล<br />

6. ดร. พิชิต นิธิวาสิน<br />

7. นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ<br />

คูสมรส<br />

8. ดร. ศิริ การเจริญดี<br />

คูสมรส<br />

9. นางโจอี้ ฮอรน<br />

คูสมรส<br />

10. นายปเตอร สโตคส(3)<br />

คูสมรส<br />

รายชื่อกรรมการ ณ 30 กันยายน 2552 เปลี่ยนแปลง ณ 30 กันยายน 2553<br />

830,533<br />

446,000<br />

0<br />

0<br />

196,988<br />

0<br />

0<br />

0<br />

22,000<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

830,533<br />

446,000<br />

0<br />

0<br />

196,988<br />

0<br />

0<br />

0<br />

22,000<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

รวม 1,495,521 0 1,495,521<br />

หมายเหตุ : 1. ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต ถึงแกกรรมเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553<br />

2. หุนของ ม.ล.จันทรจุฑา จันทรทัต ไมรวมหุนจากโครงการ EJIP<br />

3. นายปเตอร สโตคส ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553<br />

ตารางที่ 40 : การถือครองหุนโดยผูบริหาร (1) ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 (ไมรวม EJIP)<br />

รายชื่อผูบริหาร ณ 30 กันยายน 2552 เปลี่ยนแปลง ณ 30 กันยายน 2553<br />

1. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต<br />

คูสมรส<br />

2. นายเดวิด ลอรเรนซ เอเมส<br />

คูสมรส<br />

3. นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์(2)<br />

คูสมรส<br />

4. นายจอหน เครน<br />

5. นายปรีธยุตม นิวาศะบุตร<br />

6. นางสาวอุไร ปลื้มสำราญ (3)<br />

คูสมรส<br />

7. นางฐิติมา รุงขวัญศิริโรจน<br />

คูสมรส<br />

8. นายแอนดรูว ทอม สปริงกอล<br />

คูสมรส<br />

9. นางเพ็ญรุง สุวรรณกูฏ<br />

คูสมรส<br />

196,988<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

1,100<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

196,988<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

0<br />

1,100<br />

0<br />

รวม 198,088 0 198,088<br />

หมายเหตุ : 1. ไมรวมถึงการถือครองหุนของผูบริหารในบริษัทยอย<br />

2. นายวิชาย ชื่นสุขสวัสดิ์ ไดรับการแตงตั้งเปนผูบริหารของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2553<br />

3. นางสาวอุไร ปลื้มสำราญ ไดรับการแตงตั้งเปนผูบริหารของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2553<br />

รายงานประจำป 2553<br />

193


ผูถือหุนและนโยบายการจายเงินปนผล<br />

ตารางที่ 41 : ผูถือหุนรายใหญ ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ 2553 (วันปดสมุดทะเบียนผูถือหุนครั้งหลังสุด)<br />

ลำดับที่ ผูถือหุน จำนวนหุน %<br />

1. ไทยเอ็นวีดีอาร จำกัด 92,469,925 13.06<br />

2. State Street Bank And Trust Company 39,131,309 5.53<br />

3. HSBC (Singapore) Nominees Pte Ltd. 15,757,890 2.23<br />

4. SCB Dividend Stock 70/30 Long Term Equity Fund 12,810,800 1.81<br />

5. Norbax INC., 13 11,077,800 1.56<br />

6. State Street Bank And Trust Company For London 10,940,650 1.55<br />

7. State Street Bank And Trust Company For Australia 9,750,600 1.38<br />

8. Morgan Stanley & Co. International Plc. 8,854,167 1.25<br />

9. Nortrust Nominees Limited-Melbourne Branch Future Fund Clients 8,196,960 1.16<br />

10. Mellon Bank, N.A. 6,840,580 0.97<br />

รวม 215,830,681 30.50<br />

นโยบายจายเงินปนผล<br />

ชวงเวลาและจำนวนเงินปนผล (ถามี) ขึ้นอยูกับผลการดำเนินงาน สถานะทางการเงิน ความตองการใชเงินสด และเงินสดที่มีอยู ขอจำกัดตางๆ<br />

ที่ระบุไวตามสัญญากูเงิน และปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบธุรกิจโดยการเขาไปถือหุนและไมไดเปน<br />

เจาของทรัพยสินใดๆ นอกจากหุนที่ถืออยูในบริษัทยอยและบริษัทรวม ดังนั้น ความสามารถในการจายเงินปนผลใหกับผูถือหุนจะขึ้นอยูกับ<br />

ผลกำไรและกระแสเงินสดของบริษัทยอยและบริษัทรวม<br />

บริษัทฯ มีนโยบายการจายเงินปนผลในอัตราไมนอยกวารอยละ 25 ของกำไรสุทธิของงบการเงินรวมหลังหักภาษีเงินได แตไมรวมกำไรหรือขาดทุน<br />

จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับแผนการลงทุน และปจจัยที่เกี่ยวของอื่นๆ โดยคณะกรรมการของบริษัทฯ อาจจะพิจารณา<br />

ทบทวน และแกไขนโยบายการจายเงินปนผลเปนครั้งคราว เพื่อใหเปนไปตามแผนการเติบโตทางธุรกิจของบริษัทฯ ในอนาคต ความตองการ<br />

ใชเงินลงทุน และปจจัยดานอื่นๆ ที่เห็นสมควร ทั้งนี้ การจายเงินปนผลดังกลาวจะไมเกินกำไรสะสมที่ปรากฏอยูในงบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ<br />

การประกาศจายเงินปนผลจะเปนไปตามขอกำหนดทางกฎหมายไทย ตัวอยางเชน กฎหมายกำหนดไววาการประกาศและจายเงินปนผลประจำป<br />

จะขึ้นอยูกับดุลยพินิจของที่ประชุมผูถือหุน ซึ่งจะพิจารณาตามที่คณะกรรมการเสนอ และในกรณีการประกาศและจายเงินปนผลระหวางกาล<br />

จะขึ้นอยูกับดุลยพินิจของคณะกรรมการ นอกจากนี้ กฎหมายไทยยังหามจายเงินปนผลจากเงินประเภทอื่นนอกจากกำไร (กำไรสุทธิรวมกำไรสะสม<br />

และหักขาดทุนสะสมใดๆ) ทั้งนี้ บริษัทจะตองจัดสรรเงินไวเปนทุนสำรองจนกวาจะมีจำนวนถึงหนึ่งในสิบของทุนของบริษัท หรือมากกวานั้นตาม<br />

ขอบังคับของบริษัท อีกทั้งหามจายเงินปนผลหากบริษัทอยูในภาวะลมละลายหรืออาจเขาขายลมละลาย ถาทำการจายเงินปนผล<br />

บริษัทยอยของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) สวนใหญมีนโยบายจายเงินปนผลใหแก บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด<br />

(มหาชน) ไมนอยกวารอยละ 70 ของกำไรสุทธิของบริษัทยอย ยกเวนบริษัทที่ใหบริการที่เกี่ยวของกับการเดินเรือที่มีขนาดเล็ก บริษัท เมอรเมด<br />

มาริไทม จำกัด (มหาชน) (“เมอรเมด”) และบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) (“UMS”) ซึ่งจากการที่เมอรเมดและ UMS เปนบริษัท<br />

ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศสิงคโปร และตลาดหลักทรัพย MAI ตามลำดับ คณะกรรมการของเมอรเมดและ UMS จะใชดุลยพินิจ<br />

ในการจายเงินปนผลเชนเดียวกับคณะกรรมการบริษัทฯ การจายเงินปนผลของเมอรเมดและ UMS ในอนาคตขึ้นอยูกับปจจัยหลายๆ ประการ<br />

รวมถึง ผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน กำไรสะสม ผลประกอบการที่คาดไวในอนาคต ประมาณการคาใชจายฝายทุน และแผนการการลงทุนอื่นๆ<br />

รวมทั้งขอจำกัดในการจายเงินปนผลที่อาจเกิดขึ้นจากการจัดหาทุนเงินกูตางๆ เปนตน<br />

194 รายงานประจำป 2553


รายงานวาดวยการกำกับดูแลกิจการ<br />

บทนำ<br />

หลักการวาดวยการกำกับดูแลกิจการที่ดีเปนสิ่งที่เนนย้ำในการดำเนินธุรกิจของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ทั้งนี้ บริษัทฯ<br />

เชื่อวาการกำกับดูแลกิจการที่ดีจะทำใหบริษัทฯ สามารถบรรลุพันธกิจของตนไดสำเร็จ การกำกับดูแลกิจการเปนตัวกำหนดโครงสรางและ<br />

กระบวนการของความสัมพันธระหวางผูถือหุนของบริษัทฯ คณะกรรมการและฝายบริหาร โดยมีเปาหมายเพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขัน<br />

และคุณคาใหกับผูถือหุนในระยะยาวพรอมกับการคำนึงถึงผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียรายอื่นดวย<br />

คณะกรรมการบริษัท (ตอไปนี้จะเรียกวา “คณะกรรมการ” และจะเรียกกรรมการแตละคนวา “กรรมการ”) มีบทบาทสำคัญหลายประการ หนึ ่ง<br />

ในบทบาทดังกลาวคือการดูแลการกำกับดูแลกิจการ หนาที่ในการบริหารกิจการถูกมอบหมายใหแกกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่<br />

บริหารและทีมบริหาร ซึ่งจะปฏิบัติตามนโยบายดานการกำกับดูแลกิจการตางๆ ที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ<br />

นโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ เปนไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกำหนด ทั้งนี้ บริษัทฯ ได<br />

ติดตามกฎระเบียบใหมๆ ที่ประกาศใชและปรับแนวปฏิบัติของบริษัทฯ ใหเขากับกฎระเบียบดังกลาว การกำกับดูแลกิจการที่ดีจำเปนตองไดรับการ<br />

สนับสนุนอยางดีจากคณะกรรมการและฝายบริหารเพื่อใหเกิดการปฏิบัติและตัวอยางที่เหมาะสมทั่วทั้งบริษัทฯ<br />

1. นโยบายดานการกำกับดูแลกิจการ<br />

คณะกรรมการมีความรับผิดชอบตอผูถือหุนทุกคน และพยายามศึกษาทำความเขาใจความตองการของผูถือหุน ตลอดจนพิจารณาประเด็นทาง<br />

ดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และจริยธรรมที่อาจมีผลกระทบตอผลประโยชนของผูถือหุนอยางมีระบบ กรรมการแตละคนเปนผูมีความซื่อสัตย<br />

สุจริต ทุมเท และมีความเปนอิสระในเชิงความคิดและการตัดสินใจในระดับสูง อีกทั้งยังคำนึงถึงผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียอื่นๆ อีกดวย<br />

นโยบายการกำกับดูแลกิจการนี้ตระหนักถึงบทบาทพิเศษของคณะกรรมการ ในการเปนตัวเชื่อมในหวงโซอำนาจระหวางผูถือหุนและกรรมการ<br />

ผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารและทีมบริหาร นอกจากนี้ นโยบายยังมีเนื้อหาครอบคลุมอยางชัดเจนถึงบทบาทควบคูของกรรมการ<br />

ผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร ทั้งในฐานะที่เปนกรรมการและผูบริหารระดับอาวุโสของบริษัทฯ<br />

วัตถุประสงคอันสำคัญยิ่ง ของนโยบายการกำกับดูแลกิจการก็เพื่อใหธุรกิจของบริษัทฯ มีความโปรงใส มีจริยธรรม และเปนไปตามกฎหมาย<br />

ที่ใชบังคับทั้งหมด<br />

บริษัทฯ จัดการอบรมเรื่องการกำกับดูแลกิจการใหกับพนักงานทุกคน เพื่อใหมั่นใจวาทุกคนเขาใจแนวทางการปฏิบัติที่ถูกตอง และมีการนำ<br />

การอบรมนี้เขาเปนสวนหนึ่งในการปฐมนิเทศพนักงานใหม บริษัทฯ มีแผนที่จะขยายการอบรมนี้ใหครอบคลุมไปยังบริษัทยอยทั้งหมดของบริษัทฯ<br />

คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่ในการจัดทำแผนการดำเนินการและการตรวจสอบ เพื่อใหมั่นใจวาองคกรปฏิบัติตามนโยบายทั้งหมด ติดตามผล<br />

ทบทวนและปรับเปลี่ยนนโยบายการกำกับดูแลกิจการอยางสม่ำเสมอเพื่อใหนโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ทันสมัยและเหมาะสม<br />

กับสถานการณปจจุบัน โดยในปที่ผานมา แผนกตรวจสอบภายในไดดำเนินการเพื่อใหเปนไปตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการ ภายใตการกำหนด<br />

ทิศทางของคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ ความรับผิดชอบในการดูแลการปฏิบัติตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการโดยรวมเปนของประธาน<br />

กรรมการ<br />

นโยบายดานการกำกับดูแลกิจการกำหนดใหประธานกรรมการมีหนาที่รับผิดชอบดำเนินการใหความสัมพันธระหวางคณะกรรมการและฝายบริหาร<br />

เปนไปอยางซื่อสัตยสุจริตและมีประสิทธิภาพในระหวางการประชุมกรรมการนัดตางๆ ซึ่งหมายถึงประธานกรรมการจำเปนตองมีปฏิสัมพันธกับ<br />

กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารระหวางการประชุมคณะกรรมการ และตองติดตอกับกรรมการคนอื่นตลอดจนผูถือหุน<br />

นโยบายดานการกำกับดูแลกิจการมีแนวทางครอบคลุมเนื้อหาในหัวขอตอไปนี้<br />

1. สิทธิและการปฏิบัติอยางเทาเทียมกันตอผูถือหุนและการประชุมผูถือหุน<br />

2. นโยบายดานผลประโยชนของผูมีสวนไดเสีย<br />

3. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส<br />

4. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอย<br />

5. จริยธรรมทางธุรกิจและจรรยาบรรณ<br />

รายงานประจำป 2553<br />

195


2. ผูถือหุน : สิทธิและการปฏิบัติอยางเทาเทียมกัน<br />

(ก) สิทธิทั่วไปและความเทาเทียมกัน<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) มีความรับผิดชอบตอผูถือหุนทั้งในแงการเปดเผยขอมูล วิธีทำบัญชี การใชขอมูลภายใน และผล<br />

ประโยชนที่ขัดแยง ผูบริหารจะตองมีจริยธรรมและการตัดสินใจใดๆ จะตองทำดวยความซื่อสัตย ยุติธรรม และเพื่อผลประโยชนโดยรวมของผูถือหุน<br />

บริษัทฯ ตระหนักถึงหนาที่ในการปฏิบัติตอผูถือหุนทุกคนอยางเทาเทียมกัน บริษัทฯ มีหนาที่ปกปองผลประโยชนและสิทธิของผูถือหุน ซึ่งรวมถึงสิทธิ<br />

ในการไดรับเงินปนผลและรับทราบขอมูลที่เกี่ยวของและเพียงพอจากบริษัทฯ ในเวลาอันสมควรอยางสม่ำเสมอ บริษัทฯ ยังมีหนาที่เผยแพร<br />

ขอมูลอยางโปรงใสและแสดงความรับผิดชอบของฝายบริหารผานการจัดประชุมผูถือหุน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีธรรมเนียมปฏิบัติที่จะอำนวย<br />

ความสะดวกใหกับผูถือหุนอยางเต็มที่ในการประชุมผูถือหุนแตละครั้ง<br />

นโยบายของบริษัทฯ กำหนดวา กอนการประชุมผูถือหุนใดก็ตาม ผูถือหุนแตละรายจะไดรับขอมูลที่ครบถวนและเพียงพอเกี่ยวกับวาระการประชุม<br />

ที่มีการนำเสนอซึ่งจะแนบไปพรอมกับหนังสือบอกกลาวการประชุม โดยหนังสือบอกกลาวการประชุมดังกลาวจะสงไปใหกับผูถือหุนอยางนอย 14<br />

วันกอนวันประชุม<br />

ระหวางการประชุม ผูถือหุนมีสิทธิถามคำถาม แสดงความคิดเห็น ใหคำแนะนำหรือขอเสนอแนะ และลงคะแนนเสียง นอกจากนี้ ผูถือหุนยังสามารถ<br />

ขอขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีที่สำคัญ โดยบริษัทฯ สนับสนุนการเปดเผยขอมูลและธุรกรรมทางธุรกิจ เพื่อใหผูถือหุนมีความเขาใจ<br />

ในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อยางชัดเจน ผูถือหุนรายใหญและผูถือหุนรายยอยตางไดรับขอมูลเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจ นโยบายดานบริหาร<br />

จัดการและรายงานการเงินอยางเทาเทียม อีกทั้งยังมีสิทธิไดรับการปฏิบัติอยางยุติธรรมในการจัดสรรเงินปนผลและเงินกำไรอีกดวย<br />

ผูถือหุนจะไดรับแบบฟอรมหนังสือมอบฉันทะ เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนแตงตั้งตัวแทนหรือเลือกกรรมการอิสระคนใดคนหนึ่งเปนผูรับมอบอำนาจ<br />

ในการเขารวมประชุมและออกเสียงลงมติในที่ประชุมแทนตน<br />

เพื่อเพิ่มชองทางการสื่อสารและการมีสวนรวมของผูถือหุน บริษัทฯ ไดกำหนดนโยบายใหผูถือหุนมีโอกาสในการเสนอวาระการประชุมผูถือหุนกอน<br />

การประชุมผูถือหุน โดยผูถือหุนสามารถสงคำถามมายังบริษัทฯ และเสนอวาระการประชุมผูถือหุนตอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาผานทางเว็บไซต<br />

ของบริษัทฯ กอนการประชุมผูถือหุนครั้งใดๆ โดยบริษัทฯ พยายามตอบทุกคำถามของผูถือหุน นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดจัดทำแนวปฏิบัติเพื่อเปด<br />

โอกาสใหผูถือหุนเสนอชื่อกรรมการผานทางเว็บไซตของบริษัทฯ เรียบรอยแลว<br />

(ข) การประชุมผูถือหุน<br />

นโยบายของบริษัทฯ คือจะจัดประชุมผูถือหุนตามที่กฎหมายกำหนด และเปดโอกาสใหผูถือหุนใชสิทธิของตนอยางเต็มที่โดยไดรับขอมูลอยางดี<br />

กอนหนาที่จะใชสิทธิดังกลาว บริษัทฯ จะจัดการประชุมสามัญผูถือหุนประจำปภายใน 4 เดือนนับจากวันสิ้นสุดปงบการเงินของบริษัทฯ โดยเปนไป<br />

ตามกฎหมายที่ใชบังคับและขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย นับตั้งแตการเรียกประชุม การแจงวาระการประชุม การสงเอกสาร<br />

การประชุม การดำเนินการประชุม ไปจนถึงการนำสงรายงานการประชุม<br />

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดตีพิมพหนังสือบอกกลาวการประชุมในหนังสือพิมพรายวันฉบับภาษาไทยอยางนอย 1 ฉบับ และหนังสือพิมพรายวันฉบับ<br />

ภาษาอังกฤษอยางนอย 1 ฉบับ เปนเวลาติดตอกันอยางนอย 3 วันกอนการประชุมสามัญผูถือหุนประจำปแตละครั้ง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได<br />

เผยแพรหนังสือบอกกลาวการประชุมในเว็บไซตของบริษัทฯ อีกดวย บริษัทฯ มีนโยบายที่จะสงเสริมใหใชการสื่อสารทางอีเล็คโทรนิคในการรายงาน<br />

ดังนั้น เอกสารเกี่ยวกับการประชุมทั้งหมดไดถูกนำมาลงไวในเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ http://www.thoresen.com<br />

รายละเอียดกระบวนการประชุมผูถือหุนแตละครั้ง มีดังนี้<br />

(ข.1) วิธีการกอนการประชุม<br />

การประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2553 จัดขึ้นเมื่อวันที ่ 29 มกราคม พ.ศ. 2553 บริษัทฯ กำหนดวันปดสมุดทะเบียนรายชื่อผูถือหุนเพื่อเปนการ<br />

ใหเวลาในการพิจารณาหนังสือบอกกลาวการประชุม หรือ การขอขอมูลเพิ่มเติมกอนการประชุม โดยบริษัทฯ ไดสงหนังสือบอกกลาวการประชุม<br />

สามัญผูถือหุนประจำป 2553 นี้ใหกับผูถือหุนและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2553 ซึ่งเปนไปตามนโยบาย<br />

ของบริษัทฯ ที่กำหนดวาจะตองสงหนังสือบอกกลาวการประชุมลวงหนาอยางนอย 14 วันกอนการประชุมแตละครั้ง นอกจากนี้ หนังสือบอก<br />

กลาวการประชุมดังกลาวไดถูกนำมาลงไวในเว็บไซตของบริษัทฯ 30 วันลวงหนากอนการประชุม เพื่อใหผูถือหุ นมีเวลาเพียงพอในการศึกษา<br />

ขอมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ ทั้งนี้ความเห็นของคณะกรรมการจะมีอยูในแตละวาระของการประชุม<br />

กอนการประชุมผูถือหุนครั้งใด ผูถือหุนจะไดรับรายละเอียดการประชุม เชน เวลา และสถานที่จัดการประชุม วาระการประชุม แบบฟอรมหนังสือ<br />

มอบฉันทะ และรายการเอกสารที่ตองใชในการเขารวมประชุม เพื่อชวยผูถือหุนในการใชสิทธิและลงคะแนนเสียงในแตละวาระการประชุม<br />

196 รายงานประจำป 2553


ขอมูลที่สงใหกับผูถือหุน รวมถึง<br />

1. รายละเอียดที่เปนขอเท็จจริง เหตุผล และความเห็นของคณะกรรมการในแตละวาระการประชุม<br />

2. ขอมูล เชน รายชื่อและประวัติของผูไดรับการเสนอชื่อเพื่อแตงตั้งใหเปนกรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระในปดังกลาว ตลอดจน<br />

รายละเอียดคาตอบแทนของกรรมการและสมาชิกในคณะกรรมการชุดยอย<br />

3. รายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการประชุมและการแตงตั้งผูรับมอบฉันทะ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดแนะนำใหผูถือหุนแตงตั้งกรรมการอิสระเปน<br />

ผูรับมอบฉันทะของตนดวย<br />

(ข.2) ณ ที่ประชุมผูถือหุน<br />

บริษัทฯ ไดอำนวยความสะดวกในการลงทะเบียนผูถือหุนโดยการจัดชองลงทะเบียนแยกระหวางผูถือหุนและผูรับมอบฉันทะ และไดนำระบบ<br />

บารโคดมาใชในการลงทะเบียนสำหรับผูเขารวมประชุม และใชในการนับคะแนน พรอมกันนี้บริษัทฯ ไดเตรียมดวงตราไปรษณียไวเพื่อใหผูถือหุน<br />

สงหนังสือมอบฉันทะมาทางไปรษณียอีกดวย นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดมีการนำระบบการลงคะแนนเสียงแบบอิเลคทรอนิกส (e-voting) ของบริษัท<br />

ศูนยรับฝากหลักทรัพยแหงประเทศไทย จำกัด มาใชในการลงทะเบียนผูถือหุนและการนับคะแนนเสียงเพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิภาพและ<br />

ความโปรงใส<br />

สำหรับผูถือหุนที่ไมสามารถมาเขารวมประชุมดวยตนเอง ทางบริษัทฯ ไดมีการดาวนโหลดบันทึกการประชุมผูถือหุนลงในเว็บไซตของบริษัทฯ<br />

เพื่อใหผู ถือหุนดูการประชุมยอนหลังได<br />

(ข.3) ระหวางการประชุม<br />

ประธานกรรมการทำหนาที่เปนประธานการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2553 ซึ่งมีกรรมการเขารวมประชุม 9 คน จากกรรมการทั้งหมด 10 คน<br />

ซึ่งรวมทั้งประธานกรรมการชุดยอยตางๆ เขารวมประชุม ประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารทำหนาที่ตอบ<br />

ขอซักถามของผูถือหุน โดยกอนการประชุมจะเริ่มขึ้นอยางเปนทางการ ประธานกรรมการไดอธิบายถึงวิธีลงคะแนนเสียง และมีการประกาศผล<br />

การลงคะแนนเสียงเมื่อจบแตละวาระการประชุม<br />

เพื่ออำนวยความสะดวกใหกับผูถือหุนและเพื่อใหเกิดความชัดเจน มีการใชสื่อมัลติมีเดียในการนำเสนอระหวางการประชุมทั้งหมด บริษัทฯ จัดการ<br />

ประชุมตามวาระที่ไดกำหนดและเปดโอกาสใหผูถือหุนทุกคนไดลงคะแนนเสียงของตนอยางเทาเทียมกัน ประธานกรรมการใหโอกาสแกผูถือหุน<br />

อยางเพียงพอในการตั้งคำถาม และใหคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินการของบริษัทฯ ตลอดจนรายงานการเงิน โดยไมริดรอนสิทธิของผูถือหุน<br />

ประธานกรรมการหรือกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารใหความกระจางระหวางการประชุมและยังไดพบปะกับผูถือหุนอยางไม<br />

เปนทางการ หลังจากนั้น คะแนนเสียงทั้งหมดในที่ประชุมผูถือหุนไมวาที่ออกโดยผูถือหุนเองหรือโดยผูรับมอบฉันทะไดรับการนับอยางเปนทางการ<br />

บริษัทฯ ไดรับผลคะแนนขั้นดีเลิศ (ชวงคะแนนระหวาง 90-99) สำหรับคุณภาพของการจัดงานการประชุมสามัญผูถือหุนประจำปมาตั้งแตป 2550<br />

ถึงปปจจุบัน โดยผลการประเมินมาจากแบบประเมินของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย รวมกับสมาคมบริษัท<br />

จดทะเบียนไทย และสมาคมสงเสริมผูลงทุนไทย<br />

(ข.4) วิธีการหลังการประชุม<br />

บริษัทฯ จัดเตรียมและนำสงรายงานการประชุมผูถือหุนแตละครั้งใหกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยภายในระยะเวลาที่กำหนด คือ<br />

ภายใน 14 วันหลังการประชุม รายงานการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2553 ไดรับการบันทึกและนำสงใหกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย<br />

เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 หรือ 14 วันหลังจากวันประชุม นอกจากนี้ ยังมีการเผยแพรรายงานการประชุมในเว็บไซตของบริษัทฯ<br />

ที่ http://www.thoresen.com<br />

3. นโยบายวาดวยสิทธิของผูมีสวนไดเสีย<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญของกลุมผูมีสวนไดเสียทุกกลุม และบริษัทฯ ตระหนักดีวา<br />

การสนับสนุนของกลุมผูมีสวนไดเสียจะชวยสรางความยั่งยืนใหกับความไดเปรียบในการแขงขัน และความสามารถในการทำกำไรของบริษัทฯ<br />

บริษัทฯ จึงคำนึงถึงผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ทั้งผูมีสวนไดเสียภายในองคกร กลาวคือ ผูถือหุน พนักงานและฝายบริหาร และ<br />

ผูมีสวนไดเสียภายนอกองคกร เชน เจาหนี้ คูคา ลูกคา ชุมชน หนวยงานราชการ และองคกรที่เกี่ยวของอื่นๆ และมีนโยบายเพื่อปกปองสิทธิ<br />

ของบุคคลดังกลาวดวยการปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับตางๆ ที่ใชบังคับอยางเครงครัด ตลอดจนกำหนดใหมีระบบการควบคุมภายในที่<br />

เหมาะสมและตรวจสอบการปฏิบัติตามดวย<br />

นอกจากนี้ เพื่อใหผูมีสวนไดเสียทุกกลุมไดรับการปฏิบัติจากบริษัทฯ อยางเทาเทียมกัน และเพื่อเปดโอกาสใหผูมีสวนไดเสียไดมีสวนรวมในการ<br />

สรางเสริมผลการดำเนินงานของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงไดจัดใหมีการเปดเผยขอมูลสำคัญที่เกี่ยวของทั้งหมดแกผูมีสวนเกี่ยวของอยางเปนธรรม<br />

โปรงใส และทันตอเวลา โดยบริษัทฯ ใชนโยบายเกี ่ยวกับการรับแจงประเด็นขอสงสัยตางๆ ที่ผูมีสวนไดเสียตองการซักถามบริษัทฯ โดยผูมีสวน<br />

ไดเสียสามารถแจงขอซักถามมายังคณะกรรมการตรวจสอบผานทางเว็บไซตของบริษัทฯ ซึ่งประเด็นขอซักถามดังกลาวจะถูกนำมาหารือ และ<br />

รายงานประจำป 2553<br />

197


ประเด็นที่มีความสำคัญจะถูกรายงานตอคณะกรรมการบริษัทฯ โดยที่คณะกรรมการบริษัทฯ อาจมีคำสั่งใหทำการสืบสวนประเด็นเหลานี้<br />

เพิ่มเติมตอไป<br />

(ก) ผูถือหุน<br />

บริษัทฯ มุงที่จะดำเนินการเพื่อใหเกิดผลประโยชนในระยะยาวสูงสุดแกผูถือหุนดวยการจัดการเพื่อสรางความเติบโต และความสามารถในการทำ<br />

กำไรของธุรกิจอยางยั่งยืน รวมทั้งรักษาความไดเปรียบในการแขงขันโดยคำนึงถึงความเสี่ยงทางธุรกิจในปจจุบันและอนาคตอยางรอบคอบ<br />

บริษัทฯ เนนการดำเนินการเพื่อสรางผลกำไรอยางสม่ำเสมอผานการพัฒนาธุรกิจอยางตอเนื่อง การบริหารจัดการอยางมีคุณภาพ การควบคุม<br />

ภายในที่มีประสิทธิภาพ ระบบตรวจสอบ และการบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ เปดเผยขอมูลทั้งหมดอยางยุติธรรมและโปรงใสในเวลาอันสมควร<br />

และพยายามอยางดีที่สุดที่จะปกปองทรัพยสิน และชื่อเสียงของบริษัทฯ<br />

(ข) พนักงาน<br />

บริษัทฯ ถือวาพนักงานเปนสินทรัพยที่สำคัญของบริษัทฯ จึงไดวาจางพนักงานที่มีความสามารถและประสบการณอยางตอเนื่องตามแผนกลยุทธ<br />

และแผนปฏิบัติการของบริษัทฯ และดูแลใหพนักงานเหลานั้นยังคงอยูกับบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดจัดการฝกอบรมที่จำเปนเพื่อเพิ่มพูน<br />

ความสามารถของพนักงานอยางตอเนื่อง มีการสงเสริมวัฒนธรรมและบรรยากาศที่ดีในสถานประกอบการ ตลอดจนปฏิบัติตอพนักงานทุกคน<br />

อยางเทาเทียมและยุติธรรม บริษัทฯ ไดจัดสวัสดิการใหกับพนักงาน รวมทั้งสิทธิประโยชนตางๆ เชน ประกันชีวิต ประกันสุขภาพ ประกันทันตกรรม<br />

และกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังสนับสนุนใหพนักงานไดมีโอกาสเรียนรูและเพิ่มเติมทักษะใหมๆ ผานการฝกอบรมที่จัดโดย<br />

บุคคลภายนอก ตลอดจนใหทุนการศึกษาแกพนักงานเพื่อใหพนักงานไดศึกษาตอในระดับมหาวิทยาลัยอีกดวย บริษัทฯ ไดกอตั้งชมรมโทรีเซนคลับ<br />

(<strong>Thoresen</strong> Club) ขึ้นมาเพื่อจัดกิจกรรมตางๆ ใหกับพนักงาน เชน งานกีฬาสี งานทองเที่ยวนอกสถานที่ และงานปใหม เพื่อใหพนักงานไดผอน<br />

คลายจากการทำงานและไดใชเวลาอยูรวมกัน ในป 2552 บริษัทฯ ไดจัดใหมีโครงการ TTA Happy Everyday ซึ่งในโครงการนี้จะมีกิจกรรมที่<br />

หลากหลาย ไดแก การนั่งวิปสนากรรมฐาน การเลนโยคะ และการนวดเพื่อผอนคลาย เพื่อใหกับพนักงานทุกคนไดรวมทำหลังเวลาเลิกงาน<br />

ในป 2553 บริษัทฯ จัดโครงการใหพนักงานเขารวมหลังเวลาเลิกงานหลากหลายมากขึ้น เชน การเรียนแตงหนา การเรียนเทคนิคการถายรูป<br />

บริษัทฯ ยังคงสนับสนุนใหพนักงานเขารวมกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคม เชน กิจกรรมปลูกปาชายเลน การบริจาคใหกับเหตุการณแผนดินไหว<br />

ที่ประเทศเฮติ และบริจาคใหกับผูประสบภัยน้ำทวมในประเทศไทย<br />

(ค) ฝายบริหาร<br />

บริษัทฯ ตระหนักดีวาฝายบริหารเปนปจจัยสูความสำเร็จที่สำคัญประการหนึ่งในการดำเนินธุรกิจ ดวยเหตุนี้ จึงไดมีการจัดทำโครงสรางคาตอบแทน<br />

ของผูบริหารอยางเหมาะสม ในระดับที่เปรียบเทียบไดกับผูอื่นในธุรกิจเรือเดินทะเลและบริษัทจดทะเบียนอื่นในประเทศไทย ในป 2553 บริษัทฯ<br />

ไดมีการทบทวนนโยบายการจายคาตอบแทนสำหรับผูบริหารระดับสูงเพื่อใหสอดคลองกับทิศทางกลยุทธใหมของ บริษัทฯ ซึ่งในเดือนมกราคม<br />

พ.ศ. 2553 บริษัทฯ นำเอาโครงการรวมลงทุนระหวางนายจางและลูกจาง (Employee Joint Investment program หรือ EJIP) มาใชเปนเครื่องมือ<br />

ในการรักษาผูบริหารที่สำคัญโดยดูจากผลงาน นอกจากนี้ ฝายบริหารยังมีอิสระในการทำงานในหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับความเห็นชอบ<br />

จากคณะกรรมการ โดยปราศจากการแทรกแซงอีกดวย<br />

(ง) คูสัญญา<br />

บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจกับลูกคา หุนสวน คูแขง เจาหนี้ และคูคา ตามขอกำหนดและเงื่อนไขการซื้อขายที่ไดทำเปนสัญญาอยางยุติธรรมและ<br />

มีจริยธรรม บริษัทฯ มีนโยบายหลีกเลี่ยงการกระทำใดก็ตามที่อาจสงผลใหเกิดความไมซื่อสัตยสุจริต หรือที่อาจละเมิดสิทธิของคูสัญญาของ<br />

บริษัทฯ ตามที่กฎหมายกำหนดหรือที่ไดตกลงรวมกัน<br />

สำหรับคูคาและเจาหนี้ของบริษัทฯ บริษัทฯ ไดดำเนินการพัฒนาระบบการรวมฐานขอมูล (centralised approach) ใหดียิ่งขึ้นเพื่อใหบริษัทฯ ได<br />

ดำเนินธุรกิจไดอยางมีประสิทธิภาพและยุติธรรม บริษัทฯ ไดปฏิบัติตอบุคคลเหลานี้ดวยความยุติธรรมและเทาเทียมกันเพื่อรักษาผลประโยชนของ<br />

บริษัทฯ และเพื่อใหคูคาและเจาหนี้จะไดรับผลตอบแทนที่ยุติธรรม บริษัทฯ จะหลีกเลี่ยงสถานการณที่จะนำไปสูความขัดแยงทาง<br />

ผลประโยชน และจะปฏิบัติตามพันธสัญญาใดๆ ที่บริษัทฯ ไดใหไว<br />

สำหรับคูแขง บริษัทฯ ไดปฏิบัติกับคูแขงอยางยุติธรรมและถูกตองตามกฎหมายเปนไปตามหลักสากลโดยจะไมมีการลวงละเมิดความลับของคูแขง<br />

หรือไดมาซึ่งขอมูลที่เปนความลับในทางที่ฉอโกง<br />

สำหรับเจาหนี้เงินกูยืม บริษัทฯ ไดปฏิบัติกับเจาหนี้เงินกูยืมอยางตรงไปตรงมาโดยบริษัทฯ ไมมีการปกปดขอมูลอันจะกอใหเกิดความเสียหายกับ<br />

เจาหนี้เงินกูยืม ถาหากบริษัทฯ ไมสามารถบรรลุขอตกลงขอใดขอหนึ่งหรือมากกวา รวมกันแลว บริษัทฯ จะแจงเจาหนี้เงินกูยืมรับทราบเพื่อหา<br />

ขอสรุปที่สามารถตกลงรวมกัน<br />

198 รายงานประจำป 2553


(จ) ลูกคา<br />

บริษัทฯ ตระหนักดีวาลูกคามีความสำคัญอยางยิ่งยวดตอความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงมุงที่จะสรางความพอใจใหแก<br />

ลูกคาดวยการใหบริการที่มีคุณภาพสูง ซึ่งตอบสนองความตองการและความคาดหวังของลูกคาอยางยุติธรรมและอยางมืออาชีพ ดวยความ<br />

ตระหนักถึงความสำคัญของลูกคา บริษัทฯ จึงทุมเททั้งฝมือและประสบการณ และใหความเอาใจใสแกลูกคาเปนอยางดี ปกปองความลับของ<br />

ลูกคา และสรางความไววางใจใหกับลูกคา ขอมูลที่เปนความลับของลูกคาจะไดรับการเก็บรักษาเปนอยางดี การเปดเผยขอมูลดังกลาวจะกระทำ<br />

ตอเมื่อเปนไปตามขอบังคับตามกฎหมายหรือไดรับความยินยอมจากผูที่เกี่ยวของกอนเทานั้น<br />

(ฉ) ความรับผิดชอบตอชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม<br />

บริษัทฯ มุงที่จะปฏิบัติตอสังคมและสิ่งแวดลอมดวยมาตรฐานที่สูงอยางตอเนื่อง บริษัทฯ ยึดมั่นในการรักษามาตรฐานดานความปลอดภัยและการ<br />

ควบคุมมลภาวะในการดำเนินธุรกิจ บริษัทฯ ใหความใสใจ กับประเด็นตางๆ ที่กระทบตอประโยชนของประชาชนสวนรวม และเขารวมในกิจกรรมที่<br />

เปนประโยชนตอชุมชนและสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังใหการสนับสนุนกิจกรรมการกุศล ตลอดจนสนับสนุนใหพนักงานมี<br />

ความหวงใยตอสิ่งแวดลอม รายละเอียดเกี่ยวกับการรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทฯ ดูไดในรายงานประจำป หนา 85 ถึงหนา 89<br />

4. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ไดกำหนดนโยบายที่จะเปดเผยขอมูลทางการเงินของบริษัทฯ ขอมูลที่เปนสาระสำคัญ ตลอดจน<br />

ขอมูลอื่นๆ ที่อาจสงผลกระทบตอสวนไดเสียของผูถือหุนหรือการตัดสินใจที่จะลงทุนหรือราคาหุนและหลักทรัพยใดที่บริษัทฯ ออกอยางถูกตอง<br />

แมนยำ เพียงพอและครบถวน ขอมูลนี้จะเผยแพรในเวลาอันเหมาะสมดวยวิธีที่โปรงใสผานชองทางที่เปนธรรมและเชื่อถือได โดยมีเปาหมาย<br />

หลักคือเพื่อใหการตัดสินใจลงทุนในหลักทรัพยของบริษัทฯ เปนไปบนพื้นฐานของการไดรับขอมูลที่ถูกตองเพียงพอ<br />

ผูที่ไดรับมอบหมายใหเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ คือ ประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร ผูชวยกรรมการ<br />

ผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน และผูจัดการฝายนักลงทุนสัมพันธ ผูทำหนาที่เปดเผยขอมูลเหลานี้ไดประชุมและใหขอมูลแกผูสนใจในหลาย<br />

โอกาส ดังนี้<br />

1. การประชุมตัวตอตัวกับผูถือหุน เจาหนี้และนักวิเคราะห (มากกวา 90 ครั้งในป 2553)<br />

2. การประชุมรายไตรมาสกับนักวิเคราะหเพื่อพูดคุยถึงผลการดำเนินงานทางการเงินครั้งลาสุดของบริษัทฯ (4 ครั้งในป 2553)<br />

3. การประชุมนักลงทุน (12 ครั้ง ในป 2553)<br />

4. โรดโชว (5 ครั้ง ในป 2553)<br />

นอกจากโอกาสขางตนแลว บริษัทฯ ไดใชชองทางการสื่อสารอีกหลายชองทางซึ่งรวมถึงรายงานประจำป รายงานการเงินประจำป เว็บไซตของ<br />

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป บริษัทฯ สงเสริมการใชเว็บไซตของบริษัทฯ ใหเปนอีกชองทางหนึ่งใน<br />

การสื่อสารเพื่อเปดเผยขอมูลของบริษัทฯ นอกจากนี้ บนเว็บไซตของบริษัทฯ ยังมีขาวที่บริษัทฯ นำสงตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย การนำเสนอ<br />

ขอมูลตางๆ รวมทั้งบทสัมภาษณทางโทรทัศน และบทสัมภาษณในนิตยสารอีกดวย<br />

ทานใดที่ตองการติดตอฝายนักลงทุนสัมพันธสามารถติดตอไดที่เบอรโทรศัพท 0-2250-0569 ตอ 363 หรืออีเมล charmaine_u@thoresen.com<br />

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการพัฒนาเครื่องมือใหกับผูมีสวนไดเสียเขามามีสวนรวมกับธุรกิจของบริษัทฯ โดยการทำใหขอมูลตางๆ ของบริษัทฯ<br />

เขาถึงได และ โปรงใส บริษัทฯ มีชองทางหลากหลายเพื่อใหขอเสนอแนะ หรือรองเรียนเรื่องพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม และไมมีคุณธรรมในดาน<br />

การเงิน หรือ การควบคุมภายใน โดยสามารถยื่นขอรองเรียน หรือ ขอซักถามไดทางเว็บไซตของบริษัทฯ ภายใตหัวขอ “การกำกับดูแลกิจการ”<br />

5. คณะกรรมการ<br />

(ก) โครงสรางคณะกรรมการ<br />

จำนวนของคณะกรรมการเปนไปตามที่ระบุไวในขอบังคับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) ซึ่งกำหนดวาคณะกรรมการจะตอง<br />

ประกอบดวยกรรมการไมนอยกวา 5 คน ณ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 คณะกรรมการประกอบดวยกรรมการจำนวน 10 คน และกรรมการสวนใหญ<br />

(จำนวน 8 คนจากทั้งหมด 10 คน) เปนกรรมการอิสระ คณะกรรมการที่มาจากฝายบริหารของบริษัทฯ จะมีจำนวนไมเกิน 1 ใน 3 ของจำนวน<br />

คณะกรรมการทั้งหมด<br />

กรรมการทุกคนมีหนาที่และความรับผิดชอบหลายประการ ซึ่งรวมถึงเรื่องตอไปนี้<br />

1. การเขาถึงขอมูลการเงินและขอมูลธุรกิจอื่นอยางเพียงพอ เพื่อทำงานของตนอยางมีประสิทธิภาพ<br />

2. กรรมการควรเขาประชุมคณะกรรมการทุกครั้ง รวมทั้งการประชุมคณะกรรมการชุดยอย และควรตั้งคำถามที่สำคัญ เพื่อปกปองและรักษาสิทธิ<br />

และผลประโยชนของผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียของบริษัทฯ ตลอดจนกำกับดูแลใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติที่ดี<br />

3. กรรมการควรมีความสามารถและยินดีที่จะเรียนรูธุรกิจของบริษัทฯ ตลอดจนสามารถแสดงความคิดเห็นของตนอยางอิสระ โดยจะตองสละ<br />

เวลาและใหความใสใจอยางเพียงพอใหกับเรื่องที่มีความสำคัญทุกเรื่อง<br />

รายงานประจำป 2553<br />

199


4. กรรมการควรจัดประชุมโดยไมมีกรรมการที่เปนผูบริหารรวมประชุมอยูดวยอยางสม่ำเสมอและพยายามทุกวิถีทางเพื่อหาโอกาสที่จะพูดคุย<br />

ประเด็นธุรกิจกับฝายบริหาร<br />

5. กรรมการอิสระควรสงหนังสือยืนยันใหกับบริษัทฯ เพื่อรับรองความเปนอิสระของตนตามคำจำกัดความของบริษัทฯ ในวันที่กรรมการอิสระ<br />

ยอมรับการแตงตั้งใหดำรงตำแหนง และทุกๆ ปหลังจากนั้นหากไดมีการกำหนดไว<br />

6. โดยหลักแลว กรรมการที่ไมเปนผูบริหารไมควรดำรงตำแหนงเกินกวาเวลาที่กำหนด อยางไรก็ดี ระยะเวลาในการดำรงตำแหนงอาจขึ้นอยู<br />

กับปจจัยอื่นดวย ซึ่งรวมไปถึงการที่บริษัทฯ ไมสามารถสรรหาผูที่เหมาะสมใหเขามาดำรงตำแหนงแทนได รวมทั ้งประโยชนที่ไดรับจาก<br />

ประสบการณและสัมพันธภาพในการทำงานในคณะกรรมการที่บุคคลนั้นๆ ไดสั่งสมมาเปนระยะเวลาหลายป ตลอดจนความเขาใจในธุรกิจ<br />

ของบริษัทฯ ทั้งนี้ แมวาบริษัทฯ จะยังมิไดกำหนดระยะเวลาในการดำรงตำแหนงของกรรมการอยางเปนทางการ แตบริษัทฯ ก็มีนโยบาย<br />

ในเรื่องดังกลาวซึ่งกำหนดวาโดยทั่วไปกรรมการที่ไมเปนผูบริหารไมควรดำรงตำแหนงเกิน 10 ปหรือ 4 วาระไมวาจะตอเนื่องหรือไมเวนแต<br />

จะมีเหตุผลอันสมควรในการดำรงตำแหนงตอไปของกรรมการเหลานั้น ซึ่งควรจะพิจารณาจากความรับผิดชอบของกรรมการดังกลาว ตลอดจน<br />

การมีสวนทำประโยชนของบุคคลดังกลาวตอบริษัทฯ ทั้งในอดีต ปจจุบัน และอนาคต<br />

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดจำกัดจำนวนบริษัทที่กรรมการสามารถดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่น เพื่อใหกรรมการสามารถอุทิศตนใหกับธุรกิจ<br />

ของบริษัทฯ อยางเพียงพอ<br />

(ก.1) กรรมการที่เปนผูบริหาร<br />

กรรมการที่เปนผูบริหารคือกรรมการที่ทำหนาที่ในการบริหารจัดการเต็มเวลา และไดรับคาตอบแทนเปนประจำทุกเดือนจากบริษัทฯ ในรูปของ<br />

เงินเดือนหรือคาตอบแทนอื่นๆ ที่เทียบเทา<br />

(ก.2) กรรมการอิสระ<br />

กรรมการอิสระคือกรรมการที่ไมไดบริหารจัดการบริษัทฯ หรือบริษัทยอยของบริษัทฯ มีความอิสระจากคณะผูบริหารและผูถือหุนรายใหญ และ<br />

ไมมีธุรกิจกับบริษัทฯ ซึ่งอาจสงผลกระทบในทางลบตอผลประโยชนของบริษัทฯ และ/หรือผลประโยชน ของผูถือหุน<br />

คุณสมบัติประการสำคัญของกรรมการอิสระ รวมถึง<br />

1. กรรมการอิสระจะตองไมถือหุนมากกวารอยละ 1 ของหุนที่ออกโดยบริษัทฯ หรือบริษัทยอย บริษัทรวม หรือบริษัทที่เกี่ยวของ ในกรณีที่<br />

เปนกรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบ การถือหุนดังกลาวจะจำกัดไมใหเกินรอยละ 0.5<br />

2. กรรมการอิสระตองไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ผูถือหุนรายใหญ หรือเปนที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือน<br />

ประจำ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ หรือบริษัทยอยลำดับเดียวกัน เวนแตจะไดพนจากการ<br />

มีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันไดที่รับการแตงตั้ง ทั้งนี้ ลักษณะตองหามดังกลาวไมรวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเปน<br />

ขาราชการหรือที่ปรึกษาของสวนราชการซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ<br />

3. กรรมการอิสระจะตองไมมีสวนไดเสียทางการเงินหรือผลประโยชนอื่นๆ ในการบริหารจัดการและธุรกิจทั้งในทางตรงหรือทางออมของบริษัทฯ<br />

หรือบริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใช<br />

วิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้งไมเปนหรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัย หรือผูมีอำนาจควบคุมของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ<br />

บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ หรือผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองป<br />

กอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง<br />

4. กรรมการอิสระจะตองไมมีความสัมพันธกับกรรมการที่เปนผูบริหาร เจาหนาที่บริหาร ผูมีอำนาจควบคุม หรือผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ไมวา<br />

จะเปนความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เปน บิดามารดา คูสมรส พี่นองและบุตร รวมทั้งคูสมรส<br />

ของบุตร เจาหนาที่บริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ<br />

หรือบริษัทยอย<br />

5. กรรมการอิสระจะตองไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผูถือหุนรายใหญหรือผูถือหุนซึ่งเปน<br />

ผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ<br />

6. กรรมการอิสระจะตองไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจ<br />

ควบคุมของบริษัทฯ รวมทั้งไมไดเปนหรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอำนาจควบคุม หรือหุนสวนของสำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของ<br />

บริษัทฯ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมี<br />

ลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง<br />

7. กรรมการอิสระจะตองไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน<br />

ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวาสองลานบาทตอปจากบริษัทฯ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุม<br />

ของบริษัทฯ เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง<br />

8. กรรมการอิสระจะตองไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย หรือไมเปนหุ น<br />

สวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน หรือที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจำ หรือถือหุนเกินรอยละ 1<br />

ของจำนวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดกับบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกัน และเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของ<br />

บริษัทฯ หรือบริษัทยอย<br />

200 รายงานประจำป 2553


9. กรรมการอิสระจะตองไมมีลักษณะอื่นใด ที่ทำใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัทฯ<br />

(ก.3) คณะกรรมการ<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 คณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการ 10 คน โดยเปนกรรมการที่เปนผูบริหาร 1 คน (รอยละ 10 จาก<br />

จำนวนกรรมการทั้งหมด) กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร 1 คน (รอยละ 10 จากจำนวนกรรมการทั้งหมด) ซึ่งถึงแกกรรมในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553<br />

และจะมีกรรมการอิสระใหมเขาดำรงตำแหนงกรรมการแทนตำแหนงที่วางลง ในวันประชุมใหญสามัญประจำปผูถือหุนที่จะจัดขึ้นในเดือนมกราคม<br />

พ.ศ. 2554 ที่จะถึงนี้ และกรรมการอิสระ 8 คน (รอยละ 80 จากจำนวนกรรมการทั้งหมด) ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 คณะกรรมการประกอบ<br />

ไปดวยกรรมการดังตอไปนี้<br />

ตารางที่ 42 : รายนามคณะกรรมการ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553<br />

ชื่อ ตำแหนง<br />

1. ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต (ถึงแกกรรม) ประธานกรรมการ/กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร<br />

2. นายอัศวิน คงสิริ ประธานกรรมการ (ไดรับแตงตั้งเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553) กรรมการอิสระ<br />

3. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร/กรรมการที่เปนผูบริหาร<br />

4. นายสตีเฟน ฟอรดแฮม กรรมการอิสระ<br />

5. นางปรารถนา มงคลกุล กรรมการอิสระ<br />

6. ดร. พิชิต นิธิวาสิน กรรมการอิสระ<br />

7. นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ กรรมการอิสระ<br />

8. ดร. ศิริ การเจริญดี กรรมการอิสระ<br />

9. นางโจอี้ ฮอรน กรรมการอิสระ<br />

10. นายปเตอร สโตคส กรรมการอิสระ<br />

(ก.4) การแยกตำแหนง<br />

คณะกรรมการแตงตั้งกรรมการที่ไมเปนผูบริหารหนึ่งคนใหเปนประธานกรรมการ ประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการใหญและประธาน<br />

เจาหนาที่บริหารจะไมเปนบุคคลคนเดียวกัน ประธานกรรมการทำหนาที่ดูแลการใชนโยบาย และแนวทางการปฏิบัติงานเชิงกลยุทธตามที่<br />

คณะกรรมการและฝายบริหารไดพิจารณาและจัดทำขึ้น ตลอดจนดูแลใหการประชุมคณะกรรมการดำเนินไปจนสำเร็จลุลวง กรรมการทุกคนควรมี<br />

สวนรวมในการประชุมและตั้งคำถามสำคัญๆ ระหวางการประชุมแตละครั้ง<br />

อำนาจของคณะกรรมการและฝายบริหาร ไดรับการจำกัดความและแยกออกจากกันอยางชัดเจน กรรมการจะประชุมกันเปนครั้งคราวเพื่อให<br />

คำแนะนำและสนับสนุนฝายบริหารผานกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร ในขณะเดียวกัน คณะกรรมการจะไมยุงเกี่ยวกับงาน<br />

ประจำ หรือกิจกรรมทางธุรกิจภายใตความรับผิดชอบของฝายบริหาร กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารเทานั้นที ่ไดรับมอบ<br />

อำนาจจากคณะกรรมการใหทำงานเหลานี้ ดังนั้น อำนาจและความรับผิดชอบของกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารจึงสอดรับ<br />

กับฝายบริหารอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดมีการระบุขอบเขตหนาที่และอำนาจของฝายบริหารทุกระดับไวอยางเปนลายลักษณ<br />

อักษรเพื่อความชัดเจน<br />

(ข) บทบาทและความรับผิดชอบของโครงสรางการจัดการ<br />

(ข.1) คณะกรรมการ<br />

คณะกรรมการจะตองประพฤติตนตามมาตรฐานพฤติกรรมที่มีจริยธรรมสูงสุด และปฏิบัติตามกฎหมาย กฎและระเบียบทั้งหมด คณะกรรมการ<br />

มีหนาที่หลักในการกำกับและกำหนดทิศทางการบริหารจัดการเพื่อประโยชนของบริษัทฯ ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการดำเนินการโดยตรงหรือผาน<br />

คณะกรรมการชุดยอยอื่น คณะกรรมการพึงมีหนาที่ดังตอไปนี้<br />

1. ดูแลการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อประเมินวามีการบริหารจัดการอยางเหมาะสมหรือไม และเพื่อใหการดำเนินกิจกรรมทั้งหมดเปนไปตาม<br />

กฎหมายและมาตรฐานดานจริยธรรมที่เกี่ยวของ<br />

2. บริหารการดำเนินงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามขอกำหนดทางกฎหมาย วัตถุประสงคและกฎขอบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติของที่ประชุม<br />

ผูถือหุน<br />

3. จัดทำและใหความเห็นชอบ แผนงาน การดำเนินการตางๆ ตลอดจนแผนงานทางการเงินที่สำคัญ<br />

4. ทบทวนและใหความเห็นชอบการเปลี่ยนแปลงสำคัญๆ ในหลักการและแนวปฏิบัติดานการตรวจสอบบัญชีและการบัญชีที่ใชในการจัด<br />

ทำงบการเงินของบริษัทฯ<br />

รายงานประจำป 2553<br />

201


5. ประเมินปจจัยความเสี่ยงสำคัญที่เกี่ยวของกับผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และทบทวนมาตรการเพื่อนำมาแกไขและบรรเทาความเสี่ยง<br />

ดังกลาว<br />

6. ประเมินผลการทำงานและความสามารถของตน และการปรับปรุงวิธีการทำงานตามความจำเปน<br />

7. ใหความเห็นชอบคาตอบแทนของพนักงาน<br />

8. แตงตั้งคณะกรรมการชุดยอยที่เหมาะสมเพื่อบริหารธุรกิจของบริษัทฯ ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย<br />

คณะกรรมการไดมอบหมายอำนาจและความรับผิดชอบใหกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร ซึ่งจะทำงานรวมกับเจาหนาที่<br />

บริหารอื่นๆ ในการบริหารจัดการธุรกิจเพื่อใหสอดคลองกับมาตรฐานของบริษัทฯ และเพื่อใหเปนไปตามแผน คำสั่งหรือทิศทางอยางหนึ่งอยางใด<br />

ของคณะกรรมการ<br />

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังใหความสำคัญตอระบบควบคุมภายใน และระบบการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมกับกิจการที่บริษัทฯ ดำเนินอยูในปจจุบัน<br />

โดยคณะกรรมการจะทำงานรวมกับฝายบริหารอยางใกลชิดในลักษณะที่สอดคลองกับกรอบคานิยมหลัก พันธกิจ และวิสัยทัศน (Core Value,<br />

Mission, and Vision (VMV) Framework) ของบริษัทฯ รวมทั้งจรรยาบรรณทางธุรกิจ และนโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ<br />

(ข.2) กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร<br />

อำนาจและหนาที่ของกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารที่คณะกรรมการเห็นสมควร รวมถึงเรื่องดังตอไปนี้<br />

1. ดูแลใหการปฏิบัติการของบริษัทฯ เปนไปตามนโยบาย กลยุทธ เปาหมาย งบประมาณ และแผนที่คณะกรรมการใหความเห็นชอบ โดยใหเปน<br />

ไปตามขอกำหนดทางกฎหมาย ระเบียบ และประกาศของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ<br />

2. ติดตามและจัดทำรายงานที่เกี่ยวกับสภาพธุรกิจ และฐานะทางการเงินของบริษัทฯ รวมทั้งการใหคำแนะนำวาดวยทางเลือกและกลยุทธที่<br />

สอดคลองกับนโยบายและสภาพตลาด<br />

3. พิจารณาและการใหความเห็นชอบธุรกรรมทางธุรกิจตามคำสั่งของคณะกรรมการ และภายใตขอบเขตที่คณะกรรมการกำหนด<br />

4. จัดการและดูแลหนวยงานภายในองคกรทั้งหมด ทั้งฝายธุรกิจและฝายสนับสนุน ซึ่งรวมไปถึงฝายการเงิน การบริหารความเสี่ยง การควบคุม<br />

ภายใน การปฏิบัติการ การบริหารทรัพยากรมนุษย และธุรการ<br />

5. เปนตัวแทนบริษัทฯ รวมทั้งมีอำนาจในการติดตอประสานงานกับหนวยงานรัฐ และผูมีอำนาจในการควบคุม<br />

6. ดูแลการติดตอสื่อสารกับผูมีสวนไดเสียทุกราย และดำเนินการในดานการสงเสริมชื่อเสียงและภาพลักษณของบริษัทฯ<br />

7. ทำงานที่คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอยตางๆ มอบหมาย<br />

8. ดูแลใหมีการดำเนินการตามแนวปฏิบัติวาดวยการกำกับดูแลกิจการที่ดี<br />

9. กลั่นกรองเรื่องราวตางๆ กอนนำสงคณะกรรมการ<br />

(ข.3) ประธานกรรมการ<br />

ประธานกรรมการทำหนาที่ในการดำเนินการเปนประธานในที่ประชุมคณะกรรมการ และในการประชุมผูถือหุน หากประธานกรรมการไมสามารถ<br />

เขารวมประชุม คณะกรรมการจะเลือกกรรมการที่เขารวมประชุมหนึ่งคนใหเปนประธานในที่ประชุมนั้น ประธานกรรมการรับผิดชอบดูแลให<br />

การประชุมเปนไปตามขอกำหนดของกฎหมายและขอบังคับของบริษัทฯ ที่เกี่ยวกับการประชุม (ถามี) ตลอดจนจัดการใหการประชุมเปนไปตาม<br />

วาระแหงการประชุมนั้น<br />

(ค) เลขานุการบริษัทและคณะกรรมการชุดยอย<br />

คณะกรรมการสงวนสิทธิในการตัดสินใจนโยบายเชิงกลยุทธเปนของตน คณะกรรมการจะมอบหมายการพิจารณาเรื่องในรายละเอียดใหกับ<br />

คณะกรรมการชุดยอยและเจาหนาที่ (ในกรณีที่เปนกระบวนการของตน) หรือกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร (ในกรณีที่<br />

เปนการบริหารจัดการกิจกรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ)<br />

คณะกรรมการไดแตงตั้งเลขานุการบริษัทและคณะกรรมการชุดยอย 5 คณะ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) คณะกรรมการ<br />

สรรหา (Nomination Committee) และคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน (Remuneration Committee) คณะกรรมการการลงทุน (Investment<br />

Committee) และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) รายละเอียดเกี่ยวกับองคประกอบ หนาที่ และความรับ<br />

ผิดชอบของคณะกรรมการทั้งหาคณะนี้ปรากฏอยูดานลางนี้ และในเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ http://www.thoresen.com ภายใตหัวขอ “การกำกับ<br />

ดูแลกิจการ”<br />

(ค.1) เลขานุการบริษัท<br />

คณะกรรมการแตงตั้งนางสาวมัณฑนี สุรกาญจนกุล ใหเปนเลขานุการบริษัทเพื่อรับผิดชอบเรื่องที่เกี่ยวกับการประชุมคณะกรรมการและผูถือหุน<br />

และเพื่อชวยเหลืองานที่เกี่ยวกับแนวปฏิบัติดานการกำกับดูแลกิจการที่ดี<br />

โดยหนาที่เลขานุการบริษัทจะรายงานตอประธานกรรมการ และโดยโครงสรางองคกรจะรายงานตอผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมการบัญชีและ<br />

การเงิน รายละเอียดหนาที่ของเลขานุการบริษัทอยูในเว็บไซตของบริษัทฯ (http://www.thoresen.com)<br />

202 รายงานประจำป 2553


(ค.2) คณะกรรมการตรวจสอบ<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบไปดวยกรรมการตอไปนี้ นางปรารถนา มงคลกุล (ประธานกรรมการตรวจสอบ)<br />

ดร. ศิริ การเจริญดี และนายอัศวิน คงสิริ กรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบเปนกรรมการอิสระทั้งสิ้น ในระหวางรอบปบัญชี สิ้นสุดวันที่ 30<br />

กันยายน พ.ศ. 2553 คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง โดยกรรมการทุกคนเขารวมการประชุมทุกครั้ง<br />

คณะกรรมการตรวจสอบเปนผูมีความรอบรูและมีประสบการณที่เกี่ยวของกับทางการเงิน ซึ่งจำเปนตอการทำงานในหนาที่ของตน หัวหนาทีม<br />

ผูสอบบัญชีภายนอก ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบริหารความเสี่ยงและการกำกับดูแล<br />

และผูจัดการอาวุโสแผนกตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ตางเขารวมการประชุมสำคัญทุกครั้งกอนการเปดเผยรายงานการเงินรายไตรมาสของ<br />

บริษัทฯ ในระหวางป คณะกรรมการตรวจสอบจะประชุมรวมกับผูสอบบัญชี ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบริหารความเสี่ยงและการกำกับ<br />

ดูแล และผูจัดการอาวุโสแผนกตรวจสอบภายในโดยไมมีฝายบริหารเขารวมดวย<br />

คณะกรรมการตรวจสอบไดรับอำนาจอยางเต็มที่จากคณะกรรมการบริษัทฯ ในการปฏิบัติงานในหนาที่ของตน ซึ่งรวมถึงการติดตามการปฏิบัติงาน<br />

อยางเปนระบบ และการดำเนินการใหมั่นใจวามาตรฐานในการเปดเผยขอมูลและการจำกัดอำนาจทางดานการเงินของผูบริหารเปนไปตามที่<br />

กฎหมายกำหนด ในแตละปจะมีการกำหนดวาระลวงหนา เพื่อใหคณะกรรมการตรวจสอบสามารถเฝาติดตามการบริหารจัดการความเสี่ยงทางการ<br />

เงินที่ระบุในแผนธุรกิจประจำปของบริษัทฯ ประธานกรรมการตรวจสอบจะรายงานกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบตอที่ประชุมคณะกรรมการ<br />

ทันทีหลังการประชุมทุกครั้ง ระหวางการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการตรวจสอบจะพิจารณาประเด็นที่เกิดขึ้นรวมกับผูชวย<br />

กรรมการผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบริหารความเสี่ยงและการกำกับดูแล และผูจัดการอาวุโสแผนก<br />

ตรวจสอบภายใน รวมทั้งผูสอบบัญชี<br />

คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่หลัก ดังตอไปนี้<br />

1. สอบทานความถูกตอง ความเพียงพอ และความเชื่อถือได ของกระบวนการรายงานขอมูลทางการเงิน โดยการประสานงานรวมกับผูสอบบัญชี<br />

และผูบริหารที่รับผิดชอบในการจัดทำรายงานขอมูลทางการเงินรายไตรมาส และรายป<br />

2. สอบทานความเหมาะสมและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในเพื่อใหมั่นใจในความเพียงพอของระบบ<br />

การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน โดยประสานงานรวมกับผูสอบบัญชีและผูตรวจสอบภายใน เพื่อพิจารณาในประเด็นดังตอไปนี้<br />

l สอบทานกิจกรรมการดำเนินงานและการจัดโครงสรางองคกรของหนวยงานตรวจสอบภายในเพื่อใหมั่นใจวาไมมีการจำกัดขอบเขต<br />

การปฏิบัติงาน<br />

l ประเมินความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน<br />

l พิจารณาและอนุมัติการแตงตั้ง ถอดถอน โอนยาย หรือเลิกจางผูจัดการอาวุโสแผนกตรวจสอบภายใน<br />

l พิจารณารายงานการตรวจสอบและขอเสนอแนะที่นำเสนอโดยแผนกตรวจสอบภายใน และกำกับดูแลการปฏิบัติตามขอเสนอแนะ<br />

l สอบทานความเพียงพอในการบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัทฯ อีกทั้งเพื่อใหมั่นใจวา การบริหารจัดการความเสี่ยงดังกลาวเปนไปตาม<br />

แนวปฏิบัติของหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของและสอดคลองกับนโยบายภายในของบริษัทฯ<br />

3. สอบทานการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อใหมั่นใจวา การดำเนินธุรกิจดังกลาวเปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย<br />

ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ<br />

4. พิจารณา คัดเลือก และเสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทำหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ รวมถึงพิจารณาคาสอบบัญชีและ<br />

ดำเนินกิจกรรมหลักดังตอไปนี้<br />

l สอบทานผลการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชี โดยพิจารณาถึงความเชื่อถือได ความเพียงพอของทรัพยากร ขอบเขตการปฏิบัติงาน และ<br />

ประสบการณของผูชวยผูสอบบัญชีที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ<br />

l สอบทานขอบเขตและแนวทางการตรวจสอบของผูสอบบัญชี เพื่อใหมั่นใจในความเหมาะสมและมิไดมีการจำกัดขอบเขตการตรวจสอบ<br />

l ใหคำแนะนำแกคณะกรรมการบริษัทฯ ในการแตงตั้งผูสอบบัญชี<br />

l พิจารณารายงานการตรวจสอบและขอเสนอแนะที่เสนอโดยผูสอบบัญชีและกำกับดูแลการปฏิบัติตามขอเสนอแนะดังกลาว<br />

5. สอบทานการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงรายการที่เกี่ยวโยงกัน เพื่อใหมั่นใจวาไมมีความขัดแยงทางผลประโยชนเกิดขึ้น อีกทั้ง พิจารณา<br />

รายการระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย หรือผูมีสวนเกี่ยวของอื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจในประสิทธิภาพของระบบการกำกับดูแล การปฏิบัติ<br />

ตามกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ ตลอดจนความสมเหตุสมผลของรายการเพื่อคงไวซึ่งผลประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ<br />

6. จัดทำและเปดเผยรายงานคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบในรายงานประจำปของบริษัทฯ โดยรายงาน<br />

คณะกรรมการตรวจสอบดังกลาวตองประกอบไปดวยขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้<br />

l ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวนและความเชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ<br />

l ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ<br />

l ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของ<br />

กับธุรกิจของบริษัทฯ<br />

l ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี บริษัทฯ มีนโยบายในการรักษาความเปนอิสระของผูสอบบัญชีโดยจำกัดมิใหผูสอบบัญชี<br />

ใหบริการอื่นที่เกี่ยวของกับงานสอบบัญชีและงานบริการดานภาษี นอกจากนี้ ในทุกๆ 5 ป จะมีการพิจารณาแตงตั้งหัวหนาทีมผูสอบบัญชี<br />

ใหม<br />

รายงานประจำป 2553<br />

203


l ความเห็นตอรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน<br />

l จำนวนการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบและจำนวนการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละคน<br />

l ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร<br />

l รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและนักลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ<br />

บริษัทฯ ตามความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ<br />

7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ<br />

8. สอบทานและปรับปรุงกฎบัตร โดยขออนุมัติแกไขเปลี่ยนแปลงกฎบัตรตอคณะกรรมการบริษัทฯ<br />

งานที่คณะกรรมการตรวจสอบไดทำจนสำเร็จลุลวงในป 2553 นี้ รวมถึง<br />

1. คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณารายงานการเงินรายปและรายไตรมาสทั้งหมด กอนแนะนำใหคณะกรรมการตีพิมพรายงานดังกลาว<br />

คณะกรรมการตรวจสอบไดอภิปรายและทำการตัดสินใจอยางใชวิจารณญานเต็มที่และสรางสรรคในเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบายการบัญชี<br />

และประมาณการสำคัญๆ โดยใชขอมูลจากรายงานที่ไดจัดเตรียม การนำเสนอขอมูล รวมทั้งคำแนะนำอิสระที่ไดจากผูสอบบัญชี<br />

2. คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณารายงานเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน ในฝายปฏิบัติการเรือ ฝาย<br />

ปฏิบัติการดานสินคา แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานการตรวจสอบบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด (มหาชน) และรายงานการ<br />

ตรวจสอบการเชื่อมตอและโอนถายขอมูลระหวางระบบ SAP และ ระบบรับชำระเงิน/ระบบลูกหนี้เจาหนี้<br />

3. แผนกตรวจสอบภายในไดใหคำแนะนำอยางสม่ำเสมอซึ่งรวมถึงการประเมินประสิทธิภาพในการควบคุมของบริษัทฯ ประจำป มีการพิจารณา<br />

รายงานที่ไดจากการตรวจสอบภายในและการสนองตอบของฝายบริหารอยางละเอียด การอภิปรายรายงานเหลานี้มีสวนตอความเห็นของ<br />

คณะกรรมการตรวจสอบที่เกี่ยวกับประสิทธิภาพของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ<br />

การแตงตั้งผูสอบบัญชีและการกำหนดคาธรรมเนียมการสอบบัญชี<br />

คณะกรรมการมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบเปนผู พิจารณาและเสนอการแตงตั้งผูสอบบัญชีและคาธรรมเนียมการสอบบัญชีแกผูถือหุน<br />

เพื่อขอความเห็นชอบในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำปทุกครั้ง ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2553 ผูถือหุนใหความเห็นชอบดังตอไปนี้<br />

1. แตงตั้ง นายขจรเกียรติ อรุณไพโรจนกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3445 หรือนายชาญชัย ชัยประสิทธิ์ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3760<br />

หรือ นางณฐพร พันธุอุดม ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3430 แหงไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส ใหเปนผูสอบบัญชีประจำปการเงิน 2553<br />

2. คาธรรมเนียมการสอบบัญชีจำนวน 3.160 ลานบาท เพื่อสอบทานและตรวจสอบงบการเงินของบริษัทฯ และงบการเงินรวม<br />

หลังพิจารณาขอกำหนด และคาธรรมเนียมในการวาจางการสอบบัญชีตามที่มีการเสนอแลว คณะกรรมการตรวจสอบไดชี้แจงให<br />

คณะกรรมการทราบถึงผลการประเมินของตน และแนะนำคณะกรรมการใหแตงตั้ง ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรสเปนผูสอบบัญชีอีกครั้ง<br />

โดยจะนำเสนอผูถือหุนในที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำปครั้งตอไปที่กำหนดจะจัดขึ้นในวันที่ 28 มกราคม 2554<br />

(ค.3) คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน<br />

คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนประกอบไปดวยกรรมการตอไปนี้ ดร. พิชิต นิธิวาสิน (ประธานกรรมการกำหนดคาตอบแทน) ดร. ศิริ การเจริญดี<br />

และนายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ กรรมการในคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนเปนกรรมการอิสระทั้งสิ้น คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนประชุมกัน<br />

5 ครั้งในป 2553<br />

หนาที่หลักของคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน รวมถึง<br />

1. แนะนำและเสนอคณะกรรมการเพื่ออนุมัติกรอบกำหนดในการจายคาตอบแทนและกำหนดรูปแบบการจายคาตอบแทน รวมถึง เงินรางวัล<br />

ประจำป/พิเศษ (โบนัส) คาเบี้ยตางๆ และคาตอบแทนในรูปแบบอื่นๆ ที่ใหแก<br />

l กรรมการซึ่งจะตองไดรับการอนุมัติจากผูถือหุนตอไป<br />

l กรรมการชุดยอยตางๆ ที่จัดตั้งโดยคณะกรรมการ<br />

2. แนะนำและเสนอคณะกรรมการเพื่อขออนุมัติกรอบกำหนดในการจายคาตอบแทนและกำหนดรูปแบบการจายคาตอบแทน ซึ่งประกอบดวย<br />

เงินรางวัลประจำป/พิเศษ (โบนัส) เงินเดือน และคาตอบแทนในรูปแบบอื่นๆ ที่ใหแก<br />

l กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร<br />

l ผูบริหารที่อยูในลำดับรองลงมาจากกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร<br />

3. ประเมินผลการปฏิบัติงานรายปและรายงานผลการประเมินของบุคคลดังตอไปนี้แกคณะกรรมการ<br />

l กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร<br />

l ผูบริหารที่อยูในลำดับรองลงมาจากกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร<br />

4. พิจารณางบประมาณประจำปของบริษัทฯ เกี่ยวกับคาตอบแทน และเสนอตอคณะกรรมการเพื่ออนุมัติ<br />

5. ติดตามและประเมินคาตอบแทนสำหรับกรรมการและผูบริหารโดยคำนึงถึงปจจัยตางๆ ตามที่จะกลาวตอไปดานลางนี้ อีกทั้งรายงานกิจกรรม<br />

ตางๆ ของคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน ใหคณะกรรมการรับทราบในการประชุมคณะกรรมการในครั้งถัดไป<br />

l ระดับคาตอบแทนควรมีความเหมาะสมที่จะดึงดูด รักษา และจูงใจกรรมการและผูบริหารในการผลักดันและบริหารบริษัทฯ ใหประสบผล<br />

สำเร็จ<br />

204 รายงานประจำป 2553


l เงื่อนไขในการจายผลตอบแทนและการวาจางควรอยูในระดับที่สามารถแขงขันไดกับบริษัทที่มีขนาดใกลเคียงกันในอุตสาหกรรมเดียวกัน<br />

ในป 2552 Mercer (<strong>Thai</strong>land) Ltd. และ Development Dimension International, Inc (DDI) ไดรับการวาจางใหจัดทำนโยบายคาตอบแทนของ<br />

บริษัทฯ ใหม โดยขอบเขตในการทำงานดังกลาวนั้นประกอบดวย การพัฒนาการจัดลำดับชั้นงาน (job grade) สำหรับทุกตำแหนงงาน การเปรียบ<br />

เทียบโครงสรางเงินเดือนปจจุบัน และการพัฒนาเครื่องมือในการวัดผลการปฏิบัติงาน ซึ่งจากขอมูลเหลานี้ กลุมทรัพยากรบุคคลจะไดนำมาใชจัดทำ<br />

แผนการใหผลตอบแทนเงินเดือนของพนักงานในลำดับชั้นงานทั้งหมด และเครื่องมือประเมินผลการทำงานทั้งในระยะสั้นและระยะกลางเพื่อเสนอ<br />

อนุมัติตอคณะกรรมการตอไป<br />

หลักการสำคัญดังตอไปนี้ไดถูกนำมาปฏิบัติ<br />

1. โครงสรางคาตอบแทนควรจะสะทอนระบบการใหรางวัลที่ยุติธรรม<br />

2. องคประกอบสำคัญๆ ในการพิจารณาคาตอบแทนจะนำมาเชื่อมโยงกับความสำเร็จในการบรรลุเปาหมายของการปฏิบัติงาน ซึ่งรวมถึงการนำ<br />

ผลตอบแทนในสวนของผูถือหุนเชื่อมโยงกับผลประโยชนตอบแทนของผูบริหารและผูถือหุน<br />

3. การประเมินผลการปฏิบัติงานจะทำทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ตามดัชนีวัดผลการปฏิบัติงาน และความสามารถที่กำหนด<br />

4. นโยบายและแนวทางการใหคาตอบแทนจะโปรงใสมากที่สุดเทาที่ทำไดทั้งกับผูที่มีสวนเกี่ยวของและผูถือหุน<br />

ทั้งนี้ นโยบายคาตอบแทนใหมของบริษัทฯ เริ่มมีผลบังคับใชตั้งแตรอบปบัญชี 2553 เปนตนไป<br />

คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนไดศึกษาวิเคราะหขอมูลในตลาด เพื่อประกอบการพิจารณากำหนดระดับการปรับเงินเดือนและผลประโยชน<br />

ตอบแทนปะจำป ในการพิจารณาการจายเงินรางวัลประจำป (โบนัส) ใหกับบุคคลากรเปนรายบุคคลในแตละป คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน<br />

จะทบทวนความสำเร็จของบริษัทฯ และผลการดำเนินงานของคูแขงธุรกิจอยางรอบคอบ<br />

คาตอบแทนของผูบริหารจะประกอบไปดวยเงินเดือน เงินรางวัลประจำป (โบนัส) และผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว (เชน โครงการรวมลงทุน<br />

ระหวางนายจางและลูกจาง (Employee Joint Investment program หรือ EJIP)) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และผลประโยชนอื่นๆ<br />

คณะกรรมการกำหนดระดับเงินคาตอบแทนของกรรมการที่ไมเปนผูบริหารทั้งหมด ใหอยูภายใตขีดจำกัดที่ผูถือหุนใหความเห็นชอบ จาก<br />

แนวทางของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีในการกำหนดคาตอบแทนกรรมการ ฉบับเดือนกันยายน 2549<br />

คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนไดปรับปรุงแผนการใหผลตอบแทนใหกับกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร โดยประกอบดวย คาตอบแทนรายเดือน<br />

คาเบี้ยประชุม และเงินรางวัลประจำป (โบนัส) เมื่ออัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนของผูถือหุนเกินรอยละ 15 ซึ่งขอเสนอนี้ไดรับการอนุมัติจาก<br />

ผูถือหุนแลว ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2554 คณะกรรมการเสนอใหมีการแกไขเปลี่ยนแปลงนโยบายการจายคาตอบแทนใหกับ<br />

กรรมการฉบับปจจุบัน โดยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงสามารถดูไดจากหัวขอ (ซ) คาตอบแทน<br />

(ค.4) คณะกรรมการสรรหา<br />

คณะกรรมการสรรหา ประกอบดวย นายสตีเฟน ฟอรดแฮม (ประธานกรรมการสรรหา) ดร. พิชิต นิธิวาสิน ดร. ศิริ การเจริญดี และนายศักดิ์<br />

เอื้อชูเกียรติ ซึ่งคณะกรรมการสรรหาเปนกรรมการอิสระทั้งสิ้น คณะกรรมการสรรหามีการประชุมทั ้งสิ้น 5 ครั้ง ในป 2553<br />

หนาที่หลักของคณะกรรมการสรรหา ไดแก<br />

1. กำหนดกระบวนการและเกณฑในการสรรหาและคุณสมบัติของผูที่ไดรับการเสนอชื่อรับการคัดเลือกตามโครงสราง ขนาด และองคประกอบ<br />

ของคณะกรรมการตามที่ไดกำหนดไว<br />

2. ทบทวนและเสนอคำแนะนำตอคณะกรรมการเกี่ยวกับผูที่ไดรับการเสนอชื่อเขารับเลือก (ไมวาจะโดยคณะกรรมการ ผูถือหุน หรืออื่นๆ)<br />

เพื่อการแตงตั้งเปนคณะกรรมการ โดยพิจารณาถึงประวัติ อายุ ความรู ประสบการณ ศักยภาพ จำนวนครั้งที่ไดเคยดำรงตำแหนงใน<br />

คณะกรรมการ และปจจัยอื่นที่เกี่ยวของ<br />

3. เสนอและใหคำแนะนำตอคณะกรรมการในการแตงตั้งกรรมการใหมเมื่อมีกรรมการครบวาระ หรือเสนอใหแตงตั้งกรรมการคนเดิมใหกลับมา<br />

ดำรงตำแหนงอีกครั้งในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำปของบริษัทฯ โดยคำนึงถึงการมีสวนรวมในการทำงานและผลการทำงานของ<br />

กรรมการ เชน การเขาประชุม ความพรอม และความรวมมือ<br />

4. ประเมินรายปวากรรมการอิสระยังคงมีความเปนอิสระหรือไม หรือกรรมการอิสระคนใหมไดมีคุณสมบัติเปนไปตามกฎหมายและกฏเกณฑ<br />

ตางๆ ที่เกี่ยวของหรือไม<br />

5. เสนอขอมูลเพื่อใหผูถือหุนไดรับขอมูลเพียงพอเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวการเสนอกรรมการที่ครบวาระใหกลับมาดำรงตำแหนงกรรมการ<br />

อีกวาระหนึ่ง<br />

6. ระบุและเสนอชื่อผูเขารับคัดเลือกเพื่อรับการอนุมัติจากคณะกรรมการ เพื่อเขารับหนาที่แทนตำแหนงที่วางในคณะกรรมการและคณะกรรมการ<br />

ชุดยอย<br />

7. ทบทวนผูที่เขารับการคัดเลือกดำรงตำแหนงประธานกรรมการหรือกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารของบริษัทฯ<br />

8. ทบทวน และใหคำเสนอแนะตอคณะกรรมการเกี่ยวกับโครงสราง ขนาด องคประกอบและความสามารถหลักของคณะกรรมการ โดยคำนึงถึง<br />

ความสมดุลระหวางกรรมการที่เปนผูบริหารและกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร และระหวางกรรมการอิสระและกรรมการที่ไมเปนอิสระ<br />

โดยคำนึงถึงหลักการการกำกับดูแลกิจการตลอดเวลา โดยทบทวนอยางนอย 1 ครั้งทุกๆ รอบปบัญชี<br />

รายงานประจำป 2553<br />

205


9. จัดหากรรมการใหไดอยางนอยหนึ่งในสามของคณะกรรมการใหเปนกรรมการอิสระ หรือมีจำนวนขั้นต่ำตามสัดสวนหรือเกณฑอื่นๆ ตามที่กฎ<br />

หมายหรือกฏเกณฑที่เกี่ยวของกำหนดไว<br />

10. ประธานกรรมการเปนผูรายงานผลจากการประเมินผลงานของคณะกรรมการ โดยการรวมปรึกษาหารือกับคณะกรรมการสรรหา รวมทั้งในกรณี<br />

เสนอชื่อสมาชิกใหมที่สมควรเขารับการดำรงตำแหนงในคณะกรรมการ<br />

11. สนับสนุนชองทางสำหรับผูถือหุนรายยอยในการเสนอชื่อผูเขารับคัดเลือกเปนกรรมการของบริษัทฯ<br />

คณะกรรมการไดทำแผนการสืบทอดงาน (succession planning) อยางเปนระบบ เพื่อใหโครงสรางของคณะกรรมการที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม<br />

ไมกระทบตอประสิทธิภาพในการดำเนินงาน จากการสรรหากรรมการที่จะมาเขามามีสวนรวมในกลยุทธการเติบโตทางธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ<br />

ไดพิจารณาเสนอชื่อ นายอัศวิน คงสิริ เปนกรรมการอิสระตอที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2552 และไดรับความเห็นชอบจากผูถือหุน<br />

นายปเตอร สโตคส ไดเขามารวมงานกับคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 สำหรับในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2554<br />

คณะกรรมการสรรหาไดเสนอให ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต ดร. พิชิต นิธิวาสิน และนายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ กลับเขาดำรงตำแหนงกรรมการของ<br />

บริษัทฯ อีกวาระหนึ่ง และเสนอใหแตงตั้งนายออรัล ดับบลิว ดอว เขาดำรงตำแหนงเปนกรรมการแทนตำแหนงกรรมการที่วางลงจากการ<br />

ถึงแกกรรมของ ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553<br />

เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เนื่องดวยคณะกรรมการมีการอนุมัติใหคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและคณะกรรมการสรรหารวมกัน<br />

เปนหนึ่งคณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการจึงเสนอใหมีการรวมคาตอบแทนของคณะกรรมการชุดยอยสองชุดนี้เขาดวยกัน ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลง<br />

คาตอบแทนกรรมการชุดยอยนี้ขึ้นอยูกับการอนุมัติในที่ประชุมสามัญประจำปผูถือหุนป 2554 โดยรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงสามารถดูไดจาก<br />

หัวขอ (ซ) คาตอบแทน<br />

(ค.5) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง<br />

คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ในที่ประชุมคณะกรรมการวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 และ<br />

ในการประชุมคณะกรรมการ ในวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553 คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติกฎบัตรของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดย<br />

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จะประกอบดวยสมาชิกอยางนอย 4 คนที่มาจากคณะกรรมการและคณะผูบริหารของบริษัทฯ โดยจะมาจาก<br />

กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร 1 คน และสมาชิกที่เหลือจะประกอบไปดวยกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร ผูชวยกรรมการ<br />

ผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน และ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบริหารความเสี่ยงและการกำกับดูแล<br />

หนาที่หลักของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง<br />

1. ทบทวนประสิทธิภาพของระบบการจัดการความเสี่ยงขององคกรภายในกลุมบริษัทฯ เพื่อใหมั่นใจไดวาสามารถระบุปจจัยความเสี่ยงที่สำคัญได<br />

อยางครบถวน และมีกระบวนการจัดการความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการกำหนดและปรับปรุงนโยบายของกลุมบริษัทฯ อยางเหมาะสม<br />

2. ประเมินประสิทธิภาพและความเพียงพอของการบริหารจัดการ การดำเนินงาน และการควบคุมบัญชีที่ใชในกลุมบริษัทฯ<br />

3. ทบทวนความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดขึ้นจริงและอาจเกิดขึ้นในอนาคต<br />

4. สงเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติตามแผนงานความเสี่ยงของกลุมบริษัทฯ<br />

5. ติดตามการดำเนินงานตามแผนงานบริหารความเสี่ยงของหนวยงานตางๆ<br />

6. ทบทวนกระบวนการวางแผนสำรองฉุกเฉินภายในกลุมบริษัทฯ เพื่อใหมั่นใจวามีการกำหนดปจจัยความเสี่ยงที่สำคัญ พรอมทั้งแผนบรรเทา<br />

ความเสี่ยงอยางเหมาะสม<br />

7. ทำงานรวมกันกับคณะกรรมการตรวจสอบ โดยจะมีการใหขอมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่อาจจะมีผลกระทบกับธุรกิจของ<br />

บริษัทฯ<br />

8. ตัดสินใจและใหขอเสนอแนะในประเด็นสำคัญที่ไดรับจากกระบวนการบริหารความเสี่ยง<br />

เนื่องจากเพิ่งมีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จึงยังไมมีการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในป 2553<br />

(ค.6) คณะกรรมการการลงทุน<br />

ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 คณะกรรมการอนุมัติใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการการลงทุน โดยคณะ<br />

กรรมการการลงทุน จะประกอบดวยสมาชิกอยางนอย 5 คนที่มาจากคณะกรรมการและคณะผูบริหารของบริษัทฯ ซึ่งกรรมการ 2 คน จะมาจาก<br />

คณะกรรมการผูที่มีความรูและประสบการณในโครงการลงทุนที่มีการเสนอ โดยจะไดรับการแตงตั้งจากประธานกรรมการในแตละโครงการที่เสนอ<br />

สมาชิกที่เหลือจะประกอบไปดวย กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมบัญชีและการเงิน และ<br />

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญกลุมกลยุทธ<br />

หนาที่หลักของคณะกรรมการการลงทุน ไดแก<br />

1. ทบทวนและประเมินเกี่ยวกับการลงทุนที่จะนำเสนอตอคณะกรรมการ<br />

2. ใหคำแนะนำแกคณะผูบริหารในการวิเคราะหและจัดโครงสรางของโครงการลงทุนที่จะนำเสนอ กอนสงใหคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติ<br />

ในป 2553 มีการประชุมคณะกรรมการการลงทุนเกี่ยวกับการลงทุนตางๆ จำนวน 3 ครั้ง<br />

206 รายงานประจำป 2553


(ง) ผลประโยชนที่ขัดแยง<br />

(ง.1) ธุรกรรมที่อาจทำใหเกิดผลประโยชนที่ขัดแยงและธุรกรรมระหวางบริษัทฯ<br />

คณะกรรมการเขาใจวาธุรกรรมที่อาจนำไปสูการขัดแยงทางผลประโยชน และ/หรือธุรกรรมกับคูสัญญาที่เกี่ยวของ จะตองไดรับการพิจารณา<br />

อยางรอบคอบเพื่อใหเปนไปตามกฎและระเบียบที่เกี่ยวของของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและนโยบายตลอดจนแนวทางภายในของ<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ ธุรกรรมดังกลาวจะตองทำในลักษณะเสมือนทำรายการกับบุคคลภายนอกที่ไมมี<br />

ความสัมพันธกับบริษัทฯ อยางเครงครัด และดำเนินการโดยใหเกิดประโยชนอยางเต็มที่กับบริษัทฯ และผูถือหุนทั้งหมด ขอกำหนดและเงื่อนไขของ<br />

ธุรกรรมดังกลาวจะตองเปนไปตามขอกำหนดและเงื ่อนไขตามมาตรฐานทางการคาที่ยอมรับกันทั่วไปเสมอ บันทึกที่เกี่ยวกับธุรกรรมดังกลาวทั้งหมด<br />

จะตองนำสงคณะกรรมการเพื่อพิจารณาระหวางการประชุม ซึ่งจะมีกรรมการอิสระและสมาชิกคณะกรรมการตรวจสอบเขารวมประชุมอยูดวย<br />

ในป 2552 บริษัทฯ ไดกำหนดใหกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ สงรายงานการมีสวนไดเสียซึ่งมีเนื้อหาสรุปเกี่ยวกับการถือครองหุนและการเปน<br />

กรรมการในบริษัทอื่นของกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ และของบุคคลที่เกี่ยวของกับกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ ซึ่งขอมูลนี้จะถูกเก็บไว<br />

กับบริษัทฯ เพื่อติดตามรายการเกี่ยวโยงหรือรายการกับบุคคลที่เกี่ยวของที่อาจเกิดขึ้น กรรมการและผูบริหารอาวุโสที่เขาใหมของบริษัทฯ จะสง<br />

รายงานนี้ภายใน 30 วันหลังจากวันที่ไดรับการแตงตั้ง<br />

ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงของบุคคลเกี่ยวโยงและญาติสนิท กรรมการและผูบริหารจะสงรายงานที่แกไขใหมใหบริษัทฯ ภายใน 14 วันหลังจาก<br />

วันที่มีการเปลี่ยนแปลง<br />

คณะกรรมการยังคอยดูแลติดตามการปฏิบัติตามระเบียบวาดวยเกณฑ วิธีการ และการเปดเผยธุรกรรมดังกลาวดวย บริษัทฯ มีนโยบายที่จะ<br />

เปดเผยขอมูลของธุรกรรมดังกลาวอยางละเอียด ซึ่งรวมถึงจำนวนเงิน คูสัญญาในธุรกรรม เหตุผลของการทำธุรกรรม และความจำเปนของ<br />

ธุรกรรมในรายงานประจำปของบริษัทฯ และในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่เกี่ยวของ<br />

บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปองกันไมใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานใชสถานภาพของตนเพื่อหาผลประโยชนสวนตัว ดังนั้น กรรมการ ผูบริหาร และ<br />

พนักงานจะตองละเวนจากการทำธุรกรรมที่เกี่ยวเนื่องใดๆ ที่อาจนำไปสูการขัดแยงทางผลประโยชนกับบริษัทฯ นอกจากนี้ กรรมการ ผูบริหาร และ<br />

พนักงานใดที่มีสวนไดเสียจะไมไดรับอนุญาตใหเขารวมในกระบวนการตัดสินใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งกรรมการจะถูกหามไมใหพิจารณาหรือลง<br />

คะแนนเสียงในเรื่องที่อาจมีการขัดกันระหวางผลประโยชนของกรรมการเหลานั้นกับบริษัทฯ<br />

คณะกรรมการและฝายบริหารยังไดเนนย้ำการพิจารณาธุรกรรมระหวางบริษัท ซึ่งหมายถึงธุรกรรมระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย อยางรอบคอบ<br />

และไมมีอคติ<br />

(ง.2) การกำกับดูแลการใชขอมูลภายใน<br />

คณะกรรมการหามกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานไมใหใชโอกาสหรือขอมูลที่ไดรับขณะทำงานในตำแหนงของตนเพื่อหาผลประโยชนสวนตัว<br />

หรือเพื่อจัดตั้งธุรกิจที่แขงหรือเกี่ยวของกับธุรกิจของ บริษัทฯ ซึ่งรวมถึงการหามใชขอมูลภายในที่สำคัญเพื่อซื้อหรือขายหุนและหลักทรัพยของ<br />

บริษัทฯ เพื่อผลประโยชนของบุคคลเหลานั้นอยางเด็ดขาด และหามการใหขอมูลภายในแกบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นเพื่อซื้อหรือขายหุนและ<br />

หลักทรัพยของบริษัทฯ<br />

กรรมการและผูบริหารจะตองรายงานธุรกรรมการซื้อขายหุนและหลักทรัพยของบริษัทฯ และฐานะการถือครองหุนของตนทุกครั้งเมื่อมีการ<br />

เปลี ่ยนแปลง คณะกรรมการมีนโยบายหามมิใหกรรมการและผูบริหารอาวุโสทุกคนซื้อขายหุนและหลักทรัพยของบริษัทฯ ในชวง 3 สัปดาหกอน<br />

การเปดเผยผลการดำเนินงานทางการเงินรายไตรมาสและรายปของบริษัทฯ ขอหามนี้ใชบังคับกับนิติบุคคลที่กรรมการของบริษัทฯ มีสวนไดเสียที่<br />

เปนประโยชน นิติบุคคลที่วาจางกรรมการของบริษัทฯ หรือที่กรรมการของบริษัทฯ ทำการเปนตัวแทน<br />

(จ) การควบคุมภายใน<br />

บริษัทฯ ใหความสำคัญอยางยิ่งตอระบบการควบคุมภายใน เพื่อสรางความมั่นใจตอประสิทธิภาพในการบริหารและการปฏิบัติงานในทุกระดับ<br />

บริษัทฯ ไดกำหนดและแบงแยกหนาที่ ความรับผิดชอบ รวมถึงอำนาจบริหารไวเปนลายลักษณอักษร นอกจากนี้ แผนกตรวจสอบภายใน ซึ่งเปน<br />

หนวยงานอิสระที่รายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ ยังชวยคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประเมินความเพียงพอ<br />

ของระบบการควบคุมภายใน ประเด็นทางดานการบัญชีการเงิน การปฏิบัติตามระบบและระเบียบขอบังคับตางๆ รวมถึงนโยบายและขั้นตอน<br />

การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจและความเสี่ยงทางการเงินอีกดวย ทั้งนี้สำหรับการควบคุมภายใน<br />

บริษัทฯ ใหความสำคัญใน 5 องคประกอบหลักเกี่ยวกับการควบคุมภายใน ดังตอไปนี้<br />

1. องคกรและสภาพแวดลอม<br />

บริษัทฯ ไดจัดโครงสรางองคกรอยางเหมาะสม เพื่อเอื้ออำนวยใหฝายบริหารสามารถดำเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และบริษัทฯ ไดมีการ<br />

กำหนดเปาหมายการดำเนินธุรกิจเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของพนักงาน และใชในการติดตามผล เนื่องจากบริษัทฯ ตระหนักเปน<br />

อยางดีวาการทำงานภายใตสภาพแวดลอมการควบคุมที่เหมาะสมนั้นจะสงใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล<br />

รายงานประจำป 2553<br />

207


2. การบริหารความเสี่ยง<br />

คณะผูบริหารของบริษัทฯ ทบทวนนโยบายและแผนทางดานความเสี่ยง คณะผูบริหารและพนักงานทุกคนไดรับการสนับสนุนใหตระหนักถึง<br />

ความสำคัญของความเสี่ยง และความสำคัญในการบริหารความเสี่ยง ซึ่งจะทำใหทุกคนมีการเตรียมตัวที่จะลด หรือ แกไขความเสี่ยงที่เกิดขึ้น<br />

ไดอยางเหมาะสมและทันเวลา บริษัทฯ สงเสริมใหทุกคนมีพฤติกรรมที่ตระหนักตอความเสี่ยง ซึ่งหมายความวาการบริหารความเสี่ยงนั้น<br />

เปนความรับผิดชอบของทุกคน โครงสรางการบริหารความเสี่ยงไดสรางขึ้นอยางมีแบบแผน มาตรการและแผนการบริหารความเสี่ยงกำหนด<br />

จากปจจัยความเสี่ยงทั้งภายในและภายนอกที่อาจจะสงผลกระทบตอธุรกิจ เปาหมาย และการดำเนินงานของบริษัทฯ ที่ไดประเมินไว ยิ่งไป<br />

กวานั้น บริษัทฯ กำหนดรายงานและการติดตามการบริหารความเสี่ยงเพื่อใหมีการตอบรับที่รวดเร็วและเหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงที่<br />

เกิดขึ้น แผนการติดตามการบริหารความเสี่ยงสำหรับกลุมธุรกิจหลายๆ กลุมภายใตบริษัทฯ มีการทบทวนอยางรอบคอบกอนจะเสนอ<br />

รายงานใหกับคณะกรรมการทุกไตรมาส<br />

3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร<br />

บริษัทฯ ไดกำหนดอำนาจและระดับการอนุมัติในแตละแผนกไว และไดทำการติดตามตรวจสอบอยางสม่ำเสมอ กรณีที่บริษัทฯ มีการทำ<br />

ธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหารหรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว บริษัทฯ จะปฏิบัติตามประกาศของตลาดหลักทรัพย<br />

แหงประเทศไทยเรื่องหลักเกณฑ วิธีการ และการเปดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดใหความสำคัญ<br />

ตอระบบควบคุมภายในระดับปฏิบัติงานเพื่อใหการดำเนินงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดดำเนินการเพื่อกำหนดอำนาจ หนาที่ใน<br />

การดำเนินงานของผูปฏิบัติงาน ผูบริหาร ไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน มีการกำหนดระดับการควบคุมและบำรุงดูแลรักษาการใชทรัพย<br />

สินของบริษัทฯ อยางเหมาะสม และขณะนี้ บริษัทฯ อยูในระหวางการกำหนดและแบงแยกหนาที่ระหวางฝายปฏิบัติการ ฝายควบคุมและ<br />

ฝายประเมินผลออกจากกันใหชัดเจน เพื่อรักษาไวซึ่งการถวงดุลและตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสม นอกจากนี้ ยังมีการควบคุมภายในที่<br />

เกี่ยวของกับทางการเงินและบัญชี โดยบริษัทฯ ไดจัดใหมีระบบรายงานที่ชัดเจนและเพียงพอเสนอตอฝายบริหารที่เกี่ยวของ<br />

4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล<br />

ระบบสารสนเทศไดรับการพัฒนา เพื่อประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ และตอบสนองความตองการของฝายบริหาร บริษัทฯ ยังใหความสำคัญ<br />

เกี่ยวกับความถูกตอง เชื่อถือไดและทันเวลาของขอมูลสารสนเทศ รวมถึงการสื่อสารขอมูล ทั้งนี้วัตถุประสงคเบื้องตนก็เพื่อความถูกตอง<br />

และทันเวลาของขอมูลที่จะนำมาใชประกอบการตัดสินใจโดยบริษัทฯ ไดลงทุนเพื่อสรางระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพทั้งจากภายในและ<br />

ภายนอกบริษัทฯ การบันทึกบัญชีเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และมีการบันทึกขอมูลใหเปนปจจุบันอยางสม่ำเสมอ เอกสาร<br />

ซึ่งประกอบดวยขอมูลที่เพียงพอตอการตัดสินใจสำหรับการประชุมผูถือหุนและการประชุมคณะกรรมการไดถูกจัดสงแกผูถือหุนและ<br />

คณะกรรมการลวงหนากอนการประชุม<br />

5. ระบบการติดตาม<br />

จากระบบขอมูลในปจจุบันที่สามารถใหขอมูลที่เชื่อถือไดและทันเวลา ทำใหฝายบริหารและคณะกรรมการบริษัทฯ สามารถควบคุมและติดตาม<br />

ผลการดำเนินงาน ผานรายงานทางการเงินไดอยางมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันก็สามารถสอบทาน ประเมิน และใหคำแนะนำเพื่อปรับปรุง<br />

แผนธุรกิจผานกระบวนการกำกับดูแลที่แผนกตรวจสอบภายในทำการตรวจสอบการปฏิบัติการอยางตอเนื่องตลอดทั้งป<br />

ทั้งนี้แผนกตรวจสอบภายในไดดำเนินการตรวจสอบระบบควบคุมภายในอยางสม่ำเสมอ ตามแผนงานการตรวจสอบประจำป และรายงานผล<br />

การตรวจสอบแกคณะกรรมการตรวจสอบ ณ ปจจุบัน ยังไมพบขอบกพรองที่เปนสาระสำคัญ แตไดใหความเห็นในการปรับปรุงระบบการ<br />

ควบคุมภายในบางจุดที่ไดตรวจพบ โดยแผนกตรวจสอบภายในของบริษัทฯ มีหนาที่สอบทานเพื่อใหมั่นใจวาการปฏิบัติงานหลักและกิจกรรม<br />

ทางการเงินที่สำคัญของบริษัทฯ ไดดำเนินการอยางมีประสิทธิภาพและเปนไปตามกฎหมายภายใตแนวทางที่กำหนด<br />

(ฉ) ที่ประชุมคณะกรรมการ<br />

โดยทั่วไป คณะกรรมการจะตองประชุมกันอยางนอย 4 ครั้งตอป การประชุมพิเศษจะจัดขึ้นตามความจำเปนเพื่อแกไขปญหาเฉพาะอยาง<br />

ในป 2553 คณะกรรมการประชุมทั้งหมด 7 ครั้ง วาระการประชุมหลัก ไดแก พิจารณาทิศทางเชิงกลยุทธของบริษัทฯ แผนธุรกิจและงบประจำป<br />

รายงานการเงินรายไตรมาส และการเขาซื้อและจำหนายสินทรัพยที่สำคัญ โดยปกติเลขานุการบริษัทจะเปนผูจัดเตรียมและสงวาระการประชุม<br />

อยางนอย 7 วันกอนการประชุมแตละครั้งและจัดสงเอกสารที่เกี่ยวของอยางนอย 7 วันกอนการประชุมแตละครั้ง เพื่อใหกรรมการมีเวลาพิจารณา<br />

ประเด็นการประชุม<br />

เลขานุการบริษัทจะจดบันทึกการประชุม ซึ่งจะสงใหกับกรรมการภายใน 14 วันหลังวันประชุม รายงานการประชุมจะไดรับการลงมติในการประชุม<br />

ครั้งตอไป และเก็บใหกรรมการและบุคคลที่เกี่ยวของอื่นๆ ตรวจสอบตอไป<br />

คณะกรรมการกำหนดใหสมาชิกทุกคนอุทิศเวลาอยางเพียงพอใหกับงานของคณะกรรมการ รับผิดชอบตอหนาที่ของกรรมการ และพยายาม<br />

อยางสุดความสามารถที่จะเขาประชุมคณะกรรมการทุกครั้ง รายละเอียดการเขาประชุมคณะกรรมการในป 2553 มีดังนี้<br />

208 รายงานประจำป 2553


ตารางที่ 43 : รายละเอียดการเขารวมประชุมของกรรมการในป 2553<br />

ที่ประชุมคณะกรรมการ ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ<br />

ที่ประชุม ที่ประชุม<br />

ชื่อ<br />

ที่ประชุม<br />

ปกติ<br />

ที่ประชุม<br />

เฉพาะกิจ รวม<br />

ที่ประชุม<br />

ปกติ<br />

ที่ประชุม<br />

เฉพาะกิจ รวม<br />

คณะกรรมการ<br />

กำหนดคาตอบแทน<br />

คณะกรรมการ<br />

สรรหา<br />

1. ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต (ถึงแกกรรม) 4/4 1/3 5/7 - - - - -<br />

2. นายอัศวิน คงสิริ 3/4 3/3 6/7 5/5 4/4 9/9 - -<br />

3. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต 4/4 3/3 7/7 - - - - -<br />

4. นายสตีเฟน ฟอรดแฮม 3/4 3/3 6/7 - - - - 5/5<br />

5. นางปรารถนา มงคลกุล 4/4 2/3 6/7 5/5 4/4 9/9 - -<br />

6. ดร. พิชิต นิธิวาสิน 3/4 3/3 6/7 - - - 5/5 5/5<br />

7. นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ 3/4 3/3 6/7 - - - 5/5 5/5<br />

8. ดร. ศิริ การเจริญดี 4/4 3/3 7/7 5/5 4/4 9/9 5/5 5/5<br />

9. นางโจอี้ ฮอรน 4/4 2/3 6/7 - - - - -<br />

10. นายปเตอร สโตคส* 2/2 1/1 3/3 - - - - -<br />

หมายเหตุ : *นายปเตอร สโตคส เขาดำรงตำแหนงกรรมการของบริษัทฯ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2553<br />

(ช) การประเมินของคณะกรรมการและการลาออกตามวาระ<br />

คณะกรรมการประกอบไปดวยกรรมการ 10 คน กรรมการอาจไดรับการเลือกตั้งซ้ำทุกๆ 3 ป กรรมการที่เปนผูบริหารมีสัญญาจางงานกับบริษัท<br />

โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

คณะกรรมการมีการปรับเปลี่ยนสมาชิกภายในคณะกรรมการอยางตอเนื่องและคอยเปนคอยไป โดยไมทำใหประสิทธิภาพในการทำงานดอยลง<br />

แตประการใด สมาชิกคณะกรรมการชุดใหมไดรับเชิญใหมาเขารวมเปนสมาชิกคณะกรรมการโดยคำนึงถึงองคประกอบหลายอยาง โดยสิ่งหนึ่งที่<br />

สำคัญคือความสามารถที่จะมีสวนรวมผลักดันกลยุทธการเติบโตทางธุรกิจของบริษัทฯ<br />

บริษัทฯ ไดกำหนดนโยบายวาดวยระยะเวลาในการดำรงตำแหนงของกรรมการ โดยกำหนดวากรรมการที่ไมเปนผูบริหารโดยทั่วไปไมควรดำรง<br />

ตำแหนงเกินกวา 10 ป หรือ 4 วาระ ไมวาจะตอเนื่องหรือไม เวนแตจะมีเหตุผลที่สมควรหลังพิจารณาความรับผิดชอบของบุคคลนั้น ตลอดจน<br />

การที่บุคคลดังกลาวมีสวนทำประโยชนตอใหบริษัทฯ ทั้งในอดีต ปจจุบัน และที่คาดการณในอนาคต<br />

คณะกรรมการไดมีการประเมินผลการทำงานของคณะกรรมการอยางเปนทางการสำหรับรอบปสิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553<br />

โดยประธานกรรมการสรรหาเปนผูดำเนินการสงแบบประเมินผลงานของคณะกรรมการใหแกกรรมการแตละคนโดยแบบฟอรมที่ตอบกลับ<br />

มาจะเก็บไวที่เลขานุการบริษัท<br />

ทั้งนี้ การประเมินแบงเปนเรื่องหลักๆ 6 ประเด็น ดังนี้<br />

1. โครงสรางและคุณลักษณะของคณะกรรมการ<br />

2. บทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการ<br />

3. การประชุมคณะกรรมการ<br />

4. ผลงานของคณะกรรมการ<br />

5. ความสัมพันธกับฝายบริหาร<br />

6. การพัฒนาสวนบุคคลของกรรมการ<br />

ผลการประเมินในภาพรวมในเรื่องขางตนดังกลาวนั้น สรุปไดวา มีการดำเนินการอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีบางเรื่องที่ควรมีการปรับปรุง เชน<br />

ระยะเวลาที่ใชในการติดตามการปฏิบัติตามจริยธรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ และการจัดตั้งแผนการสืบทอดงาน (succession plan) สำหรับผูบริหาร<br />

ระดับสูง<br />

(ซ) คาตอบแทน<br />

(ซ.1) คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร<br />

นโยบายของคณะกรรมการคือคาตอบแทนของกรรมการควรสะทอนหนาที่และความรับผิดชอบในการบรรลุเปาหมายที่คาดหวังของผูมีสวนไดเสีย<br />

ทั้งหมด นอกจากนี้ กรรมการยังตองมีประสบการณและคุณสมบัติที่เหมาะสมในการทำหนาที่ดังกลาว<br />

รายงานประจำป 2553<br />

209


คาตอบแทนของคณะกรรมการปจจุบัน ไดรับการเห็นชอบจากที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2552 คณะกรรมการยังไดกำหนดคาตอบแทนให<br />

กับผูบริหารอาวุโสจากคำแนะนำของคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน ซึ่งจำนวนเงินคาตอบแทนนี้จะพิจารณาจากความรับผิดชอบของผูบริหาร<br />

ดังกลาว ตลอดจนการมีสวนทำประโยชนของบุคคลดังกลาวตอบริษัทฯ ทั้งในอดีต ปจจุบัน และที่คาดการณในอนาคต และหากเปนไปได<br />

คาตอบแทนดังกลาวจะสะทอนระดับคาตอบแทนที่ใหกับผูบริหารอาวุโสในตลาดธุรกิจอยางเดียวกันกับบริษัทฯ<br />

(ซ.2) คาตอบแทนคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดยอย และเจาหนาที่บริหารอาวุโสในป 2553<br />

(ซ.2.1) คาตอบแทนที่เปนเงินสด<br />

คาตอบแทนของคณะกรรมการ<br />

ตามมติที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2552 ผูถือหุนของบริษัทฯ อนุมัติการจายคาตอบแทนสำหรับคณะกรรมการ มีรายละเอียดดังนี้<br />

l กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร จะไดรับคาตอบแทนรายเดือนในอัตราเดียวกับคาตอบแทนที่กำหนดในปปฏิทิน 2551 กรรมการจะไดรับเบี้ย<br />

ประชุมเปนเงินจำนวน 45,000 บาทตอครั้ง ประธานกรรมการจะไดรับเบี้ยประชุมเปนเงินจำนวน 54,000 บาทตอครั้ง (เทากับ 1.20 เทา<br />

ของเบี้ยประชุมของกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหารคนอื่นๆ)<br />

l ประธานกรรมการตรวจสอบ จะไดรับเบี้ยประชุม 48,000 บาทตอครั้ง (เทากับ 1.20 เทาของเบี้ยประชุมของกรรมการตรวจสอบคนอื่นๆ)<br />

ขณะที่กรรมการตรวจสอบคนอื่นๆ จะไดรับเบี้ยประชุม 40,000 บาทตอครั้ง<br />

l ประธานกรรมการกำหนดคาตอบแทน และประธานกรรมการสรรหาจะไดรับเบี้ยประชุม 18,000 บาทตอครั้ง (เทากับ 1.20 เทาของเบี้ยประชุม<br />

ของกรรมการกำหนดคาตอบแทนและกรรมการสรรหาคนอื่นๆ) ขณะที่กรรมการกำหนดคาตอบแทนและกรรมการสรรหาคนอื่นๆ จะไดรับเบี้ย<br />

ประชุม 15,000 บาทตอครั้ง<br />

l กรรมการที่เปนผูบริหารจะไมไดรับคาตอบแทนรายเดือนหรือคาตอบแทนในรูปแบบอื่นๆ<br />

l จายคาตอบแทนเพิ่มเติมใหแกกรรมการ ในรูปของเงินรางวัลประจำป (โบนัส) เพื่อวางแนวทางในการจายผลตอบแทนแกกรรมการให<br />

สอดคลองกับผูถือหุน โดยจะจายคาตอบแทนกรรมการในรูปของเงินรางวัลประจำป เมื่ออัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนของผูถือหุน* (parent<br />

shareholders funds) เกินรอยละ 15 โดยกรรมการที่ไมเปนผูบริหารจะไดรับเงินรางวัลประจำปในอัตรารอยละ 0.50 ของกำไรสุทธิของงบ<br />

การเงินรวมสวนที่เกินกวารอยละ15 ของผลตอบแทนเงินลงทุนของผูถือหุน และจะนำมาจัดสรรใหแกกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหารเทาๆ กัน<br />

หมายเหตุ : * ผลตอบแทนจากเงินลงทุนของผูถือหุน มาจาก<br />

กำไรสุทธิของงบการเงินรวม TTA - กำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง<br />

ทุนชำระแลว + สวนเกินมูลคาหุน + เงินสำรองตามกฎหมาย + กำไรสะสม<br />

ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2554 จะมีการเสนอแกไขคาตอบแทนของคณะกรรมการบางรายการดังนี้<br />

l กรรมการที่มิใชเปนกรรมการบริหารทั้ง 9 คน จะไดรับคาตอบแทนรายเดือนรวมทั้งสิ้น 430,000 บาท หากมีกรรมการที่มิใชเปนกรรมการบริหาร<br />

ไดรับแตงตั้งเพิ่มเติมเขามาใหม จะไดรับคาตอบแทนรายเดือนคนละ 35,000 บาท กรรมการที่มิใชเปนผูบริหารจะไดรับเบี้ยประชุมเปนเงิน<br />

จำนวน 45,000 บาทตอครั้ง ประธานกรรมการจะไดรับเบี้ยประชุมเปนเงินจำนวน 54,000 บาทตอครั้ง (เทากับ 1.20 เทา ของกรรมการ<br />

ที่มิใชเปนผูบริหารคนอื่นๆ)<br />

l กรรมการที่เปนชาวตางชาติจะไดรับเบี้ยเดินทางเมื่อเดินทางเขามาในประเทศไทยเพื่อเขารวมประชุมคณะกรรมการหรือคณะกรรมการชุดยอย<br />

ดังนี้<br />

- จากเอเชียมายังประเทศไทย : 500 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน<br />

- จากยุโรป/สหรัฐอเมริกาและทวีปอื่นๆ มายังประเทศไทย : 1,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอวัน<br />

l เนื่องดวย กรรมการสรรหาและกรรมการกำหนดคาตอบแทน รวมกันเปนหนึ่งกรรมการชุดยอย โดยมีผลนับตั้งแตวันที่ 26 พฤศจิกายน<br />

พ.ศ. 2553 คณะกรรมการจึงเสนอใหมีการรวมคาตอบแทนกรรมการชุดนี้เปนดังนี้<br />

- ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน จะไดรับเบี้ยประชุม 36,000 บาทตอครั้ง ซึ่งเทากับ 1.20 เทาของกรรมการสรรหาและ<br />

กำหนดคาตอบแทนคนอื่นๆ) กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทนคนอื่นๆ จะไดรับเบี้ยประชุมจากการเขารวมประชุม 30,000 บาท<br />

ตอครั้ง<br />

- ประธานกรรมการการลงทุน และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง จะไดรับเบี้ยประชุม 18,000 บาทตอครั้ง ซึ่งเทากับ 1.20 เทาของ<br />

กรรมการการลงทุน และกรรมการบริหารความเสี่ยงคนอื่นๆ) กรรมการการลงทุน และกรรมการบริหารความเสี่ยงคนอื่นๆ จะไดรับเบี้ย<br />

ประชุมจากการเขารวมประชุม 15,000 บาทตอครั้ง<br />

นโยบายคาตอบแทนในรูปแบบเงินรางวัลประจำป (โบนัส) สำหรับคณะกรรมการยังไมมีการเปลี่ยนแปลง<br />

210 รายงานประจำป 2553


รายละเอียดคาตอบแทนและเงินรางวัลประจำป (โบนัส) ทั้งหมดปรากฏตามตารางดานลางนี้<br />

ตารางที่ 44 : คาตอบแทนและเงินรางวัลประจำป (โบนัส) ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอยในรอบปบัญชี 2553<br />

หนวย : บาท<br />

คณะกรรมการ เบี้ยประชุม<br />

คาตอบแทน<br />

มาตรฐาน*<br />

คณะกรรมการ<br />

ตรวจสอบ<br />

คณะกรรมการ<br />

กำหนด<br />

คาตอบแทน<br />

คณะกรรมการ<br />

สรรหา<br />

รวม<br />

(คาตอบแทน<br />

มาตรฐาน<br />

และเบี้ยประชุม)<br />

ชื่อ<br />

โบนัส คณะกรรมการ<br />

1. ม.ร.ว. จันทรแรมศิริโชค จันทรทัต 3,360,000 - 270,000 - - - 3,630,000<br />

(ถึงแกกรรม)<br />

2. นายอัศวิน คงสิริ 420,000 - 270,000 360,000 - - 1,050,000<br />

3. ม.ล. จันทรจุฑา จันทรทัต - - - - - - -<br />

4. นายสตีเฟน ฟอรดแฮม 420,000 - 270,000 - - 90,000 780,000<br />

5. นางปรารถนา มงคลกุล 420,000 - 270,000 432,000 - - 1,122,000<br />

6. ดร. พิชิต นิธิวาสิน 420,000 - 270,000 - 90,000 75,000 855,000<br />

7. นายศักดิ์ เอื้อชูเกียรติ 420,000 - 270,000 - 75,000 75,000 840,000<br />

8. ดร. ศิริ การเจริญดี 420,000 - 315,000 360,000 75,000 75,000 1,245,000<br />

9. นางโจอี้ ฮอรน 420,000 - 270,000 - - - 690,000<br />

10. นายปเตอร สโตคส** 159,833 - 135,000 - - - 294,833<br />

รวม 6,459,833 - 2,340,000 1,152,000 240,000 315,000 10,506,833<br />

หมายเหตุ : *คาตอบแทนมาตรฐานสำหรับกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหารเปนอัตราเดียวกันกับคาตอบแทนที่กำหนดในปปฏิทิน 2552<br />

** นายปเตอร สโตคส เขาดำรงตำแหนงกรรมการของบริษัทฯ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2553<br />

l คาตอบแทนกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารและผูบริหารที่รายงานตรงตอกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่<br />

บริหาร รวมทั้งสิ้น 8 คน เปนเงินรวมทั้งสิ้น 71.94 ลานบาท ซึ่งคาตอบแทนนี้ไดรวมเงินเดือน เงินรางวัลประจำป (โบนัส) และเบี้ยเลี้ยงไวแลว<br />

(ซ.2.2) คาตอบแทนอื่น<br />

เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่บริษัทฯ จายใหกับกรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารและผูบริหารที่รายงานตรงตอกรรมการ<br />

ผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหาร รวม 8 คน มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 4.74 ลานบาท<br />

นอกจากนี้ คณะผูบริหารของบริษัทฯ ไดรับสิทธิ์ในการเขารวมโครงการรวมลงทุนระหวางนายจางและลูกจาง (Employee Joint Investment<br />

program หรือ EJIP) ตามที่คณะกรรมการไดอนุมัติในการประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 2/2553 เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ในชวง<br />

ระหวางวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 บริษัทฯ จะหักเงินเดือนของผูที่มีสิทธิ์เขารวมโครงการและผูที่อาสาสมัครเขารวม<br />

โครงการในอัตรารอยละ 4 จากเงินเดือน ทุกๆ เดือน บริษัทฯ จะสมทบรอยละ 7 ของเงินเดือน ยอดรวมของเงินสะสมจะนำไปซื้อหุนของบริษัทฯ<br />

ทุกๆ สิ้นเดือน ในรอบปบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 บริษัทฯ จายเงิน 2.56 ลานบาทใหกับผูบริหารที่ไดสิทธิ์เขารวมโครงการและ<br />

ซื้อหุนบริษัทฯ จำนวน 167,624 หุนภายใตโครงการ EJIP<br />

(ฌ) การปฐมนิเทศและการพัฒนากรรมการ<br />

กรรมการผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารจะเปนผูจัดการปฐมนิเทศใหกับสมาชิกใหมของคณะกรรมการ ในการประชุมดังกลาว จะมีการ<br />

ชี้แจงนโยบายของบริษัทฯ และธุรกิจหลักๆ รวมทั้งขอบังคับบริษัทฯ การนำเสนอขอมูลของบริษัทฯ (presentations) ลาสุด ตลอดจนรายงาน<br />

ประจำปปลาสุดในคูมือกรรมการ<br />

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังสนับสนุนใหกรรมการเขารวมหลักสูตรหรือกิจกรรมที่มุงปรับปรุงการทำงานของกรรมการในคณะกรรมการและคณะกรรมการ<br />

ชุดยอย กรรมการ 5 คนไดเขาอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (<strong>Thai</strong> Institute of Directors Association<br />

(“IOD”)) ซึ่งรวมถึงหลักสูตร Director Certification Program (“DCP”) หลักสูตร Director Accreditation Program (“DAP”) หลักสูตร Finance<br />

for Non-Finance Director Program (“FN”) และหลักสูตร Role of Chairman Program (“RCP’)<br />

บริษัทฯ สนับสนุนใหกรรมการที่ยังมิไดเขารับการอบรมในหลักสูตรดังกลาวขางตน เขารับการอบรมในหลักสูตรดังกลาวโดยบริษัทฯ จะเปน<br />

ผูรับผิดชอบคาใชจายในการอบรม<br />

รายงานประจำป 2553<br />

211


6. จริยธรรมทางธุรกิจและจรรยาบรรณของบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

(ก) แนวทางดานจริยธรรมและการปฏิบัติการของบริษัทฯ<br />

บริษัทฯ มีแนวทางดานจริยธรรมและการปฏิบัติการ ดังนี้<br />

1. ความยุติธรรม<br />

บริษัทฯ เชื่อในความยุติธรรมตอคูสัญญาทุกรายที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ และหลีกเลี่ยงการปฏิบัติตอบุคคลใดบุคคลหนึ่งดีกวาบุคคล<br />

อื่นหรือสถานการณที่จะนำไปสูการขัดแยงทางผลประโยชน<br />

2. ความเปนมืออาชีพ<br />

บริษัทฯ รับผิดชอบงานของบริษัทฯ อยางมืออาชีพ และมุงมั่นที่จะดำเนินการอยางเปนเลิศดวยการทำงานใหไดผลในระดับที่ดีขึ้นอยางตอเนื่องดวย<br />

การใชวิธีการและเทคโนโลยีใหมๆ<br />

3. การทำงานเชิงรุก<br />

บริษัทฯ ตอบสนองตอความตองการของลูกคาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เทคนิค และเศรษฐกิจ และปรับเปลี่ยนใหเขากับสถานการณ<br />

4. วินัยและการปฏิบัติตามกฎระเบียบ<br />

บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจดวยวินัยและหลักการดานจริยธรรม และทำการทุกอยางใหมั่นใจวาธุรกิจของบริษัทฯ เปนไปตามกฎหมาย กฎและระเบียบ<br />

ตางๆ<br />

(ข) จรรยาบรรณ<br />

คณะกรรมการไดใหความเห็นชอบกรอบคานิยมขององคกร พันธกิจ และวิสัยทัศน (VMV Framework) เพื่อเปนแนวทางในการดำเนินธุรกิจ<br />

ของบริษัทฯ ขณะนี้ บริษัทฯ ไดจัดทำคูมือจรรยาบรรณธุรกิจเพื่อนำกรอบคานิยม พันธกิจ และวิสัยทัศนดังกลาวมาใช โดยเนนคานิยมหลัก<br />

4 ประการของบริษัทฯ<br />

คานิยมหลัก 4 ประการไดแก<br />

1. คุณธรรม : เราจะเปนบุคคลที่เปดเผย และซื่อสัตยตอกันและกันในการทำงานรวมกัน จะปฏิบัติตามที่ใหสัญญาไวตลอดเวลา และจะสราง<br />

และรักษาความไววางใจในการทำงานรวมกัน<br />

2. ความเปนเลิศ : เราจะทำงานดวยมาตรฐานระดับสูงในดานคุณภาพ ความปลอดภัย การรักษาสภาพแวดลอม ความมั่นคง การบริการ เรา<br />

พรอมรับมือกับงานทาทายเสมอ และจะดำเนินธุรกิจของเราอยางมืออาชีพ<br />

3. จิตสำนึกของการรวมกันเปนทีม : เราใสใจในลูกคา พนักงาน และคูคาของเรา และจะปฏิบัติตนในอันที่จะสงเสริม และสรางสรรคการรวม<br />

มือกันทำงานเปนทีม และเคารพตอกันและกัน<br />

4. การยึดมั่นในพันธะ : เราจะคำนึงถึงอนาคตของบริษัทฯ ตลอดเวลา และจะเปนผูรับผิดชอบตอผลและความสำเร็จทางธุรกิจของบริษัทฯ<br />

นโยบายของคณะกรรมการ คือ กรรมการจะดำรงจริยธรรมในระดับสูงสุดเพื่อผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียทั้งหมด คณะกรรมการยินยอมให<br />

กรรมการที่เปนผูบริหารสามารถดำรงตำแหนงกรรมการของบริษัทอื่นนอกกลุมบริษัทฯ ทั้งนี้ โดยใหเปนไปตามขอตกลงและความเห็นชอบของ<br />

คณะกรรมการ กรรมการที่เปนผูบริหารเมื่อไดดำรงตำแหนงกรรมการของบริษัทอื่นๆ นั้นจะรับคาตอบแทนจากบริษัทอื่นๆ นั้นเปนรายไดสวนตัว<br />

ก็ได โดยทั่วไป การแตงตั้งใหดำรงตำแหนงกรรมการของบริษัทนอกกลุมบริษัทฯ จะจำกัดใหเปนกรรมการไมเกิน 2 บริษัทเทานั้น ปจจุบัน กรรมการ<br />

ผูจัดการใหญและประธานเจาหนาที่บริหารไมไดเปนกรรมการในคณะกรรมการนอกกลุมบริษัทฯ กรรมการที่ไมเปนผูบริหารสามารถทำงาน<br />

เปนกรรมการในคณะกรรมการนอกกลุมบริษัทฯ ได โดยมีขอแมวาจะตองแสดงใหเห็นถึงความทุมเทในการทำหนาที่ของตนตอบริษัทฯ อยางเต็มที่<br />

212 รายงานประจำป 2553


การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน<br />

บริษัทฯ ไดกำหนดใหกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ รายงานการซื้อขายหลักทรัพยใหแกบริษัทฯ ในวันเดียวกับที่สงรายงานตอสำนักงาน ก.ล.ต.<br />

และตลาดหลักทรัพยฯ ตามขอกำหนดของสำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยฯ เกี่ยวกับการรายงานการถือครองหลักทรัพย และใหปฏิบัติตาม<br />

แนวทางของตลาดหลักทรัพยฯ เรื่องการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทจดทะเบียน โดยใชขอมูลภายในโดยกรรมการและผูบริหารจะละเวนการซื้อขาย<br />

หลักทรัพยในชวงเวลากอนที่จะเผยแพรงบการเงิน หรือสารสนเทศที่สำคัญที่อาจมีผลกระทบตอราคาหลักทรัพย รายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาดูใน<br />

หัวขอรายงานวาดวยการกำกับดูแลกิจการ<br />

รายงานประจำป 2553<br />

213


รายการระหวางกัน<br />

รายการระหวางกันของบริษัทฯ กับบริษัทยอย หรือระหวางบริษัทยอยกับบริษัทยอย ไดแสดงไวในหมายเหตุประกอบงบของงบการเงินรวมของบริษัทฯ แลว ทั้งนี้รายการระหวางกันของบริษัทฯ และบริษัทยอย กับบริษัทรวม หรือ<br />

กิจการรวมคามีดังตอไปนี้<br />

บริษัท บริษัทที่เกี่ยวของ ความสัมพันธ ลักษณะรายการ<br />

มูลคารายการ (บาท)<br />

30 กันยายน 2552 30 กันยายน 2553<br />

นโยบายการ<br />

คิดราคา<br />

1. บริษัท ชิดลม มารีน<br />

เซอรวิสเซส แอนด<br />

ซัพพลายส จำกัด<br />

บริษัท กัลฟ เอเจนซี่<br />

คัมปะนี (ประเทศไทย)<br />

จำกัด<br />

TTA ถือหุนรอยละ 99.9 ใน<br />

บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส<br />

แอนด ซัพพลายส จำกัด และ<br />

ถือหุนรอยละ 51 ในบริษัท กัลฟ<br />

เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด<br />

ทั้งสองบริษัทมีกรรมการรวมกัน<br />

บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด<br />

ซัพพลายส จำกัด ใหเชาโกดังสินคาและ<br />

บริการสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ ใหกับ<br />

บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย)<br />

จำกัด<br />

1,230,733.53<br />

(บันทึกเปนรายได<br />

คาบริการ)<br />

0.00<br />

(ไมมีรายการเกิดขึ้น<br />

ระหวางป 2553)<br />

ราคาปกติที่ใหกับบุคคล<br />

ภายนอก<br />

2. บริษัท เมอรเมด<br />

มาริไทม จำกัด<br />

(มหาชน) และ<br />

บริษัทยอย<br />

บริษัท กัลฟ เอเจนซี่<br />

คัมปะนี (ประเทศไทย)<br />

จำกัด<br />

TTA ถือหุนรอยละ 57.14 ในบริษัท<br />

เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน)<br />

และถือหุนรอยละ 51 ในบริษัท กัลฟ<br />

เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด<br />

ทั้งสองบริษัทมีกรรมการรวมกัน<br />

บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) แบง<br />

พื้นที่สวนหนึ่งของสำนักงาน (ประมาณ 317<br />

ตรม.) ณ ชั้น 9 อาคารอรกานต ใหบริษัท กัลฟ<br />

เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด เชาพื้นที่<br />

1,673,760.00<br />

(บันทึกเปนรายได<br />

อื่นๆ)<br />

1,673,760.00<br />

(บันทึกเปนรายไดอื่นๆ)<br />

ราคาปกติที่ใหกับบุคคล<br />

ภายนอก<br />

3. บริษัท เมอรเมด<br />

มาริไทม จำกัด<br />

(มหาชน) และ<br />

บริษัทยอย<br />

บริษัท กัลฟ เอเจนซี่<br />

คัมปะนี (ประเทศไทย)<br />

จำกัด<br />

TTA ถือหุนรอยละ 57.14 ในบริษัท<br />

เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน)<br />

ถือหุนรอยละ 51 ในบริษัท กัลฟ<br />

เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด<br />

ทั้งสองบริษัทมีกรรมการรวมกัน<br />

บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย)<br />

จำกัด ใหบริการเกี่ยวกับการนำของออกจาก<br />

ทาเรือ/ทาอากาศยานตามพิธีการศุลกากร<br />

การขนสงสินคา และมีคาระวางขนสงสินคาที่<br />

คิดกับ บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด<br />

(มหาชน) และบริษัทยอยดวย<br />

43,310,898.90<br />

(บันทึกเปนคาใชจาย<br />

บริการจากธุรกิจ<br />

นอกชายฝง)<br />

39,096,568.00<br />

(บันทึกเปนคาใชจายบริการจากธุรกิจ<br />

นอกชายฝง)<br />

ราคาปกติที่ใหกับบุคคล<br />

ภายนอก<br />

214 รายงานประจำป 2553


บริษัท บริษัทที่เกี่ยวของ ความสัมพันธ ลักษณะรายการ<br />

4. บริษัท เมอรเมด<br />

ออฟชอร เซอรวิสเซส<br />

จำกัด<br />

บริษัท เวิลดคลาส<br />

อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น<br />

บีเอชดี<br />

บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด<br />

(มหาชน) ถือหุนรอยละ 100<br />

ในบริษัท เมอรเมด ออฟชอร<br />

เซอรวิสเซส จำกัด และถือหุน<br />

ทางออมรอยละ 25 ในบริษัท<br />

เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น<br />

บีเอชดี โดย TTA ถือหุนทางออมใน<br />

ทั้งสองบริษัท<br />

บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด<br />

ใหเงินกูยืมจำนวน 1,147,988,712.23 บาท<br />

แก บริษัท เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น เอสดีเอ็น<br />

บีเอชดี เพื่อการชำระคางวดในการซื้อเรือ<br />

วิศวกรรมโยธาใตน้ำลำใหม โดย ณ วันที่ 30<br />

กันยายน 2552 บริษัท เมอรเมด ออฟชอร<br />

เซอรวิสเซส จำกัด ไดรับคืนเงินกูเต็มจำนวนแลว<br />

โดยมีการเรียกเก็บอัตราดอกเบี้ย LIBOR +<br />

รอยละ 3.5 สำหรับสวนที่เปนเงินกูดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกา และรอยละ 8.5 สำหรับ<br />

สวนที่เปนเงินกูริงกิตมาเลเซีย<br />

5. บริษัท เมอรเมด<br />

ออฟชอร เซอรวิสเซส<br />

จำกัด<br />

บริษัท อัลลายด มารีน<br />

แอนด อิควิปเมนท<br />

เอสดีเอ็น บีเอชดี<br />

บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด<br />

(มหาชน) ถือหุนรอยละ 100 ใน<br />

บริษัท เมอรเมด ออฟชอร เซอรวิสเซส<br />

จำกัด และถือหุนทางออมรอยละ<br />

22.5 ในบริษัท อัลลายด มารีน<br />

แอนด อิควิปเมนท เอสดีเอ็น บีเอชดี<br />

ผานบริษัท เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น<br />

เอสดีเอ็น บีเอชดี โดย TTA ถือหุน<br />

ทางออมในทั้งสองบริษัท<br />

บริษัท อัลลายด มารีน แอนด อิควิปเมนท<br />

เอสดีเอ็น บีเอชดี เชาเรือจากบริษัท เมอรเมด<br />

ออฟชอร เซอรวิสเซส จำกัด<br />

6. บริษัท โทรีเซนไทย<br />

เอเยนตซีส จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

บริษัท กัลฟ เอเจนซี่<br />

คัมปะนี (ประเทศไทย)<br />

จำกัด<br />

TTA ถือหุนรอยละ 51 ในบริษัท<br />

กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย)<br />

จำกัด ทั้งสองบริษัทมีกรรมการ<br />

รวมกัน<br />

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

ใหเงินกูยืมจำนวน 27,323,000 บาท กับ<br />

บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย)<br />

จำกัด โดย ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 มูลคา<br />

เงินตนของเงินกูคงเหลือเทากับ 7,323,000 บาท<br />

โดย TTA เรียกเก็บอัตราดอกเบี้ยเงินกู MOR +<br />

รอยละ 1 ตอปสำหรับวงเงินกูดังกลาว<br />

มูลคารายการ (บาท)<br />

30 กันยายน 2552 30 กันยายน 2553<br />

8,285,470.52<br />

(บันทึกเปนรายได<br />

จากดอกเบี้ย)<br />

0.00<br />

(ไมมีรายการเกิดขึ้น<br />

ระหวางป 2553 นอกจากนี้ระหวาง<br />

ป 2553 บริษัท เมอรเมด ออฟชอร<br />

เซอรวิสเซส จำกัด ไดขายหุนของ<br />

บริษัท เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น<br />

เอสดีเอ็น บีเอชดี ทั้งหมดไปแลว)<br />

5,050,069.26<br />

(บันทึกเปนรายไดคา<br />

บริการจากธุรกิจนอก<br />

ชายฝง)<br />

0.00<br />

(ไมมีรายการเกิดขึ้น)<br />

ระหวางป 2553 นอกจากนี้ระหวาง<br />

ป 2553 บริษัท เมอรเมด ออฟชอร<br />

เซอรวิสเซส จำกัด ไดขายหุนของ<br />

บริษัท เวิลดคลาส อินสไปเรชั่น<br />

เอสดีเอ็น บีเอชดี ทั้งหมดไปแลว)<br />

996,309.00<br />

(บันทึกเปนรายไดจาก<br />

ดอกเบี้ย)<br />

636,130.25<br />

(บันทึกเปนรายไดจากดอกเบี้ย)<br />

นโยบายการ<br />

คิดราคา<br />

ราคาปกติที่ใหกับบุคคล<br />

ภายนอก<br />

ราคาปกติที่ใหกับบุคคล<br />

ภายนอก<br />

อัตราดอกเบี้ยอางอิง<br />

ใกลเคียงกับตนทุน<br />

การกูยืมของบริษัท<br />

ที่ใหกู<br />

รายงานประจำป 2553<br />

215


บริษัท บริษัทที่เกี่ยวของ ความสัมพันธ ลักษณะรายการ<br />

7. โซลีอาโด โฮลดิ้งส<br />

พีทีอี แอลทีดี<br />

เมอรตัน กรุป (ไซปรัส)<br />

แอลทีดี<br />

TTA ถือหุนรอยละ 100 ในโซลี อาโด<br />

โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี และ<br />

โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี<br />

ถือหุนรอยละ 21.18 ในเมอรตัน<br />

กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี TTA<br />

ถือหุนโดยทางตรงและทางออมใน<br />

ทั้งสองบริษัท<br />

โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี ใหเงินกูยืม<br />

จำนวน 12 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

กับเมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี โดย ณ<br />

วันที่ 30 กันยายน 2553 มูลคาเงินตนของเงินกู<br />

คงเหลือเทากับ 12 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

หรือคิดเปน 365 ลานบาท โซลีอาโด โฮลดิ้งส<br />

พีทีอี แอลทีดีเรียกเก็บอัตราดอกเบี้ยเงินกู<br />

รอยละ 25 ตอปสำหรับวงเงินกูดังกลาว<br />

8. โซลีอาโด โฮลดิ้งส<br />

พีทีอี แอลทีดี<br />

โทรีเซน (อินโดไชนา)<br />

เอส.เอ.<br />

TTA ถือหุนรอยละ 100 ในโซลีอาโด<br />

โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี และถือหุน<br />

รอยละ 50 ในโทรีเซน (อินโดไชนา)<br />

เอส.เอ. TTA ถือหุนโดยทางตรง<br />

และทางออมในทั้งสองบริษัท<br />

โทรีเซน (อินโดไชนา) เอส.เอ. เรียกเก็บ<br />

คาบริหารจัดการกับบริษัท บาคองโค จำกัด<br />

ประเทศเวียดนาม จำนวน 24,000 ดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกาตอเดือนนับจากวันที่ 1 ตุลาคม<br />

2552 ถึง 31 มกราคม 2553 และ 20,000<br />

ดอลลารสหรัฐอเมริกาตอเดือนตั้งแตวันที่ 1<br />

กุมภาพันธ 2553 เปนตนไป และคิดผล<br />

ประโยชนจากสวนแบงกำไรรอยละ 4 ของกำไร<br />

สุทธิหลังจากหักภาษีของผลประกอบการ<br />

ประจำปของบริษัท บาคองโค จำกัด<br />

9. บริษัท โทรีเซนไทย<br />

เอเยนตซีส จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

บริษัท โรงแรมราชดำริ<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

TTA ไมไดถือหุนในบริษัท โรงแรม<br />

ราชดำริ จำกัด (มหาชน) อยางไร<br />

ก็ตาม ทั้งสองบริษัทมีกรรมการ<br />

รวมกัน<br />

บริษัท โรงแรมราชดำริ จำกัด (มหาชน)<br />

เรียกเก็บคาบริการหองพักจาก TTA<br />

มูลคารายการ (บาท)<br />

30 กันยายน 2552 30 กันยายน 2553<br />

0.00 49,364,841.00<br />

(บันทึกเปนรายไดจากดอกเบี้ย)<br />

0.00 17,636,562.14<br />

(บันทึกเปนคาใชจายการจัดการ)<br />

122,678.66 336,302.37<br />

(บันทึกเปนคาใชจายการบริหาร)<br />

นโยบายการ<br />

คิดราคา<br />

อัตราดอกเบี้ยอางอิง<br />

ตามขอตกลงระหวาง<br />

กันและสอดคลองกับ<br />

ความเสี่ยงในเชิง<br />

พาณิชยของธุรกิจ<br />

กอนเริ่มดำเนินกิจการ<br />

ในประเทศฟลิปปนส<br />

ตนทุนบวกกับกำไรตาม<br />

ที่ระบุในสัญญา<br />

ราคาปกติที่ใหกับบุคคล<br />

ภายนอก<br />

216 รายงานประจำป 2553


บริษัท บริษัทที่เกี่ยวของ ความสัมพันธ ลักษณะรายการ<br />

มูลคารายการ (บาท)<br />

30 กันยายน 2552 30 กันยายน 2553<br />

นโยบายการ<br />

คิดราคา<br />

10. บริษัท โทรีเซนไทย<br />

เอเยนตซีส จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

บริษัท โพสต พับลิชชิง<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

TTA ไมไดถือหุนในบริษัท โพสต<br />

พับลิชชิง จำกัด (มหาชน) อยางไร<br />

ก็ตาม ทั้งสองบริษัทมีกรรมการ<br />

รวมกัน<br />

บริษัท โพสต พับลิชชิง จำกัด (มหาชน)<br />

เรียกเก็บคาบริการสมาชิกสิ่งพิมพ และ<br />

โฆษณาจาก TTA<br />

260,376.00 254,476.00<br />

(บันทึกเปนคาใชจายการบริหาร)<br />

ราคาปกติที่ใหกับบุคคล<br />

ภายนอก<br />

11. บริษัท โทรีเซนไทย<br />

เอเยนตซีส จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

TTA ไมไดถือหุนในบริษัท ประสิทธิ์<br />

พัฒนา จำกัด (มหาชน) อยางไร<br />

ก็ตาม ทั้งสองบริษัทมีกรรมการ<br />

รวมกัน<br />

บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน)<br />

เรียกเก็บคาบริการทางการแพทยจาก TTA<br />

17,213.50 41,637.80<br />

(บันทึกเปนคาใชจายการบริหาร)<br />

ราคาปกติที่ใหกับบุคคล<br />

ภายนอก<br />

ความจำเปนและความสมเหตุสมผลของรายการระหวางกัน<br />

ในกรณีที่บริษัทฯ เขาทำสัญญาใดๆ ก็ตาม หรือมีการทำรายการระหวางกันกับบริษัทยอย บริษัทรวม และ/หรือบุคคลภายนอก บริษัทฯ จะพิจารณาถึงความจำเปนและความเหมาะสมในการเขาทำสัญญานั้นๆ โดยคำนึงถึงผล<br />

ประโยชนของบริษัทฯ เปนหลัก<br />

มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำรายการระหวางกัน<br />

ในกรณีที่บริษัทฯ เขาทำสัญญาใดๆ ก็ตาม หรือมีการทำรายการระหวางกันกับบริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ บุคคลภายนอก และหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง เพื่อประโยชนของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทกำหนดให<br />

ตองปฏิบัติตามหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เรื่องการเปดเผยขอมูลและการปฎิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน และใหมีราคา<br />

และเงื่อนไขเสมือนการทำรายการกับบุคคลภายนอก โดยกรรมการ ผูบริหารหรือพนักงานที่มีสวนไดเสียในรายการนั้นจะตองไมมีสวนในการพิจารณาอนุมัติ<br />

นโยบายการทำรายการระหวางกันในอนาคต<br />

กรรมการตรวจสอบและบริษัทฯ จะรวมกันดูแลรายการระหวางกันดังกลาวที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตวาจะเปนรายการที่มีความจำเปนและใหเปนไปในราคาที่ยุติธรรม<br />

รายงานประจำป 2553<br />

217


การลงทุนในบริษัทตางๆ<br />

การลงทุนของบริษัทฯ ในบริษัทอื่น ตั้งแตรอยละ 10 ขึ้นไป ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 ดังตอไปนี้<br />

ลำดับที่ ชื่อบริษัท ชนิดของหุน<br />

กลุมขนสง<br />

ประเภทธุรกิจ : ขนสงสินคาระหวางประเทศทางทะเล<br />

1 บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จำกัด<br />

26/26-27 อาคารอรกานต<br />

ชั้น 8 ถนนชิดลม แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

โทรศัพท (0) 2250-0569<br />

โทรสาร (0) 2254-9417<br />

หุนสามัญ<br />

หุนบุริมสิทธิ์<br />

จำนวนหุนที่<br />

ชำระแลว<br />

9,470,000<br />

3,030,000<br />

จำนวน<br />

หุนที่ถือ<br />

9,470,000<br />

3,029,994<br />

สัดสวน<br />

การถือหุน%<br />

มูลคา<br />

หุนที่ตราไว<br />

99.9 10<br />

2 บริษัท เฮอรมิส ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 270,000 269,994 99.9 100<br />

3 บริษัท ทอรสตาร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 300,000 299,993 99.9 100<br />

4 บริษัท ทอรสกิปเปอร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 300,000 299,993 99.9 100<br />

5 บริษัท ทอรเซลเลอร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 300,000 299,993 99.9 100<br />

6 บริษัท ทอรซัน ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 400,000 399,993 99.9 100<br />

7 บริษัท ทอรสปริต ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 400,000 399,993 99.9 100<br />

8 บริษัท ทอรสกาย ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 400,000 399,993 99.9 100<br />

9 บริษัท ทอรซี ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 400,000 399,993 99.9 100<br />

10 บริษัท ทอร มาสเตอร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 1,880,000 1,879,993 99.9 100<br />

11 บริษัท ทอร เมอรแชนท ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 200,000 199,994 99.9 100<br />

12 บริษัท ทอร มารีเนอร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 350,000 349,994 99.9 100<br />

13 บริษัท ทอร เมอรคิวรี่ ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 600,000 599,994 99.9 100<br />

14 บริษัท ทอร กัปตัน ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 1,530,000 1,529,994 99.9 100<br />

15 บริษัท ทอร ไพล็อต ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 800,000 799,993 99.9 100<br />

16 บริษัท ทอร จัสมิน ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 700,000 699,993 99.9 100<br />

17 บริษัท ทอร แชมเปยน ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 750,000 749,993 99.9 100<br />

18 บริษัท ทอร ออรคิด ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 472,500 472,493 99.9 100<br />

19 บริษัท ทอร นาวิเกเตอร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 990,000 989,993 99.9 100<br />

20 บริษัท ทอร คอมมานเดอร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 1,150,000 1,149,993 99.9 100<br />

21 บริษัท ทอร ทรานสปอรตเตอร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 2,000,000 1,999,993 99.9 100<br />

22 บริษัท ทอร โลตัส ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 630,000 629,993 99.9 100<br />

23 บริษัท ทอร เทรดเดอร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 450,000 449,993 99.9 100<br />

24 บริษัท ทอร แทรเวลเลอร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 450,000 449,993 99.9 100<br />

25 บริษัท ทอร เวนเจอร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 750,000 749,993 99.9 100<br />

26 บริษัท ทอร นอติกา ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 753,000 752,993 99.9 100<br />

27 บริษัท ทอร คอนฟเดนซ ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 500,000 499,993 99.9 100<br />

28 บริษัท ทอร การเดียน ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 750,000 749,993 99.9 100<br />

29 บริษัท ทอร ไทรอัมพ ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 600,000 599,993 99.9 100<br />

30 บริษัท ทอร เน็กซัส ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 1,857,000 1,856,993 99.9 100<br />

31 บริษัท ทอร เนปจูน ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 1,380,000 1,379,993 99.9 100<br />

218 รายงานประจำป 2553


ลำดับที่ ชื่อบริษัท ชนิดของหุน<br />

จำนวนหุนที่<br />

ชำระแลว<br />

จำนวน<br />

หุนที่ถือ<br />

สัดสวน<br />

การถือหุน%<br />

มูลคา<br />

หุนที่ตราไว<br />

32 บริษัท ทอร ทริบิวท ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 1,170,000 1,169,993 99.9 100<br />

33 บริษัท ทอร จูปเตอร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 974,000 973,993 99.9 100<br />

34 บริษัท ทอร อลายอันซ ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 1,060,000 1,059,993 99.9 100<br />

35 บริษัท ทอร นอติลุส ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 500,000 499,993 99.9 100<br />

36 บริษัท ทอร วิน ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 2,000,000 1,999,993 99.9 100<br />

37 บริษัท ทอร เวฟ ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 2,000,000 1,999,993 99.9 100<br />

38 บริษัท ทอร ไดนามิค ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 3,600,000 3,599,993 99.9 100<br />

39 บริษัท ทอร เอนเตอรไพรส ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 6,300,000 6,299,993 99.9 100<br />

40 บริษัท ทอร ฮารโมนี่ ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 3,500,000 3,499,993 99.9 100<br />

41 บริษัท ทอร อินทิกริตี้ ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 3,850,000 3,849,993 99.9 100<br />

42 บริษัท ทอร เนคตาร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 2,541,000 2,540,993 99.9 100<br />

43 บริษัท ทอร เนรัส ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 2,128,000 2,127,993 99.9 100<br />

44 บริษัท ทอร ทรานสิท ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 1,000,000 999,993 99.9 100<br />

45 บริษัท ทอร เอนเดฟเวอร ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 11,000,000 10,999,993 99.9 100<br />

46 บริษัท ทอร เอนเนอรยี ชิปปง จำกัด หุนสามัญ 10,000,000 9,999,993 99.9 100<br />

หมายเหตุ : ที่อยูของบริษัทในลำดับที่ 2-46 คือ 26/32 อาคารอรกานต ชั้น 10 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

โทรศัพท (0) 2250-0569 โทรสาร (0) 2254-8437<br />

ประเภทธุรกิจ : ขนสงสินคาระหวางประเทศทางทะเล<br />

47 บริษัท โทรีเซน ชาเตอรริ่ง (เอชเค) แอลทีดี<br />

Suite B 12/F Two Chinachem Plaza<br />

135 Des Voeux Road Central,<br />

Hong Kong<br />

48 บริษัท โทรีเซน ชิปปง สิงคโปร พีทีอี แอลทีดี<br />

25 International Business Park<br />

#02-65/67 German<br />

Centre Singapore 609916<br />

โทรศัพท +65 6578-7000<br />

โทรสาร +65 6578-7007<br />

49 บริษัท โทรีเซน ชิปปง เยอรมันนี จีเอ็มบีเอช<br />

Stavendamm 4a, 28195<br />

Breman, Germany<br />

Tel. : 421 336 52 22<br />

50 PT Perusahaan Pelayaran Equinox<br />

Globe Building 4th & 5th floor,<br />

Jalan Bancit Raya Kav.<br />

31-33, Jakarta, Indonesia 12740<br />

Tel: +6221 7918 7006<br />

Fax: +6221 7918 7097<br />

ประเภทธุรกิจ : ตัวแทนเรือ<br />

51 บริษัท ไอเอสเอส โทรีเซน เอเยนตซีส จำกัด<br />

26/26-27 อาคารอรกานต ชั้น 8<br />

ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

โทรศัพท (0) 2254-0266<br />

โทรสาร (0) 2254-0628<br />

หุนสามัญ 500,000 499,999 99.99 1 ดอลลาร<br />

ฮองกง<br />

หุนสามัญ 111,300,000 111,300,000 100.0 1 ดอลลาร<br />

สิงคโปร<br />

หุนสามัญ 25,000 25,000 100.0 1 ยูโร<br />

หุนสามัญ 24,510 12,010 49.0 1,000,000<br />

รูเปยห<br />

หุนสามัญ 500,000 499,993 99.9 100<br />

รายงานประจำป 2553<br />

219


ลำดับที่ ชื่อบริษัท ชนิดของหุน<br />

จำนวนหุนที่<br />

ชำระแลว<br />

จำนวน<br />

หุนที่ถือ<br />

สัดสวน<br />

การถือหุน%<br />

มูลคา<br />

หุนที่ตราไว<br />

52 บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี<br />

(ประเทศไทย) จำกัด<br />

26/30-31 อาคารอรกานต ชั้น 9<br />

ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

โทรศัพท (0) 2650-7400<br />

โทรสาร (0) 2650-7401<br />

หุนสามัญ 22,000 11,215 51.0 1,000<br />

53 โทรีเซน ชิปปง เอฟแซดอี<br />

1901-19 th Floor, Golden Tower<br />

Opp. Marbella Resort, Al Buhairah<br />

Corniche Road, Sharjah, UAE.<br />

Tel. : 971-6-574 2244<br />

Fax : 971-6-574 4244<br />

54 โทรีเซน อินโดไชนา เอสเอ<br />

12A Floor, Bitexco Building<br />

19-25 Nguyen Hue Boulevard District 1<br />

Ho Chi Min City, Vietnam<br />

Tel. : +84 8 821 5423<br />

Fax : +84 8 821 5424<br />

55 <strong>Thoresen</strong>-Vinama <strong>Agencies</strong> Co., Ltd.<br />

12A Floor, 19-25 Nguyen Hue<br />

District 1, Ho Chiminh City, Vietnam<br />

ประเภทธุรกิจ : นายหนาเชาเหมาเรือ<br />

56 บริษัท เฟรนเลย (ประเทศไทย) จำกัด<br />

26/55 อาคารอรกานต ชั้น 15 ซอยชิดลม<br />

ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน<br />

กรุงเทพฯ 10330<br />

โทรศัพท (0) 2253-6160<br />

โทรสาร (0) 2655-2761<br />

57 บริษัท โทรีเซน ชาเตอรริ่ง (พีทีอี) แอลทีดี<br />

8 Cross Street # 11-00, PWC Building<br />

Singapore 048424<br />

ประเภทธุรกิจ : ธุรกิจเรือบรรทุกน้ำมันและกาซธรรมชาติ<br />

58 Petrolift Inc.<br />

6 th Floor, Mapfre Insular Corporate<br />

Center Madrigal Business Park I, 1220<br />

Acacia Avenue, Ayala Alabang<br />

Muntinlupa City, Philippines<br />

กลุมพลังงาน<br />

ประเภทธุรกิจ : ธุรกิจบริการนอกชายฝง<br />

59 บริษัท เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน)<br />

26/28-29 อาคารอรกานต<br />

ชั้น 9 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต<br />

แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

โทรศัพท (0) 2255-3115-6<br />

โทรสาร (0) 2255-1079<br />

หุนสามัญ 1 1 100.0 550,550<br />

เดอรแฮม<br />

หุนสามัญ 2,500 1,250 50.0 100<br />

ดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกา<br />

หุนสามัญ 500,000 245,000 49.0<br />

(ถือหุนทางออม)<br />

1<br />

ดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกา<br />

หุนสามัญ 20,000 10,194 51.0 100<br />

หุนสามัญ 100,000 100,000 100.0 1 ดอลลาร<br />

สิงคโปร<br />

หุนสามัญ 1,259,350,452 489,056,155 38.834<br />

(ถือหุนทางออม)<br />

หุนสามัญ 784,747,743 277,823,871<br />

(ถือหุนทางตรง)<br />

170,590,470<br />

(ถือหุนทางออม)<br />

1<br />

ฟลิปปนส<br />

เปโซ<br />

57.14 1<br />

220 รายงานประจำป 2553


ลำดับที่ ชื่อบริษัท ชนิดของหุน<br />

ประเภทธุรกิจ : เหมืองถานหิน<br />

60 เมอรตัน กรุป (ไซปรัส) แอลทีดี<br />

Nikou Kranidioti 7D, Tower 4, 3 rd Floor<br />

Flat/Office 302, Egkomi, PC 2411<br />

Nicosia, Cyprus<br />

กลุมโครงสรางขั้นพื้นฐาน<br />

จำนวนหุนที่<br />

ชำระแลว<br />

จำนวน<br />

หุนที่ถือ<br />

สัดสวน<br />

การถือหุน%<br />

หุนสามัญ 15,733 3,333 21.18<br />

(ถือหุนทางออม)<br />

มูลคา<br />

หุนที่ตราไว<br />

1 ดอลลาร<br />

สหรัฐอเมริกา<br />

ประเภทธุรกิจ : บริการวัสดุจัดเรียงสินคาบนเรือ โลจิสติคส ขนถายสินคา<br />

61 บริษัท ชิดลม มารีน เซอรวิสเซส แอนด<br />

ซัพพลายส จำกัด<br />

26/22-23 อาคารอรกานต ชั้น 7<br />

ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

โทรศัพท (0) 2250-0569<br />

โทรสาร (0) 2655-7746<br />

หุนสามัญ 700,000 699,993 99.9 100<br />

62 บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส จำกัด<br />

26/30-31 อาคารอรกานต ชั้น 9 ซอยชิดลม<br />

ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน<br />

กรุงเทพฯ 10330<br />

โทรศัพท (0) 3818-5090-2<br />

โทรสาร (0) 3818-5093<br />

ประเภทธุรกิจ : บริหารทาเรือ<br />

63 ชารจา พอรต เซอรวิสเซส แอลแอลซี<br />

P.O.Box 510, Port Khalid<br />

Sharjah, United Arab Emirates<br />

Tel. : 971-6-528 1327<br />

Fax : 971-6-528 1425<br />

ประเภทธุรกิจ : โลจิสติคสถานหิน<br />

64 บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

36/83 อาคารพี.เอส. ทาวเวอร ชั้น 24<br />

ซอยสุขุมวิท 21 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย<br />

เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110<br />

โทรศัพท (0) 2664-1701-8<br />

โทรสาร (0) 2259-2467<br />

65 บริษัท ยูเอ็มเอส โคลบริคเคท จำกัด<br />

36/83 อาคารพี.เอส. ทาวเวอร ชั้น 24<br />

ซอยสุขุมวิท 21 ถนนสุขุมวิท<br />

แขวงคลองเตย เขตวัฒนา<br />

กรุงเทพมหานคร 10110<br />

โทรศัพท 034-403-977<br />

โทรสาร 034-403-989<br />

หุนสามัญ 750,000 382,496 51.0 100<br />

หุนสามัญ 26,000 12,740 49.0<br />

(ถือหุนทางออม)<br />

หุนสามัญ 152,078,328 136,083,041 89.5<br />

(ถือหุนทางออม)<br />

หุนสามัญ 2,000,000 1,999,993 100<br />

(ถือหุนทางออม)<br />

100<br />

เดอรแฮม<br />

1<br />

10<br />

รายงานประจำป 2553<br />

221


ลำดับที่ ชื่อบริษัท ชนิดของหุน<br />

66 บริษัท ยูเอ็มเอส ไลทเตอร จำกัด<br />

36/83 อาคารพี.เอส. ทาวเวอร ชั้น 24<br />

ซอยสุขุมวิท 21 ถนนสุขุมวิท<br />

แขวงคลองเตย เขตวัฒนา<br />

กรุงเทพมหานคร 10110<br />

โทรศัพท (0) 2664-1701-8 ตอ 201<br />

โทรสาร (0) 2664-1700<br />

67 บริษัท ยูเอ็มเอส ขนสง จำกัด<br />

36/83 อาคารพี.เอส. ทาวเวอร ชั้น 24<br />

ซอยสุขุมวิท 21 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย<br />

เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110<br />

โทรศัพท 034-403-980<br />

โทรสาร 034-403-981<br />

68 บริษัท ยูเอ็มเอส พอรต เซอรวิสเซส จำกัด<br />

36/83 อาคารพี.เอส. ทาวเวอร ชั้น 24<br />

ซอยสุขุมวิท 21 ถนนสุขุมวิท<br />

แขวงคลองเตย เขตวัฒนา<br />

กรุงเทพมหานคร 10110<br />

โทรศัพท 035-724-204<br />

โทรสาร 034-403-981<br />

ประเภทธุรกิจ : ขายปุยเคมี<br />

69 บริษัท บาคองโค จำกัด<br />

Phu My I Industrial Park,<br />

Tan Thanh Town Baria Vung Tau<br />

Province, Vietnam<br />

Tel. : 064.893 400<br />

Fax : 064.876 030<br />

กลุมการลงทุน<br />

ประเภทธุรกิจ : ลงทุนโดยการถือหุน<br />

70 โซลีอาโด โฮลดิ้งส พีทีอี แอลทีดี<br />

25 International Business Park<br />

#02-65/67 German Centre<br />

Singapore 609916<br />

โทรศัพท +65 6578-7000<br />

โทรสาร +65 6578-7007<br />

71 บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส จำกัด<br />

26/32 อาคารอรกานต ชั้น 10 ซอยชิดลม<br />

ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

โทรศัพท (0) 2254-8437<br />

โทรสาร (0) 2655-5631<br />

จำนวนหุนที่<br />

ชำระแลว<br />

จำนวน<br />

หุนที่ถือ<br />

สัดสวน<br />

การถือหุน%<br />

หุนสามัญ 7,000,000 6,999,994 100<br />

(ถือหุนทางออม)<br />

หุนสามัญ 1,800,000 1,799,994 100<br />

(ถือหุนทางออม)<br />

หุนสามัญ 1,800,000 1,799,993 100<br />

(ถือหุนทางออม)<br />

ทุนชำระแลว 377,072,638,790 เวียดนามดอง หรือ<br />

25,833,128.40 ดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

100.0<br />

(ถือหุนทางออม)<br />

มูลคา<br />

หุนที่ตราไว<br />

หุนสามัญ 130,000,000 130,000,000 100.0 1 ดอลลาร<br />

สิงคโปร<br />

หุนสามัญ 1,000,000 999,993 99.9 100<br />

10<br />

10<br />

10<br />

-<br />

222 รายงานประจำป 2553


ขอมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน 2553<br />

ชื่อบริษัท : บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน)<br />

เลขทะเบียน : 0107537002737<br />

วันกอตั้งบริษัท : 16 สิงหาคม 2526<br />

วันจดทะเบียนเปนบริษัทมหาชนจำกัด : 15 ธันวาคม 2537<br />

วันที่หุนสามัญของบริษัทฯ เริ่มทำการซื้อขาย : 25 กันยายน 2538<br />

ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย<br />

ที่ตั้ง : 26/26-27 อาคารอรกานต ชั้น 8 ซอยชิดลม<br />

ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน<br />

กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย<br />

โทรศัพท + 66 (0) 2254-8437<br />

เว็บไซด : http://www.thoresen.com<br />

ประเภทของธุรกิจ : ธุรกิจขนสง<br />

ธุรกิจพลังงาน<br />

ธุรกิจโครงสรางขั้นพื้นฐาน<br />

ทุนจดทะเบียน : 933,004,413 บาท<br />

ทุนชำระแลว : 708,004,413 บาท<br />

จำนวนหุนที่ออกจำหนาย : 708,004,413 หุน<br />

มูลคาที่ตราไวหุนละ : 1 บาท<br />

มูลคาหุนกูแปลงสภาพที่ออกจำหนาย : 169,800,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

มูลคาเงินตนคงคางของหุนกูแปลงสภาพ : 68,600,000 ดอลลารสหรัฐอเมริกา<br />

ตลาดรองของหุนกูแปลงสภาพ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศสิงคโปร<br />

วันที่หุนกูแปลงสภาพของบริษัทฯ เริ่มทำการซื้อขาย : 25 กันยายน 2550<br />

ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศสิงคโปร<br />

มูลคารวมของหุนกูในประเทศที่ออกจำหนาย : หุนกูชุดที่ 1 มีมูลคารวมทั้งสิ้น 2,000,000,000 บาท<br />

หุนกูชุดที่ 2 มีมูลคารวมทั้งสิ้น 2,000,000,000 บาท<br />

รายงานประจำป 2553<br />

223


วันที่หุนกูในประเทศขึ้นทะเบียน : 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2553<br />

กับสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย<br />

นายทะเบียนหุนสามัญ : บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด<br />

อาคารสถาบันวิทยาการตลาดทุน<br />

2/7 หมูที่ 4 (โครงการนอรธปารค)<br />

ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่<br />

กรุงเทพฯ 10210 ประเทศไทย<br />

โทรศัพท + 66 (0) 2596-9000<br />

ผูสอบบัญชี : นายขจรเกียรติ อรุณไพโรจนกุล<br />

ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3445<br />

บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จำกัด<br />

ชั้น 15 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร<br />

179/74-80 ถนนสาธรใต กรุงเทพฯ 10120 ประเทศไทย<br />

โทรศัพท + 66 (0) 2344-1000<br />

ที่ปรึกษากฎหมาย : บริษัท สำนักกฎหมายประมวลชัย จำกัด<br />

2038-2042 ถนนพระราม 6 (บรรทัดทอง)<br />

เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย<br />

โทรศัพท +66 (0) 2219-2031-2<br />

: บริษัท อัลเลน แอนด โอเวอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด<br />

อาคารสินธร 3 ชั้น 22<br />

130-132 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน<br />

กรุงเทพฯ 10500 ประเทศไทย<br />

โทรศัพท +66 (0) 2263-7600<br />

: บริษัท วัตสันฟารลี แอนด วิลเลี่ยมส (ไทยแลนด) จำกัด<br />

ยูนิต 902 ชั้น 9 จีพีเอฟ วิทยุ ทาวเวอร บี<br />

93/1 ถนนวิทยุ ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

โทรศัพท : +66 (0) 2655-7800-78<br />

: บริษัท เบเคอร แอนด แมคเคนซี่ จำกัด<br />

990 อาคารอับดุลราฮิม ชั้น 5, 22-25<br />

ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500<br />

โทรศัพท: +66(0) 2636-2000<br />

224 รายงานประจำป 2553


<strong>THORESEN</strong> <strong>THAI</strong> <strong>AGENCIES</strong> <strong>PLC</strong>.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!