20.10.2014 Views

Download

Download

Download

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

(10)<br />

ใหสติกับประชาชนไดมีความรูความเขาใจในเรื่องของการเมืองไดอยางถูกตอง ก็จะเปนการ<br />

นำหลักธรรมไปใชเพื่อประโยชนแกผูคนในสังคมไดอยางกวางขวาง<br />

บทความที่ ๑๒ เรื่อง “พระสงฆกับพุทธเกษตรกรรมสูการพัฒนาสงฆไทยใน<br />

ทศวรรษหนา” โดย พระมหาวัฒนา ปฺาทีโป (คำเคน) บทความนี้กลาววาพระสงฆ<br />

ไมควรทำเกษตรกรรมดวยตนเอง เพราะขัดกับหลักพระวินัย ผิดเจตนารมณของการเปน<br />

นักบวช ทำใหเกิดความเสียหายในดานศีล สมาธิ ปญญา โดยพระสงฆตองนำหลักธรรม<br />

เขาไปสูประชาชนที่ทำกิจกรรมการเกษตร เพื่อใหประชาชนไดเรียนรูธรรมะผานกระบวนการ<br />

โดยมุงประโยชน ใน ๓ ดานคือ ๑) ประโยชนตนคือการปฏิบัติธรรม ๒) ประโยชนพระ<br />

ศาสนาคือพัฒนาวัด ๓) ประโยชนสังคมคือมีสวนชวยพัฒนาประชาชนใหมีคุณธรรม<br />

บทความที่ ๑๓ เรื่อง “ขันติธรรม : แนวคิดกับการอยูรวมกันของประชาคม<br />

อาเซียน” โดย พงศพัชรา สัมพันธรัตน บทความนี้ไดกลาววา การที่ประชาคมอาเซียนจะ<br />

อยูรวมกันอยางไรรอยตอไดนั้น ผูนำและพลเมืองในประชาคมอาเซียนของแตละชาติจะตอง<br />

ยึดหลักความอดทนอดกลั้นคือหลักขันติธรรม เพื่อใหการอยูรวมกันไดอยางราบรื่น มีการให<br />

รักใครสามัคคี ปรองดอง มีขันติตอการไดอยูรวมกันโดยก็ไมตกเปนทาสของกิเลสตัณหา<br />

โลภะ โมหะ โทสะ ซึ่งเปนวิธีการที่จะชวยใหประชาคมอาเซียนอยูดวยกันอยางสันติ<br />

บทความที่ ๑๔ เรื่อง “การพัฒนาทุนชีวิตแนวพุทธใหพรอมรับกระแสทุนนิยมใน<br />

ประชาคมอาเซียน” โดย กรรณิการ ขาวเงิน บทความนี้กลาววา ความสุขเปนอำนาจที่<br />

มนุษยทุกยุคทุกสมัยแสวงหา แตความสุขบนพื้นฐานความตองการบริโภควัตถุโดยไมมีขีด<br />

จำกัดที่ดำเนินไปทามกลางนิยามความสุขในกระแสทุนนิยมนั้น ไดสงผลกระทบตอวิถีชีวิต<br />

ผูคนและสิ่งแวดลอมอยางใหญหลวง เปนการบั่นทอนทำลายศักยภาพของมนุษยใหสูญเปลา<br />

ไมสามารถนำชีวิตกาวสูความสุขที่เปนอิสระจากเงื่อนไขไดอยางแทจริงและยั่งยืน จึงไดนำ<br />

เสนอหลักพระพุทธศาสนาเพื่อเปนแนวทางใหมนุษยสามารถสรางความสุขใหเปนอำนาจ<br />

ภายในหรือเปนทุนชีวิต และย้ำวาความอยูรอดของมนุษยทามกลางวิกฤติทุนชีวิตนั้น ขึ้นอยู<br />

กับความสามารถในการเปลี่ยนแปลงและแกไขที่ตัวมนุษยเองเปนสำคัญ<br />

บทความที่ ๑๕ เรื่อง “อัตลักษณรวมในสังคมพหุวัฒนธรรมประชาคมอาเซียน”<br />

โดย นภาพร วรสายัณห บทความนี้กลาววา วิถีชาวพุทธสามารถที ่จะนำหลักธรรมใน<br />

พระพุทธศาสนามาสงเสริม “หนึ่งอัตลักษณ” ใหเกิดขึ้นจริงในอาเซียนไดโดยเนนแนวคิดเรื่อง<br />

การอยูรวมกันอยางสงบ (สันติ) ยอมรับการมีอยูของผูอื่นและอยูรวมกันบนพื้นฐานความ<br />

แตกตางระหวาง “เรา” กับ “บุคคลอื่น” หากสามารถกระทำไดแลว สังคมพหุวัฒนธรรมใน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!