24.06.2019 Views

คู่มือการเปิดร้านอาหารไทยในเมืองจีน - หนานหนิง

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

คูมือกลยุทธ<br />

เมือง<strong>หนานหนิง</strong>


คำนำ<br />

คูมือเลมนี้ไดจัดทำขึ้นเพื่อเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนในพื้นที่<strong>หนานหนิง</strong><br />

โดยเฉพาะผูประกอบการชาวไทย รายยอยและขนาดกลาง ที่สนใจจะลงทุนเปดรานอาหารไทย<br />

ในประเทศจีน<br />

เมือง<strong>หนานหนิง</strong>เปนตลาดใหมสำหรับธุรกิจรานอาหารไทยที่มีศักยภาพ เนื่องจาก<br />

ประชากรในเขตเมืองเกือบ 2.5 ลานคน ซึ่งแตละคนมีรายไดเฉลี่ย 20,005 หยวนตอป อาหาร<br />

ไทยกำลังไดรับความนิยมจากผูบริโภคชาวนคร<strong>หนานหนิง</strong> โดยเฉพาะกลุมนักศึกษา จากการ<br />

ศึกษาพบวา โอกาสของรานอาหารตางชาติในหัวเมืองรองของจีนอยาง<strong>หนานหนิง</strong> ยังเปดกวาง<br />

สำหรับผูประกอบการรานอาหารไทยอยู เนื่องจากยังมีจำนวนรานอาหารไทยที่นอย ปจจุบันมี<br />

รานอาหารไทยประมาณ 40 -45 แหง สวนมากเจาของเปนชาวจีน และมีเพียงแคแหงเดียวที่<br />

เจาของเปนคนไทย และไดรับรอง Thai Select จำนวน 6 ราน อีกทั้งพื้นฐานคนกวางสีมี<br />

วัฒนธรรมการกินและรสชาติที่เผ็ด รอน คลายๆ กับรสชาติอาหารไทย อีกทั้งชาวเมืองหนาน<br />

หนิงยังเปดรับกับการทดลองรับประทานอาหารใหมๆ ดวย<br />

ทีมผูวิจัยไดศึกษาความเปนไปไดในการเปดรานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong> โดยได<br />

สัมภาษณผูประกอบการชาวจีนและชาวไทย ที่เปดรานอาหารไทย<strong>หนานหนิง</strong> ถึงความเปนไปได<br />

ในการเปดรานอาหาร จุดแขง จุดออน โอกาส และอุปสรรค รวมถึงปจจัยแหงความสำเร็จ<br />

นอกจากนั้นทีมผูวิจัยยังมีการทำวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาพฤติกรรมและทัศนคติของชาวจีนที่<br />

มีตอรานอาหารไทย ซึ่งผูวิจัยไดรวบรวมขอมูลทั้งหดมดเพื่อทำคูมือ โดยหวังวาจะเปนประโยชน<br />

ตอผูอานไมมากก็นอย<br />

อนึ่ง คูมือนี้จะสำเร็จไมไดหากไมไดรับการสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัย<br />

แหงชาติ ที่ไดมอบทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ประจำปงบประ<br />

มาณพ.ศ. 2561 ขอขอบคุณ กรมสงเสริมการสงออก กระทรวงพาณิชย ผูเขียนหวังเปนอยางยิ่ง<br />

วาหนังสือเลมนี้คงจะชวยเปนแรงบันดาลใจและสงเสริมความคิดในการทำธุรกิจในเมืองหนาน<br />

หนิงแกทานผูอาน<br />

ทีมผูวิจัย<br />

1


สารบัญ<br />

รูจักเมือง<strong>หนานหนิง</strong><br />

• ขอมูลทั่วไปของ<strong>หนานหนิง</strong><br />

• พฤติกรรมการบริโภคอาหารของชาวจีน<br />

• พฤติกรรมการบริโภคของชาว<strong>หนานหนิง</strong><br />

การเปดรานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

• SWOT การปดรานอาหารไทยในเมือง<strong>หนานหนิง</strong><br />

• โมเดลธุรกิจตอบโจทยผูประกอบการ (Business Canvas)<br />

• ขั้นตอนการจัดตั้งรานอาหารชาวตางชาติในเมืองจีน<br />

• กฎระเบียบ และขั้นตอนวาดวยการลงทุนรานอาหารไทยในจีน<br />

• การวาจางพอครัวแมครัวจากประเทศไทย<br />

กลยุทธการเปดตลาดใหมสำหรับรานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

• กลยุทธคูคาหรือกลยุทธหุนสวน (Partnership Strategy)<br />

• กลยุทธเจาะตลาดกลุมลูกคาใหมที่มีศักยภาพ<br />

• กลยุทธตกแตงรานใหสามารถ Show & Share<br />

• กลยุทธการตลาดออนไลนโดยใชดาราที่เปนที่รูจักของชาวจีน (Influencer)<br />

•กลยุทธการพัฒนาเมนูอาหารไทยที่ถูกปากชาวกวางโจว<br />

• กลยุทธการทำกิจกรรมที่สงเสริมความเปนไทย<br />

• กลยุทธสรางคุณคาของอาหารไทย<br />

• กลยุทธการตลาดและการบริการ<br />

ปจจัยแหงความสำเร็จของการเปดรานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

แหลงขอมูลประกอบการตัดสินใจลงทุน<br />

แผนกลยุทธการขยายตลาดใหมใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

3<br />

3<br />

10<br />

11<br />

12<br />

12<br />

16<br />

19<br />

26<br />

34<br />

38<br />

38<br />

38<br />

39<br />

39<br />

40<br />

40<br />

40<br />

40<br />

41<br />

42<br />

43<br />

2


รูจักเมือง<strong>หนานหนิง</strong><br />

มณฑลกวางสี<br />

ขอมูลทั่วไปเมือง<strong>หนานหนิง</strong>(Nanning) (มณฑลกวางสี)<br />

ที่ตั้ง/ขนาดพื้นที่ตั้งอยูทางทิศตะวันตกเฉียงใตของประเทศจีน โดยทิศเหนือติดมณฑล<br />

กุยโจวและหูหนาน ทิศตะวันตกติดมณฑลยูนนาน ทิศตะวันออกติดติดมณฑลกวางตุง และทิศ<br />

ใตติดทะเล (อาวตังเกี๋ย) และประเทศเวียดนาม มีพื้นที่ 236,660 ตร.กม. (ประมาณ 46% ของ<br />

ประเทศไทย) ใหญเปนอันดับที่ 9 ของประเทศจีน (คิดเปนสัดสวน 2.5% ของทั้งประเทศ) มีเสน<br />

แนวชายฝงทะเลยาว 1,959 กิโลเมตร (มีเขตแดนติดกับประเทศเวียดนาม 1,020 กิโลเมตร โดย<br />

เปนทางบก 460 กิโลเมตร) ทิศตะวันออกจรดทิศตะวันตกคิดเปนระยะทาง 771 กิโลเมตร และ<br />

ทิศเหนือจรดทิศใตยาวคิดเปนระยะทาง 634 กิโลเมตร (Thaibizchina, 2559, เว็บไซต)<br />

3


ขอมูลประชากร<br />

ปพ.ศ. 2557 <strong>หนานหนิง</strong>มีประชากรรวม 54.755 ลานคน เปนประชากรที่อาศัยอยูประจำ<br />

47.54 ลานคน (เขตเมือง 21.87 ลานคน คิดเปน 46%) แบงเปนชนชาติฮั่น (62%) และชนชาติ<br />

จวง (34%) ใชภาษาจีนกลาง จีนกวางตุง จีนกุยหลิ่ว และจวง ประชากรสวนใหญนับถือศาสนา<br />

พุทธมหายาน คริสต และอิสลาม (Thaibizchina, 2559, เว็บไซต)<br />

สภาพภูมิอากาศ<br />

กวางซีมีสภาพภูมิอากาศแบบลมมรสุมเขตกึ่งรอน (รอนชื้น) แบงเปน 3 ฤดูกาล คือ<br />

ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งป 16.5-23.1 องศาเซลเซียส โดยมี<br />

อุณหภูมิสูงสุด 33.7-42.5 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุด -8.4-2.9 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำ<br />

ฝนเฉลี่ยมากกวา1,070 มิลลิเมตร โดยปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรอยละ 70-85 วัดไดในเดือนเมษายน<br />

ถึงกันยายน (thaibizchina, 2559, เว็บไซต)<br />

ขอมูลดานการปกครอง<br />

เขตการปกครองของมณฑลกวางตุง<br />

การแบงพื้นที่เขตปกครอง<br />

เขตปกครองตนเองกวางซีจวงเปน 1 ใน 5 เขตปกครองตนเองของจีน<br />

(มีฐานะเทียบเทาระดับมณฑล) มีประธานเขตฯ กวางซีจวง เปนผูบริหารสูงสุดในฝายรัฐบาล<br />

(ขณะที่เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสตจีนประจำกวางซี เปนผูบริหารสูงสุดฝายนโยบาย) เขต<br />

ปกครองตนเองกวางซีจวงแบงเขตการปกครองออกเปน 14 เมือง ดังนี้<br />

4


1. นคร<strong>หนานหนิง</strong> (Nanning City) เปนเมืองเอก เปนที่ตั้งของรัฐบาลและหนวยงานภาครัฐในระดับ<br />

มณฑล และเปนศูนยกลางเศรษฐกิจการคาของกวางซี<br />

2. เมืองหลิ่วโจว เปนเมืองที่มีขนาดใหญเศรษฐกิจใหญเปนอันดับ 2 เปนเมืองอุตสาหกรรมยานยนต<br />

และเครื่องจักรกลกอสราง<br />

3. เมืองกุยหลิน เมืองทองเที่ยวระดับนานาชาติ และเมืองอุตสาหกรรม<br />

4. เมืองยวี่หลิน มีชื่อในอุตสาหกรรมเซรามิก<br />

5. เมืองอูโจว เมืองทาแมน้ำที่สำคัญของกวางซี และฐานอุตสาหกรรมวัสดุรีไซเคิล ตลอดจนพื้นที่เชื่อม<br />

ตอกับกวางตุง<br />

6. เมืองชินโจว หนึ่งใน 3 เมืองทารอบอาวเปยปู มีเขตคลังสินคาทัณฑบน และเขตนิคมอุตสาหกรรมจีน<br />

-มาเลเซีย<br />

7. เมืองไปเซอ เมืองชายแดนติดเวียดนาม และเปนหนึ่งในฐานอุตสาหกรรมเหมืองแรที่สำคัญของกวาง<br />

ซี และของจีน<br />

8. เมืองกุยกาง เมืองทาแมน้ำสำคัญของกวางซี เปนฐานการผลิตปูนซีเมนตขนาดใหญที่สุดของกวางซี<br />

9. เมืองเหอฉือ เมืองแหงอุตสาหกรรมเหมืองแร และเมืองทองเที่ยว “หมูบานอายุยืน”<br />

10. เมืองหลายปน มีชื่อในอุตสาหกรรมอลูมิเนียม และเปนฐานการผลิตน้ำตาลที่สำคัญของกวางซี<br />

11. เมืองเปยไห หนึ่งใน 3 เมืองทารอบอาวเปยปู ตั้งเปาหมายที่จะเปน “ซิลลิคอนวัลเลย” และมีเขต<br />

แปรรูปเพื่อการสงออก<br />

12. เมืองฉงจั่ว เมืองการคาชายแดนจีน-เวียดนาม ฐานการผลิตน้ำตาลที่ใหญที่สุดของประเทศจีน และ<br />

กำกับดูแลอำเภอระดับเมืองผิงเสียง ซึ่งเปนเมืองหนาดานของถนนที่เชื่อมจีนกับอาเซียน รวมถึงไทย<br />

(R8 R9 R12)<br />

13. เมืองฝางเฉิงกาง หนึ่งใน 3 เมืองทารอบอาวเปยปู มีทาเรือขนาดใหญที่สุดของกวางซี และเปน<br />

เมืองชายแดนติดเวียดนาม (ดานตงซิง-หมงกาย)<br />

14. เมืองเฮอโจว ไดรับการกำหนดใหเปนฐานรองรับการเคลื่อนยายอุตสาหกรรมจากภาคตะวันออก<br />

ขอมูลทั่วไปเมือง<strong>หนานหนิง</strong>(Nanning) (มณฑลกวางสี)<br />

1. นคร<strong>หนานหนิง</strong> (Nanning)<br />

“เมืองเอก” ของเขตปกครองตนเองกวางซีจวง มีความสำคัญในฐานะเมืองศูนยกลางการเมือง<br />

การปกครองและเศรษฐกิจ (อาวเปยปู) ของมณฑล เปนเมืองที่มีขนาดทางเศรษฐกิจใหญเปนอันดับ 1<br />

จาก 14 เมือง) ของกวางซี ทั้งในแงพื้นที่ ประชากร และขนาดเศรษฐกิจ) ทั้งนี้ เมื่อเทียบกับอีกหลาย<br />

เมืองใหญของจีน นคร<strong>หนานหนิง</strong>อาจไดรับการจัดใหเปน “หัวเมืองชั้น 2” ของประเทศ<br />

นคร<strong>หนานหนิง</strong> เปนที่รูจักในฐานะสถานที่จัดถาวรของ “งานมหกรรมแสดงสินคาจีน-อาเซียน”<br />

(China-ASEAN Expo; CAEXPO) ไดรับการขนานนามเปน “Green City” เปนบานพี่เมืองนองกับ<br />

เทศบาลเมืองขอนแกน และมีสถาบันการศึกษาที่เปดสอนภาษาไทยมากที่สุดในเขตฯ กวางซีจวง<br />

นคร<strong>หนานหนิง</strong> มีพื้นที่ราว 2.2 หมื่น ตร.กม. (ใหญกวา กทม. 14 เทา) มีประชากรราว 7.1 ลานคน (ป<br />

55) แบงเปนการปกครองเปน 6 เขต 6 อำเภอ นคร<strong>หนานหนิง</strong>เปนเมืองพี่เมืองนองกับจังหวัดขอนแกน<br />

5


เขตธุรกิจที่นาสนใจ<br />

เขตซิงหนิง<br />

เขตซิงหนิง<br />

ถือเปนเปนยานใจกลาง<br />

เมืองและเปนแหลงธุรกิจที่มีความ<br />

เกาแกที่สุด รวมทั้งเปนที่ตั้งของ<br />

แหลงช็อปปง และถนนคนเดิน<br />

(Walking street) ที่มีชื่อเสียงที่สุด<br />

ของนคร<strong>หนานหนิง</strong><br />

ยานใจกลางเมืองแหงนี้<br />

ถือเปนทำเลทองที่เหมาะกับการ<br />

คาขายสินคาของผูประกอบการ<br />

เนื่องจากมีลูกคาหมุนเวียนเปน<br />

จำนวนมากและเปนที่รูจักกันเปน<br />

อยางแพรหลาย<br />

เขตเมืองใหมลางตง<br />

เขตเมืองใหม (ธุรกิจ) ลางตง<br />

ตั้งอยูทางฝงตะวันออกของ<br />

นคร<strong>หนานหนิง</strong> เปนยานธุรกิจ<br />

สำนักงาน แหลงที่อยูอาศัย และแหลง<br />

ชอปปงที่มีชื่อเสียงอีกแหงหนึ่งของนคร<br />

<strong>หนานหนิง</strong> เปนพื้นที่ที่มีระดับการขยาย<br />

ตัวทางเศรษฐกิจและมีการพัฒนาภาค<br />

อสังหาริมทรัพยสูงที่สุดพื้นที่หนึ่งของ<br />

นคร<strong>หนานหนิง</strong><br />

ปจจุบัน เปนที่ตั้งของสถานกงสุลตาง<br />

ประเทศในนคร<strong>หนานหนิง</strong> ซึ่งในชั้นนี้ มี<br />

อยู 5 ประเทศ ไดแก ไทย เวียดนาม<br />

ลาว พมา และ กัมพูชา<br />

ทางการ<strong>หนานหนิง</strong>วางแผนใหเขตนี้เปนศูนยกลางการคมนาคมของนคร<strong>หนานหนิง</strong> โดยนอกจาก<br />

เปนที่ตั้งของสถานีรถขนสง (บขส.) ในปจจุบันแลว ในอนาคต จะเปนที่ตั้งของสถานีรถไฟความเร็วสูง<br />

(เชื่อมระหวางเมือง และขามมณฑล) กลาวไดวา “เขตเมืองใหมลางตง” จะเปนพื้นที่ศูนยกลางทางเศรษฐกิจ<br />

ของนคร<strong>หนานหนิง</strong>ในอนาคต<br />

6


เขตเมืองใหมอูเซี่ยง<br />

ตั้งอยูทางฝงใตของนคร<strong>หนานหนิง</strong> มีพื้นที่ 175ตร.กม.เปนเขตใหมที่สรางขึ้นเพื่อ<br />

รองรับการขยายตัวของนคร<strong>หนานหนิง</strong> โดยไดรับการกำหนดใหเปนที่ตั้งของที่ทำการของหนวย<br />

งานราชการ พื้นที่โลจิสติกส และพื้นที่พักผอนแหงใหมของเมือง<br />

ปจจุบัน อยูระหวางดำเนินงานกอสรางระบบโครงสรางพื้นฐานโดยรอบ<br />

ขอมูลเศรษฐกิจกวางซีในดานตางๆ<br />

ความโดดเดนทางเศรษฐกิจ<br />

• ไดรับการกำหนดใหเปน “ประตูสูอาเซียน” ของจีน<br />

(มีความไดเปรียบดานทำเลที่ตั้งและการมีชายแดนติดกับเวียดนามกวา 1,000 กม.)<br />

• เปนพื้นที่ยุทธศาสตรของแผนพัฒนาระดับชาติ อาทิ China-ASEAN Expo แผนพัฒนาเขต<br />

เศรษฐกิจอาวเปยปู แผนพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตก และการประชุม Pan-Pearl River Delta<br />

• มีเสนทางถนนที่เชื่อมตอกับภาคอีสานของไทย (อาทิ R8 R9 R12) - เปน<br />

“ประตูทางออกสูทะเล” ของพื้นที่มณฑลภาคตะวันตกของประเทศ<br />

• เปนมณฑลที่มีนักศึกษาจีนเรียนภาษาไทยมากที่สุด ในแตละปมีนักศึกษาจีนไปเรียนตอที่ไทย<br />

ประมาณ 2,000 คน<br />

• เปนแหลงผลิตและสำรองสินแรที่สำคัญของจีน อาทิ อลูมิเนียม แมงกานีส และแรหายาก<br />

• เปนมณฑลเกษตรกรรมที่สำคัญของประเทศ<br />

• เปนแหลงผลิตและแปรรูปน้ำตาลออยใหญที่สุดในจีน (ผลิตไดประมาณ 1 ใน 3 ของผลผลิตทั้ง<br />

ประเทศ)<br />

• เปนแหลงผลิตผลไมเขตรอนที่สำคัญของจีน อาทิ สมประเภทตางๆ และลิ้นจี่ เปนตน<br />

7


พฤติกรรมการบรโภคอาหารไทย<br />

จัดกิจกรรมฝกสอนทำอาหาร เพื่อสงเสริมความนิยมอาหารไทยในกวางซีใหกับผูที่สนใจ<br />

เมือง<strong>หนานหนิง</strong> (Nanning) (มณฑลกวางสี) เปนอีกเมืองที่มีการเจริญเติบโตของ<br />

อาหารไทยอยางมากเกิดความนิยมแบบใหมในรานอาหารจีนทั่วๆ ไป ที่พยายามหาเมนูอาหาร<br />

ตางประเทศ โดยเฉพาะอาหารฝรั่งและอาหารของอาเซียน มาแทรกอยูในเมนูของตนเองมากขึ้น<br />

เพื่อสรางความแปลกใหมใหลูกคา อยางเชน ขาวกระเพราใส“ถั่วงอกลวก” ซึ่งกลายเปนอาหาร<br />

จานฮิตที่ไดรับความนิยมอยางมากในปจจุบัน<br />

อีกความนิยมที่กําลังมาแรง คือ การเปดรานที่ขายอาหารตางประเทศแบบเปน กลุมๆ<br />

เชน รานซินหมาไทขายอาหารจานเดนของอาเซียน และรานAsia Table ขายอาหารจานโปรดของ<br />

ประเทศในภูมิภาคเอเชีย ทั้งนี้ รานอาหารที่วามาเกือบทั้งหมดไมวาจะขายอาหารจีนหรืออาหาร<br />

ตางประเทศ ตางก็มีเจาของกิจการเปน “คนจีน” รวมถึงคนฮองกงและคนไตหวันพูดงายๆ ก็คือ<br />

หาเจาของที่เปนคนตางชาติตนตํารับไดนอยมาก<br />

8


ทั้งนี้ ในดานการเปดรานอาหารในนคร<strong>หนานหนิง</strong>สถานกงสุลใหญ ณ นคร<strong>หนานหนิง</strong><br />

ไดมการจัดกิจกรรมมากมายเกี่ยวกับอาหารไทย เชน<br />

(1) การจับมือภาคเอกชนไทย จัดโครงการเพื่อสงเสริมความนิยมอาหารไทยในมณฑล<br />

ทางใตของจีนเพื่อชวยแกไขปญหาตางๆ พรอมทั้งสงเสริมความหลากหลายของอาหารอาเซียนใน<br />

กวางซี” โดยความคาดหวังวา ผูประกอบการรานอาหารที่สงพอครัว/แมครัวเขารวมโครงการฯ จะ<br />

นำรายการอาหารไทยที่ไดรับการฝกสอน ไปปรุงจำหนายในรานอาหารของตนเองตอไป โดยไดรับ<br />

ความรวมมือจากบริษัทงวนสูน ผูผลิตและจัดจำหนายเครื่องเทศและเครื่องปรุงอาหารชั้นนำของ<br />

ไทย(ซึ่งมีสำนักงานสาขาอยูที่กวางโจวดวย) โดยมีบริษัทงวนสูนเปนผูจัดหาผูฝกสอนทำอาหาร<br />

ไทย และเครื่องปรุงและวัตถุดิบในการทำการเรียนการสอนการคัดเลือกรายการอาหารไทยที่เปน<br />

ที่นิยมของชาวตางชาติมาฝกสอน อาทิ สมตำ สลัดซีฟูดและผลไมแบบไทย หมูสะเตะ หมูน้ำตก<br />

กับขาวเหนียว ปกไกทอดกระเทียมพริกไทย แกงเขียวหวานกุง ผัดกระเพราซีฟูด ตมยำกุง ผัดไท<br />

และขาวผัดสัปปะรด เพื่อใหไดรสชาติที่ถูกปากชาวจีนตอไป (กระทรวงตางประเทศ, 2555,<br />

เว็บไซต)<br />

(2) จัดกิจกรรมฝกสอนทำอาหาร เพื่อสงเสริมความนิยมอาหารไทยในกวางซี เพื่อสราง<br />

โอกาสใหคนกวางซี ประเทศจีน เขาถึงอาหารไทยไดงายขึ้น สถานกงสุลใหญ ณ นครหนาน<br />

หนิง ไดจัดกิจกรรมฝกสอนทำอาหารไทยใหแกสาธารณชนกวางซีที่สนใจทั่วไป เมื่อวันที่ 20 และ<br />

27 เมษายน 2556หลักสูตรที่เปดสอน ซึ่งประกอบดวยอาหาร 5 รายการ ไดแก “สมตำ”<br />

“ตมยำกุง” “แกงเขียวหวานไก” “ผัดไทย” และ“ขาวเหนียวทุเรียน”<br />

9


พฤติกรรมผูบรโภคชาว<strong>หนานหนิง</strong><br />

เมือง<strong>หนานหนิง</strong>เปนตลาดใหมสำหรับธุรกิจรานอาหารไทยที่มีศักยภาพ เนื่องจาก<br />

ประชากรในเขตเมืองเกือบ 2.5 ลานคน ซึ่งแตละคนมีรายไดเฉลี่ย 20,005 หยวนตอป หากนับ<br />

เฉพาะ 20 เปอรเซ็นตของครัวเรือนที่รวยที่สุดใน<strong>หนานหนิง</strong> รายไดเฉลี่ยจะขึ้นไปถึง 34,630<br />

หยวนตอครัวเรือนตอป ซึ่งเปนตัวเลขที่ไลเลี่ยกับรายไดเฉลี่ยตอหัวของประชาชนในเขตเมือง<br />

ของ 3 มหานครใหญของจีนอยางปกกิ่ง (32,903 หยวน) เซี่ยงไฮ (36,230 หยวน) และกวาง<br />

โจว (34,438 หยวน) ตัวเลขนี้ นาจะอธิบายไดวา เหตุใด บรรดาสินคาหรูและรานอาหารชื่อดัง<br />

ตางถิ่นจึงเลือกมาเปดสาขาที่นคร<strong>หนานหนิง</strong> เมืองที่กำลังเติบโตขึ้นอยางมีพลวัตร<br />

อีกปจจัยบวกที่นาจะเพิ่มโอกาสการประสบความสำเร็จของการเปดรานอาหารไทย<br />

สัญชาติไทยใน<strong>หนานหนิง</strong> มณฑลกวางซี คือ การที่กวางซีเปนมณฑลที่มีนักศึกษาจีนเรียนภาษา<br />

ไทยมากที่สุดในจีน โดยในแตละปมีนักเรียนจากกวางซีเดินทางไปเรียนที่ประเทศไทยถึงกวา 2<br />

พันคน กลุมนักศึกษาเหลานี้ รวมถึงพอแม พี่นองและเพื่อนฝูงของพวกเขา มีสวนชวยเสริม<br />

สราง “ความนิยมไทย” รวมถึงความตองการอาหารไทยแทๆ ในกวางซีเปนอยางมาก<br />

ขณะเดียวกัน ในกวางซีเอง ก็มีนักศึกษาไทยมาเรียนถึงปละรวมพันคน ซึ่งเมื่อคนไทย<br />

มาอยูไกลบาน ก็แนนอนวา ตองอยากอาหารไทยแซบลิ้น ถึงรสถึงชาติ ที่ยังหาไมไดใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

ในปจจุบันจากที่กลาวมาทั้งหมด จึงเห็นวา โอกาสของรานอาหารตางชาติในหัวเมืองรองของจีน<br />

อยาง<strong>หนานหนิง</strong> ยังเปดกวางสำหรับผูประกอบการรานอาหารไทยอยู เนื่องจากยังมีจำนวนราน<br />

อาหารไทยที่นอย อีกทั้งพื้นฐานคนกวางสีมีวัฒนธรรมการกินและรสชาติที่เผ็ด รอน คลายๆ กับ<br />

รสชาติอาหารไทย อีกทั้งชาวเมือง<strong>หนานหนิง</strong>ยังเปดรับกับการทดลองรับประทานอาหารใหมๆ<br />

ดวย<br />

จึงเห็นไดวาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของชาว<strong>หนานหนิง</strong>ใหความสำคัญกับเรื่อง<br />

อาหารการกินมากๆ เปนอันดับตนๆ ของคาใชจายในชีวิตประจำวัน นิยมรับประทานอาหารรส<br />

เผ็ด และมีรสชาติอาหารคลายๆ กับคนไทย ซึ่งมีความเชื่อมโยงทางดานวัฒนธรรมชาวจวงที่ใช<br />

ภาษาไทยอีกดวย อาหารไทยกำลังไดรับความนิยมจากผูบริโภคชาวนคร<strong>หนานหนิง</strong> มีรานอาหาร<br />

ไทยประมาณ 40 -45 แหง สวนมากเจาของเปนชาวจีน และมีเพียงแคแหงเดียวที่เจาของเปนคน<br />

ไทย (Morning Bangkok) และไดรับรอง Thai Select จำนวน 6 ราน<br />

10


เมนูอาหารไทยยอดนิยมของชาว<strong>หนานหนิง</strong><br />

เมนูอาหารไทยยอดนิยมในเมือง<strong>หนานหนิง</strong> ไดแก อันดับหนึ่ง คือ ตนยำกุง อันดับสอง คือ<br />

ปูผัดผงกะหรี่ และอันดับสาม คือ ขาวผัดปะรด<br />

อันดับ 1: ตมยำกุง<br />

อันดับ 2: ปูผัดผงกะหรี่<br />

11<br />

เมนูอาหารไทยยอดนิยมของชาว<strong>หนานหนิง</strong><br />

อันดับ 3: ขาวผัดสับปะรด


S<br />

การเปดรานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

SWOT การเปดรานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

Strenght<br />

จดแข็ง<br />

1. อาหารไทยมีเอกลักษณ มีรสชาติที่ครบรสทั้งเปรี้ยว เค็ม หวาน เผ็ด และมีกลิ่นหอม<br />

2. อาหารไทยใชวัตถุดิบที่พิถีพิถัน และเปนอาหารเชิงสุขภาพที่มีประโยชนตอรางกาย เนน<br />

ความสด สะอาด และไดมาตรฐานในการปรุง<br />

3. รานอาหารมีการตกแตงที่สวยงาม สะทอนถึงความเปนเอกลักษณความเปนไทยที่ชัดเจน<br />

4. มีรสนิยม และมีความประณีต<br />

5. มีการบริการแบบไทย (Thainess) ที่สรางความประทับใจสำหรับกลุมลูกคาระดับกลางซึ่ง<br />

เปนกลุมเปาหมายของรานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

W Weakness<br />

จดออน<br />

1. อาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong>มีราคาคอนขางสูงเนื่องจากมีการนำเขาวัตถุดิบจากไทย<br />

2. รานอาหารไทยมีรายการอาหารใหเลือกไมหลากหลายและไมใชรสชาติไทยแท<br />

3. การนำวัตถุดิบเขาจากประเทศไทยทำใหมีราคาสูง<br />

4. ถาใชพนักงานทองถิ่นที่เปนจีน จะไมสามารถบริการไดเทาคนไทย เชน การไหว การยิ้มแยม<br />

มีมิตรไมตรี ซึ่งเปนสัญลักษณของการบริการแบบไทย<br />

12


O Opportunity<br />

โอกาส<br />

1. <strong>หนานหนิง</strong>เปนตลาดใหมที่มีศักยภาพมากเนื่องจากเปนเมืองรอง มีความตองการของ<br />

กลุมผูบริโภคระดับกลาง และสวนมากเปนคนรุนใหมที่ชอบลองของใหม<br />

2. โอกาสของ Thai Street Food เชน รานกวยเตี๋ยวเรือ รานขายน้ำมะมวง รานขายน้ำ<br />

มะพราว มีเพิ่มมากขึ้น<br />

3. มีหนวยงานราชการไทยไดแก สถานกงสุล ที่ใหการสนับสนุนและใหคำปรึกษาทางดาน<br />

การดำเนินธุรกิจที่คอยชวยเหลือนักธุรกิจไดเปนอยางดี<br />

4. ชาว<strong>หนานหนิง</strong>นิยมการใชสื่อสังคมอออนไลน ที่ผูประกอบการสามารถนำมาใชในการ<br />

สงเสริมหการขายและสรางความสัมพันธกับลูกคา<br />

T<br />

Threat<br />

อุปสรรค<br />

1. การแขงขันในตลาดอาหารคอนขางสูง โดยเฉพาะอาหารจีน ที่มีหลากหลายและราคา<br />

ถูกกวาอาหารไทย<br />

2. กฎหมายการเปดรานอาหารและการนำพอครัวเขาไปทำงานใน<strong>หนานหนิง</strong>คอนขางจะยาก<br />

3. ความตองการของผูบริโภคเปลี่ยนแปลงสม่ำเสมอ อาหารไทยอาจจะไมเปนไปตามที่คาด<br />

หวังของลูกคา<br />

4. การแขงขันดานบริการของรานอาหารญี่ปุนและรานอาหารยุโรปที่มีมาตรฐานสูงกวา<br />

13


ขอเสนอแนะเชิงกลยุทธการเปดตลาดใหมของธุรกิจรานอาหารไทยในเมือง<strong>หนานหนิง</strong><br />

(1) <strong>หนานหนิง</strong>เปนเมืองที่มีศักยภาพของการเปนตลาดใหม ชาว<strong>หนานหนิง</strong>คลายชาวเฉิงตู<br />

ที่ชอบกินอาหารเผ็ด วัฒนธรรมการกินที่คลายๆ คนไทย ดังนั้นธุรกิจรานอาหารจะตองมี<br />

“เอกลักษณและจุดยืน” ของความเปนอาหารที่ชัดเจน ดังนั้นผูประกอบจึงควรเปดรานอาหารที่มี<br />

รสชาติจัดจานและคงความเปนไทยแท (Thai Authentic)<br />

(2) ปจจุบันรานอาหารตางๆ มักจะบริการสงอาหารถึงบาน (Delivery) โดยลูกคาสามารถ<br />

สั่งอาหารออนไลน ซึ่งรานอาหารไทยสามารถทำการคาออนไลนไดเชนกัน ในรูปแบบซื้อขายบน<br />

Application บริการสงอาหารกับ Baidu, Waimai, Meituan เปนตน<br />

(3) ชาวเมือง<strong>หนานหนิง</strong>ชอบทดลองของใหม และยอมรับอาหารตางประเทศมากยิ่งขึ้น สง<br />

ผลดีตอธุรกิจรานอาหารไทยที่นับวันยิ่งไดรับความนิยมจากชาว<strong>หนานหนิง</strong>มากขึ้น หากรานอาหารไทย<br />

ใดมีจุดขาย จุดเดน และเมนูที่พิเศษที่นิยม จะสามารถดึงดูดลูกคาไดมากขึ้น นอกจากนั้นควรมีนวัต<br />

กรรมอาหารใหมๆ หรือเมนูอาหารใหมๆ ที่นาสนใจ และฉีกแนวเพื่อรองรับวิถีการดำเนินชีวิตของชาว<br />

<strong>หนานหนิง</strong><br />

(4) ธุรกิจ Thai Street Food กำลังมาแรง และเปนที่ตองการของกลุมผูบริโภคชาวหนาน<br />

หนิง เชน รานกวยเตี๋ยวเรือ รานน้ำมะมวง รานน้ำมะพราว เปนตน ซึ่งเปนธุรกิจที่สามารถเขาถึงกลุม<br />

ลูกคาระดับกลางที่มีกำลังซื้อสูงไดไมยาก<br />

(5) รานอาหารไทยควรตกแตงรานใหสามารถ Show & Share และมีมุมถายภาพที่สะทอน<br />

ความเปนเอกลักษณของความเปนไทย เนื่องจากพฤติกรรมของคนจีนชอบใช Social media ไมวาจะ<br />

เปน Wechat, Weibo เปนตนใชสำหรับการสื่อสาร และนิยมชอบ Show & Share ภาพถายของราน<br />

อาหารเพื่อการบงบอกและสรางตัวตนในโลกของออนไลน ดังนั้นกลยุทธที่สำคัญ คือ การตกแตงราน<br />

อาหารไทยใหมีเอกลักษณเพื่อสรางกระแสการตลาดแบบบอกตอใหเกิดขึ้นในโลกออนไลน<br />

(6) เครื่องหมาย Thai Select มีความสำคัญตอรานอาหารไทย เพราะเปนเครื่องหมายที่จะ<br />

ชวยแสดงใหเห็นวารานอาหารไทยใดมีคุณภาพทั้งในดานการใชวัตถุดิบ วิธีปรุง และรสชาติที่มีความ<br />

เปนไทย มีเอกลักษณที่โดดเดน ซึ่งอยางนอยก็สามารถสรางความเชื่อมั่นใหแกผูบริโภคไดในระดับ<br />

หนึ่ง<br />

14


(7) ธุรกิจอาหารเปนธุรกิจบริการหนึ่งที่ไดรับความสนใจจากนักลงทุนชาวตางประเทศที่<br />

เขามาลงทุนในเมือง<strong>หนานหนิง</strong> ผูประกอบการที่สนใจมาทำการคา หรือรวมลงทุนกับนักธุรกิจทองถิ่น<br />

เพื่อเปดรานอาหารไทยสามารถติดตอขอมูลไดที่สำนักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ กระทรวง<br />

ตางประเทศ<br />

บรรยากาศรานตำรับไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

15


โมเดลธุรกิจตอบโจทยผูประกอบการ<br />

(Business Canvas)<br />

สำหรับการเปดรานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

เพื่อชวยในการวางแผนธุรกิจอยางเปนระบบ ควรมีการจัดทำโมเดลธุรกิจ ซึ่งถูก<br />

พัฒนาและคิดคนโดย Alexander Osterwalder โดยมีองคประกอบ 9 องคประกอบดวยกัน<br />

1| กลุมลูกคาเปาหมาย (Customer Segments)<br />

กลุมลูกคาเปาหมาย มาจากการแบงตามลักษณะและพฤติกรรมของลูกคา กลุมลูกคา<br />

สำหรับรานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong> กลุมรายไดปานกลาง-สูง เปนนักศึกษา วัยทำงาน และนักธุรกิจ<br />

พบวาอาหารไทยที่จำหนายใน<strong>หนานหนิง</strong>มีราคาคอนขางแพงหากเปรียบกับอาหารทองถิ่น<br />

2| การสรางสายสัมพันธกับลูกคา (Customer Relationships)<br />

การสรางและรักษาความสัมพันธกับลูกคาเปนสิ่งที่สำคัญ เพราะจะทำใหเกิดการซื้อ<br />

ซ้ำและการบอกตอ (word of mouth) จนนำไปสูการเปนลูกคาที่จงรักภักดีตอแบรนด สำหรับ<br />

ใน<strong>หนานหนิง</strong> ผูประกอบการแนะนำวา ควรเริ่มตนดวยการโฆษณา ประชาสัมพันธผานสื่อสังคม<br />

ออนไลน และการมอบสวนลดสำหรับการเปดรานในครั้งแรก สิ่งสำคัญคืออาหารตองมีคุณภาพ<br />

รสชาติดี ลูกคาคนจีนกลุมวัยรุนชอบลองอะไรใหมๆ เมื่อลูกคามาทานแลวชอบจะบอกตอ<br />

เปนการชวยโฆษณาใหกับรานดวยไมตองเสียคาใชจาย<br />

16


3| ชองทางการเขาถึง (Channels)<br />

รานอาหารสวนใหญใน<strong>หนานหนิง</strong>มีหนารานสำหรับนั่งรับประทานอาหาร มีทั้งขนาด<br />

เล็ก กลางและใหญ ทำเลที่ตั้งของรานมีความสำคัญมาก ถารานตั้งอยูใจกลางเมือง ก็จะงายใน<br />

การเขาถึงสำหรับลูกคา นอกจากนั้น ผูประกอบการควรมีบริการสั่งและจัดสงอาหารใหในบริเวณ<br />

ใกลเคียง โดยใชแอปพลิเคชันในการสั่งอาหาร<br />

4| คุณคาของธุรกิจ (Value Propositions)<br />

รานอาหารควรใชวัตถุดิบในการประกอบอาหารที่มีคุณภาพ อาจนำสงมาจากเมือง<br />

ไทยโดยตรง ทำใหอาหารมีคุณภาพ นอกจากนั้นพอครัวควรรูจักปรับรสชาติใหถูกลิ้นกับความ<br />

ตองการของผูบริโภคอีกดวย การใหบริการที่ดีในรูปแบบของรานอาหารแบบหรูหรา (Fine<br />

Dining) คุณภาพและการบริการที่ดีจะเพิ่มคุณคาใหกับผูบริโภคอีกดวย<br />

5| พันธมิตรที่สำคัญ (Key Partners)<br />

ผูประกอบการไทยควรหาผูรวมลงทุนเปนคนจีน (partner) นอกจากนั้นควรรวมมือ<br />

กับผูสงมอบวัตถุดิบ (supplier) แตติดปญหาที่วัตถุดิบบางอยางสงตรงมาจากประเทศไทย<br />

โดยตรง จึงทำใหมีราคาคอนขางสูงเพราะบางครั้งตองนำวัตถุดิบมาจากเมืองใกลเคียง สถาน<br />

กงสุลไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

นอกจากนั้นแลวพันธมิตรยังรวมถึง หนวยงานภาครัฐ สถานกงสุลของรัฐ กระทรวง<br />

พาณิชย และหนวยงานตางๆ ในจีน ที่เกี่ยวของกับการเปดรานอาหารไทย<br />

6| กิจกรรมหลัก (Key Activities)<br />

กิจกรรมหลักของรานอาหารไทยในประเทศจีน ซึ่งดำเนินการโดยพอครัว แมครัว<br />

พนักงาน และเจาของรานคือ การคิดเมนู ผลิตอาหาร และการใหบริการอาหารและเครื่องดื่ม<br />

การจัดโปรโมชั่น สงเสริมการขาย ซึ่งควรทำอยางตอเนื่องและสม่ำเสมอ นอกจากนั้นควรมี<br />

กิจกรรมสำหรับการอบรมพนักงานในเรื่องตางๆ เชน เรื่องการบริการ เปนตน<br />

7| ทรัพยากรหลัก (Key Resource)<br />

ทรัพยากรบุคคลหลักที่สำคัญ คือ พอครัว แมครัว พนักงานเสิรฟ สวนใหญพอครัว<br />

ใหญในรานอาหารไทยจะเปนคนจีน ซึ่งการดำเนินการเรื่องเอกสารนำพอครัวไทยมาทำงานที่จีน<br />

ไมใชเรื่องงาย ตองใชระยะเวลา<br />

17


8| โครงสรางดานตนทุน (Cost Structure)<br />

ตัวอยางของตนทุนที่เกี่ยวชอง เชน ตนทุนการกอตั้งราน ตนทุนวัตถุดิบ คาจางเงิน<br />

เดือน คาสาธารณูปโภค คาเชาพื้นที่ราน รวมถึงคาใชจายดานการตลาด<br />

9| กระแสรายรับ (Revenue Streams)<br />

รายไดหลักจะมาจากการขายอาหารในทุกเมนูของราน และรายไดจากคาธรรมเนียม<br />

ของการสมัครสมาชิกของทางราน<br />

ตัวอยางการจัดจานอาหารสำหรับเสิรฟในรานอาหารไทยในเมือง<strong>หนานหนิง</strong><br />

18


ขั้นตอนการจัดตั้ง<br />

รานอาหารชาวตางชาติในเมืองจน<br />

ขั้นตอนการจัดตั้งรานอาหารชาวตางชาติในเมืองจีนจะมีขั้นตอนที่สำคัญ 2 ขั้นตอนคือ<br />

1. ขั้นตอนชวงการจัดตั้งธุรกิจ<br />

2. รายละเอียดชวงการจัดตั้งธุรกิจ<br />

ขั้นตอนชวงการจัดตั้งธุรกิจ<br />

แผนผังขั้นตอนการจดทะเบียนรานอาหารในจีน<br />

19


1. ยื่นขอ ชื่อที่จะใชจดทะเบียนธุรกิจ (Apply for A Company Name) ณ สำนักบริหาร<br />

อุตสาหกรรมและพาณิชยในทองที่ (Administration for Industry and Commerce, 工 商 行<br />

政 管 理 局 ) โดยทั่วไป ขั้นตอนนี้ใชเวลาประมาณ 1-2 สัปดาห<br />

2. ยื่นขอ การกอตั้งกิจการโดยทุนตางชาติ (Apply for Establishment of Foreign-funded<br />

Enterprise) ณ สำนักงานพาณิชยในทองที่ (Commerce Bureau, 商 务 局 ) ใชเวลาพิจารณาไม<br />

เกิน 90 วันทำการ<br />

3. ยื่นขอ ใบอนุญาตการประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Examination and<br />

Approval) ณ สำนักงานสิ่งแวดลอมทองถิ่น (Environmental Protection Bureau, 环 保 局 )<br />

ใชเวลาประมาณ 3 สัปดาห<br />

4. ยื่นขอ ใบอนุญาตประกอบธุรกิจบริการรานอาหาร (Apply for Food Service Permit, 餐 饮<br />

服 务 许 可 证 ) ณ สำนักงานกำกับอาหารและยาในทองถิ่น (Local Food and Drug Administration,<br />

食 品 药 品 监 督 管 理 局 ) ใชเวลาประมาณ 1 เดือน<br />

5. ยื่นขอ ใบอนุญาตการปองกันอัคคีภัย (Fire Protection Registration) ณ สำนักงานดับเพลิง<br />

ทองถิ่น (Fire Department, ) ใชเวลาประมาณ 1-2 สัปดาห<br />

6. ยื่นขอ ใบอนุญาตดำเนินธุรกิจ (Apply for Business License, 营 业 执 照 ) ณ สำนักงานบริหาร<br />

อุตสาหกรรมและพาณิชย ในทองถิ่นของเขตที่รานจะตั้งอยู ใชเวลาประมาณ 2 สัปดาห<br />

ขั้นตอนชวงการจัดตั้งธุรกิจ<br />

1. ยื่นขอ เลขประจำตัวผูเสียภาษีอากร (Tax Registration) ณ สำนักงานภาษีทองถิ่น (Local<br />

Taxation Administration, 地 方 税 务 局<br />

2. ยื่นขอ ใบทะเบียนเลขประจำตัวนิติบุคคล (Code Allocation to Organization Certificate<br />

– 组 织 机 构 代 码 证 ) ณ สำนักงานควบคุมคุณภาพและเทคโนโลยีทองถิ่น (Quality and<br />

Technology Supervision Bureau, 质 量 技 术 监 督 局 )<br />

3. ยื่นจดทะเบียนขออนุญาตเปดบัญชีธนาคาร (Permit for Opening Bank Account) ณ<br />

ธนาคารประชาชนจีน (The People’s Bank of China - 中 国 人 民 银 行 ) ประจำทองที่<br />

4. ยื่นจดทะเบียนสถิติ (Statistics Registration) ณ สำนักงานสถิติทองถิ่น<br />

5. ยื่นขออนุญาตทำธุรกรรมเงินตราตางประเทศ (Foreign Exchange Registration) ณ<br />

สำนักงานปริวรรตเงินตราระหวางประเทศประจำทองถิ่น (Foreign Exchange Supervision<br />

Bureau, 外 汇 管 理 局 )<br />

20


6. ยื่นจดทะเบียนประกันสังคมและแรงงาน (Labor and Social Security Registration, 劳 动 和 社 会<br />

保 障 登 记 证 ) ณ สำนักงานแรงงานและประกันสังคมประจำทองถิ่น (Labor and Social Security<br />

Bureau, 劳 动 和 社 会 保 障 局 )<br />

7. ลงทะเบียนตรวจสุขภาพและขอรับใบรับรองการอบรมของพนักงาน (Health and Hygiene<br />

Examination) ณ สำนักงานตรวจสอบและกักกันโรค (CIQ) ทองถิ่น<br />

8. ยื่นจดทะเบียนผูจำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอล (Alcohol Permit Registration) ณ สำนักงาน<br />

พาณิชยทองถิ่น หากจะขายสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอลอื่นๆ ภายในรานดวย<br />

9. ยื่นเรื่อง ขออนุญาตขอจางแรงงานตางดาว (Employment of Foreigner Permit) ณ สำนักงาน<br />

แรงงานในทองถิ่น เพื่อดำเนินการยื่นเรื่องขอเชิญพอครัวและแมครัวไทยเขามาทำงานในราน<br />

ตองทำภายใน 30 วันหลังไดรับใบประกอบธุรกิจ<br />

จดทะเบียนผูเสียภาษี ขอ Code Allocation to Organization<br />

ขออนุญาตเปดบัญชีธนาคาร<br />

ขออนุญาตทำธุรกรรมเงินตราตางประเทศ<br />

ขึ้นทะเบียนประกันสังคมและแรงงาน จดทะเบียนผูจำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอลล<br />

แผนผังขั้นตอนหลังไดรับใบประกอบธุรกิจ<br />

21


กฎหมายแรงงานของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน<br />

• เพื่อคุมครองสิทธิประโยชนของผูใชแรงงาน และสรางระบบแรงงานที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจการ<br />

ตลาดแบบสังคมนิยม (ม.1)<br />

• สิทธิของผูใชแรงงาน<br />

1. มีสิทธิเสมอภาคในการทำงาน<br />

2. มีสิทธิที่จะไดรับคาตอบแทน วันหยุดพักผอน หลักประกันในความปลอดภัย และ<br />

สุขพลานามัย<br />

3. มีสิทธิที่จะไดรับการฝกอบรมพัฒนาความรูความสามารถ<br />

4. มีสิทธิที่จะไดรับสวัสดิการและการประกันชีวิตจากสังคม<br />

5. มีสิทธิที่จะเสนอการระงับขอพิพาท และสิทธิอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนด<br />

(ม.3.ว.แรก)<br />

• หนาที่ของผูใชแรงงาน<br />

1. ตองปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมายอยางครบถวน<br />

2. ตองพัฒนาความรูความสามารถของตนเอง<br />

3. ตองปฏิบัติตามขอบังคับวาดวยความปลอดภัยและสุขพลานามัย<br />

4. ตองเคารพในกฎระเบียบแรงงานในศีลธรรมอันดีของการปฏิบัติหนาที่ (ม.3.ว.2)<br />

• หนาที่ของนายจาง<br />

1. กำหนดขอบังคับแรงงานใหสอดคลองกับกฎหมาย<br />

2. ประกันสิทธิประโยชนของลูกจางและการปฏิบัติตามหนาที่ของลูกจาง (ม.4)<br />

• สหภาพแรงงาน<br />

1. ลูกจางมีสิทธิตามกฎหมายในการเขารวมเปนสมาชิกของสหภาพแรงงาน<br />

2. สหภาพแรงงานเปนผูแทนและเปนผูดูแลรักษาสิทธิประโยชนที่ชอบดวยกฎหมาย<br />

ของลูกจาง<br />

3. สหภาพแรงงานมีอิสระตามกฎหมายที่จะกำหนดกิจกรรมของตนเอง (ม.7)<br />

22


• อำนาจเจรจาตอรองกับนายจาง<br />

ลูกจางสามารถเขารวมปรึกษาหารือกับนายจางในเรื่องการบริหารงานบุคลากร<br />

(อยางประชาธิปไตย) หรือการคุมครองสิทธิประโยชนของลูกจาง โดยตัวแทนของผูใชแรงงาน เมื่อ<br />

สหภาพแรงงานมีมติภายใตกฎหมายที่กำหนดไว (ม.8)<br />

(หมายเหตุ : การกำหนดขอบังคับรวมทุนพึงตองระวังขอนี้)<br />

• องคกรกำกับ<br />

1. กระทรวงบริหารแรงงาน ภายใตสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีอำนาจหนาที่กำกับ<br />

ดูแลกิจกรรมแรงงานทั่วประเทศ<br />

2. กรมบริหารแรงงานของรัฐบาลทองถิ่นระดับอำเภอขึ้นไป มีอำนาจหนาที่กำกับดูแล<br />

กิจกรรมแรงงานภายในขอบเขตของตน (ม.9)<br />

เวลาทำงาน วันพักผอน และวันลา<br />

• เวลาทำงานวันละไมเกิน 8 ชั่วโมง เฉลี่ยแลวสัปดาหละไมเกิน 44 ชั่วโมง (ม.36)<br />

• การกำหนดจำนวนแรงงานและมาตรฐานคาตอบแทน นายจางจะตองยึดมาตรา 36<br />

เปนเกณฑในการคำนวณ<br />

• นายจางจะตองใหหลักประกันแกลูกจางใหมีวันพักผอนอยางนอยสัปดาหละ 1 วัน(ม.38)<br />

• กิจการใดหากมีสภาพการผลิตที่ไมอาจปฏิบัติใหสอดคลองกับมาตรา 36 และมาตรา 38<br />

ได เมื่อไดรับอนุมัติจากหนวยงานของรัฐบาลที่กำกับดูแลแรงงานแลว สามารถกำหนด<br />

เวลาทำงานและวันพักผอนในรูปแบบอื่นได (ม.39)<br />

• นายจางจะตองกำหนดใหวันตอไปนี้เปนวันพักผอนอยางเปนทางการ คือ<br />

วันขึ้นปใหม วันตรุษจีน วันแรงงาน วันชาติ และวันหยุดอื่นใดที่กฎหมายหรือกฎ<br />

ระเบียบบริหารราชการแผนดินประกาศใหเปนวันหยุดพักผอน (ม.40)<br />

• การขยายระยะเวลาทำงาน<br />

เมื่อการประกอบกิจการหรือการผลิตของผูวาจางมีความจำเปน ใหนายจางปรึกษาหารือกับสหภาพ<br />

และลูกจาง หากทุกฝายเห็นชอบใหขยายระยะเวลาทำงานได การขยายระยะเวลาทำงานในแตละ<br />

วันจะตองไมเกิน 1 ชั่วโมง หากมีความจำเปนพิเศษที่จะตองขยายเวลาทำงานเกินกวานี้ เมื่อ<br />

นายจางมีหลักประกันเกี่ยวกับสุขพลานามัยของลูกจางแลว ใหขยายเวลาทำงานออกไปไดแตตอง<br />

ไมเกิน 3 ชั่วโมง ทั้งนี้ตองไมเกินเดือนละ 36 ชั่วโมง (ม.41)<br />

23


• ภายใตสถานการณดังตอไปนี้ การขยายเวลาทำงานไมตองอยูภายใตขอกำหนดของมาตรา 41<br />

กลาวคือ<br />

1. กรณีเกิดอุบัติภัย หรืออัคคีภัย หรือภัยอื่นใดที่กระทบกระเทือนถึงชีวิต หรือสุขภาพ<br />

ของลูกจาง หรือกระทบกระเทือนความปลอดภัยแหงทรัพยสิน<br />

2. อุปกรณเครื่องจักรการผลิต เสนทางคมนาคมขนสง หรือสิ่งสาธารณูปโภคเกิดปญหา<br />

ติดขัดถึงขั้นกระทบกระเทือนตอการผลิต หรือผลประโยชนสาธารณะและมีความจำเปนเรงดวนที่<br />

จะตองทำการแกไข<br />

3. สถานการณอื่นๆ ที่กฎหมายหรือกฎระเบียบบริหารราชการแผนดินไดกำหนดไว (ม.42)<br />

• การจายคาตอบแทนทำงานลวงเวลาภายใตสถานการณดังตอไปนี้ นายจางตองจายคา<br />

ตอบแทนการทำงานลวงเวลาใหแกลูกจางที่ทำงานเกินเวลาในอัตราที่สูงกวาคาจางปกติตาม<br />

มาตรฐานดังนี้<br />

1. การจัดสรรใหลูกจางทำงานมากกวาเวลาทำงาน นายจางตองจายคาตอบแทนการ<br />

ทำงานลวงเวลาใหแกลูกจางไมต่ำกวารอยละรอยหาสิบของคาจางปกติ<br />

(หนึ่งเทาครึ่งของคาจางปกติ)<br />

2. การจัดสรรใหลูกจางทำงานลวงเวลาในวันหยุดพักผอนและไมสามารถจัดสรรวันพัก<br />

ผอนคืนใหกับลูกจาง นายจางตองจายคาตอบแทนการทำงานลวงเวลาใหแกลูกจางไมต่ำกวารอย<br />

ละสองรอยของคาจางปกติ (สองเทาของคาจางปกติ)<br />

3. การจัดสรรใหลูกจางทำงานลวงเวลาในวันหยุดพักผอนตามที่กฎหมายกำหนด<br />

นายจางตองคาจางปกติ) (ม.44)<br />

หมวดคาจาง<br />

• การกำหนดคาจาง<br />

นายจางสามารถกำหนดอัตราคาจางหรือการจัดสรรคาจางไดดวยตนเอง โดยอาศัย<br />

ลักษณะการประกอบการผลิตและผลตอบแทนดานเศรษฐกิจเปนปจจัยในการกำหนด (ม.47)<br />

• รัฐบาลใชระบบประกันอัตราคาจางขั้นต่ำ มาตรฐานอัตราคาจางขั้นต่ำของแตละทองที่ให<br />

รัฐบาลมณฑล รัฐบาลเขตปกครองตนเอง และรัฐบาลเมืองของทองถิ่นนั้นๆ เปนผูกำหนดและให<br />

แจงขอกำหนดนั้นไปยังสำนักนายกรัฐมนตรีเก็บไวเปนหลักฐาน<br />

- หามนายจางจายคาจางในอัตราต่ำกวามาตรฐานขั้นต่ำที่กำหนดในวรรคกอน (ม.48)<br />

24


25<br />

• การจายคาจางจะตองจายดวยเงิน หามนายจางหักกลบลบหนี้หรือชะลอหรือคางชำระคาจางแก<br />

ลูกจาง<br />

• นายจางยังคงตองจายคาจางแกลูกจางตามปกติ ในกรณีที่ลูกจางหยุดทำงานในระหวางวันหยุด<br />

พักผอนตามที่กฎหมายกำหนด หรือในระหวางงานแตงงาน หรือจัดการงานศพรวมทั้งในระหวาง<br />

ที่รวมกิจกรรมทางสังคมตามที่กฎหมายกำหนด (ม.51)<br />

หมวดสุขภาพ และความปลอดภัยของลูกจาง<br />

• ลูกจางมีสิทธิที่จะปฏิเสธในการปฏิบัติตามคำสั่งของผูควบคุมงานของนายจาง ถาหากวาคำสั่งนั้น<br />

เปนการสั่งใหปฏิบัติในกิจกรรมที่เสี่ยงตอความปลอดภัย หากมีพฤติกรรมบังคับใหลูกจางตอง<br />

ทำงานอันอาจกอใหเกิดอันตรายตอชีวิตหรือสุขพลานามัย ลูกจางยอมมีสิทธิที่จะวิจารณ รายงาน<br />

หรือฟองรองเปนคดีได (ม.56)<br />

หมวดคุมครองแรงงานหญิง และเด็กที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ<br />

• แรงงานที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ หมายถึง ลูกจางที่อายุเกินกวา 16 ป แตยังไมครบ 18 ปบริบูรณ (ม.58)<br />

• ขอหามใชแรงงานหญิง<br />

- หามใชแรงงานหญิงในงานที่เกี่ยวกับกิจการเหมืองแรใตดิน หรืองานที่ตองใชแรงงาน<br />

อยางหนัก ตามที่กฎหมายกำหนดไว (ม.59)<br />

- หามใชแรงงานหญิงที่มีประจำเดือนในงานที่ตองทำในที่สูง หรือที่อุณหภูมิต่ำ หรืองาน<br />

เกี่ยวกับหองเย็น ที่อยูกับน้ำเย็น (ม.60)<br />

- หามใชแรงงานหญิงตั้งครรภในงานที่ใชแรงงานหนักตามกฎหมายกำหนด และหามใช<br />

แรงงานหญิงที่ตั้งครรภเกินกวา 7 เดือนทำงานลวงเวลาหรือทำงานในชวงเวลากลางคืน(ม.61)<br />

- กำหนดเวลาคลอด ลูกจางหญิงมีสิทธิลาพักผอนหลังคลอดไดไมนอยกวา 90 วัน (ม.62)<br />

- หามใชแรงงานหญิงที่อยูระหวางการใหนมลูกยังไมครบหนึ่งปเขาทำงานที่ตองใช<br />

แรงงานหนักตามที่กฎหมายกำหนด หรือทำงานลวงเวลา หรือทำงานในชวงกลางคืน (ม.63)<br />

- หามใชแรงงานเด็กที่ยังไมบรรลุนิติภาวะในกิจการเหมืองแรที่อยูใตดิน หรืองานที่มี<br />

มลพิษ หรืองานที่ตองใชแรงงานอยางหนักตามที่กฎหมายกำหนด (ม.64)<br />

- นายจางมีหนาที่วางระบบการฝกอบรมแกพนักงาน การเรียกเก็บคาฝกอบรมและการ<br />

ใชจายเงินที่ไดจากคาฝกอบรม ตองปฏิบัติตามขอกำหนดของทางการ และตองเปนไปเพื่อ<br />

วัตถุประสงคของการฝกอบรมอยางแทจริงเทานั้น ลูกจางที่ทำงานในหนาที่ชางฝมือ กอนบรรจุเขา<br />

รับตำแหนงจะตองผานการฝกอบรมกอน (ม.68)<br />

- รัฐบาลตองจำแนกประเภทของงานและมาตรฐานของฝมือสำหรับงานแตละประเภท<br />

ดวยระบบการทดสอบและการออกใบประกาศนียบัตรรับรอง


แมวารานอาหารจะลงทุนโดยนักธุรกิจตางชาติ ไมไดเปนธุรกิจซึ่งรัฐบาลสงเสริม<br />

จำกัด หรือหาม แตเปนธุรกิจที่รัฐบาลกลางมีนโยบาย และอนุญาตใหนักธุรกิจตางชาติเขามา<br />

ลงทุนไดทั่วทั้งประเทศจีนและในทางปฏิบัติรัฐบาลทองถิ่นบางแหงมีนโยบายสงเสริมการพัฒนา<br />

รานอาหารอยูแลว เชน ปกกิ่ง กวางโจว เซี่ยงไฮ เปนตน อยางไรก็ดี โดยรวมแลวการดำเนิน<br />

ธุรกิจในจีนยังไมปลอดโปรงเสียทีเดียว ยังมีกฎ ระเบียบ และขั้นตอนที่เปนอุปสรรคอยูมาก<br />

กฎระเบียบ และขั้นตอนทั่วไป<br />

กฎระเบียบ และขั้นตอนวาดวย<br />

การลงทุนรานอาหารไทยในจน<br />

ในการลงทุนรานอาหารของนักธุรกิจตางชาติจะตองเปนไปตามขอกำหนดที่เกี่ยวของ<br />

โดยรัฐบาลจีนอนุญาตใหนักธุรกิจตางชาติเขามาลงทุนรานอาหาร ในรูปแบบการรวมทุน รวม<br />

มือ และลงทุนแตฝายเดียว ซึ่งขั้นตอนการจดทะเบียนการประกอบการรานอาหารของจีนโดย<br />

ทั่วไปประกอบดวย<br />

• ผูลงทุนตองติดตอกับองคกรบริหารอุตสาหกรรมและพาณิชย เพื่อขอหนังสือแจงชื่อ<br />

ธุรกิจเพื่อการตรวจสอบและอนุมัติ<br />

• ผูลงทุนยื่นหนังสือขออนุญาตตอองคกรที่รับผิดชอบการคาและเศรษฐกิจตาง<br />

ประเทศของแหลงจัดตั้งธุรกิจ พรอมกับเอกสารดังตอไปนี้<br />

1. หนังสือขออนุญาตจัดตั้งธุรกิจ<br />

2. รายงานวิเคราะหความเปนไปไดของธุรกิจ ซึ่งทำโดยผูลงทุนทุกฝาย<br />

3. สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล และการจดทะเบียน<br />

4. หนังสือรับรอง Credit ที่ออกโดยธนาคารของผูลงทุนทุกฝาย<br />

(ถาฝายจีนจะรวมทุนดวยทรัพยสินของราชการ ตองมีเอกสารที่ประมูลทรัพยสินของ<br />

ราชการที่ออกโดยองคการควบคุมทรัพยสินของราชการ)<br />

5. ขอตกลงรวมรายชื่อสมาชิกคณะกรรมการ หรือหนังสือมอบหมายตัวแทน หนังสือ<br />

แจงการอนุมัติชื่อของธุรกิจที่จะจัดตั้งขึ้น<br />

6. หนังสือรับรองสถานที่ประกอบการและสถานที่จดทะเบียนธุรกิจเอกสารอื่นที่<br />

เกี่ยวของ<br />

• หนวยงานที่รับผิดชอบการคา และเศรษฐกิจตางประเทศของแหลงจัดตั้งธุรกิจ จะพิจารณาให<br />

เสร็จสิ้นภายใน 90 วัน สำหรับธุรกิจรานอาหารที่มีการลงทุนต่ำกวา 1,000,000 เหรียญสหรัฐฯ<br />

และสำหรับธุรกิจรานอาหารที่มีการลงทุนมากกวา 1,000,000 เหรียญสหรัฐฯ หนวยงานที่รับผิด<br />

ชอบของแหลงจัดตั้งธุรกิจจะออกความเห็นเบื้องตนแลวสงตอหนวยงานระดับที่สูงกวา เพื่อขอ<br />

การอนุมัติซึ่งอยูในขอบเขตที่กระทรวงพาณิชยมอบหมายอำนาจ<br />

26


• สถานที่ประกอบการของธุรกิจรานอาหารตองเปนไปตามสุขอนามัย และมาตรฐาน<br />

ที่เกี่ยวของ และธุรกิจตองไดรับใบอนุญาตสุขอนามัยรวมทั้งผูใหบริการจำเปนตองผานหลัก<br />

เกณฑที่รัฐบาลกำหนด และผานการตรวจสุขภาพของหนวยงานสุขอนามัย จึงสามารถเขาทำงาน<br />

ไดและหลังธุรกิจไดรับอนุญาตจากหนวยงานสุขอนามัยแลว จึงสามารถไปจดทะเบียนที่หนวย<br />

งานบริหารอุตสาหกรรม และพาณิชยเพื่อทำใบอนุญาตประกอบการ แตหากไมไดรับใบอนุญาต<br />

สุขอนามัยก็หามดำเนินธุรกิจดานอาหารเด็ดขาด ทั้งนี้ใบอนุญาตสุขอนามัยมีผลบังคับใชเปน<br />

ระยะเวลา 2 ป และจะตรวจสอบซ้ำทุกๆ 2 ป<br />

• เมื่อผูลงทุนไดรับหนังสืออนุมัติใหลงทุนแลว ผูลงทุนจะตองไปจดทะเบียนที่หนวย<br />

งาน บริหารอุตสาหกรรมและพาณิชยพรอมกับใบอนุมัติดังกลาว และใบอนุญาตสุขอนามัย<br />

ภายใน 30 วัน ตั้งแตผูลงทุนไดรับใบอนุมัติดังกลาว และเมื่อผูลงทุนไดรับใบอนุญาตประกอบ<br />

การจึงจะเริ่มประกอบการได<br />

กฎระเบียบดานการเงิน<br />

ระบบควบคุมเงินตราตางประเทศของรานอาหารซึ่งลงทุนโดยนักธุรกิจตางชาติ จะ<br />

ตองเปนไปตามนโยบายควบคุมเงินตราตางประเทศของจีน โดยธุรกิจรานอาหารที่ไดรับใบ<br />

อนุญาตประกอบการแลว ควรไปจดทะเบียนที่หนวยงานควบคุมเงินตราตางประเทศภายใน 30<br />

วัน เพื่อขอใบจดทะเบียนเงินตราตางประเทศพรอมกับเอกสารที่เกี่ยวของ เชน ใบอนุญาตการ<br />

ลงทุน ใบประกอบการกับตัวสำเรา และขอตกลงรวมที่ไดรับอนุมัติ โดยใบจดทะเบียนเงินตรา<br />

ตางประเทศจะถูกตรวจสอบปละครั้ง โดยเจาหนาที่ฝายควบคุมเงินตราตางประเทศซึ่งใบจด<br />

ทะเบียนเงินตราตางประเทศจะมีผลบังคับใช 1 ป และใบจดทะเบียนเงินตราตางประเทศตอง<br />

ตรงกับการจดทะเบียนที่หนวยงานบริหารอุตสาหกรรมและพาณิชย หากมีการเปลี่ยนแปลงการ<br />

จดทะเบียนที่หนวยงานบริหารอุตสาหกรรมและพาณิชยจะตองไปแจงหนวยงานควบคุมเงินตรา<br />

ตางประเทศ และเปลี่ยนใบจดทะเบียนเงินตราตางประเทศฉบับใหมดวย<br />

อนึ่ง ใบจดทะเบียนเงินตราตางประเทศเปนเอกสารที่จำเปนตอนักธุรกิจตางชาติ<br />

สำหรับการลงทุน และดำเนินเรื่องนำเขาสงออก ซึ่งเมื่อธุรกิจไดรับใบจดทะเบียนเงินตราตาง<br />

ประเทศแลวจะสามารถเปดบัญชีเงินตราตางประเทศที่ธนาคาร และมีสิทธิดำเนินการเงินตรา<br />

ตางประเทศ ตามจำนวนที่หนวยงานควบคุมเงินตราตางประเทศไดอนุมัติ รวมทั้งสามารถฝาก<br />

เงินตราตางประเทศในบัญชีของธนาคารดังกลาวตามจำนวนที่กำหนดไว<br />

นอกจากนี้แลว ผูประกอบการชาวตางชาติที่ลงทุนในธุรกิจรานอาหารจะตองจด<br />

ทะเบียนที่หนวยงานบริหารอุตสาหกรรมและพาณิชยภายใน 30 วัน โดยผูลงทุนตองไปจด<br />

ทะเบียนที่หนวยงานที่รับผิดชอบดานการคลังพรอมกับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ ธุรกิจดังกลาว<br />

จะไดรับการตรวจสอบ และควบคุมโดยหนวยการคลัง และจะตองสงเอกสารเกี่ยวกับบัญชีการ<br />

เงิน และหนี้สินตางๆ ไปใหหนวยงานตางๆ ซึ่งอยูภายใตการควบคุมหนวยงานพาณิชย หนวยงาน<br />

อนามัย และหนวยงานบริหารอุตสาหกรรม และพาณิชย กรมภาษีอากร หนวยงานควบคุมเงิน<br />

ตราตางประเทศ ศุลกากร และหนวยงานการคลัง<br />

27


กฎระเบียบดานภาษี<br />

ระบบการจัดเก็บภาษีของรานอาหารของนักธุรกิจตางชาติ ตองดำเนินการภายใน<br />

30 วัน หลังจากที่ไปจดทะเบียนที่หนวยงานบริหารอุตสาหกรรมและพาณิชย และไดรับใบ<br />

อนุญาตประกอบการนิติบุคคลแลว ไดแก การจดทะเบียนที่กรมภาษีอากรในแหลงที่ตั้งธุรกิจ<br />

และขอใบจดทะเบียนภาษีอากร ตามกฎหมายที่เกี่ยวของ ภาษีที่จำเปนตองชำระมี 5 ประเภท<br />

ไดแก ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีบริโภค ภาษีประกอบการ ภาษีรายได และภาษีศุลกากร<br />

ผูเสียภาษีมูลคาเพิ่มแบงเปน 2 ประเภทคือผูเสียภาษีธรรมดา กับ ผูเสียภาษีรายยอย<br />

กรมภาษีอากรเปนผูตรวจสอบ และวินิจฉัยสำหรับธุรกิจรานอาหารอัตราของผูเสียภาษีธรรมดา<br />

เปน 17% ผูเสียภาษีรายยอยเปน 6%<br />

ภาษีประกอบการจะคิดตามยอดจำหนายของการประกอบการ อัตราภาษีของธุรกิจ<br />

อาหารเปน 5% ภาษีรายไดนิติบุคคลเปน 30% และภาษีรายไดทองถิ่นเปน 3%<br />

นโยบายพิเศษเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสำหรับนักธุรกิจตางชาติซึ่งลงทุน ในรานอาหาร<br />

นอกจากภาษีทั่วไปแลว ยังมีนโยบายพิเศษเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีรานอาหารโดย<br />

กำไรที่มาจากธุรกิจของชาวตางชาติที่จะไดรับการยกเวนภาษีรายไดสำหรับธุรกิจที่ลงทุนใน<br />

เศรษฐกิจพิเศษโดยจะตองมียอดการลงทุนมากกวา 5 ลานเหรียญสหรัฐฯ และมีเวลาประกอบ<br />

การเกิน 20 ป หลังไดรับการอนุมัติจากกรมภาษีอากร เริ่มตั้งแตปที่ธุรกิจมีกำไรเปนตน ปแรกจะ<br />

ไดรับการยกเวนภาษีรายไดนิติบุคคล ป 2 และ 3 จะไดรับการลดภาษี 50% ของยอดรายได<br />

ภาษีนิติบุคคล ในกรณีนักธุรกิจตางชาตินำกำไรจากธุรกิจตางชาติมาลงทุนในธุรกิจเดิมเพื่อเพิ่ม<br />

ทุนการจดทะเบียน หรือนำกำไรมาลงทุนในธุรกิจตางชาติอื่นจะตองมีเวลาประกอบการไมต่ำ<br />

กวา 5 ป โดยจะมีการคืนภาษี 40% ของรายไดนิติบุคคลที่ชำระแลว ในสวนทุนที่นำไปลงทุน<br />

ใหมโดยมีผูลงทุนขออนุญาต และกรมภาษีอากรอนุมัติแตไมมีการคืนภาษีรายไดทองถิ่น ซึ่งขั้น<br />

ตอนการจัดเก็บภาษีตามนโยบายพิเศษ มีดังนี้<br />

• แจงศุลกากร<br />

• ศุลกากรจะตรวจสอบสถานที่ประกอบการ<br />

• จัดเก็บภาษี<br />

• อนุญาตใหดำเนินกิจการ<br />

28


ขั้นตอนในการขออนุญาตเปดกิจการรานอาหารไทยและรูปแบบการลงทุน<br />

กิจการรวมทุน (ลักษณะหุนสวนจดทะเบียน)<br />

คือรูปแบบการรวมทุนที่ผูลงทุนตั้งแตสองฝายขึ้นไปตกลงที่จะบริหารกิจการรวมกัน<br />

แบงผลกำไรหรือทรัพยสินตามอัตราสวนของทุนที่แตละฝายไดลงทุนไป และรวมกันรับผิดชอบ<br />

อยางจำกัดตามจำนวนทุนทั้งหมดที่ไดลงทุนไป กิจการลงทุนในลักษณะนี้มีฐานะเปนนิติบุคคล<br />

ตามกฎหมายวาดวยการรวมทุนวิสาหกิจจีนกับนักลงทุนตางชาติ (กฎหมายรวมประกอบการ)<br />

เรียกวา “บริษัทจำกัดความรับผิด” ซึ่งผูรวมทุนทุกฝายถือเปนหุนสวนกัน ทุนของบริษัทจำกัด<br />

ความรับผิดเชนนี้จึงไมมีลักษณะเปนหุน แตมีลักษณะเปนอัตราสวนของทุน<br />

กิจการรวมประกอบการ (ลักษณะรวมคาในรูปสัญญา)<br />

คือรูปแบบการรวมทุนที่ผูลงทุนตั้งแตสองฝายขึ้นไปตกลงกำหนดเงื่อนไข ลักษณะการ<br />

ลงทุน การบริหาร การแบงผลประโยชน ความรับผิดชอบของแตละฝาย รวมทั้งวิธีการเลิก<br />

กิจการและการแบงทรัพยสินตางๆ ไวอยางชัดเจนในขอกำหนดของสัญญา กิจการลงทุนใน<br />

ลักษณะนี้ เรียกวา กิจการรวมประกอบการ ซึ่งอาจจดทะเบียนใหมีฐานะนิติบุคคลหรือเปนคณะ<br />

บุคคลที่มิไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคลก็ได หากจดทะเบียนเปนนิติบุคคลตามกฎหมายวาดวยการ<br />

รวมประกอบการระหวางวิสาหกิจจีนกับนักลงทุนตางชาติ (กฎหมายรวมประกอบการ) เรียกวา<br />

“บริษัทจำกัดความรับผิด” เชนกัน ซึ่งผูรวมทุนทุกฝายถือเปนหุนสวนกัน ทุนของบริษัทจำกัด<br />

ความรับผิดในลักษณะนี้ จึงไมมีลักษณะเปนหุน แตมีลักษณะเปนไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไวใน<br />

สัญญา การลงทุนลักษณะนี้ยึดถือขอกำหนดในสัญญาเปนสำคัญ<br />

กิจการทุนตางชาติ<br />

คือรูปแบบการลงทุนที่ผูลงทุนตางชาติเปนผูลงทุนทั้งหมด อำนาจการบริหารอยูภาย<br />

ใตการตัดสินใจของนักลงทุนตางชาติแตเพียงฝายเดียว ซึ่งนักลงทุนตางชาติจะเปนผูรับผิดชอบ<br />

กำไรขาดทุนดวยตนเอง กิจการลงทุนลักษณะนี้อาจจดทะเบียนใหมีฐานะเปนนิติบุคคล หรือเปน<br />

บุคคลธรรมดาที่มิไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคลก็ได แตกิจการทุนตางชาติลักษณะนี้แตกตางจาก<br />

บริษัทตางชาติที่เขาไปเปดสาขา หรือสำนักงานผูแทน หรือสำนักงานตัวแทนในจีน<br />

29


บริษัทจำกัด (ลักษณะถือหุน)<br />

คือ รูปแบบการลงทุนที่ผูลงทุนตางชาติและผูลงทุนจีน ตั้งแตหาคนขึ้นไปเปนผูเริ่ม<br />

กอการ ทำการยื่นขอจดทะเบียนตามกฎหมายบริษัทจำกัด สามารถเสนอขายหุนตอสาธารณะชน<br />

ได ซึ่งจำนวนหุนที่เสนอขายจะตองไมนอยกวา 25% ของทุนที่ยื่นจดทะเบียนทั้งหมด และผูเริ่ม<br />

กอการจะตองจองหุนจำนวนไมนอยกวา 25% ของหุนที่เสนอขายครั้งแรกหากหุนที่เสนอขาย<br />

ครั้งแรกขายไมหมด ผูเริ่มกอการจะตองรับซื้อไวเองทั้งหมด การบริหารกิจการของบริษัทจำกัดใน<br />

ลักษณะนี้ จะมีที่ประชุมผูถือหุนเปนองคกรสูงสุด และมีคณะกรรมการรับผิดชอบบริหารงาน<br />

ประจำทั่วไป บริษัทจำกัดมีฐานะเปนนิติบุคคล ทุนของบริษัทแบงเปนหุนผูลงทุนคือผูถือหุนการ<br />

บริหารจัดการและการแบงผลกำไรขาดทุนเปนไปตามเกณฑที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยบริษัท<br />

จำกัด<br />

ในกรณีการรวมลงทุน (Joint Venture)<br />

เมื่อผูประสงคประกอบธุรกิจรานอาหารในจีนหาผูรวมลงทุน หรือรวมมือที่เปนคน<br />

ทองถิ่นไดแลว จะตองดำเนินการขออนุญาตจัดตั้งธุรกิจตอ 3 หนวยงาน ไดแก<br />

1<br />

2<br />

3<br />

Foreign Investment Examine and Approve Department<br />

The Planning Commission<br />

Guangdong Tourism Bureau<br />

โดยผูขออนุญาตตองยื่นเอกสารอยางเดียวกัน ดังนี้<br />

• หนังสือแสดงความจำนงในการขอเปดรานอาหาร/ภัตตาคารไทย (Application)<br />

• รายงานศึกษาความเปนไปได (Feasibility Study)<br />

• สัญญาการรวมลงทุน<br />

• หนังสือรับรองบุคลากรที่ประสานเรื่องกฎหมาย<br />

• หนังสือแสดงเจตจำนงของหุนสวน<br />

• หนังสือรับรองสถานะของหุนสวน<br />

• หนังสือรับรองสถานะทางการเงินของผูลงทุน<br />

• หนังสือรับรองสิทธิการใชที่ดิน<br />

• หลักฐานบัตรประชาชน<br />

• หนังสือเดินทางของบุคลากร<br />

• ลงทะเบียนชื่อรานอาหาร<br />

30


ทั้ง 3 หนวยงานขางตนพิจารณากลั่นกรองขั้นตน รวมทั้งตรวจสอบรายชื่อรานอาหาร<br />

กับ Administration of Industry and Commerce Bureau วามีการตั้งชื่อซ้ำซอนกันหรือไม<br />

ในขั้นตอนนี้ใชระยะเวลาในการพิจารณา 15 วันทำการ<br />

เมื่อทั้ง 3 หนวยงานพิจารณาเรียบรอยแลว จะเสนอตอหนวยงานที่กรุงปกกิ่ง<br />

พิจารณาอนุมัติ เมื่อหนวยงานที่กรุงปกกิ่งอนุมัติแลว จะขอใหเสนอเอกสารเพิ่มเติมอีก ไดแก<br />

• หนังสือแสดงเจตจำนงในการจัดตั้ง<br />

• สัญญาการรวมทุน<br />

• แบบขอจดทะเบียนประกอบธุรกิจที่ Administration of Industry and<br />

Commerce Bureau<br />

• รายชื่อคณะกรรมการจัดตั้งบริษัท สำหรับในขั้นตอนนี้ใชระยะเวลาในการดำเนิน<br />

การ 15 วันทำการ<br />

คาใชจายในการขออนุญาต<br />

คาใบอนุญาตในการลงทุน<br />

คาตรวจสอบชื่อรานฯ ไมใหมีการซ้ำซอน<br />

คาใบทะเบียนพาณิชย<br />

คาหนังสือรับรองแทนทะเบียน<br />

คาใบทะเบียนภาษีแหงชาติ<br />

คาทะเบียนภาษีทองถิ่น<br />

คาขึ้นทะเบียนบัญชีการเงิน<br />

ประทับตราราชการ<br />

คาประกาศกอนอนุญาตใหทะเบียนพาณิชย<br />

คาหนังสือรับรองสถิติ<br />

จำนวนเงิน (หยวน)<br />

300 หยวน<br />

150 หยวน<br />

คิดรอยละ 1 ของเงินทุนจดทะเบียน<br />

158 หยวน<br />

400 หยวน<br />

70 หยวน<br />

300 หยวน<br />

300 หยวน<br />

ประมาณ 1,500 หยวน<br />

150 หยวน<br />

หากผูขออนุญาตไมสะดวกในการดำเนินการเอง อาจวาจาง Guangzhou Administration<br />

and Service Center for Foreign Investors ดำเนินการแทนได ซึ่งดำเนินการตั้งแต<br />

ตนจนจบไดรับใบทะเบียนพาณิชย (ยกเวนรายงานศึกษาความเปนไปได ผูรวมทุนตองจัดทำเอง<br />

โดยคิดคาตอบแทน 15,000 หยวน สำหรับคาเชารานหรือคาพื้นที่ ขึ้นอยูกับทำเลที่ตั้งโดยเฉลี่ย<br />

แลวประมาณเดือนละ 38-250 หยวนตอตารางเมตร และภาษีสำคัญที่ผูดำเนินธุรกิจจะตองเสีย<br />

ไดแก ภาษีธุรกิจ รอยละ 5 และภาษีรายได รอยละ 30 เปนตน<br />

31


กรณีการลงทุน 100% (Solely Foreign – owned Restaurant)<br />

ผูประสงคประกอบธุรกิจรานอาหารในจีน ดำเนินการขออนุญาตจัดตั้งตอ 3 หนวย<br />

งาน ไดแก Foreign Investment Examine and Approve Department, The Planning<br />

Commission และ Guangdong Tourism Bureau ซึ่งระเบียบพิจารณาจะเปนเชนเดียวกับ<br />

การพิจารณาในกรณีการรวมทุน โดยผูขออนุญาตตองยื่นเอกสาร ดังนี้<br />

• กรอกฟอรมใบอนุญาตตั้งภัตตาคาร<br />

• สงรายงานการศึกษาความเปนไปได<br />

• รายละเอียดเกี่ยวกับรานอาหารที่จะเปด และการบริหารงานในองคกร<br />

• รายชื่อของคณะผูประกอบการ (หรือรายชื่อคณะกรรมการ)<br />

• หลักฐานทางการเงินของผูลงทุน<br />

• ความคิดเห็นของหนวยงานที่เกี่ยวของกับการอนุรักษสิ่งแวดลอม ความปลอดภัย<br />

สาธารณะ อัคคีภัย ความปลอดภัยของพนักงาน ความมีสุขอนามัย<br />

การขอเปดแฟรนไชสรานอาหารไทยในประเทศจีน<br />

ในสวนของการขอเปดแฟรนไชสรานอาหารไทยในประเทศจีน ตองขอจดทะเบียน<br />

(Trademark) กับหนวยราชการของจีนกอนที่ Trademark Registration Office โดยเสียคาใช<br />

จายในการจดทะเบียนประมาณ 2,000 หยวนหรือประมาณ 10,000 บาท การรวมลงทุนกำหนด<br />

ใหชาวตางชาติลงทุนไมต่ำกวารอยละ 25 การพิจารณาอนุญาตไมมีระเบียบกฎเกณฑ<br />

แนนอน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของคณะกรรมการการคาและความรวมมือทางเศรษฐกิจ<br />

ระหวางประเทศประกอบกับหลักเกณฑการลงทุน<br />

กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวกับธุรกิจแฟรนไชสโดยตรง<br />

• ขอกำหนดวาดวยการควบคุมการจดทะเบียนชื่อทางการคา ออกโดยสำนักงาน<br />

ควบคุมบริหารกิจการการพาณิชยและอุตสาหกรรมแหงชาติ ดวยความเห็นชอบของสำนักนายก<br />

รัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 1991<br />

• ประกาศเกี่ยวกับการจัดระเบียบการประกอบธุรกิจแฟรนไชส ออกโดยกระทรวงการ<br />

คาภายใน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 1997<br />

• ประกาศเกี่ยวกับการควบคุมการจดทะเบียนธุรกิจแฟรนไชส ออกโดยสำนักงาน<br />

ควบคุมบริหารกิจการการพาณิชยและอุตสาหกรรมแหงชาติ กระทรวงการคาภายใน ประเทศ<br />

สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 1997<br />

32


33<br />

• ประกาศเกี่ยวกับการจำหนายสินคาเฉพาะอยางของธุรกิจแฟรนไชส ออกโดยคณะ<br />

กรรมการการคาและเศรษฐกิจแหงชาติ รวมกับกระทรวงการคาภายใน กระทรวงวัฒนธรรม<br />

กระทรวงไปรษณียโทรเลข สำนักงานสิ่งพิมพขาวสารแหงชาติ สำนักงานควบคุมบริหารกิจการ<br />

พาณิชยและอุตสาหกรรมแหงชาติ และสำนักงานยาสูบแหงชาติ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 1997<br />

• ขอกำหนด (ชั่วคราว) วาดวยการควบคุมระบบบัญชีการเงินของธุรกิจแฟนนไชส<br />

ออกโดยกระทรวงการคลัง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อวันที่ 29 กันยายน 1997<br />

• ขอกำหนดวาดวยวิธีควบคุมกิจการที่เกี่ยวกับการอนุญาตใหใชสิทธิ์พิเศษทางการ<br />

คา (ชั่วคราว) ออกโดยกระทรวงการคาภายใน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อวันที่ 14<br />

พฤศจิกายน 1997<br />

• ประกาศเกี่ยวกับการจัดระเบียบการดำเนินกิจการของธุรกิจแฟรนไชส ออกโดย<br />

กระทรวงการคาภายใน เลขที่ 173 (1999)<br />

• ขอกำหนดวาดวยการจำหนายปลีกสำหรับผลิตภัณฑยาของธุรกิจแฟรนไชส ออก<br />

โดยสำนักงานควบคุมกำกับผลิตภัณฑยาแหงชาติ เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2000<br />

• ประกาศเกี่ยวกับการสงเสริมและการจัดระเบียบการจำหนายสินคาโสตทัศนวัสดุ<br />

ของธุรกิจแฟรนไชส ออกโดยกระทรวงวัฒนธรรม ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เลขที่ 12<br />

(2001)


การวาจางพอครัวแมครัวจากประเทศไทย<br />

เนื่องจากจีนเปนประเทศที่มีประชากรมาก ดังนั้น โดยพื้นฐานทางการจีนจึงไม<br />

สนับสนุนการใช “แรงงานตางชาติ” เทาใดนัก หากมิใช “แรงงานฝมือ” ที่จีนขาดแคลน หรือคน<br />

จีนทำเองไมได ตามกฎหมายจีน “พนักงาน” ที่ใชในการทาธุรกิจรานอาหารสวนใหญ เปน<br />

แรงงานที่จีน “ไมขาดแคลน” ไมวาจะเปนพอครัว คนหั่นผัก คนเชียรอาหาร เด็กเสิรฟ คนลาง<br />

จาน หรือแคชเชียร อยางไรก็ตาม ใชวาจะไมมีวิธีนาเขา “พอครัวแมครัวไทย” เลยทีเดียว หาก<br />

แตตองใชชองทางและขั้นตอนที่ถูกตองเหมาะสมดังนี้<br />

1. ขออนุญาตขอ<br />

จางแรงงาน<br />

ตางดาว<br />

สนง. แรงงาน<br />

ในทองถิ่น<br />

หนังสืออนุญาต<br />

การจางงาน<br />

แรงงานตางดาว<br />

2. นำหนังสือ<br />

อนุญาตและ<br />

เอกสารอื่นๆไป<br />

ยื่นขอหนังสือ<br />

ประกอบวีซา<br />

สนง. การ<br />

ตางประเทศ<br />

ในทองถิ่น<br />

3. ใหพอครัว<br />

แมครัวชาวไทย<br />

นำหนังสือ<br />

ประกอบวีซา และ<br />

เอกสารอื่นๆ ไปยื่น<br />

ขอวีซาทำงาน<br />

(Visa Type Z)<br />

สถานเอกอัคร<br />

ราชทูต หรือ<br />

กงสุลของจีนใน<br />

ไทย<br />

4. เมื่อพอครัว<br />

แมครัวเดินทางถึง<br />

ประเทศจีนและ<br />

ไดที่พักแลว<br />

ติดตอหนวยงาน<br />

“นิติบุคคล<br />

อาคารชุด”<br />

หนังสือรับรอง<br />

การเขาพักอาศัย<br />

5. นำหนังสือ<br />

รับรองและ<br />

เอกสารตางๆ ไป<br />

ขึ้นทะเบียนพำนัก<br />

สำหรับชาวตาง<br />

ชาติ<br />

สถานีตำรวจ<br />

ในพื้นที่<br />

6. ใหพอครัว แม<br />

ครัวไป<br />

ตรวจรางกาย<br />

สนง. ตรวจสอบ<br />

และกักกันโรค<br />

ในพื้นที่<br />

หนังสือรับรอง<br />

การตรวจ<br />

สุขภาพ<br />

7. นำหนังสือ<br />

เดินทางและ<br />

เอกสารตางๆไป<br />

ยื่นขออนุญาต<br />

สนง. การ<br />

ตางประเทศ<br />

ในทองถิ่น<br />

หนังสืออนุญาต<br />

เชิญบุคคล<br />

ชาวตางชาติ<br />

8. นำหนังสือ<br />

เดินทาง และ<br />

เอกสารตางๆไป<br />

ยื่นขออนุญาต<br />

สนง. ตรวจสอบ<br />

และกักกันโรค<br />

ในพื้นที่<br />

ใบอนุญาตพำนัก<br />

อาศัยใน<br />

ประเทศจีน<br />

ขั้นตอนการนำเขาพอครัว แมครัวไทย<br />

34


กฎ ระเบียบ และขั้นตอนการนำเขาแรงงาน (พอครัว, แมครัว, พนักงาน)<br />

กฎ ระเบียบ และขั้นตอนทั่วไปในการนำเขาพอครัว – แมครัว รวมทั้งแรงงาน ดานรานอาหาร<br />

ไทยในประเทศจีน เริ่มจากการขอใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) ซึ่งผูประกอบการธุรกิจราน<br />

อาหารไทย ตองยื่นขออนุญาตนำเขาแรงงานไทย (พอครัว, แมครัว, พนักงาน) จากกรมแรงงาน<br />

จีน (Labor Bureau) เพื่อขอใบอนุญาตทำงาน ซึ่งตองผานการอนุญาตจาก Public Security<br />

Bureau ดวย โดยเสนอเอกสาร<br />

• กรอกแบบฟอรมสมัครทำงานในตำแหนง<br />

• หนังสือเชิญพอครัวมาทำงานในจีน (ในกรณีเปนพอครัว)<br />

• หนังสือแจงเหตุผลความจำเปนในการวาจางพอครัวจากประเทศไทย<br />

• ประวัติ และขอมูลอื่นๆ<br />

• ใบอนุญาตตั้งรานอาหาร<br />

• หนังสือรับรองการผานการตรวจโรค เมื่อกรมแรงงานพิจารณาแลวจะออกใบ<br />

อนุญาตทำงานแกพนักงาน<br />

ผูประกอบการนำใบอนุญาตทำงานไปยื่นสำนักงานตางประเทศเพื่อสั่งการใหสถาน<br />

เอกอัครราชทูตจีนประจำประเทศไทยดำเนินการออกวีซาทำงานใหพอครัวหรือแรงงาน เพื่อเดิน<br />

ทางเขาประเทศจีน พอครัวหรือแรงงานเมื่อเดินทางถึงประเทศจีนแลว ผูประกอบการตองพาไป<br />

ตรวจสุขภาพที่ Department of Human Quarantine โดยเสนอ<br />

• เอกสารสำเนาหนังสือเดินทาง<br />

• รูปถาย 3 ใบ<br />

ผูประกอบการตองพาพอครัว หรือแรงงานไปรายงานตัวที่กรมแรงงาน ภายในระยะ<br />

เวลา 15 วัน นับตั้งแตวันที่เดินทางเขามาในจีน เพื่อขึ้นทะเบียนและรับบัตรทำงาน โดยตองเสนอ<br />

เอกสาร<br />

• แบบฟอรมการขออนุญาตทำงานซึ่งผานการประทับตราของ Public Security Bureau<br />

• ใบอนุญาตที่เกี่ยวของกับการจัดตั้งตางๆ<br />

• รูปถายขนาด 1 นิ้ว 1 ใบ<br />

• หนังสือเดินทางและประวัติพอครัวไทย<br />

• สัญญาการจาง หนังสือรับรองตางๆ และหนังสือมอบอำนาจ<br />

• ใบรายงานการตรวจสุขภาพ<br />

35


ปจจุบันรัฐบาลมณฑลกวางตุงอนุญาตใหคนตางชาติไปลงทุน 100% ในการตั้งราน<br />

อาหารโดยเมื่อไดรับอนุญาตจัดตั้งแลว ผูประกอบการรานอาหารไทยตองยื่นขออนุญาตนำเขาพอ<br />

ครัวไทยจากกรมแรงงานจีน (Labor Bureau) เพื่อขอใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) ซึ่งตอง<br />

ผานการอนุญาตจาก Public Security Bureau ดวย โดยเสนอเอกสาร<br />

• กรอกแบบฟอรมสมัครทำงานในตำแหนงคนครัว<br />

• หนังสือเชิญพอครัวมาทำงานในจีน<br />

• หนังสือแจงเหตุผลความจำเปนในการวาจางพอครัวจากประเทศไทย<br />

• ประวัติพอครัว และขอมูลอื่นๆ<br />

• ใบอนุญาตตั้งรานอาหาร<br />

• หนังสือรับรองการผานการตรวจโรค เมื่อกรมแรงงานพิจารณาแลวจะออกใบ<br />

อนุญาตทำงานแกพนักงาน<br />

ผูประกอบการนำใบอนุญาตทำงานไปยื่นสำนักงานตางประเทศ เพื่อสั่งการใหสถาน<br />

เอกอัครราชทูตจีนประจำประเทศไทยดำเนินการออกวีซาทำงานใหพอครัว เพื่อเดินทางเขาประเทศ<br />

จีน พอครัวเมื่อเดินทางถึงประเทศจีนแลว ผูประกอบการตองพาพอครัวไปตรวจสุขภาพที่<br />

Department of Human Quarantine โดยเสนอเอกสาร สำเนาหนังสือเดินทาง รูปถาย 3 ใบ<br />

ผูประกอบการตองพาพอครัว ไปรายงานตัวที่กรมแรงงาน ภายใน 15 วัน นับตั้งแตวันที่เดินทาง<br />

เขาในจีน เพื่อขึ้นทะเบียนและรับบัตรทำงาน โดยตองเสนอเอกสาร แบบฟอรมการขออนุญาต<br />

ทำงานซึ่งผานการประทับตราของ Public Security Bureau ใบอนุญาตการจัดตั้งตางๆ รูปถาย<br />

ขนาด 1 นิ้ว 1 ใบ หนังสือเดินทางและประวัติพอครัวไทย สัญญาการจาง หนังสือรับรองตางๆ<br />

และหนังสือมอบอำนาจ รวมทั้งใบรายงานการตรวจสุขภาพ<br />

อนึ่ง หากผูประกอบการไมสะดวกในการดำเนินการขอใบอนุญาตทำงานตั้งแตตนจน<br />

ไดรับบัตรทำงานอาจวาจาง<br />

Labor Service Company, Guangzhou Labor Municipal Bureau<br />

Add : Room No.1239, Wast Wing, Dongfeng Hotel Liu Hua Rd., Guangzhou China P.C.<br />

Tel : (8620) 86501749, 86669900 Ext. 1239<br />

36


กฎ ระเบียบ และขั้นตอนการนำเขาแรงงานพอครัว - แมครัว<br />

สำนักงานสงเสริมการคาในนครคุนหมิง<br />

นครคุนหมิงจะใหความสำคัญกับกฎระเบียบสุขอนามัยเปนอยางสูง โดยเนนความสะอาด และ<br />

ความปลอดภัยตอการบริโภค และภัตตาคารจะตองไมทำลายสิ่งแวดลอมโดยขั้นตอนในการนำ<br />

เขาพอครัว – แมครัว สำนักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ นครคุนหมิง จะเริ่มโดยยื่นใบ<br />

สมัครที่ Approval Office Under Provincial Government และยื่นใบสมัครขอทำงานที่<br />

Labor Administration Office พรอมเอกสาร ดังนี้<br />

• กรอกแบบฟอรมสมัครทำงานในตำแหนงคนครัว<br />

• ใบอนุญาตเปดภัตตาคาร<br />

• ใบสัญญาการจางระหวางผูสมัครกับเจาของภัตตาคาร<br />

• หนังสือเดินทางของผูสมัคร<br />

• ใบผานงานของผูสมัคร (Resume)<br />

• ประกาศนียบัตรการศึกษา<br />

• จดหมายเชิญคนครัวมาทำงานในประเทศจีน<br />

• ประกาศนียบัตรผานการตรวจโรค<br />

• รูปถาย 2 ใบ<br />

• คาใชจายในการดำเนินการทั้งหมดประมาณ 1,000 หยวน<br />

การขอถิ่นที่อยูใหพอครัว – แรงงานไทยในจีน<br />

ผูประกอบการตองยื่นเรื่องขอถิ่นที่อยูใหพอครัว หรือแรงงานไทย โดยยื่นใบสมัครที่ Approval<br />

Office Under Provincial Government ยื่นใบสมัครขอทำงานที่ Labor Administration<br />

Office พรอมเอกสาร ดังนี้<br />

• กรอกแบบฟอรมสมัครเพื่อทำงานในตำแหนงคนครัว<br />

• ใบอนุญาตเปดภัตตาคาร<br />

• ใบสัญญาการจางระหวางผูสมัครกับเจาของภัตตาคาร<br />

• หนังสือเดินทางของผูสมัคร<br />

• ใบผานงานของผูสมัคร (Resume)<br />

• ประกาศนียบัตรการศึกษา<br />

• จดหมายเชิญคนครัวมาทำงานในประเทศจีน<br />

• ประกาศนียบัตรผานการตรวจโรค<br />

• รูปถาย 2 ใบ<br />

• คาใชจายในการดำเนินการทั้งหมดประมาณ 1,000 หยวน<br />

37


กลยุทธการเปดตลาดใหมสำหรับ<br />

รานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

ในการเปดตลาดใหม ผูประกอบการควรดำเนินศึกษาและดำเนินการตามกลยุทธการ<br />

เปดรานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong> ดังนี้<br />

กลยุทธคูคาหรือกลยุทธหุนสวน<br />

การมีคูคาหรือหุนสวน นั้นสามารถชวยใหเราดำเนินธุรกิจไดราบรื่นยิ่งขึ้น เพราะหุน<br />

สวนนอกจากจะชวยในการลงทุนของเราแลว ยังชวยใหคำปรึกษาชวยคิดในเรื่องตางๆ ไดอีก<br />

ดวย ยิ่งหากเราทำธุรกิจขามชาติ หรือธุรกิจระหวางประเทศ ยิ่งตองใหความสำคัญ กับ<br />

Partners Strategy ดวย เนื่องจากกฎหมายในบางประเทศนั้น มีขอจำกัดอยู ซึ่งหากมีหุนสวน<br />

อยูในประเทศนั้นๆ ก็จะสามารถไดสิทธิตางๆ ตามที่กฎหมายในประเทศนั้นๆ ไดเปดชองไวอีก<br />

ดวย<br />

กลยุทธเจาะตลาดกลุมลูกคาใหมที่มีศักยภาพ<br />

สำหรับเมือง<strong>หนานหนิง</strong> วัยทำงาน ที่มีกำลังซื้อสูงคือกลุมเปาหมายหลัก โดยจะมีการ<br />

ทำการตลาดที่มุงเนนไปยังกลุมเปาหมาย เพื่อปรับรสชาติอาหารใหสอดคลองกับความตองการ<br />

และพฤติกรรมผูบริโภค รวมถึงจะตองมีการสรางสรรคเมนูใหมๆ เพื่อเอาใจกลุมลูกคาชาวหนาน<br />

หนิงที่ตองการทดลองของใหมๆ เชน หมอไฟ รานน้ำมะมวง รานน้ำมะพราว เปนตน<br />

38


กลยุทธตกแตงรานใหมีเอกลักษณความเปนไทย<br />

ควรมีมุมถายภาพที่สะทอนความเปนเอกลักษณของความเปนไทย เนื่องจาก<br />

พฤติกรรมของคนจีนชอบใช Social media ไมวาจะเปน Wechat, Webio เปนตนใชสำหรับ<br />

การสื่อสาร และนิยมชอบ Show & Share ภาพถายของรานอาหารเพื่อการบงบอกและสรางตัว<br />

ตนในโลกของออนไลน ดังนั้นกลยุทธที่สำคัญ คือ การตกแตงรานอาหารไทยใหมีเอกลักษณเพื่อ<br />

สรางกระแสการตลาดแบบบอกตอใหเกิดขึ้นในโลกออนไลน<br />

กลยุทธเปดตลาดผลิตภัณฑใหม<br />

รูปแบบการใหบริการอาหารแบบ Thai Street Food กำลังมาเปนที่นิยมและเปนที่<br />

ตองการของกลุมผูบริโภคชาว<strong>หนานหนิง</strong> เชน รานกวยเตี๋ยวเรือ รานน้ำมะมวง รานน้ำมะพราว<br />

เปนตน ซึ่งเปนธุรกิจที่สามารถเขาถึงกลุมลูกคาระดับกลางที่มีกำลังซื้อสูง<br />

รานน้ำผลไมและกวยเตี๋ยวเรือเปนที่นิยมของชาว<strong>หนานหนิง</strong><br />

กลยุทธการตลาดออนไลนโดยใชดาราที่เปนที่รูจักของชาวจีน (Influencer)<br />

มารวมกิจกรรมและโปรโมตรานอาหาร เนื่องจากพฤติกรรมของคนจีนสวนใหญจะเชื่อ<br />

ตามที่ Review หรือผูมีอิทธิพลทางการตลาด เชน บี้ The Star หรือ ปอง ณวัตร ซึ่งเปนดารา<br />

ไทยที่เปนที่รูจักและนิยมของคนจีนใหมาชวยประชาสัมพันธรานอาหารไทย เพื่อใหเปนที่รูจัก<br />

ผานทาง Social Media ใหมากขึ้น<br />

39


กลยุทธการพัฒนาเมนูอาหารไทยที่ถูกปากชาว<strong>หนานหนิง</strong><br />

ควรมีรสชาติเผ็ดรอนเพื่อสรางความไดเปรียบทางการแขงขันกับรานอาหารประเภท<br />

อื่น เชน หมอไฟตมยำ ซึ่งอาจจะเปดเปนเมนูใหมในรานาอาหารหรือจะเปดเปนรานแนว<br />

Street Food ประเภทกวยเตี๋ยวเรือ หรือขายน้ำผลไมก็เปนที่นิยมของชาว<strong>หนานหนิง</strong><br />

กลยุทธการทำกิจกรรมที่สงเสริมความเปนไทย<br />

เชน การสอนทำอาหารไทย การจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม เปนตน ซึ่งชาว<strong>หนานหนิง</strong>มี<br />

ความตองการทดลองประสบการณใหมๆ เกี่ยวกับอาหารไทย ดังนั้นเพื่อเปนการสงเสริมใหมี<br />

กิจกรรมใหลูกคาไดมีสวนรวมในรานอาหารไทย ควรมีการจัดกิจกรรม เชน การสอนทำอาหารไทย<br />

การสอนทำมาลัย การสอนจัดดอกไม เกาะสลัก เพื่อสงเสริมและอนุรักษความเปนไทย เปนตน ซึ่ง<br />

เปนกิจกรรมที่ชวยสงเสริมการตลาดของการธุรกิจรานอาหารไทยไดเปนอยางดี<br />

กลยุทธสรางคุณคาของอาหารไทยดวยการใหขอมูลเกี่ยวกับอาหารไทย<br />

เปนอาหารคุณภาพที่ใชวัตถุดิบที่เปนสมุนไพร<br />

เพื่อใหสามารถแขงขันทางดาน “ความแตกตาง” มากกวาที่ลูกคาจะพิจารณาจากดาน<br />

ราคาเพียงอยางเดียว<br />

กลยุทธการตลาดและการบริการ<br />

ควรเนนเรื่องการผลิตภัณฑ คืออาหารไทย ที่ควรมีรสชาติไทยแท แตมีปรับรสชาติ<br />

และเมนูใหสอดคลองกับความตองการของลูกคา(ใชกลยุทธการบริหารจัดการโดยการปรับเปลี่ยน<br />

รูปแบบการบริหารใหเปนแบบทองถิ่น (Localization)) และควรกำหนดราคาใหเหมาะสมตาม<br />

รูปแบบ ที่ตั้งและการใหบริการแกลูกคา นอกจากนั้นยังควรใสใจเรื่องการสงเสริมการขาย การ<br />

อบรมพนักงานและกระบวนการใหบริการเพื่อใหลูกคาพึงพอใจและเกิดการพูดปากตอปากตอไป<br />

40


ปจจัยแหงความสำเร็จของการเปด<br />

รานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

1 2 3<br />

หุนสวนคือกุญแจสำคัญ พอครัว แมครัวตองดี สถานที่ตั้งตองเหมาะสม<br />

การมีพันธมิตรหรือผูรวม<br />

ลงทุนที่สามารถชวยกันใน<br />

การบริหารจัดการและ<br />

สรางความไดเปรียบใน<br />

การแขงขัน<br />

การนำเขาพอครัว แมครัว<br />

ไทย ที่สามารถทำอาหาร<br />

ไทยแทและสามารถ<br />

สรางสรรคเมนูใหมๆ ที่ถูก<br />

ลิ้นคน<strong>หนานหนิง</strong><br />

4 1<br />

รานอาหารไทยควรตั้งอยู<br />

ในพื้นที่ที่กลุมเปาหมาย<br />

สามารถเขาถึงโดยงาย<br />

เชน ใจกลางเมืองหรือใน<br />

หางสรรพสินคา<br />

วัตถุดิบมีคุณภาพ<br />

ผูประกอบการรานอาหารไทยควร<br />

ใชวัตถุดิบที่ใชตองมีคุณภาพที่ดีใน<br />

การประกอบอาหาร เพราะคน<br />

กวางโจวใสในในรสชาติและ<br />

คุณภาพของอาหาร<br />

โปรโมทออนไลน<br />

ผูประกอบการรานอาหาร<br />

ไทยควรทำการสงเสริมการ<br />

ขายทางออนไลนอยา<br />

สม่ำเสมอ<br />

41


แหลงขอมูลประกอบ<br />

การตัดสินใจลงทุน<br />

นอกจากนี้แลวผูประกอบการชาวไทยสามารถหาขอมูลเพิ่มเติมเพื่อประกอบการ<br />

ตัดสินใจลงทุน หรือขอมูลเพื่อการดำเนินธุรกิจไดตามแหลงตาง ๆ ดังตอไปนี้<br />

• http://www.thaibizchina.com/ ศูนยขอมูลเพื่อธุรกิจไทยจีน กระทรวงการตางประเทศของไทย<br />

• http://www.customs.gov.cn กรมศุลกากร กระทรวงพาณิชยของจีน<br />

• http://www.ditp.go.th กรมสงเสริมการสงออก กระทรวงพาณิชยของไทย<br />

• http://www.nfi.or.th สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรมของไทย<br />

• http://www.ismed.or.th สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม กระทรวง<br />

อุตสาหกรรมของไทย<br />

• http://www.customs.go.th กรมศุลกากร กระทรวงพาณิชยของไทย<br />

• http://www.thaiechamber.com สภาหอการคาแหงประเทศไทย<br />

• http://www.fti.or.th สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย คูมือผู ประกอบการ SMEs ไทย<br />

ในซีอาน<br />

• http://www.thai-frozen.or.th สมาคมอาหารแชเยือกแข็งไทย<br />

• http://www.thaifood.org สมาคมผูผลิตอาหารสาเร็จรูป<br />

• http://www.tnsc.com สภาผูสงสินคาทางเรือแหงประเทศไทย<br />

• http://www.tiffathai.org สมาคมผูจัดการขนสงสินคาระหวางประเทศ<br />

• http://www.thaizhong.org สมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน<br />

• http://www.china-briefing.com คูมือธุรกิจในจีน China Briefing<br />

• http://www.asiabriefing.com คูมือธุรกิจไทยจีน แบงตามภูมิภาค<br />

42


1<br />

แผนกลยุทธขยายตลาดใหม<br />

ใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

แผนกลยุทธระยะยาว (พ.ศ..2562..ถึง..2566..)<br />

เปดตลาดใหมสำหรับอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

ความเปนมา (อธิบายสภาพทั่วไปโดยยอของธุรกิจ)<br />

อาหารไทยมีชื่อเสียงและเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ รานอาหารไทยมีบทบาทใน<br />

การเผยแพรวัฒนธรรมและอาหารไทยสูชาวตางชาติ และการสงเสริมโครงการครัวไทยสูครัว<br />

โลก ซึ่งมีเปาหมายสงเสริมใหประเทศไทยเปนผูสงออกอาหารรายใหญของโลก ผลักดันการสง<br />

ออกวัตถุดิบที่ใชปรุงอาหารจากประเทศไทย รวมถึงสนับสนุนการเปดรานอาหารไทยในตาง<br />

ประเทศ<br />

ตลาดจีนเปนหนึ่งในตลาดใหมที่อยูในเปาหมาย ตองการเพิ่มจำนวนรานอาหารไทยใน<br />

ประเทศจีนใหมากขึ้น นอกจากนี้กรมสงเสริมการสงออกยังมีเปาหมายในการใหเครื่องหมาย<br />

Thaiselect แกรานอาหารไทยในตางประเทศเพื่อเปนการสรางมาตรฐานรานอาหารไทยที่มี<br />

คุณภาพ ใชเปนเครื่องมือในการประชาสัมพันธรานอาหารไทย และเพื่อกระตุนใหผูประกอบการ<br />

ไทยตื่นตัว และใหความสำคัญตอการยกระดับรานอาหารไทยใหดีขึ้น<br />

เมืองที่สามารถเรียกไดวาเปนตลาดใหม” ที่นาจะมีศักยภาพ ไดแก เมือง<strong>หนานหนิง</strong><br />

ซึ่งเปนหัวเมืองรองของจีน ที่ยังมีรานอาหารไทยจำนวนไมมากนัก และอาหารไทยก็รสชาติเผ็ด<br />

นาจะคุนลิ้นชาว<strong>หนานหนิง</strong><br />

2<br />

วิสัยทัศน<br />

การเปดตลาดใหมสำหรับอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

43


3<br />

พันธกิจ<br />

การเปดตลาดใหมสำหรับรานอาหารไทยในประเทศจีน ที่มีศักยภาพ เนนการนำเสนอ<br />

อาหารไทยแท ที่มีการปรับรสชาติใหถูกลิ้นผูบริโภค ตั้งอยูในพื้นที่ที่ผูบริโภคเขาถึงไดงาย การ<br />

ตกแตงรานแบบไทยรวมสมัย บริการแบบไทย และมีการสงเสริมการขายทางออนไลน<br />

4<br />

วัตถุประสงค<br />

• เพื่อศึกษากลยุทธในการเปดตลาดใหมสำหรับรานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

• เพื่อศึกษาอุปสงค (ทัศนคติและพฤติกรรม) และความพึงพอใจของชาว<strong>หนานหนิง</strong><br />

• เพื่อศึกษาอุปทานของรานอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

• เพื่อจัดทำแผนกลยุทธเพื่อเปดตลาดใหมสำหรับอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

5<br />

ผลการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอก (SWOT Analysis)<br />

จุดแข็ง (Strengths)<br />

• เอกลักษณของอาหารไทยที่ครบรสทั้งเปรี้ยว เค็ม หวาน เผ็ด และมีกลิ่นหอม ที่<br />

สอดคลองกับรสชาติอาหารของชาว<strong>หนานหนิง</strong>ที่นิยมรับประทานอาหารรสจัด<br />

• มีการใชวัตถุดิบอยางพิถีพิถัน เปนอาหารเชิงสุขภาพที่มีประโยชนตอรางกายที่เนน<br />

ความสด สะอาด และไดมาตรฐานในการปรุง<br />

• มีการตกแตงรานอาหารที่สวยงาม สะทอนถึงความเปนเอกลักษณความเปนไทยที่<br />

ชัดเจน มีรสนิยม มีความประณีต<br />

• มีการบริการแบบไทย (Thainess) ที่สรางความประทับใจสำหรับกลุมลูกคาระดับกลาง<br />

จุดออน (Weakness)<br />

• อาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong>มีราคาคอนขางสูงเนื่องจากมีการนำเขาวัตถุดิบจากไทย<br />

• รานอาหารไทยมีรายการอาหารใหเลือกไมหลากหลายและไมใชรสชาติไทยแท<br />

• การนำวัตถุดิบเขาจากประเทศไทยทำใหมีราคาสูง<br />

• ถาใชพนักงานทองถิ่นที่เปนจีน จะไมสามารถบริการไดเทาคนไทย เชน การไหว<br />

การยิ้มแยม มีมิตรไมตรี ซึ่งเปนสัญลักษณของการบริการแบบไทย<br />

44


โอกาส (Opportunities)<br />

• <strong>หนานหนิง</strong>เปนตลาดใหมที่ศักยภาพมากเนื่องจากเปนเมืองรอง มีความตองการของ<br />

กลุมผูบริโภคระดับกลาง และสวนมากเปนคนรุนใหมที่ชอบลองของใหม<br />

• โอกาสของ Thai Street Food เชน รานกวยเตี๋ยวเรือ รานขายน้ำมะมวง รานขาย<br />

น้ำมะพราว มีเพิ่มมากขึ้น<br />

• มีหนวยงานราชการไทยไดแก สถานกงสุล ที่ใหการสนับสนุนและใหคำปรึกษาทาง<br />

ดานการดำเนินธุรกิจที่คอยชวยเหลือนักธุรกิจไดเปนอยางดี<br />

• ชาว<strong>หนานหนิง</strong>นิยมการใชสื่อสังคมอออนไลน ที่ผูประกอบการสามารถนำมาใชใน<br />

การสงเสริมการขายและสรางความสัมพันธกับลูกคา<br />

อุปสรรค (Threats)<br />

• การแขงขันในตลาดอาหารคอนขางสูง โดยเฉพาะอาหารจีน ที่มีหลายหลายและ<br />

ราคาถูกกวาอาหารไทย<br />

• กฎหมายการเปดรานอาหารและการนำพอครัวเขาไปทำงานใน<strong>หนานหนิง</strong>คอนขาง<br />

จะยาก<br />

• ความตองการของผูบริโภคเปลี่ยนแปลงสม่ำเสมอ อาหารไทยอาจจะไมเปนไปตาม<br />

ที่คาดหวังของลูกคา<br />

• การแขงขันดานบริการของรานอาหารญี่ปุนและรานอาหารยุโรปที่มีมาตรฐานสูงกวา<br />

45


S<br />

Strenght<br />

จดแข็ง<br />

S1 เอกลักษณของอาหารไทยที่ครบรสทั้งเปรี้ยว<br />

เค็ม หวาน เผ็ด และมีกลิ่นหอม ที่สอดคลองกับ<br />

รสชาติอาหารของชาว<strong>หนานหนิง</strong>ที่นิยมรับ<br />

ประทานอาหารรสจัด<br />

S2 มีการใชวัตถุดิบอยางพิถีพิถัน เปนอาหารเชิง<br />

สุขภาพที่มีประโยชนตอรางกายที่เนน<br />

S3 ความสด สะอาด และไดมาตรฐานในการปรุง<br />

S4 มีการตกแตงรานอาหารที่สวยงาม สะทอนถึง<br />

ความเปนเอกลักษณความเปนไทยที่ชัดเจน มี<br />

รสนิยม มีความประณีต<br />

S5 มีการบริการแบบไทย (Thainess) ที่สรางความ<br />

ประทับใจสำหรับกลุมลูกคาระดับกลาง<br />

W Weakness<br />

จดออน<br />

W1 อาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong>มีราคาคอนขางสูง<br />

เนื่องจากมีการนำเขาวัตถุดิบจากไทย<br />

W2 รานอาหารไทยมีรายการอาหารใหเลือกไม<br />

หลากหลายและไมใชรสชาติไทยแท<br />

W3 การนำวัตถุดิบเขาจากประเทศไทยทำใหมี<br />

ราคาสูง<br />

W4 ถาใชพนักงานทองถิ่นที่เปนจีน จะไมสามารถ<br />

บริการไดเทาคนไทย เชน การไหว การยิ้มแยม<br />

มีมิตรไมตรี ซึ่งเปนสัญลักษณของการบริการแบบ<br />

ไทย<br />

O Opportunity T<br />

Threat<br />

โอกาส อุปสรรค<br />

O1 <strong>หนานหนิง</strong>เปนตลาดใหมที่ศักยภาพมาก<br />

เนื่องจากเปนเมืองรอง มีความตองการของกลุมผู<br />

บริโภคระดับกลาง และสวนมากเปนคนรุนใหมที่ชอบ<br />

ลองของใหม<br />

O2 โอกาสของ Thai Street Food เชน ราน<br />

กวยเตี๋ยวเรือ รานขายน้ำมะมวง รานขายน้ำ<br />

มะพราว มีเพิ่มมากขึ้น<br />

O3 มีหนวยงานราชการไทยไดแก สถานกงสุล ที่<br />

ใหการสนับสนุนและใหคำปรึกษาทางดานการ<br />

ดำเนินธุรกิจที่คอยชวยเหลือนักธุรกิจไดเปนอยางดี<br />

O4 ชาว<strong>หนานหนิง</strong>นิยมการใชสื่อสังคมอออนไลน<br />

ที่ผูประกอบการสามารถนำมาใชในการสงเสริมการ<br />

ขายและสรางความสัมพันธกับลูกคา<br />

T1 การแขงขันในตลาดอาหารคอนขางสูง โดย<br />

เฉพาะอาหารจีน ที่มีหลายหลายและราคาถูก<br />

กวาอาหารไทย<br />

T2 กฎหมายการเปดรานอาหารและการนำพอ<br />

ครัวเขาไปทำงานใน<strong>หนานหนิง</strong>คอนขางจะยาก<br />

T3 ความตองการของผูบริโภคเปลี่ยนแปลง<br />

สม่ำเสมอ อาหารไทยอาจจะไมเปนไปตามที่คาด<br />

หวังของลูกคา<br />

T4 การแขงขันดานบริการของรานอาหารญี่ปุน<br />

และรานอาหารยุโรปที่มีมาตรฐานสูงกวา<br />

SWOT Analysis รานอาหารไทยในเมือง<strong>หนานหนิง</strong><br />

46


6<br />

ทิศทางและเปาหมายการพัฒนาธุรกิจ<br />

• ประเด็นยุทธศาสตร (ระบุประเด็นยุทธศาสตร)<br />

• เขาใจบริบทของตลาดใหมสำหรับการเปดรานอาหารไทยในประเทศจีน<br />

• เขาใจถึงทัศนคติและพฤติกรรมของชาว<strong>หนานหนิง</strong><br />

• พัฒนาแผนกลยุทธเพื่อเปดตลาดใหมสำหรับอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong> ซึ่งผูประกอบ<br />

การสามารถนำไปใชได<br />

• เปาประสงค (ระบุเปาประสงค)<br />

1. แนวทางในการสราง/ประเมินตลาดใหมที่มีศักยภาพ<br />

2.เพิ่มศักยภาพของธุรกิจรานอาหารไทยในประเทศจีน<br />

3. ทำใหอาหารไทยมีชื่อเสียงในระดับโลก<br />

• ตัวชี้วัดยุทธศาสตร (ระบุตัวชี้วัดยุทธศาสตร)<br />

• มีจำนวนรานอาหารไทยมากขึ้นในเมืองกวาง<strong>หนานหนิง</strong> 20%<br />

• อาหารไทยมีสวนแบงทางการตลาดสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับอาหารชาติอื่นๆ<br />

• จำนวนผูบริโภคชาวจีนรับรูถึงอาหารไทยมากขึ้น<br />

• กลยุทธ (ระบุกลยุทธ)<br />

• กลยุทธการปรับเปลี่ยนตามทองถิ่น (Localization) ผูประกอบการควรใหบริการ<br />

อาหารไทยแท แตตองปรับรสชาติใหถูกลิ้นคนไทย<br />

• กลยุทธการพัฒนาสรางสรรคเมนูอาหารใหมๆ ที่ตรงกับความตองการของผูบริโภค<br />

• กลยุทธเจาะตลาดกลุมลูกคาใหมที่มีศักยภาพ ควรเจาะกลุมลูกคาที่มีกำลังการซื้อ<br />

และชอบทดลองอาหารใหมๆ เชน อาหารไทย ไดแก กลุมวัยรุนและวัยทำงาน รวมถึงผูบริโภค<br />

ที่เคยไปทองเที่ยวประเทศไทยแลว ชื่นชอบอาหารไทย<br />

• กลยุทธการตลาดออนไลนโดยใชดาราที่เปนที่รูจักของชาวจีน (Influencer) มารวม<br />

กิจกรรมและโปรโมตรานอาหาร รวมถึงการใชสื่อสังคมออนไลนในการสงเสริมการขาย และการ<br />

สรางความสัมพันธระยะยาวกับผูบริโภค<br />

• กลยุทธการทำกิจกรรมที่สงเสริมความเปนไทย เชน การสอนทำอาหารไทย การจัด<br />

กิจกรรมทางวัฒนธรรม เพื่อเผยแพรวัฒนธรรมไทยและสรางประสบการณใหมใหกับผูบริโภค<br />

• กลยุทธตกแตงรานใหสามารถ Show & Share และมีมุมถายภาพที่สะทอนความ<br />

เปนเอกลักษณของความเปนไทย<br />

• กลยุทธการพัฒนารานอาหารไทย Street Food เชน รานยำ รานสมตำ รานน้ำ<br />

มะพราว<br />

47


7<br />

แผนงาน/โครงการ “โครงการเปดตลาดใหมสำหรับอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong>”<br />

โครงการเปดตลาดใหมสำหรับอาหารไทยใน<strong>หนานหนิง</strong><br />

(ใหระบุชื่อโครงการและงบประมาณที่จะใชตามแผนกลยุทธระยะยาว (พ.ศ.2562-2566) โดยเรียง<br />

ตามประเด็นยุทธศาสตร ซึ่งในแตละประเด็นยุทธศาสตรจะระบุเปาประสงค ตัวชี้วัด<br />

ยุทธศาสตร คาเปาหมาย กลยุทธ แผนงาน/โครงการ ผูรับผิดขอบ และงบประมาณที่จะใช<br />

โดยขอมูลทั้งหมดใหสรุปรายละเอียดลงในแบบฟอรมดานลางนี้<br />

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1<br />

แนวทางในการสราง/ประเมินขยายตลาดที่มีศักยภาพ<br />

เปาประสงค<br />

ตัวชี้วัด<br />

ยุทธศาสตร<br />

2562<br />

(ผล)<br />

คาเปาหมายประจำป’<br />

งบประมาณ พ.ศ.......<br />

2562 2563 2564 2565 2566<br />

กลยุทธ<br />

เปดตลาดใหม<br />

สำหรับ<br />

อาหารไทย<br />

ตลาดใหม<br />

สำหรับการ<br />

เปดราน<br />

อาหารไทย<br />

ในประเทศ<br />

จีน<br />

ตลาด<br />

<strong>หนานหนิง</strong><br />

และ<br />

ตลาด<br />

เฉิงตู<br />

เพิ่ม<br />

ตลาดใหม<br />

2 เมือง<br />

เพิ่ม<br />

ตลาดใหม<br />

2 เมือง<br />

เพิ่ม<br />

ตลาดใหม<br />

2 เมือง<br />

เพิ่ม<br />

ตลาดใหม<br />

2 เมือง<br />

เพิ่ม<br />

ตลาดใหม<br />

2 เมือง<br />

• กลยุทธการสราง<br />

ความรวมมือ<br />

• กลยุทธนำเสนอ<br />

ผลิตภัณฑใหม<br />

• กลยุทธการปรับ<br />

เปลี่ยนตามทองถิ่น<br />

สวนแบง<br />

ทางการตลาด<br />

ของรานอาหาร<br />

ไทยสูงขึ้น<br />

จำนวนราน<br />

อาหารไทย<br />

จำนวน<br />

รานอาหาร<br />

ไทยเพิ่ม<br />

ขึ้น<br />

จำนวน<br />

ราน<br />

อาหาร<br />

ไทย<br />

เพิ่มขึ้น<br />

10%<br />

จำนวน<br />

ราน<br />

อาหาร<br />

ไทย<br />

เพิ่มขึ้น<br />

20%<br />

จำนวน<br />

ราน<br />

อาหาร<br />

ไทย<br />

เพิ่มขึ้น<br />

30%<br />

จำนวน<br />

ราน<br />

อาหาร<br />

ไทย<br />

เพิ่มขึ้น<br />

40%<br />

จำนวน<br />

ราน<br />

อาหาร<br />

ไทย<br />

เพิ่มขึ้น<br />

50%<br />

• กลยุทธการสราง<br />

ความรวมมือ<br />

• กลยุทธสวนประสม<br />

ทางการตลาด<br />

• กลยุทธการสราง<br />

ความสัมพันธกับ<br />

ลูกคา<br />

• กลยุทธการตลาด<br />

ดิจิทัล<br />

ทำใหอาหาร<br />

ไทยมีชื่อเสียง<br />

ในระดับโลก<br />

จำนวน<br />

ผูบริโภครูจัก<br />

อาหารไทย<br />

ผูบริโภค<br />

รูจัก<br />

อาหารไทย<br />

มากขึ้น<br />

ผูบริโภค<br />

รูจัก<br />

อาหารไทย<br />

มากขึ้น<br />

ผูบริโภค<br />

รูจัก<br />

อาหารไทย<br />

มากขึ้น<br />

ผูบริโภค<br />

รูจัก<br />

อาหารไทย<br />

มากขึ้น<br />

ผูบริโภค<br />

รูจัก<br />

อาหารไทย<br />

มากขึ้น<br />

ผูบริโภค<br />

รูจัก<br />

อาหารไทย<br />

มากขึ้น<br />

• กลยุทธการสราง<br />

การรับรู<br />

• กลยุทธการสราง<br />

แบรนด<br />

48


49<br />

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1<br />

เพิ่มศักยภาพของธุรกิจรานอาหารไทยในประเทศจีน<br />

กลยุทธ<br />

แผนงาน/<br />

โครงการ<br />

งบประมาณประจำป’งบประมาณ พ.ศ......<br />

(หนวย : บาท)<br />

แหลง<br />

งบ<br />

ประมาณ<br />

ผูรับ<br />

ผิดชอบ 2561 2562 2563 2564 2561<br />

-2564<br />

กลยุทธการ<br />

ขยายตลาด<br />

แผนงานศึกษา<br />

พื้นที่ และความ<br />

เปนไปไดใน<br />

การตั้งราน<br />

อาหารไทย<br />

เจาของราน<br />

คนไทย<br />

+คนจีน<br />

10,000,000<br />

บาท<br />

2,00,000<br />

บาท<br />

20,000,000<br />

บาท<br />

500,000<br />

บาท<br />

8,000,000<br />

บาท<br />

เจาของ<br />

รานอาหาร<br />

50,000<br />

บาท<br />

20,000<br />

บาท<br />

100,000<br />

บาท<br />

20,000<br />

บาท<br />

40,000<br />

บาท<br />

เจาของ<br />

รานอาหาร<br />

กลยุทธ<br />

เจาะตลาด<br />

กลุมลูกคา<br />

ใหมที่มี<br />

ศักยภาพ<br />

แผนงานศึกษา<br />

พฤติกรรม<br />

ลูกคา<br />

เจาของ<br />

ราน และ<br />

พนักงาน<br />

10,000<br />

บาท<br />

5,000<br />

บาท<br />

25,000<br />

บาท<br />

5,000<br />

บาท<br />

5,000<br />

บาท<br />

เจาของ<br />

รานอาหาร<br />

กลยุทธ<br />

การพัฒนา<br />

สรางสรรค<br />

เมนูอาหาร<br />

ใหมๆ<br />

แผนงาน<br />

สรางสรรค<br />

เมนูใหมๆ ทั้ง<br />

เมนูอาหารหลัก<br />

และของ<br />

หวาน<br />

พอครัว/<br />

แมครัวไทย<br />

พนักงานใน<br />

ครัว<br />

3,000<br />

บาท<br />

3,000<br />

บาท<br />

12,000<br />

บาท<br />

3,000<br />

บาท<br />

3,000<br />

บาท<br />

เจาของ<br />

รานอาหาร<br />

กลยุทธ<br />

การปรับ<br />

เปลี่ยนตาม<br />

ทองถิ่น<br />

(Localization)<br />

แผนงานปรับ<br />

เปลี่ยนเมนูให<br />

ถูกลิ้น<br />

คนกวางโจว<br />

เจาของ<br />

ราน<br />

พอครัว/<br />

แมครัวไทย<br />

30,000<br />

บาท<br />

20,000<br />

บาท<br />

70,000<br />

บาท<br />

10,000<br />

บาท<br />

20,000<br />

บาท<br />

เจาของ<br />

รานอาหาร<br />

กลยุทธการ<br />

ตลาด<br />

ออนไลน<br />

แผนงานพัฒนา<br />

สื่อสังคม<br />

ออนไลน<br />

สำหรับติดตอ<br />

ลูกคา<br />

เจาของราน<br />

และ<br />

พนักงาน<br />

20,000<br />

บาท<br />

20,000<br />

บาท<br />

80,000<br />

บาท<br />

20,000<br />

บาท<br />

20,000<br />

บาท<br />

เจาของ<br />

รานอาหาร<br />

กลยุทธ<br />

พัฒนาการ<br />

บริการ<br />

แผนงาน<br />

จัดอบรม<br />

พนักงาน<br />

เจาของราน<br />

และ<br />

พนักงาน<br />

10,113,000<br />

บาท<br />

2,068,000<br />

บาท<br />

8,088,000<br />

บาท<br />

558,000<br />

บาท<br />

8,088,000<br />

บาท<br />

รวมทั้งสิ้น


บรรณานุกรมภาษาไทย<br />

กอบแกว นาจพินิจ. (2542). อาหารไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเสมาธรรม.<br />

กัลยา มโนรมย. (2554). การประกอบการธุรกิจรานอาหารไทยในตางประเทศ: กรณีศึกษาใน<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกา. เชียงใหม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม.<br />

จิราภรณ เจริญเดช. (2545). อาหารไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทไทยประกันชีวิต.<br />

ฉัตยาพร เสมอใจ. (2550). พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอรเน็ท. ฐานเศรษฐกิจ.<br />

(2560). “อาหารไทยเปนที่ยอมรับระดับนานาชาติ...โอกาสธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องใน<br />

ซัพพลายเชน” (ศูนยวิจัยกสิกรไทย) ฉบับเต็ม. เขาถึงเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2562<br />

จาก http://www.thansettakij.com/content/106250<br />

ฑิตยา สุวรรณะชฎ. (2543). แนวคิด ทฤษฎีสังคม. กรุงเทพฯ: คณะพัฒนาสังคม สถาบัน<br />

บัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร.<br />

ดารา ทีปะปาล. (2542). พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ: รุงเรืองสาสนการพิมพ<br />

ดารณีพานทอง. (2542). ทฤษฎีการจูงใจ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง.<br />

เดโช สวนานนท. (2512). จิตวิทยากรในชีวิตประจำวัน และจดหมายถึงสุมิตรา.<br />

พระนครโอเดียนสโตร.<br />

ธิดา ธนารักษและกัญจนีย ผลาวงศ. (2547). ความรูเรื่องอาหารไทย. วารสารวิชาการ<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ 2(4), หนา 106-114. .<br />

ไทย ฟูด ทู เดอะ เวิลด. (2557). นโยบายของรัฐบาล - Thai Food To World.<br />

เขาถึงเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2562 จาก<br />

http://www.thaifoodtoworld.com/home/governmentpol.php<br />

ธงชัย สันติวงศ. (2540). พฤติกรรมผูบริโภคทางการตลาด. พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ<br />

ไทยวัฒนาพาณิชย.<br />

นิจศิริ เรืองรังสี. (2542). เครื่องเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

นิดดา หงษวิวัฒน. (2546). งานสลักผักผลไม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพแสงแดด.<br />

นันทนภัส ศรีสวัสดิ์. (2556). การศึกษาความเปนไปไดในการดำเนินธุรกิจรานอาหารไทยใน<br />

เมืองฝอซาน มณฑลกวางตุง สาธารณรัฐประชาชนจีน. เชียงใหม: มหาวิทยาลัย<br />

เชียงใหม<br />

ปฐมาวดี แสงสุข. (2559). แผนธุรกิจรานอาหารไทย ณ เมืองอโนกา มลรัฐมินนิโซตา ประเทศ<br />

สหรัฐอเมริกา. การคนควาอิสระ สาขาวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ. กรุงเทพฯ:<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.<br />

50


51<br />

ปณิศา มีจินดา และศิริวรรณ เสรีรัตน. (2554). กลยุทธการตลาดและการวางแผน :<br />

Marketing Strategy and Planning. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด<br />

(มหาชน).<br />

พนิตนาฏ ผสมทรัพย. (2556). กลยุทธการสรางความไดเปรียบทางการแขงขันของธุรกิจราน<br />

อาหารในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก. เขาถึงเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2562 จาก<br />

http://webcache.googleusercontent.com<br />

พิมพพร แดงอุบล. (2550). การศึกษาปริมาณฟลาโวนอยดและฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระในพืช<br />

สมุนไพรที่ใชในอาหารไทย. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาโภชนศาสตร.<br />

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.<br />

โพสตทูเดย. (2561). “Thai SELECT” มาตรฐานอาหารไทยแทหรือแครสนิยมสวนตัว? เขาถึง<br />

เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2562 จาก https://www.posttoday.com/social/general/560229<br />

รัชต เกิดรวม. (2548). ความพึงพอใจของผูใชบริการของสนามกอลฟคายธนะรัชตอำเภอ<br />

ปราณบุรีจังหวัดประจวบคีรีขันธ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.<br />

วงศทิพย ถิตยสถาน. (2542). อาหารไทย-อาหารสุขภาพ. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต<br />

สาขาโภชนศาสตร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.<br />

ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2545). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน.<br />

ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. (2541). การบริหารการตลาดยุคใหม. กรุงเทพฯ: บริษัท ธีระฟลม.<br />

________. (2542). การวิจัยตลาด: ฉบับมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.<br />

________. (2543). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: ไดมอน อิน บิสสิเน็ต เวิรล.<br />

________. (2546). การบริหารการตลาดยุคใหม. กรุงเทพฯ: ไดมอน อิน บิสสิเน็ต เวิรล.<br />

ศรุดา นิติวรการ. (ม.ป.ป.). อาหารไทย: มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ. กรุงเทพฯ: วารสาร<br />

วิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร<br />

ศรีสมร คงพันธุ. (2548). สิบยอดอาหารไทยในตางแดน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพแสงแดด.<br />

ศาตรา กระฉอดนอก. (2552). การจัดอาหารไทยใหแสดงออกซึ่งเอกลักษณไทย. วิทยานิพนธศิลป<br />

ศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.<br />

ศูนยขอมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน สถานเอกอักราชทูต ณ กรุงปกกิ่ง. (2556). ปกธงธุรกิจ<br />

ในแดนมังกร-เริ่มตนธุรกิจในจีนอยางไรใหมั่นคง. เขาถึงเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2562<br />

จาก https://www.thaibizchina.com/wp-content/uploads/2018/11/<br />

hanchejen-part02.pdf<br />

ศูนยขอมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปกกิ่ง. (2562). เศรษฐกิจ<br />

กวางโจวป 2560 เติบโตตอเนื่อง ตัวเลข GDP ขยายตัวรอยละ 8.1. เขาถึงเมื่อวันที่<br />

15 มกราคม 2562 จาก https://www.thaibizchina.com/เศรษฐกิจกวางโจวป-<br />

2560-เติบโ/?fbclid=IwAR3SxBdtRiNcww8hEeMujNi3XQrxL6YR1dyE<br />

hw_OZCn462MHdChZJtONY-w


สมชาย ภคภาสนวิวัฒน. (2545). การบริหารเชิงกลยุทธ.กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนด<br />

พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).<br />

สันต ท. โกมลบุตร. (2548). จดหมายเหตุลาลูแบรราชอาณาจักรสยาม. กรุงเทพฯ: ศรีปญญา.<br />

สุวพีร สุวัณณะศรี. (2542). วิวัฒนาการอาหารไทยภาคกลาง. โครงการตำราวิชาการราชภัฏ<br />

เฉลิม พระเกียรติ. กรุงเทพฯ: ศูนยการพิมพสถาบันราชภัฏสวนสุนันทา.<br />

หนังสือพิมพขาวสด. (2561). “กวางโจว” สวรรคบนแผนดินจีน ศูนยกลางการทองเที่ยว<br />

-อาหารเลิศรส ติด 1 ใน 1 0เมืองที่ตองไปเยือน. เขาถึงเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2562<br />

จาก https://www.khaosod.co.th/pr-news/news_1987694<br />

อดุลย จาตุรงคกุล. (2543). พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร<br />

อวยชัย วัยสุวรรณ. (2546). เอกสารประกอบการศึกษา สาขายุทธศาสตรการพัฒนา :<br />

นครสรรค. สถาบันราชภัฎนครสวรรค.<br />

เอ็มจีออนไลน. (2548). กวางโจว: เปดประตูเมืองแพะสูแดนมังกร. เขาถึงเมื่อวันที่ 15 มกราคม<br />

2562 จาก https://mgronline.com/china/detail/9480000027172?fbclid=I<br />

wAR2-xibIQZG2UPChixTnhwvgAsQRpUrLsjcNBqY72hhG0z01<br />

mUNMN70awJg<br />

ศูนยขอมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน ณ นครซีอาน. (2562). คูมือผูประกอบการ SME ไทยที่ตองการ<br />

ลงทุนในนครซีอาน มณฑลสานซี สาธารณรัฐประชาชนจีน. เขาถึงเมื่อวันที่ 10<br />

ธันวาคม 2561 จาก http://www.thaiembassy.org/xian/contents/files/busi<br />

ness-20151023-125330-603832.pdf<br />

52


บรรณานุกรมภาษาอังกฤษ<br />

Armstrong, G. & Kotler, P. (2009). Marketing, an introduction. (9 th ed.). New<br />

Jersey: Pearson Prentice Hall<br />

Carter V. Good. (1959). Dictionary of Education. New York: Mcgraw-Hill.<br />

Chaisawadi, S., Darawan T., WarapornM.N. Pitakworarat, A.,Chaisawadi, K.,<br />

Jaturonrasamee, JKhemkhaw, J. and Tanuthumchareon, W. (2005).<br />

Preliminary study of antimicrobial activities on medicinal herbs of<br />

Thai food ingredients. ActaHort 675, 111-114.<br />

David, Fred R. (1997). Strategic Management. (6th ed). New Jersey : Pearson<br />

Prentice-Hall.<br />

Etzel, Michael J.; Walker, Bruce J.; & Stanton, William J. (2007). Marketing. (14 th<br />

ed.). Boston: McGraw – Hill.<br />

Hawkins, Best and Coney (2001).Consumer behavior. (8th edition). New York,.<br />

U.S.A.: McGraw-Hill.<br />

Howard H. Kendler, (1963). Attitude. Retriveed October 13, 2018,<br />

from http: //sarawud. Wordpress.com.<br />

Katz Daniel. (1960). The Functional Approach to the Study of Attitudes.<br />

Princeton University.<br />

Kotler, Philip. (1997). Marketing Management Analysis, Planning, Implementa<br />

tion and Control. (9 th ed.). New Jersey: U.S.A.: A Simon & Schuster<br />

Company.<br />

Murakami, A., Ohigashi, H., andKoshimizu, K. (1994). Possible anti-tumour<br />

promoting properties of traditional Thai food items and some of their<br />

active constituents. Asia Pacific J.Clin.Nutr., (3)185-192.<br />

Newcomb. (1854). T.M.Personality and Social Change. New York. Dryden.<br />

Schiffman, Leon G. and Kanuk, Leslie Lazer. (2000). Consumer<br />

Behavior. (7th ed). New Jersey : Prantice-Hall, Inc. United State.<br />

Thompson, A.A. and Strickland, A.J. (1995). Strategic Management : Concepts<br />

and Cases. 8th ed. Chicage : Richard D. Irwin.<br />

Wheelen, Thomas L. and Hunger, J. David. (2002). Strategic Management and<br />

Business Policy. (8th ed.).<br />

Yoder, W. (1995). Leading and Managing in Nursing. P.S.<br />

Zimbardo, Philip and Ebbesen, Ebbe B. (1970). Influencing Attitudes and<br />

Changing Behavior: A Basic to Introduction Relevant Methodology.<br />

Theory and Applications. Reading. Massachusett: Addison-Publishing.<br />

53


54

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!