20.10.2014 Views

Download

Download

Download

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ทศพิธราชธรรม : ๑๐ ตัวชี้วัดสำหรับผูนำองคกร<br />

5<br />

ไดแก “ทศพิธราชธรรม” และ (๒) ธรรมสำหรับพัฒนาศักยภาพความสามารถของราชา<br />

ไดแก “ราชสังคหวัตถุธรรม” ๓<br />

กลาวโดยสรุปเกี่ยวกับประเด็นพัฒนาการของผูนำที่ไดรับการเรียกขานวา “ราชา”<br />

ในพระพุทธศาสนาตามที่ปรากฏในอัคคัญญสูตร ราชา จึงแปลวา “ผูที่ยังบุคคลเหลาอื่นให<br />

ยินดีโดยชอบธรรม” (ธมฺเมน ปเร รฺเชติ) หมายถึง “ผูที่ทำหนาที่ในการสรางความพอใจให<br />

แกประชาชนโดยธรรม” ตัว KPI สำหรับการชี้วัด คือ “ผูนำที่ไดรับการสมมติจากมหาชน<br />

สามารถแบงปนพืชผลทางการเกษตรจนทำใหประชาชน หรือผูตามเกิดความยินดีหรือ<br />

พึงพอใจโดยธรรม” คำวา “โดยธรรม” ในที่นี้มีนัยที่สะทอนวา ผูนำจะตองมีหลักการในการ<br />

บริหารจัดการทั้ง ๒ มิติ คือ (๑) มิติดานอารมณ (Emotion) ในบริบทนี้ หมายถึง<br />

“ทศพิธราชธรรม” และมิติดานความรูความสามารถ (Wisdom) ในบริบทนี้ หมายถึง<br />

“ราชสังคหวัตถุธรรม” ในการนำเสนอครั้งนี้จะเนนประเด็นที่เกี่ยวของกับการใชทศพิธราช-<br />

ธรรมเปนเครื่องมือพัฒนาอารมณของผูนำ หรือ ผูปกครองในมุมมองของพระพุทธศาสนา<br />

Û. ¡“¬“§μ‘‡°’ˬ«°—∫∑»æ‘∏√“∏√√¡<br />

เมื่อกลาวถึง “ทศพิธราชธรรม” กลุมคนจำนวนมากมักจะเขาใจกันวา “เปนธรรม<br />

ของราชา” หรือ “เปนหลักปฏิบัติสำหรับราชา” เทานั้น แตเมื่อวิเคราะหตามเจตนารมณ<br />

ของหลักการชุดนี้ ตามที่ปรากฏในอัคคัญญสูตรซึ่งเปนคัมภีรหลักที่กลาวถึงที่มาของคำวา<br />

“ราชา” แลว พบวาพระพุทธเจาไมไดออกแบบหลักการนี้ขึ้นมาเพื่อเปนหลักปฏิบัติสำหรับ<br />

กลุมคนที่ไดรับการเรียนขานโดยชื่อวา “ราชา” เทานั้น หากทรงมุงเนนใหเปนหลักปฏิบัติ<br />

สำหรับ “กลุมคนชนชั้นปกครองหรือผูนำ” โดยทั่วไป ไมวาจะเปนผูนำในระดับใดก็ตาม ใน<br />

ขณะเดียวกัน คำวา “ราชา” ในพระพุทธศาสนา จึงไมไดหมายถึง “King” ตามศัพทบัญญัติ<br />

ที่ปรากฏในสังคมตะวันตก<br />

๓<br />

สํ.ส. (ไทย) ๕๑/๑๕๑/๑๑๐.<br />

องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๓๙/๕๔.<br />

องฺ.อฏฐก. (ไทย) ๒๓/๙๑/๑๕๒.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!