09.12.2014 Views

การเรียนรู้เพื่อลูกศิษย์ในศตวรรษที่ 21

ชมรมนักอ่านและนักเขียน

ชมรมนักอ่านและนักเขียน

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

คณิตศาสตร์สำหรับเด็ก ๖ ขวบ กับเด็ก ๑๒ ขวบต่างกันมาก และต้อง<br />

ไม่ลืมว่าเด็กบางคนอายุ ๑๐ ขวบ แต่ความเชี่ยวชาญด้านคณิตศาสตร์<br />

ของเขาเท่ากับเด็กอายุ ๑๓ ขวบ หรือในทางตรงกันข้าม เด็กบางคน<br />

อายุ ๑๐ ขวบ แต่ความเชี่ยวชาญทางคณิตศาสตร์ที่เขาสามารถมีได้เท่ากับ<br />

เด็กอายุ ๗ ขวบ<br />

คำว่า เชี่ยวชาญ หมายความว่า ไม่เพียงรู้สาระของวิชานั้น แต่ยัง<br />

คิดแบบผู้ที่เข้าถึงจิตวิญญาณของวิชานั้น คนที่เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์<br />

ไม่เพียงรู้เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ แต่ยังคิดแบบนักประวัติศาสตร์ด้วย<br />

เป้าหมายคือ การเรียนรู้แก่นวิชา ไม่ใช่จดจำสาระแบบผิวเผิน แต่รู้<br />

แก่นวิชาจนสามารถเอาไปเชื่อมโยงกับวิชาอื่นได้ และสนุกกับมันจนหมั่น<br />

ติดตามความก้าวหน้าของวิชาไม่หยุดยั้ง<br />

สมองด้านสังเคราะห์ (synthesizing mind) <br />

นี่คือ ความสามารถในการรวบรวมสารสนเทศและความรู้ต่าง ๆ ที่<br />

เกี่ยวข้อง นำมากลั่นกรองคัดเลือกเอามาเฉพาะส่วนที่สำคัญ และจัดระบบ<br />

นำเสนอใหม่อย่างมีความหมาย คนที่มีความสามารถสังเคราะห์เรื่องต่าง ๆ<br />

ได้ดีเหมาะที่จะเป็นครู นักสื่อสาร และผู้นำ<br />

ครูต้องจัดให้ศิษย์ได้เรียนเพื่อพัฒนาสมองด้านสังเคราะห์ ซึ่งต้องเรียน<br />

จากการฝึกเป็นสำคัญ และครูต้องเสาะหาทฤษฎีเกี่ยวกับการสังเคราะห์มาใช้<br />

ในขั้นตอนของการเรียนรู้จากการทบทวนไตร่ตรอง (reflection) หรือ AAR<br />

หลังการทำกิจกรรมเพื่อฝึกหัด เพราะผมเชื่อว่า การฝึกสมองด้านสังเคราะห์<br />

ต้องออกแบบการเรียนรู้ให้ ปฏิบัตินำ ทฤษฎีตาม<br />

และการสังเคราะห์กับการนำเสนอเป็นคู่แฝดกัน การนำเสนอมีได้<br />

24<br />

วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ ๒๑

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!