28.12.2012 Views

วัดไทยลอสแองเจลิส WAT THAI OF LOS ANGELES - Home

วัดไทยลอสแองเจลิส WAT THAI OF LOS ANGELES - Home

วัดไทยลอสแองเจลิส WAT THAI OF LOS ANGELES - Home

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong> <strong>WAT</strong> <strong>THAI</strong> <strong>OF</strong> <strong>LOS</strong> <strong>ANGELES</strong><br />

ปีที่ ๓๗ ฉบับประจำเดือน ธันวาคม-มกราคม ๒๕๕๓ Vol. 37 December-January 2010<br />

www.watthai.com


พระราชธรรมวิเทศ<br />

หัวหน�าสงฆ� <strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

เนื่องในโอกาสวันปีเก่าจะหมดไป ก็จะถึงวันปีใหม่<br />

เข้ามาแทน แต่วันปีเก่าที่เราใช้ชีวิตล้มลุกคลุกคลานกันมา<br />

เป็นเวลา ๓๖๕ วัน หรือ ๓๖๖ วัน สำหรับบางคน ดำเนินชีวิต<br />

ไปตามครรลองชีวิต มีทั้งสุขและทุกข์ไปตามอัตภาพ แต่ก็<br />

สามารถอยู่มาได้ด้วยใจ เป็นนักต่อสู้กับศัตรูคือความทุกข์<br />

ยาก ได้รบราฆ่าฟ�นกันมาเป็นเวลา ๓๖๕ วัน บางครั้งเกือบ<br />

แพ้แต่ก็สามารถกู้กลับมาได้ ดังพระพุทธองค์ตรัสสอนไว้ว่า<br />

ขันติ กับ โสรัจจะ อธิบายว่า ขันติ ทนต่อความหนาวร้อน<br />

ทนต่อความทุกข์ยากนานาประการ ไม่ย่นย่อต่ออุปสรรค<br />

ทั้งหลาย ที่จะมาขวางทางชีวิตตน ทนต่อความเจ็บแค้น<br />

ทุกข์ยากตรากตรำลำบาก สมกับเป็นผู้มีความอดทน<br />

และโสรัจจะ ได้แก่มีความสงบเสงี่ยมเจียมตัว รู้ตัวอยู่<br />

เสมอว่า เราอยู่ในฐานะอย่างไร เงินทองที่เราหามาได้ ก็รู้จัก<br />

ใช้จ่าย ตามพระดำรัสของในหลวง ให้ใช้ชีวิตพอเพียงกับ<br />

ความเป็นอยู่ ถ้าเราอยู่อย่างเสมอต้นเสมอปลายใช้พอดี<br />

พอเพียงชีวิต อย่างนี้ดำเนินไปด้วยความสุขสบายเพราะ<br />

ฉะนั้น ขันติโสรัจจะธรรมนี้ เป็นธรรมะให้ความแช่มชื่น<br />

เบิกบานไม่วิตก วิจารณ์ ประหนึ่งเหมือนอารมณ์เครื่อง<br />

ประดับใจ ทำใจให้งาม ย่อมทำให้ได้รับการยกย่อง<br />

สรรเสริญในที่ทั่วไป ถึงอย่างไรก็ตามเราก็ต้องมีคาถา<br />

ของพระพุทธเจ้า ๔ ตัวๆ ย่อว่า อุ,อา,กะ,สะ เช่น อุ.ได้แก่<br />

อุฏฐานสัมปทา เป็นผู้มีความพร้อมด้วยความขยัน<br />

ขันแข็ง ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคนานาประการ อา. ได้แก่<br />

การดำเนินชีวิตในป�ใหม�<br />

อารักขสัมปทา เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยการรักษาคือรักษา<br />

ทรัพย์สมบัติที่หามาได้ ด้วยความหมั่นเพียรไม่ให้เป็น<br />

อันตราย และรักษาหน้าที่การงานของตนไม่ให้เสื่อมเสียไป<br />

กะ ได้แก่ กัลยาณมิตตา เรามีเพื่อนเป็นคนดีไว้เนื้อเชื่อใจ<br />

ได้ ไม่คบคนชั่วเป็นเพื่อน สะ.ตัวสุดท้าย ได้แก่ สมชีวิตา<br />

การเลี้ยงชีวิตตามกำลังทรัพย์ที่หามาได้ไม่ให้ฝ�ดเคืองจน<br />

เกินไป ไม่ฟุ�มเฟ�อยมากนัก<br />

คาถาของพระพุทธเจ้าศักดิ์สิทธิ์ ถ้าใครผู้ใดยึดมั่น<br />

คือถือมั่นในคำสอนของพระพุทธเจ้าอยู่เป็นประจำ<br />

ผู้นั้นย่อมถึงซึ่งความสุขตามอัตภาพของตน ไม่ตกไปใน<br />

ที่ชั่ว เป็นคนดีของครอบครัว เป็นคนดีของสังคมและ<br />

ประเทศชาติด้วย จึงขอเชิญหันเข็มทิศชีวิตใหม่ ที่แล้วๆ<br />

ไป เราตั้งต้นกันใหม่ จงหันเข็มทิศไปทางทิศบูรพา เป็นทาง<br />

ขาขึ้นของชีวิต อย่าหันเข็มทิศไปทางทิศตะวันตก ทางนี้<br />

เป็นทิศที่สิ้นสุดของชีวิต ทุกคนจะมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง<br />

สืบต่อไป ดังคาถาที่กล่าวไว้ข้างต้น เพราะเป็นประโยชน์<br />

ในป�จจุบันชาตินี้ เราเกิดมาไม่เสียชาติเกิดส่วนคาถาคือ<br />

ประโยชน์ในภายภาคหน้าจะนำมากล่าวในโอกาสต่อไป<br />

ขอให้ทุกคนประสบความสำเร็จในชีวิตสมความ<br />

ปรารถนา มีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บมีแต่ความ<br />

สุขกายสบายใจตลอดไป.


<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

สารบัญ<br />

คนภูธร โดย ขุนช้าง ๒๖<br />

ส.ค.ส. พระราชทาน ๒๕๕๓ ๒๗<br />

ประมวลภาพกิจกรรม ๒๘<br />

Contents<br />

การดำเนินชีวิตในปีใหม่ (ปกใน)<br />

พระราชธรรมวิเทศ<br />

คุยกับบรรณาธิการ<br />

พระมหาเจริญ ฐานวฑฺฒโน ๒<br />

การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ๓<br />

พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)<br />

พระณัฐพงษ์ ปญฺญาวชิโร (รวบรวม)<br />

ความฝัน...อันสูงสุด ๙<br />

พระสมศักดิ์ ชุตินฺธโร รวบรวม<br />

น้ำชาล้นถ้วย ๑๐<br />

ท่านพุทธทาสภิกขุ<br />

พระปฏิญญา เขมโก (รวบรวม)<br />

ชาติสุดท้ายแห่งการบำเพ็ญบารมี (๒) ๑๒<br />

พระมหากิตติศักดิ์ โคตมสิสฺโส<br />

สมเด็จพระสังฆราชพระองค์แรก แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ๑๗<br />

พุทธศาสนสุภาษิต ๒๒<br />

พระมหาประเชิญ ปญฺญาวุโธ<br />

บทความพิเศษ “เก้าอี้แห่งความหลัง” ๒๔<br />

โดย…หญ้าอ่อน<br />

วัตถุประสงค์:<br />

- เผยแผ่หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาส่งเสริมศีลธรรมวัฒนธรรม<br />

และประเพณีอันดีงามของไทย<br />

- แถลงกิจกรรมของ<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

ปีที่ ๓๗ ฉบับประจำเดือน ธันวาคม-มกราคม ๒๕๕๓<br />

Vol. 37 December-January 2010<br />

www.watthai.com<br />

เรื่องจากปก<br />

หลวงพ่อแก้วศักดิ์สิทธิ์ เป็นพระพุทธรูปอีกองค์หนึ่ง<br />

ที่ประดิษฐานบนอุโบสถ <strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong> ซึ่งแต่ละปี<br />

ช่วงส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ คณะสงฆ์<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

และพุทธศาสนิกชน จะพร้อมใจจัดงานนมัสการหลวงพ่อแก้ว<br />

ขึ้นเป็นประจำทุกปี<br />

บทความธรรม ภาคภาษาอังกฤษ - ไทย ๓๑<br />

วันมาฆบูชา จาตุรงคสันนิบาต<br />

พระมหาดุสิต ญาณภูสิโต<br />

ปุจฉา-วิสัชชนา ถามมา-ตอบไป ๓๖<br />

พระมหากิตติศักดิ์ โคตมสิสฺโส<br />

ศาสนพิธี ระเบียบการทำบุญใส่บาตร ๔๐<br />

พระครูสังฆรักษ์สุชาติ ปญฺญาวฑฺฒโน (รวบรวม)<br />

นวนิยายเรืืืื่อง “ลีลาวดี” ๔๒<br />

พระครูปลัดขวัญชัย ธมฺมวโร (รวบรวม)<br />

ข่าวสารงานบุญ ๔๗<br />

ท.ทิวเทือกเขา<br />

รอบรั้วโรงเรียนวัดไทยฯ ๔๘<br />

พระเยือนศรัณย์ จนฺทโชโต<br />

สายธารศรัทธา ๕๒<br />

ใบสมัครวารสารดวงประทีป ๕๕<br />

เจ้าของ: <strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

ผู้จัดทำ: คณะสงฆ์ <strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

สำนักงาน: Wat Thai of Los Angeles 8225 Coldwater Canyon Ave.<br />

N. Hollywood CA 91605 Tel. (818) 780-4200 Fax. (818) 780-0616<br />

Office Open Hour 8:30 A.M. - 6:00 P.M. Every Day<br />

All comments are welcome at watthaila@gmail.com


คุยกับบรรณาธิการ<br />

“อิติป� โส ภะควา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชา<br />

จะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อนุตตะโร ปุริสะทัม<br />

มะสาระถิ สัตถา เทวะมนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ”<br />

เสียงสวดอิติป� โส ฯเปฯ จำนวน ๑๐๘ จบ เชื่อว่าก็<br />

คงจะแว่วอยู่ในหูของญาติโยมทุกๆ ท่านอยู่เสมอ เพราะว่าช่วง<br />

ท้ายปีและต้นปีที่ผ่านมา <strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong>ของเราได้จัดให้<br />

มีงานส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ (งานนมัสการหลวงพ่อแก้ว)<br />

โดยมีการสวดนพเคราะห์ประจำวันเกิด และสวดอิติป� โส<br />

๑๐๘ จบร่วมกัน เพื่อเป็นการส่งท้ายปีเก่า และเจริญชัยมงคล<br />

คาถา (สวดชะยันโต) เพื่อเป็นการต้อนรับปีใหม่<br />

หรือแม้แต่บรรยากาศการร่วมกันทำบุญตักบาตร<br />

ในวันขึ้นปีใหม่ ซึ่งเป็นบรรยากาศแบบไทยๆ ของเราถือได้<br />

ว่าทุกท่านได้ร่วมกันสร้างความเป็นศิริมงคลให้แก่ชีวิตตัวเอง<br />

อีกทั้งยังได้ร่วมกันเป็นแบบอย่างที่ดี ด้วยการรักษาประเพณี<br />

การตักบาตรในวันขึ้นปีใหม่ให้ลูกหลานของเราได้เห็นว่า<br />

นี่คือขนบธรรมเนียมประเพณีไทย และจะได้นำไปปฏิบัติตาม<br />

สืบต่อไป สาธุ...<br />

ช่วงเวลาแบบนี้สินะ ที่เราเรียกกันว่าเป็นช่วงบรรยากาศ<br />

ท้ายปีต้นปี อีกทั้งยังเป็นช่วงเวลาของความหนาวที่มาเยือน<br />

เราอยู่ตลอด ความเยือกเย็นยังคงพัดมาพร้อมกับสายลมไม่<br />

ว่างเว้นในทุกๆ ช่วงของแต่ละวัน ถึงบางวันจะมีฝนลงบ้างก็ตาม<br />

หรืออาจจะมีหิมะลงบ้างเป็นบางพื้นที่ ที่อยู่สูงๆ จวบจนกาล<br />

เวลาหมุนเวียนเปลี่ยนไปเรื่อยๆ จนย่างเข้าสู่ช่วงของอากาศ<br />

ร้อนที่จะเข้ามาแทนที่ ใบไม้ที่เคยทิ้งใบเก่าของมันก็คงจะต้อง<br />

ถึงเวลาที่จะผลิใบใหม่ เพื่อมาแทนที่ซึ่งเป็นสิ่งบ่งชี้ว่าได้เข้าสู ่<br />

อีกฤดูหนึ ่ง ถือว่าเป็นสีสันที ่เราเข้าใจกันว่านี ่คือบรรยากาศใน<br />

นครลอสแองเจลิสของเรา<br />

๒<br />

วัฎจักรแบบนี้คิดว่า ท่านผู้อ่านทุกท่านคงทราบกันดี<br />

อยู่แล้ว ชีวิตของคนเราก็เช่นกัน จะต้องเจอกับสิ่งที่เป็นเหตุ<br />

ป�จจัยให้เกิดการเวียนว่าย ซึ่งเป็นไปตามกฎของไตรลักษณ์<br />

(คือความไม่เที่ยงเป็นทุกข์ และเป็นของไม่ใช่ตัวตน) อย่าง<br />

หลีกเลี่ยงไม่ได้ พระพุทธองค์ท่านได้เตือนเราทั้งหลายไว้ว่า<br />

“ให้เราดำรงชีวิตอยู่ด้วยความไม่ประมาท” เว้นจากการทำ<br />

ชั่ว ทำความดี และทำจิตใจให้ผ่องใส ก็จะสามารถนำชีวิตให้<br />

ประสบความสำเร็จได้<br />

ถึงบางครั้งในเสี้ยวหนึ่งของชีวิตคนเราก็จะมีทั้งขึ้น<br />

และลง มีอุปสรรคและป�ญหานานัปประการ ที่คอยเป็นตัวบ่อน<br />

ทำลายความวิริยะ (ความเพียร) ของเรา จนบางครั้งถึงกับทำ<br />

ให้ใครบางคนที่ไม่มีจิตใจที่หนักแน่น ถึงกับท้อถอยและยอม<br />

แพ้กับมัน สิ่งเหล่านี้ถือได้ว่า เป็นเรื่องปกติของการดำรงชีวิต<br />

อยู่ในสังคมป�จจุบัน เหมือนดั่งสุภาษิตที่กล่าวไว้ว่า“ทะเลยังมี<br />

คลื่น ชีวิตจะราบรื่นต้องมีอุปสรรค” ขอเพียงแค่ให้ทุกท่าน<br />

ตระหนักในการทำความดี มีความเพียร ไม่ย่อท้อกับสิ่งต่างๆ<br />

ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ไม่ยอมแพ้กับป�ญหาต่างๆ ที่มารุมเร้า<br />

เพราะป�ญหาทุกอย่างที่เราเจอนั้นจะต้องมีหนทางแก้ไขอยู่<br />

แล้วขอเพียงให้เรานำเอาหลักธรรมต่างๆ ของพระพุทธเจ้า<br />

หรือการนั่งสมาธิ (สำรวจดูจิตใจ) มาช่วยในการแก้ไขป�ญหา<br />

ใช้สติป�ญญาที่ประกอบไปด้วยเหตุผล พิจารณาป�ญหาต่างๆ<br />

ที่เกิดขึ้น หาสาเหตุของป�ญหาต่างๆ แล้วเราก็จะเจอหนทางใน<br />

การแก้ไขนั้นได้ และจะสามารถพิชิตป�ญหาต่างๆ ได้ในที่สุด<br />

ญาติโยมทุกท่านสามารถติดตาม และอ่านบทความแต่<br />

ละบทความของหนังสือดวงประทีป ได้ในต้นเดือน (ทุก ๒ เดือน)<br />

โดยสามารถรับได้ที่บนอุโบสถวัดไทยฯ หรือถ้าอยากจะได้<br />

รับหนังสือที่มาส่งบ้าน ก็สามารถส่งใบสมัคร (ซึ่งมีอยู่ในเล่มนี้)<br />

ส่งมาที่วัดไทยฯ ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และถ้าวันไหนว่าง<br />

หรือเสร็จจากงาน ก็ขอเชิญญาติโยมทุกท่านมาร่วมกันสร้าง<br />

บารมีให้แก่ตัวเองด้วยการสวดมนต์ทำวัตรเช้า (๐๗.๐๐ น.)<br />

และเย็น (๑๗.๐๐น.) หรือ เพิ่มเวลาในวันเสาร์,อาทิตย์ อีก ๑<br />

รอบ (๑๕.๐๐ น.) เฉพาะวันอาทิตย์ (วันเดียว) เวลา ๑๗.๐๐ น.<br />

ไม่มีการทำวัตรเย็น แล้วเจอกันใหม่ฉบับหน้า<br />

เจริญพร<br />

พระมหาเจริญ ฐานวัฑฒโน


พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)<br />

ความไม�สันโดษ<br />

ที่เป�นพระจริยาวัตรของพุทธเจ�า<br />

คุณธรรมคือความไม่สันโดษนี้ ควรจะได้รับ<br />

การเน้นและยกย่องในหมู่พุทธศาสนิกชนได้มาก<br />

แต่ต้องเป็นความไม่สันโดษที่ ๑๐ การเพิ่มประสิทธิภาพ<br />

ในการทำงานถูกต้องตามหลักพุทธศาสนา เพราะเป็น<br />

พระจริยาวัตรของพระพุทธเจ้าทีเดียว ทีนี้ถ้าเรามอง<br />

ความไม่สันโดษเป็นธรรมสำคัญ เราจะเห็นว่า ความ<br />

สันโดษในเรื่องสิ่งบริโภค ที่จะเอามาบำรุงบำเรอตัวเอง<br />

หมายความว่า เอากิจหน้าที่การงานวัตถุประสงค์ที่ดีงาม<br />

นี้เป็นใหญ่ ส่วนการดำเนินชีวิต การมีป�จจัยสี่อะไรต่างๆ<br />

นั้น เป็นเพียงองค์ประกอบเกื้อกูลการมีป�จจัยสี่ การมี<br />

วัตถุอำนวยความสะดวกนั้น จะต้องมีเป�าหมายเพื่อ<br />

เป็นเครื่องเกื้อหนุนในการที่จะบำเพ็ญกิจหน้าที่ การ<br />

กระทำสิ่งที่ดีงามเพื่อเข้าถึงจุดประสงค์ที่เป็นประโยชน์<br />

ถ้าอย่างนี้แล้วรับกันเลย สันโดษ กับไม่สันโดษ ความ<br />

สันโดษก็เป็นฐานรองรับแก่ความไม่สันโดษอย่างที่ว่า<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

บทความ<br />

เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน<br />

พระณัฐพงษ์ ปญฺญาวชิโร (รวบรวม)<br />

มาแล้ว และความไม่สันโดษนั้นก็เป็นความไม่ประมาท<br />

เรื่องความสันโดษที่พูดกัน ที่ว่าเป็นป�ญหามากก็<br />

เพราะไม่ได้พูดให้ชัดว่า สันโดษในเรื่องอะไร? มีเป�า<br />

หมายหรือความมุ่งหมายอย่างไร? เมื่อเราพยายาม<br />

อธิบายแต่เพียงความหมายของคำ มันก็ยิ่งพร่าออกไป<br />

สันโดษที่ตรัสไว้โดยไม่พูดว่าสันโดษในเรื่องอะไร<br />

ก็มีแต่ในคาถาอย่างที่พูดมาแล้ว เช่นบอกว่าสนฺตุ��ฐี<br />

ปรมํ ธนํ - ความสันโดษเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง หรือในมงคล<br />

สูตรก็บอกว่า“สนฺต��ฐี จ กต�ฺ�ุตา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ<br />

ความสันโดษความกตัญญู และอะไรต่างๆ อีกมากมาย<br />

(ในมงคล ๓๘ ความสันโดษ ก็เป็นมงคลหนึ่งในมงคล<br />

เหล่านั้น) เป็นมงคลอันอุดม” ในคาถาอย่างนี้ไม่ได้บอก<br />

ไว้ชัดเจนว่า ให้สันโดษในอะไร แต่ถ้าเป็นข้อความร้อยแก้ว<br />

จะบอกชัดทีเดียวว่าสันโดษในอะไร นี่เป็นแง่หนึ่งที่เกี่ยว<br />

กับการศึกษาธรรมะ คือต้องสะกิดบอกกันว่า ไม่ใช่พูดแต่<br />


เรื่องความหมายของธรรมข้อนั้นๆ<br />

เท่านั้น แต่จะต้องทำความเข้าใจให้<br />

ครบถ้วนทุกแง่ด้วย เช่นในแง่นี้ ก็คือ<br />

จะต้องมองความหมายโดยสัมพันธ์กับ<br />

จุดมุ ่งหมายของธรรมะข้อนั้นๆ และ<br />

โดยสัมพันธ์กับธรรมะข้ออื่นๆ ด้วย<br />

อย่างความไม่สันโดษนี่ชัดเจนว่าจะ<br />

สัมพันธ์กันกับความเพียรพยายาม<br />

เช่นในข้อสองแห่งคุณธรรมที่ให้ตรัสรู้<br />

นั้น ก็จะตามมาด้วยความเพียรที่<br />

ไม่ยอมระย่อท้อถอย ถ้าเราสันโดษ<br />

ผิดก็ตาม ไม่สันโดษผิดก็ตาม ก็จะ<br />

เกิดผลร้ายขึ้นมาทันที ฉะนั้นต้องจับ<br />

จุดให้ถูก สันโดษ ต้องสันโดษในเรื่อง<br />

เครื่องอำนวยความสะดวกทางวัตถุ<br />

แต่ต้องไม่สันโดษในกุศลธรรม ถ้าไป<br />

จับสันโดษผิดสันโดษในกุศลธรรมก็<br />

ความอยากที่ดี<br />

มีคุณธรรมข้อหนึ่งที่ถือว่าเป็นพื้นฐาน ที่จริงเป็น<br />

พื้นฐานของการที่จะก้าวหน้าในคุณธรรมทั้งหมดทีเดียว<br />

คุณธรรมข้อนี้ท่านเรียกว่า “ฉันทะ” ฉันทะตัวนี้เราฟ�งแล้ว<br />

คุ้นหู เพราะท่านที่เป็นนักศึกษาธรรมนี่รู้ทันที ฉันทะ เป็น<br />

ข้อหนึ่งใน อิทธิบาท ๔ เราแปลกันว่า ความพอใจรักใคร่<br />

ในสิ่งนั้น หมายความว่า ถ้าเรามีงานที่จะต้องทำ เราก็รัก<br />

งานนั้นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับฉันทะ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการ<br />

กระทำเท่านั้นเพราะอิทธิบาทแปลว่า ทางไปสู่ความสำเร็จ<br />

หรือคุณธรรมที่ให้ถึงความสำเร็จ เป็นเรื่องของการกระทำ<br />

จะทำให้สำเร็จต้องมีฉันทะ มีความรักความพอใจในสิ่งที่<br />

จะทำ แปลง่ายๆ ว่า “มีใจรัก” เมื่อมีใจรักแล้ว ก็มาโยงกับ<br />

ความสันโดษและไม่สันโดษ พอเรามีใจรักในงานที่ทำสิ่ง<br />

ที่เป็นวัตถุประสงค์ สิ่งที่ดีงามขึ้นมา เราก็จะมีใจฝ�กใฝ�<br />

๔<br />

หยุดเลย เป็นผลเสียเลยทีเดียว มันจะ<br />

เสียอย่างไรถ้าพระโสดาบันสันโดษใน<br />

เรื่องกุศลธรรม พระโสดาบันั้นก็กลาย<br />

ผู้ประมาทไม่ก้าวหน้า ไม่ต้องได้บรรลุ<br />

เป็นสกทาคามี อนาคามี อรหันต์ ต่อไป<br />

ไม่ต้องไปแล้ว เป็นโสดาบันอยู่นั้นเอง<br />

เรียกว่า เป็นอริยสาวกผู้ประมาท ทีนี้<br />

ถ้าหากว่าไม่สันโดษอย่างผิดพลาด คือ<br />

ไม่สันโดษในสิ่งอำนวยความสะดวก<br />

มุ่งหาแต่วัตถุบำรุงบำเรอตนเอง เขา<br />

เรียกว่ามุ่งหาอามิส ถ้าเป็นอย่างนี้<br />

แล้วงานก็หยุด งานก็เสีย ใจก็ไม่อยู่<br />

กับงาน เมื่อใจก็ไม่อยู่กับงาน ทำงาน<br />

ก็ไม่ได้ผลดี งานก็ไม่สำเร็จผลด้วยดี<br />

แล้วดีไม่ดี ความไม่สันโดษนี่ก็สนับ<br />

สนุนความโลภเมื่อ ๑๒ การเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพในการทำงาน โลภแล้ว<br />

ได้ไม่ทันใจ ก็ต้องทุจริตอะไรอย่างนี้<br />

เป็นต้น ตัวไม่สันโดษก็นำมาซึ่งความ<br />

ทุจริต มันก็เป็นเรื่องของผลร้ายในจุด<br />

นี้ ก็สรุปแต่เพียงว่าเรื่องสันโดษและ<br />

ไม่สันโดษ นี่ไม่ใช่คุณธรรมที่เราจะเข้า<br />

ใจเฉพาะตัวลอยๆ แต่จะต้องเข้าใจ<br />

โดยสัมพันธ์กับสิ่งที่เป็นเป�าหมาย<br />

ของมันว่าสันโดษในอะไร ไม่สันโดษ<br />

อะไร แล้วก็มีความมุ่งหมายอะไรอย่าง<br />

ที่ได้กล่าวมาแล้ว ถ้ามีความเข้าใจ<br />

ร่วมกันอย่างนี้แล้วก็จะศึกษาให้ลึก<br />

ลงไปอีกว่าความสันโดษที่ดีและความ<br />

ไม่สันโดษที่ดี นี่จะต้องมีรากฐานอีก<br />

ว่าเกิดจากอะไร ทำอย่างไรจึงจะมีสัน<br />

โดษที่ดี และไม่สันโดษที่ดี<br />

อยู่กับวัตถุประสงค์ของเรานั้น อยู่กับงานที่จะนำไปสู่<br />

วัตถุประสงค์ เราจะไม่ยอมหยุดถ้าไม่สำเร็จผลตาม<br />

วัตถุประสงค์ แล้วผลที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นนั้น เรายังถือว่า<br />

ยังไม่พอ เราจะต้องเดินหน้าต่อไป ในแง่นี้ก็มีความไม่<br />

สันโดษเกิดขึ้น เรียกว่า “ไม่สันโดษในกุศลธรรม”และ<br />

เพราะการที่เราเอาใจมาฝ�กใฝ� มามุ่งอยู่กับงานที่เป็น<br />

วัตถุประสงค์นี่ เราก็จะเกิดความสันโดษในเรื่องของเครื่อง<br />

อำนวยความสะดวกสบาย เรื่องปรนเปรอต่างๆ คือไม่ค่อย<br />

เอาใจใส่ จะเห็นว่าคนที่ตั้งใจทำงานอย่างจริงจังแล้ว ก็ไม่<br />

วุ่นวายกับสิ่งปรนเปรอบำรุงบำเรอทั้งหลาย ดังนั้น ฉันทะ<br />

นี้เป็นธรรมพื้นฐานที่จะนำไปสู่สันโดษและความไม่<br />

สันโดษที่ถูกต้อง


บทความ : พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)<br />

อิทธิบาท ๔ : ทางแห�งความสำเร็จ<br />

นอกจากการที่จะมีความไม่สันโดษและสันโดษที่<br />

ถูกต้องแล้ว เพราะฉันทะทำให้ใจมาอยู่กับงาน สิ่งที่ทำ สิ่งที่<br />

เป็นเป�าหมายทำให้เกิดจิตใจฝ�กใฝ�อย่างที่ว่ามาเมื่อกี้ เมื่อ<br />

ใจฝ�กใฝ� ก็ทำงานด้วยความแน่วแน่จริงจัง สภาพที่จิตแน่ว<br />

แน่อยู่กับสิ่งที่กระทำนั้น เราเรียกว่าเป็น“สมาธิ”เพราะ<br />

ฉะนั้น ฉันทะ ก็นำไปสู่สมาธิ สมาธิในการทำงานเกิดได้ด้วย<br />

การมีฉันทะ เมื่อมีสมาธิและใจก็รักงานนั้น ทำงานด้วยใจรัก<br />

ใจก็เป็นสุข เพราะฉะนั้น คนที่ทำงานด้วยฉันทะก็มีจิตใจ<br />

เป็นสุข ใจเป็นสมาธิ สมาธิก็ทำให้เป็นสุขเพราะจิตใจสงบ<br />

แน่วแน่ เมื่อทำจิตใจให้เป็นสมาธิแน่วแน่ ตั้งใจจริงจัง<br />

ใจรักงานนั้น ตั้งใจทำเต็มที่ มีความเพียรพยายาม ผลสำเร็จ<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />


ของงานก็เป็นผลสำเร็จที่ดีเรียกว่า<br />

นำไปสู่ “ความเป็นเลิศ” ของงานนั้น<br />

หมายความว่างานนั้นจะสำเร็จผล<br />

อย่างดีเลิศ อันนี้ก็เลยพันกันไปหมด<br />

เพราะฉะนั้นพระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า<br />

ฉันทะเป็นคุณธรรมอย่างหนึ่งใน<br />

อิทธิบาท ๔ คือ ธรรมที่เป็นเครื่อง<br />

ให้ถึงความสำเร็จหรือเรียกง่ายๆ ว่า<br />

“ทางแห่งความสำเร็จ”เมื่อพูดมา<br />

ถึงอิทธิบาทแล้วก็จะต้องโยงไปถึง<br />

คุณธรรมข้ออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย<br />

เพราะอิทธิบาทมี ๔ ข้อ คือ ฉันทะ<br />

วิริยะ จิตตะ วิมังสา, ฉันทะ คือ ข้อที่<br />

พูดมาแล้วความพอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น<br />

รักงานรักเป�าหมายรักจุดหมายที่ดี<br />

งาม รักวัตถุประสงค์ของงานนั้น ข้อ<br />

ต่อไปนี้คือ วิริยะ ความเพียร ความ<br />

๖<br />

พยายาม จิตตะความเอาใจใส่ในสิ่ง<br />

นั้น วิมังสา ความไตร่ตรองสอบสวน<br />

พิจารณาหรือถ้าจะพูดให้สั้น จำ<br />

ง่ายๆ ก็บอกว่า“มีใจรักพากเพียรทำ<br />

เอาจิตฝ�กใฝ�ใช�ป�ญญาสอบสวน”<br />

นี่เป็น อิทธิบาท ๔ ฉันทะ เป็นข้อ<br />

ที่ ๑ ตามปกติถ้ามี ฉันทะ แล้วมัน<br />

ก็ช่วยให้เกิดคุณธรรมข้ออื่นใน อิทธิ-<br />

บาท ๔ ตามมา มันสัมพันธ์กันช่วย<br />

เหลือเกื้อหนุนกัน พอมีฉันทะใจรัก<br />

แล้วมันก็เกิดความเพียรพยายาม<br />

เมื่อมีความเพียรพยายาม<br />

ใจก็ฝ�กใฝ�จดจ่ออยู่กับสิ่งนั้น มีใจ<br />

จดจ่อเอาใจใส่แล้ว ก็สามารถจะใช้<br />

ป�ญญาพิจารณาสอนสวนเรื่องราวนั้น<br />

ไตร่ตรองถึงข้อบกพร่อง ข้อที่ควร<br />

แก้ไข หาทางทดลองปรับปรุงอะไร<br />

บทความ : พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)<br />

ต่างๆ เหล่านี้ มันก็ตามกันมา ฉันทะ<br />

วิริยะ จิตตะ วิมังสาเป็นชุดกันทีเดียว<br />

แต่ความจริงนั้น ไม่จำเป็นจะต้องตาม<br />

ลำดับนี้ อิทธิบาท ๔ นั้น แต่ละข้อมัน<br />

ก็เป็นใหญ่ในแต่ละตัว พระพุทธเจ้า<br />

ตรัสว่า อิทธิบาท ๔ แต่ละข้อเป็นตัว<br />

ทำให้เกิดสมาธิได้ทั้งนั้น ในพระไตร<br />

ป�ฎก จึงมักจะตรัสเรื่องอิทธิบาท ๔<br />

ในแง่ของสมาธิแล้วจะมีสมาธิตามชื่อ<br />

ของอิทธิบาท๔แต่ละข้อพระพุทธเจ้า<br />

ตรัสว่า สมาธิที่อาศัยฉันทะเกิดขึ้น<br />

เรียกว่า “ฉันทสมาธิ” สมาธิ ที่อาศัย<br />

วิริยะเกิดขึ้น เรียกว่า “วิริยสมาธิ”<br />

สมาธิที่อาศัยจิตตะความเอาใจฝ�กใฝ�<br />

เกิดขึ้น เรียกว่า“จิตตสมาธิ”และ<br />

สมาธิที่อาศัยวิมังสาเกิดขึ้น เรียกว่า<br />

“วิมังสาสมาธิ”ตกลงมีสมาธิ ๔


แบบอันนี้อาจจะเป็นคำที่แปลกที่จริง<br />

พระไตรป�ฎก มีคำตรัสถึงเรื่องสมาธิ<br />

ตามหลักอิทธิบาทนี้บ่อยๆ การสร้าง<br />

สมาธิโดยเอาหลักอิทธิบาทมาใช้นี่<br />

เราจะเห็นว่ามันช่วยให้ได้ผลดี แล้วไม่<br />

จำเป็นจะต้องเป็นไปตามลำดับที่ว่า<br />

คือแต่ละข้อนี่ทำให้เกิดสมาธิได้<br />

ทั้งนั้น แล้วมันจะสัมพันธ์กับนิสัย<br />

ของคน สมาธิในแบบอิทธิบาทนี่มัน<br />

เกื้อกูลแก่การทำงานมาก สำหรับข้อ<br />

ฉันทะนั้น ได้พูดมาแล้วว่า เมื่อมีใจรัก<br />

แล้ว เราก็เกิดความแน่วแน่เกิดสมาธิ<br />

ในการทำงาน อันนี้เป็นเรื่องแน่นอน<br />

แต่ทีนี้สำหรับคนบางคน ถ้าเราต้อง<br />

การที่จะนำหรือกระตุ้นให้เกิดสมาธิ<br />

ลักษณะจิตใจของเขาเหมาะแก่การ<br />

กระตุ้นวิริยะมากกว่า วิริยะ นี่มาจาก<br />

คำว่า วีระ ตามหลักภาษา วีระ กับ<br />

ภาวะ รวมกันแล้วก็เป็นวิริยะ แปลว่า<br />

วีรภาวะ ภาวะของผู้แกล้วกล้า วิริยะ<br />

ที่แปลว่า ความเพียรพยายามนี่แปล<br />

ตามศัพท์ว่า ความเป็นผู้แกล้วกล้า<br />

แกล้วกล้า คือ ใจสู้ ไม่ยอมท้อ ถ้าเห็น<br />

อะไรเป็นอุปสรรค หรืองานที่มาอยู่<br />

ข้างหน้าแล้วจะต้องเอาชนะ ทำให้<br />

สำเร็จ คนที่มีลักษณะอย่างนี้จะทำ<br />

อะไรต้องให้มีลักษณะท้าทาย ถ้าอะไร<br />

เป็นเรื่องท้าทายแล้วใจสู้จะทำให้ได้<br />

คนที่มีลักษณะอย่างนี้ ท่านว่าให้ปลูก<br />

ฝ�งสมาธิด้วยวิริยะคือสร้างวิริยสมาธิ<br />

ถ้าเราใช้จิตวิทยาก็หมายความว่า คน<br />

ลักษณะนี้จะต้องทำงานให้เป็นเรื่อง<br />

ที่ท้าทาย ถ้าทำงานหรือสิ่งที่เรียน<br />

ให้เป็นเรื่องที่ท้าทายแล้ว คนแบบนี้<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

จะสู้และจะพยายามทำให้สำเร็จ<br />

แล้วสมาธิที่เป็นตัวแกนให้งานสำเร็จ<br />

จะตามมา คนบางคนเป็นคนแบบมี<br />

จิตตะ ลักษณะเป็นคนเอาใจจดจ่อ<br />

ถ้ามีอะไรที่เข้าเกี่ยวข้องกับตัวเขา<br />

เรียกว่าเป็นเรื่องของเขาแล้วเอาใจ<br />

จดจ่อไม่ทอดทิ้ง<br />

อย่างนี้เป็นลักษณะของคน<br />

มีความรับผิดชอบคนแบบนี้ถ้าทำให้<br />

เรื่องนั้น เป็นเรื่องเกี่ยวกับตัวเขาอยู่<br />

ในความรับผิดชอบเป็นเรื่องของเขา<br />

ขึ้นมาแล้ว เขาจะทำเรียกว่าสร้าง<br />

สมาธิด้วยวิธีของ จิตตอิทธิบาท<br />

ข้อที่ ๓ คนอีกพวกหนึ่งเป็นพวกชอบ<br />

สงสัย ชอบค้นคว้า ชอบทดลอง ถ้าทำ<br />

อะไรให้เขาเกิดความรู้สึกสงสัย อยาก<br />

รู้ อยากเข้าใจขึ้นมาล่ะก็ พวกนี้เอา<br />


บทความ : พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)<br />

เพราะฉะนั้น ถ้ารู้จิตวิทยาดีในแบบนี้<br />

ก็หมายความว่า ทำเรื่องนั้นให้เป็น<br />

เรื่องที่น่าค้นคว้า น่าศึกษา น่าสงสัย<br />

น่าทดลอง พออยากลองคราวนี้ คน<br />

นั้นเอาจริงๆ ไม่ทิ้ง ไม่ไปไหนวุ่นอยู่<br />

นั่นเอง พยายามทำให้ได ้ให้สำเร็จ<br />

อิทธิบาทแต่ละข้อ นี่เป็นวิธีสร้างสมาธิ<br />

ทั้งนั้น เป็นทางนำไปสู่ความสำเร็จ<br />

สุขเมื่อทำด้วยความตั้งใจจริงทำด้วยสมาธิงานนั้นก็สำเร็จ<br />

อย่างดี หลักอิทธิบาท ๔ นี่เป็นธรรมสำคัญที่เราอาจจะต้อง<br />

มาขยายวิธีการคือจากหลักใหญ่ๆนี่น่าจะมีการเอาไปขยาย<br />

รายละเอียดของวิธีการได้ในแต่ละข้อ เช่นว่า ในแง่ฉันทะ<br />

จะทำอย่างไร มีเทคนิคอะไรบ้าง ที่จะทำให้คนรักงาน หรือ<br />

ทำให้งานนั้นหรือเรื่องที่เป็นหน้าที่นั้นเป็นเรื่องที่คนชอบ<br />

เพราะจะมีคนพวกหนึ่งที่ว่า รักชอบละก็ทำ ทีนี้มีคนอีก<br />

พวกหนึ่งที่ต้องใช้ธรรมข้อที่ ๒ คือจะต้องสร้างเทคนิคกันขึ้น<br />

มาว่าทำอย่างไรจะให้งานหรือหน้าที่นั้น เป็นเรื่องท้าทาย<br />

แล้วคนพวกนี้ก็จะมาทำอย่างที่ ๓ ก็ทำให้รู้สึกเกี่ยวข้องเป็น<br />

เรื่องของเขา อันที่ ๔ ก็ทำให้เกิดความรู้สึกอยากทดลอง<br />

๘<br />

ไม่จำเป็นจะต้องเริ่มที่ข้อใดตายตัว<br />

ตามปกตินั้น เริ่มที่ฉันทะมาก ถ้าเริ่ม<br />

ตัวหนึ่งแล้วตัวอื่นจะมาหนุนทันที<br />

เพราะฉะนั้นถ้าคนมีนิสัยใจรักชอบ<br />

อะไรแล้ว ก็ต้องยุในแง่ฉันทะ คนไหน<br />

ชอบสิ่งที่ท้าทายก็ต้องทำงานให้เป็น<br />

เรื่องท้าทาย จึงจะเอาจริง ใจสู้ คน<br />

ไหนมีลักษณะเป็นคนมีความใฝ�ใจ<br />

เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน<br />

รับผิดชอบเรื่องของตัวเองเกี่ยวข้อง<br />

จึงทำ ก็ใช้วิธีจิตตะ ส่วนคนที่ชอบ<br />

ทดลองค้นคว้า ก็ทำงานให้เป็นเรื่อง<br />

ที่น่าอยากรู้ อยากเห็น อยากเข้าใจ<br />

น่าสงสัยสอบสวนไป มันก็จะได้งาน<br />

ขึ้นมา คือว่าทุกอย่างจะนำไปสู่การ<br />

เกิดสมาธิ เมื่อเกิดสมาธิแล้วเขา<br />

จะทำงานด้วยความพอใจ มีความ<br />

นี่เป็นวิธีการในพุทธศาสนา ซึ่งเป็นหลักใหญ่ๆ แต่ในแง่<br />

เทคนิคนี่เรายังไม่ค่อยได้มีการนำเอามาขยาย ถ้าขยาย<br />

อาจจะเป็นวิธีการที่น่าศึกษาทีเดียว เอามาเรียนเป็น<br />

วิชาการกันได้ สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน แต่<br />

จุดแรกที่ย้ำนี่ โยงกลับไปที่เก่า คือเรื่องฉันทะ จึงจะขอผ่าน<br />

เรื่องอิทธิบาท นี่กลับมาสู่ข้อต้นในชุดของมัน คือ ฉันทะ<br />

อีกครั้งหนึ่ง (อ�านต�อฉบับหน�า)


ความฝัน...อันสูงสุด<br />

ขอฝ�นใฝ�ในฝ�นอันเหลือเชื่อ<br />

ขอสู้ศึกทุกเมื่อไม่หวั่นไหว<br />

ขอทนทุกข์รุกโรมโหมกายใจ<br />

ขอฝ�าฝ�นผองภัยด้วยใจทะนง<br />

จะแนวแน่แก้ไขในสิ่งผิด<br />

จะรักชาติจนชีวิตเป็นผุยผง<br />

จะยอมตายหมายให้เกียรติดำรง<br />

จะป�ดทองหลังองค์พระปฏิมา<br />

ไม่ท้อถอยคอยสร้างสิ่งที่ควร<br />

ไม่เรรวนพะว้าพะวังคิดกังขา<br />

ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา<br />

ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป<br />

นี่คือปณิธานที่หาญมุ่ง<br />

หมายผดุงยุติธรรมอันสดใส<br />

ถึงทนทุกข์ทรมานนานเท่าใด<br />

ยังมั่นใจรักชาติองอาจครัน<br />

โลกมนุษย์ย่อมจะดีกว่านี้แน่<br />

เพราะมีผู้ไม่ยอมแพ้แม้ถูกหยัน<br />

คงยืนหยัดสู้ไปใฝ�ประจัญ<br />

ยอมอาสัญก็เพราะปองเทอดผองไทยฯ<br />

เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๔๓ ท่านผู้หญิงมณีรัตน์<br />

บุนนาค ได้รับพระราชเสาวนีย์จาก สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม<br />

ราชินีนาถ ให้เขียนบทกลอนแสดงความนิยมส่งเสริมคนดีให้มีกำลังใจ<br />

ทำงานเพื่ออุดมคติเพื่อประเทศชาติ ออกมาเป็นกลอน ๕ บท<br />

สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้กราบบังคมทูล<br />

พระกรุณาขอให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงใส่ทำนองเพลงใน<br />

คำกลอน “ความฝันอันสูงสุด” ใน พ.ศ. ๒๕๑๔<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

พระสมศักดิ์ ชุตินฺธโร รวบรวม<br />

ทหารที่ดีไม่ใช้ความรุนแรง<br />

นักต่อสู้ที่ดี...ไม่บันดาลโทสะ<br />

ผู้ชนะที่ดี....ไม่ซ้ำเติม<br />

นายจ้างที่ดี...รู้จักถ่อมตัว<br />

นี่คือคุณธรรมแห่งการไม่แก่งแย่งแข่งขัน<br />

นี่คือความสามารถ ในการใช้ชีวิตร่วมกับผู้คน<br />

ตั้งแต่โบราณกาลมา สิ่งนี้ได้ชื่อว่า...<br />

เอกภาพสูงสุดร่วมกับสวรรค์<br />

(คำภีร์คุณธรรม)<br />


คือว่า อาจารย์แห่งนิกายเซ็น ชื่อ น่ำอิน เป็น<br />

ผู้มีชื่อเสียงทั่วประเทศ และโปรเฟสเซอร์คนหนึ่ง<br />

เป็นโปรเฟสเซอร์ที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ไปหาอาจารย์<br />

น่ำอิน เพื่อขอศึกษาพระพุทธศาสนาอย่างเซ็น ในการ<br />

ต้อนรับ ท่านอาจารย์น่ำอิน ได้รินน้ำชาลงในถ้วย รินจน<br />

ล้นแล้ว ล้นอีก โปรเฟสเซอร์ มองดูด้วยความฉงน ทนดูไม่ได้<br />

ก็พูดโพล่งออกไปว่า “ท่านจะใส่มันลงไปได้อย่างไร”<br />

ประโยคนี้ มันก็แสดงว่าโมโห ท่านอาจารย์น่ำอิน จึงตอบ<br />

ว่า“ถึงท่านก็เหมือนกันอาตมาจะใส่อะไร ลงไปได้<br />

อย่างไร เพราะท่านเต็มอยู่ด้วย opinions และ<br />

speculations ของท่านเอง” คือว่า เต็มไปด้วยความคิด<br />

ความเห็นตามความยึดมั่นถือมั่นของท่านเองและมีวิธี<br />

คิดนึก คำนวณตามแบบของท่านเองสองอย่างนี้แหละ<br />

มันทำให้เข้าใจพุทธศาสนาอย่างเซ็น ไม่ได้ เรียกว่า<br />

ถ้วยชามันล้น ท่านครูบาอาจารย์ทั้งหลายจะเตือนสติเด็ก<br />

ของเราให้รู้สึกนึกคิด เรื่องอะไรล้น อะไรไม่ล้น ได้อย่างไร<br />

ขอให้ช่วยกันหาหนทาง<br />

๑๐<br />

เรื่อง<br />

น้ำชาล�นถ�วย<br />

ท่านพุทธทาสภิกขุ<br />

บทความพิเศษ<br />

พระปฏิญญา เขมโก รวบรวม<br />

ในครั้งโบราณในอรรถกถาได้เคยกระแหนะ<br />

กระแหนถึงพวกพราหมณ์ที่เป็นทิศาปาโมกข์ ต้องเอา<br />

เหล็กมาตีเป็นเข็มขัดคาดท้องไว้ เนื่องด้วยกลัวท้องจะ<br />

แตกเพราะวิชาล้น นี้จะเป็นเรื่องที่มีความหมายอย่างไร<br />

ก็ลองคิดดู พวกเราอาจล้นหรืออัดอยู่ด้วยวิชาทำนองนั้น<br />

จนอะไรใส่ลงไปอีกไม่ได้ หรือความล้นนั้นมันออกมา<br />

อาละวาดเอาบุคคลอื่นอยู่บ่อยๆ บ้างกระมัง แต่เราคิด<br />

ดูก็จะเห็นได้ว่า ส่วนที่ล้นนั้น คงจะเป็นส่วนที่ใช้ไม่ได้<br />

จะจริงหรือไม่ ก็ลองคิดส่วนใดที่เป็นส่วนที่ล้นก็คง<br />

เป็นส่วนที่ใช้ไม่ได้ ส่วนที่ร่างกายรับเอาไว้ได้ก็คงเป็น<br />

ส่วนที่มีประโยชน์ ฉะนั้นจริยธรรมแท้ๆ ไม่มีวันจะล้น<br />

โปรดนึกดูว่าจริยธรรม หรือธรรมะแท้ๆ นั้นมีอาการล้น<br />

ได้ไหม ถ้าล้นไม่ได้ ก็หมายความว่า สิ่งที่ล้นนั้น มันก็ไม่<br />

ใช่จริยธรรม ไม่ใช่ธรรมะ ล้นออกไปเสียให้หมดก็ดีเหมือน<br />

กัน หรือถ้าจะพูดอย่างลึก เป็นธรรมะลึกก็ว่าจิตแท้ๆ<br />

ไม่มีวันล้น อ้ายที่ล้นนั้น มันเป็นของปรุงแต่งจิตไม่ใช่ตัว<br />

จิตแท้ มันล้นได้มากมาย แต่ถึงกระนั้น เราก็ยังไม่รู้ว่าจิต


แท้คืออะไร อะไรควรเป็นจิตแท้ และอะไรเป็นสิ่งที่ไม่ใช่<br />

จิตแท้คือเป็นเพียง ความคิดปรุงแต่ง ซึ่งจะล้นไหลไปเรื่อย<br />

นี่แหละรีบค้นหาให้พบสิ่งที่เรียกว่าจิตจริงๆ กันเสียสักที<br />

ก็ดูเหมือนจะดี ในที่สุดท่านจะพบตัวธรรมะอย่างสูงที่ควร<br />

แก่นามที่จะเรียกว่า จิตแท้ หรือจิตเดิมแท้<br />

ซึ่งข้อนั้น ได้แก่ภาวะแห่งความว่าง จิตที่ประกอบ<br />

ด้วยสภาวะแห่งความว่างจาก“ตัวกูของกู”นั้นแหละคือ<br />

จิตแท้ ถ้าว่างแล้วมันจะเอาอะไรล้นนี่เพราะเนื่องจากไม่<br />

รู้จักว่า อะไรเป็นอะไรจึงบ่นกันแต่เรื่องล้นการศึกษาก็ถูก<br />

บ่นว่าล้น และที่ร้ายกาจที่สุด ก็คือที่พูดว่าศาสนานี้เป็น<br />

ส่วนที่ล้น จริยธรรมเป็นส่วนล้นคือส่วนที่เกินคือเกิน<br />

ต้องการ ไม่ต้องเอามาใส่ใจไม่ต้องเอามาสนใจ เขาคิดว่า<br />

เขาไม่ต้องเกี่ยวกับศาสนา หรือธรรมะเลย เขาก็เกิดมาได้<br />

พ่อแม่ก็มีเงินให้เขาใช้ให้เขาเล่าเรียน เรียนเสร็จแล้วก็<br />

ทำราชการเป็นใหญ่เป็นโต ได้โดยไม่ต้องมีความเกี่ยว<br />

ข้องกับศาสนาเลย ฉะนั้นเขาเขี่ยศาสนา หรือธรรมะ<br />

ออกไปในฐานะเป็นส่วนล้น คือไม่จำเป็นนี่แหละ เขาจัด<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

ส่วนล้นให้แก่ศาสนาอย่างนี้ คนชนิดนี้จะต้องอยู่ในลักษณะ<br />

ที่ล้นเหมือนโปรเฟสเซอร์คนนั้น ที่อาจารย์น่ำอินจะต้อง<br />

รินน้ำชาใส่หน้า หรือว่ารินน้ำชาให้ดู โดยทำนองนี้ทั้งนั้น<br />

เขามีความเข้าใจผิดล้น ความเข้าใจถูกนั้นยังไม่เต็ม<br />

มันล้นออกมาให้เห็น เป็นรูปของ มิจฉาทิฎฐิ เพราะเขาเห็น<br />

ว่าเขามีอะไรๆ ของเขาเต็มเปี�ยมแล้ว ส่วนที่เป็นธรรมะเป็น<br />

จริยธรรมนี่เข้าไม่จุอีกต่อไป ขอจงคิดดูให้ดีเถอะว่านี้แหละ<br />

คือมูลเหตุที่ทำให้จริยธรรมรวนเร และพังทลาย ถ้า<br />

เรามีหน้าที่ที่จะต้องผดุงส่วนนี้แล้วจะต้องสนใจเรื่องนี้<br />

(ติดตามอ�านตอนต�อไป)<br />

๑๑


พระมหากิตติศักดิ์<br />

โคตมสิสฺโส (ศ. สียวน)<br />

ชาติสุดท�าย<br />

แห�งการบำเพ็ญบารมี (๒)<br />

(ต�อจากฉบับที่แล�ว)<br />

กัณฑ� วนประเวศน�<br />

พระเวสสันดร มัทรี ชาลี กัณหา กษัตรา กษัตรี<br />

ทั้งสี่พระองค์ บุกป�าฝ�าดงพงหนามด้วยความเหนื่อยยาก<br />

ลำบากยิ่ง หนทางไกลล้นสำหรับคนเมื่อยล้าราตรีช่าง<br />

ยาวนานนักหนา สำหรับคนนอนไม่หลับ จากกรุงสีพี<br />

ก็ลุถึงซึ่งแคว้นเจตะ ซึ่งมีตระกูลกษัตริย์อยู่หกหมื่น<br />

ตระกูล แคว้นเจตราษฎร์ มีมาตุลนคร เป็นเมืองหลวง<br />

มีพระเจ้าเจตราช เป็นราชา การเดินทางเท้าที่ไม่ใช่ฟุตบาท<br />

แต่ยุรยาตรฝ�าดงพงไพรไกลกันดาร รวมเบ็ดเสร็จ ๔๘๐<br />

กิโลเมตร ร่างกายคนไม่ใช่รถยนต์ มีหรือจะทนไหว ทั้งสี่<br />

องค์ทั้งสี่กมล พระเสโทที่ถั่งทน ถ้าไหลรวม คงท่วมเมือง<br />

ทรงพักกันที่ศาลา ด้วยเหนื่อยล้าด้วยหมดแรง<br />

เจ้าเมืองเจตราษฎร์ กษัตริย์แห่งมาตุลนคร พระ<br />

ป�ยสหายเพื่อนรักของพระเวสสันดรทรงทราบเรื่องจึง<br />

มิรอรา เสด็จมาอย่างร้อนเร่า รับเข้าสู่เมือง ถามไถ่รู้เรื่องแล้ว<br />

พระสหายแบ่งนครบางเขตให้ปกครอง พระเวสสันดร<br />

ปฏิเสธไป ด้วยหัวใจที่ซาบซึ้ง นึกไม่ถึงน้ำใจเพื่อนจะ<br />

งดงามในยามนี้ ยามจน ยามเจ็บ ยามจาก ยามยาก ยามล้ม<br />

๑๒<br />

ไม่ข่มข้าม แต่กลับก้มประคองให้ลุกขึ้นอย่างสง่างาม<br />

อย่างเยื่อใยไมตรี เพื่อนตายอย่างนี้ ถ่ายแทนชีวาอาตม์<br />

หายากฝากผีไข้ยากแท้จักหา<br />

พระเวสสันดร บอกว่าจะบวชบำเพ็ญพรต พระเจ้า<br />

เจตราษฎร์ จึงส่งเสด็จไปอยู่ยังเขาวงกต แล้วตั้งด่านให้<br />

พรานเจตบุตรเป็นยามเฝ�าระวัง รับสั่งให้พิทักษ์อารักขา<br />

ดัง ต.ป.(ตรวจคนเข้าป�า) มิให้ใครมามุ่งร้ายทำลายเพื่อน<br />

ทรงสั่งนักสั่งหนาว่าเจ้าอย่าเป็น ล.ป.พ. หลับเป็นพักๆ<br />

จนเพื่อนรักข้าอยู่ในอันตราย<br />

พระเวสสุกรรมเทพบุตร จอมยุทธผู้เป็นยอด<br />

เรื่องเรือนเหย้า ประธานบริษัทรับเหมาก่อสร้างจำกัด<br />

(มหาชน) เนรมิตบรรณศาลาเสาไม้ มุงสวยด้วยใบไม้<br />

ไม่ใช้กระเบื้องตราช้าง ไม่ใช้ปูนตราเสือ ด้วยเวสสันดร<br />

มีพระราชประสงค์ทำพอเพียงเพื่อหลบแดดหลบฝน<br />

อดทนปฏิบัติธรรม ไม่ต้องสวยล้ำงามเลิศ แต่มันเกิดจาก<br />

ฤทธิ์ จึงไม่ต้องคิดเรื่องงบ เลยสร้างเสียครบสูตรสวยอร่าม<br />

งามสง่า มีช่อฟ�าใบระกาหางหงส์ทรงสุบรรณ


สี่กษัตริย์บวชเป็นดาบส ดาบสินีต่างสัญญาวาที<br />

มัทรี เวสสันดร จะไม่นอนร่วมห้องไม่อยู่ครองแบบคนคู่<br />

ชูเชย เหมือนดังเคยที่อยู่นคร อาศรมมี ๒ ไปจับจอง<br />

คนละหลัง ชาลี กัณหาน่ารักจัง อยู่กับแม่เพื่อต่างดูแล<br />

ซึ่งกันและกัน ล่วงคืนล่วงวันสิ้นเสร็จได้ ๗ เดือน<br />

เพลง คาถา อานิสงส์<br />

ถึงเมืองเจตราษฎร์ กษัตริย์ป�ยสหาย<br />

ยกเมืองถวาย ปกครองผ่านเกล้า<br />

ซึ้งน้ำใจเพื่อน แต่ไม่เอื้อนรับเอา<br />

จึงเดินทางเข้า เขาวงก์ทรงธรรม<br />

๕๗ คาถา เพลง “พระยาเดิน”<br />

กิริยาดำเนิน สี่กษัตริย์ย่างย่ำ<br />

ฟ�งกัณฑ์นี้หนา ป�ญญาเลิศล้ำ<br />

ศัตรูมิอาจทำ ทั้งชาตินี้ชาติไหน<br />

กิจกรรม ของคณะครูอาสาฯ<br />

และนักเรียน<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong> ในงานเทศมหาชาติ<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

กัณฑ� ชูชก<br />

ณ แคว้นกาลิงคะ มีพราหมณะผู้หนึ่งนั้นเรียก<br />

กันว่า“ชูชก” สกปรกจอมตะกละอยู่บ้าน“ทุนวิฐะ”เป็น<br />

นักขอทาน ขอได้บานตะไทจึงฝากเพื่อนไว้เพื่อนใช้จน<br />

หมดพอแกมาขอคืนก็คิดคด ทรยศไม่ยอมใช้ ไม่รับผิดชอบ<br />

ชูชกถามไถ่ ก็ไม่ยอมตอบ ชูชกยืนหอบ ชี้มือด่าว่าห่าเฮ้ย<br />

เฮ้ยห่าทำท่าเอาจริง ว่าถ้าเจ้าไม่ยอมคืนเงินที่ฝากเราจะ<br />

ลากเจ้าขึ้นไปกรม DSI ให้เขาสอบสวนคดีพิเศษให้เจ้าเสื่อม<br />

เสีย จนสองผัวเมียเพื่อนผู้ผิดพลาด มิอาจนิ่งเฉยอยู่ต่อไปได้<br />

ต่างเป�ดปากปราศรัย ไหว้วอน ขอผัดไปก่อน ไว้ตอนปี<br />

2012 จะต้องหาเงินมาใช้หนี้ให้ ไม่หนีไปไหน ชูชกไม่ยิน<br />

ยอมพร้อมใจ เอะอะเอ็ดตะโรใหญ่ ว่าต้องได้ในวันนี้ เพราะ<br />

แกรู้ว่า ปีที่ผัวเมียจะใช้หนี้ มันเป็นปีน้ำท่วมโลกเงินจะเสีย<br />

หนี้จะสูญ อา.ชูชกมันรู้ได้ไงหว่าสองผัวเมียจึงว่า.........<br />

“คุณเจ้าขาคุณตาเจ้า เมื่อจะขอทุเลาแล้วก็ไม่โปรด<br />

จะให้ท่านโกรธไปไย เหมือนเกวียนหักลงกับที่ของนั้น<br />

มันจะหนีไปไหน เสียหนึ่งนิ่งไว้นานไปคงได้สอง เสมือน<br />

๑๓


หนึ่งของท่านหายแต่มีที่เก็บไว้ ข้าพเจ้าจะหามาใช้ไม่<br />

ให้เดือดร้อน ยอมเสียกำไปก่อนนั้นแลจึงได้กอบ......<br />

ว่าแล้วก็ร้องไห้เข้าไปในห้อง จูงเจ้าทอง “อมิตตดา”<br />

ออกมาสะเออะอวดหน้าเสนอนวล ให้ทำจริตกระบิด<br />

กระบวนสะบิ้งสะบัด ให้นั่งท้าวแขนแอ่นหยัดแล้วเยี่ยม<br />

หน้า.....” (พระเทพมุนีด้วง)<br />

ครั้นแล้วก็ยกอมิตตดาลูกสาวคนเดียวให้ชูชก<br />

ไป โดยบอกชูชกว่า ..........“จะเลี้ยงไว้กับเอวอู่หรือจะให้<br />

เป็นคู่เคียงหมอน หรือจะให้นอนที่ปลายตีน ข้าก็ยินยอม<br />

พร้อมสิ้นเสร็จแล้วไม่ว่า”<br />

ชูชก เห็นอมิตตดา ก็ซ่าซู่ฝูงงูเลื้อยขึ้นไปอยู่บน<br />

หัว รีบพาตัวอมิตตดาไป ลืมเงินทองที่สูญเสีย เพราะ<br />

ได้เมียที่สุดสวยแกร่ำรวยเงินทองแต่บกพร่องทางสติ<br />

ริรักทั้งที่ร่างร้าย ทั้งกายก็แก่ชรา ใครเล่าเขาจะมารักจริง<br />

ข่าวยิงนายพลเฒ่า เพื่อเอาเบี้ยประกันสองล้านฝีมือเมีย<br />

สวยประหาร ชูชกคงไม่ได้อ่านข่าวนี้ บทเรียนที่ยาก<br />

ไยลำบากเรียนด้วยตัวเอง หาคนอื่นเป็นครูเรียนรู้โดย<br />

ไม่ต้องเคร่งเครียด ไม่ต้องเบียดเบียนทรัพย์ชีวิตไม่ดับ<br />

เพราะผู้ใด<br />

“บทเรียนจากตำรามีค่ายิ่ง<br />

บทเรียนจากชีวิตจริงยิ่งเหนือกว่า<br />

บทเรียนที่ปวดร้าวเคล้าน้ำตา<br />

คือบทเรียนที่มีค่าราคาแพง...” (สุธา)<br />

๑๔<br />

ชาติสุดท้ายแห่งการบำเพ็ญบารมี<br />

แต่ถ้าจะให้ดีเหลือล้น จงเอาชีวิตคนอื่นทั้งหมด<br />

เป็นบทเรียน ถ้าศึกษาชีวิตจากตนจะต้องทนปวดร้าว<br />

แต่ถ้าศึกษาชีวิตเขา ไม่ต้องปวดร้าวไม่ต้องทน<br />

“นางอมิตตดาเป็นลูกเหล่าตระกูลไม่เสีย<br />

ชาติคิดว่าตัวเป็นทาส ไม่ได้นึกว่าเป็นสาวได้ผัวแก่ คิด<br />

ว่ากรรมของพ่อแม่ กรรมแล้วก็ตามกรรม เจ้าก็หุงหา<br />

ต้มตักตำทุกค่ำเช้า ไม่ขวนเขินละอายเพื่อนเวลาเช้า<br />

เจ้าก็ทำ เวลาค่ำเจ้าก็มิไห้เตือน ทั้งการเรือนก็ไม่ให้ว่า<br />

ทั้งฟ�นก็หักทั้งผักก็หา เฝ�าปฏิบัติเฒ่าชราทุกวันเวลานั่น<br />

แล....” (พระเทพมุนีด้วง)<br />

แต่สามีชาวบ้าน กลับไปพาลเปรียบเทียบแล้ว<br />

เหยียบย่ำยำเมีย ด่าสาดเสียเทเสียให้เอาอย่างอมิตตดาเมีย<br />

ตาชูชก บรรดาเมียเสียหน้าน้ำตาตก ยกความผิดไปให้<br />

อมิตตดาแทนที่จะยกให้น้ำมันแก�สโซฮอลล์ จึงรวมตัวคิด<br />

อ่านสมานฉันท์ตะบันศอก ตอกเข่าเขย่าหยิก จิกตีอมิตตดา<br />

ที่ท่าน้ำอมิตตดาคนเคยดี ผีเลยเข้าพาลเอากับตาชูชก<br />

หลอกให้ไปยอยกขอชาลีกัณหา มาเป็นข้ารับใช้ หวังให้<br />

มันถูกสัตว์ร้ายกัดตายเสียกลางป�า ด้วยมารยาสตรี<br />

โลกีย์เข้ามาพล่าน เฒ่าก็กระทำห้าวหาญ ดังว่ามิได้กลัวภัย<br />

จึงรับคำว่า พี่จะไปโดยไม่รู้ตัวว่า การไปครั้งนี้จะไปไม่กลับ<br />

หลับไม่ตื่น...แล้วนี่ใครจะสะอื้นให้เล่า<br />

เพลง คาถาอานิสงส์<br />

กำเนิดชูชก สกปรกอัปลักษณ์<br />

ขอทานได้มาก เอาไปฝากเพื่อนไว้<br />

เพื่อนยักยอกเงินเพลิน ไม่มีเงินให้<br />

ยกลูกสาวไป เพื่อใช้แทนเงิน<br />

๗๙ คาถา เพลงตะละล้า “เซ่นเหล้า”<br />

กิริยากินเอา ตะกลามฉก งกเงิ่น<br />

ฟังกัณฑ์นี้แล้ว เพริศแพร้วเพลิดเพลิน<br />

ชาติหน้าโน้นเทอญ เกิดตระกูลใหญ่โต


กัณฑ� จุลพน<br />

ท้ายเรื่องกัณฑ์ชูชก ชูชกเดินทางเข้าเมืองถาม<br />

ข้อมูลเรื่องพระเวสสันดร แล้วจะย้อนเข้าสู่ป�าแต่ชาวพารา<br />

โกรธขึ้ง รุมกันบึ่งทำร้าย ขว้างก้อนดินและท่อนไม้ จนแทบ<br />

มอดม้วยมรณาด่าว่านี่เพราะไม่ใช่คนขี้ขอดอกหรือ ที่ทำ<br />

ให้พระเวสสันดรต้องถูกเนรเทศเจ้าช่างเป็นเปรตไม่ยอม<br />

ปล่อย เจ้าช่างถ่อยไม่มีธรรมะ เจ้าจะซ้ำเติมพระองค์ไปถึง<br />

ไหน หรือแค่นี้ยังไม่สาแก่ใจ ชูชกวิ่งป�าราบจนลืมชรา<br />

เข้าป�าลึก ชีวิตไม่ราบเรียบ เจอหมายกฝูงกันมาเพียบเขา<br />

จึงเปรียบว่าหมาหมู่ ชูชกวิ่งลู่ลานลนขึ้นต้นไม้มีชัยเหนือ<br />

หมา อา..ไม่น่าเชื่อๆ<br />

พรานเจตบุตรได้ยินเสียงหมา จึงรีบมาดูมันต้อง<br />

เป็นศัตรูเอาไว้ไม่ได้ เงื้อง่าราคาแพง เล็งแล่งหน้าไม้<br />

ชูชกตกใจ ห้ามไว้อย่ายิง เราคือราชทูต มีหลักฐาน<br />

พิสูจน์ได้พระเจ้ากรุงสญชัย สั่งให้มาทูลเชิญสี่กษัตริย์เสด็จ<br />

นิวัติรัฐสีพี ในยามวิกฤติเช่นนี้ ชูชกกลับมีวิธีเอาตัวรอด<br />

อย่างฉลาดสมดังโอวาทของ “หิโตปเทส” อันวิเศษว่าไว้ว่า<br />

ชีวิตที่ขวัญและกำลังใจดีแล้ว แม้ตกทะเลหรือภูเขา<br />

หรือถูกอสรพิษกัดก็ปลอดภัย..<br />

ชาติสุดท้ายแห่งการบำเพ็ญบารมี<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

เจตบุตรสุดสิ้นสงสัยไม่เคลือบแคลงสำคัญคะเน<br />

แจ้งว่าจริงดังวาจา หลงเชื่อช่วยเหลือลงมาพาเที่ยวชมป�า<br />

พนาสณฑ์ จึงเข้ามากัณฑ์จุลพนชมต้นไม้ “ดูเหล่ามะพลับ<br />

พลองมะต้องแต้วมะตูมดาด มะเดื่อดกเด่นแดงดังแสงชาด<br />

ประชุมช่อลออผลทั้งกล้วยก็เกลื่อนกล่น ดังแกล้งกลั่นสรร<br />

มาปลูกไว้ในดงดอน”(สมเด็จกรมพระปรมานุชิต-ชิโนรส)<br />

เจตบุตรเป็นไกด์ พาชมไม้ชมนกให้ชูชกเพลิดเพลิน<br />

เจริญใจ แล้วบอกทางไปเขาวงกต แต่ภาพวาดกัณฑ์นี้เกือบ<br />

ทั้งหมดทำไมพลาด มักคลาดเคลื่อนไม่ตรงเป�าเข้ากับเรื่อง<br />

เพราะกัณฑ์นี้ชูชกลงมาจากต้นไม้แล้ว<br />

เพลง คาถา อานิสงส์<br />

เจตบุตรพรานใหญ่ จอมไพรเสียท่า<br />

ถูกชูชกมุสา เป็นทูตราชา สัญชโย<br />

เลี้ยงดูปูเสื่อ เอื้อเฟ��อสุโข<br />

อิ่มตุงพุงโล เดินโม้ถามทาง<br />

๓๕ คาถา เพลงพา “คุกพาทย์”<br />

บทเพลงอำนาจ ขู่เข็ญขัดขวาง<br />

ฟังเทศน์กัณฑ์นี้ ชีวิไสวสว่าง<br />

ทุกภพเป�ดทาง มีทรัพย์สินบริวาร<br />

๑๕


กัณฑ� มหาพน<br />

ชูชก เดินทางอย่างมีข้อมูล ด้วยความเกื้อกูลของ<br />

พรานเจตบุตรในที่สุดก็ถึงอาศรมของ อจุตฤาษี เจรจาพาที<br />

ว่าตนเป็นคนดี เป็นเพื่อนซี้ของพระเวสส์ชอบฟ�งเทศน์<br />

ปฏิบัติธรรม แสนจะช้ำเพราะพลัดพรากจากไปนานไม่ได้<br />

พานพบ อยากจะไปนอบนบ สนทนาแต่ไม่รู้ว่าอยู่แห่ง<br />

หนตำบลไหน<br />

ครั้งแรกที่อจุตฤาษีพบธชีชูชกชราก็ทำท่าไม่<br />

พอใจขับไล่พาโล แต่พอฟ�งคำโม้ แซกซิกพลิกลิ้นก็สิ้นสงสัย<br />

เสียรู้เพราะหูไม่ถ่วงด้วยหิน พอได้ยินก็ศรัทธาแถมพาไป<br />

ชมป�ามหาพน ดูหลากล้นป�าใหญ่ ชมนกชมไม้ชมสัตว์ร้าย<br />

ชมสัตว์น่ารัก ให้รู้จักอย่างแจ่มแจ้งชูชกซักไซ้ให้หายคลาง<br />

แคลง<br />

๑๖<br />

ชาติสุดท้ายแห่งการบำเพ็ญบารมี<br />

“เป็นต้นว่าสัตว์สุรสีหชาติสี่จำพวกพาลผรุส<br />

ร้ายราวี หนึ่งนามชื่อว่าติณราชสีห์เสพซึ่งเส้นหญ้าเป็น<br />

อาหาร หนึ่งชื่อว่ากาฬสิงหะ และบัณฑุสุรมฤคินทร์เสพ<br />

ซึ่งมังสนิกรเป็นภักษา.....”(พระเทพโมลีกลิ่น) อจุตฤาษี<br />

ชี้แนะว่าราชสีหะมีลักษณะคล้ายวัว แต่ละตัวกินอะไร?<br />

๑. ติณราชสีหะ มังสวิรัติ ซัดแต่หญ้า เป็นอาหาร<br />

๒. สิงหกาฬ กินแต่เนื้อ ไม่เหลือหลอ<br />

๓. ป�ณฑุสุรมฤคินทร์ กินเนื้อใหญ่ สบายคอ<br />

ราชสีห์ก็ คือ LION นะตัวเอง<br />

อมิตตดาหลอกใช้ ให้ชูชก ถูกสัตว์ฉกกัดสะบัด<br />

ตายชูชกร่างร้าย แต่ป�ญญาเลิศล้ำ หลอกฤาษีชี้นำชี้<br />

แนะเป็นมัคคุเทศก์ อัพเดทสมองจนช่ำชองชีวิสัตว์สารพัด<br />

ในป�า จึงไม่เสียท่าโดนปลากระเบนเอาหางแเล่นเงียบ<br />

เสียบหัวใจ เหมือนจอมไพรพรานจระเข้ จบเห่สิ้นชีพสตีฟ<br />

เออร์วิน แบบสี่เท้ายังรู้พลาด ความประมาทคือความ<br />

ตายชูชกได้รับการถ่ายทอดวิชาไพรไว้เจนจบครบถ้วน<br />

พอสมควรแก่เวลาก็ลาจาก ขอบคุณมากนะจ�ะพระฤาษี<br />

กราบก้มประนมวันทน์อัญชลี ไอ มัสท์ โก นาว (อิ๋งๆ)<br />

เพลง คาถา อานิสงส์<br />

ชูชกรางร้าย แต่ปัญญาเลิศล้ำ<br />

หลอกฤ า ษ ี ชี้นำ ทำปฏิสัณฐาน<br />

� ษีเป็นไกด์ ชมไพรกันดาร<br />

บอกอีกไม่นาน ก็ถึงวงกตคีรี<br />

๘๐ คาถา เพลงพา “เชิดกลอง”<br />

เป็นท่วงทำนอง ชูชกเดินเร็วรี่<br />

อยากเกิดดาวดึงส์ พึงฟังกันนี้<br />

ชาติหน้าโสภี บารมีมากมาย<br />

(อ่านต่อฉบับหน้า)


พระประวัติและปฏิปทา<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

สมเด็จพระสังฆราชพระองค�แรก แห�งกรุงรัตนโกสินทร�<br />

สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศรี)<br />

พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๓๗<br />

วัดระฆังโฆสิตาราม วรมหาวิหาร แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร<br />

พระประวัติในเบื้องต้น<br />

สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช<br />

(ศรี) สมเด็จพระสังฆราชพระองค์แรก แห่งกรุงรัตนโกสินทร์<br />

มีพระนามเดิมว่า “ศรี” (บางตำราเขียนว่า “สี”) พระ<br />

ประวัติในเบื้องต้นมีความเป็นมาอย่างไรไม่ปรากฏ<br />

หลักฐานแน่ชัด ทราบแต่เพียงว่าเดิมเป็นเพียงพระ<br />

อาจารย์ศรี ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ อยู่ที่วัดพนัญเชิง<br />

อำเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อกรุงศรีอยุธยา<br />

เสียแก่พม่าในแผ่นดินพระเจ้าเอกทัศน์ พระสงฆ์ถูกฆ่า<br />

วัดวาอาราม พระไตรป�ฎก ถูกเผาทำลายวอดวายจนสิ้นเชิง<br />

พระภิกษุสามเณรต่างก็พากันหลบภัยไปอยู่ตามวัดต่างๆ<br />

ในต่างจังหวัด พระอาจารย์ศรีก็ได้หลบภัยสงครามไป<br />

จำพรรษาอยู่ที่วัดแห่งหนึ่ง ในเมืองนครศรีธรรมราช ที่ซึ่ง<br />

พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาโดยตลอด<br />

ครั้นต่อมาในปี พ.ศ. ๒๓๑๒ สมเด็จพระเจ้า<br />

ตากสินมหาราชได้ทรงยกทัพ ไปปราบก�กเจ้านครซึ่งตั้ง<br />

ตัวเป็นใหญ่ ที่เมืองนครศรีธรรมราชจึงได้อาราธนาพระ<br />

อาจารย์ศรี ขึ้นมาจำพรรษาอยู่ ณ วัดบางหว้าใหญ่ (ป�จจุบัน<br />

คือวัดระฆังโฆสิตาราม) เนื่องด้วยทรงคุ้นเคยและรู้จัก<br />

เกียรติคุณของพระอาจารย์ศรีมาตั้งแต่ครั้งสมัยกรุงศรี<br />

อยุธยา ในขณะนั้นพระอาจารย์ดีทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จ<br />

พระสังฆราชอยู่ก่อน แต่ต่อมาภายหลัง สมเด็จพระเจ้า<br />

ตากสินมหาราชทรงทราบว่า พระอาจารย์ดีเคยบอกที่ซ่อน<br />

๑๗


ทรัพย์ของผู้อื่นให้แก่พม่า เมื่อเวลา<br />

ถูกขังอยู่จึงโปรดให้ถอดออกจาก<br />

ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชแล้ว ได้<br />

ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนา<br />

พระอาจารย์ศรีขึ้นเป็นสมเด็จพระ<br />

สังฆราชแทน ใน พ.ศ. ๒๓๑๒ นั้นเอง<br />

นับเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์<br />

ที่ ๒ แห่งกรุงธนบุรี<br />

ทรงถูกถอดจากตำแหน่งสมเด็จ<br />

พระสังฆราช<br />

ครั้นถึง พ.ศ. ๒๓๒๔ อันเป็น<br />

ปีสุดท้ายแห่งรัชกาลสมเด็จพระเจ้า<br />

กรุงธนบุรี สมเด็จพระสังฆราช (ศรี)<br />

ได้ถูกถอดจากตำแหน่งเนื่องจากได้<br />

ถวายวิสัชนาร่วมกับพระพุฒาจารย์<br />

วัดบางหว้าน้อย (วัดอมรินทราราม)<br />

และพระพิมลธรรม วัดโพธาราม<br />

(วัดพระเชตุพน หรือวัดโพธิ์) เรื่องพระ<br />

สงฆ์ปุถุชนไม่ควรไหว้คฤหัสถ์ที่เป็น<br />

อริยบุคคลเนื่องจากคฤหัสถ์เป็นหิน<br />

เพศต่ำ พระสงฆ์เป็นอุดมเพศที่สูง<br />

เพราะทรงผ้ากาสาวพัสตร์ และ<br />

พระจาตุปาริสุทธิศีลอันประเสริฐ<br />

ดังความว่า “ถึงมาตรว่าคฤหัสถ์<br />

เป็นพระโสดาก็ดี แต่เป็นหินเพศต่ำ<br />

อันพระสงฆ์ ถึงเป็นปุถุชนก็ตั้ง<br />

อยู่ในอุดมเพศอันสูง เหตุทรงผ้า<br />

กาสาวพัสตร์ และพระจตุปาริ<br />

สุทธิศีลอันประเสริฐ ซึ่งจะไหว้นบ<br />

คฤหัสถ์อันเป็นพระโสดานั้นก็บ่มิ<br />

ควร” ข้อวิสัชนาดังกล่าวนี้ไม่ต้อง<br />

พระทัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี<br />

๑๘<br />

พระองค์จึงให้ถอดเสียจากตำแหน่ง<br />

พระสังฆราช ลงมาเป็นพระอนุจร<br />

(พระธรรมดา) แล้วทรงตั้งพระ<br />

โพธิวงศ์เป็นสมเด็จพระสังฆราช และ<br />

ตั้งพระพุทธโฆษาจารย์เป็นพระวันรัต<br />

เหตุการณ์ครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า<br />

สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) และพระ<br />

ราชาคณะทั้งสองรูปดังกล่าว เป็น<br />

พระเถระที่เคร่งครัดมั่นคงในพระ<br />

ธรรมวินัย แม้จะต้องเผชิญกับราชภัย<br />

อันใหญ่หลวง ก็มิได้หวั่นไหว นับเป็น<br />

พระเกียรติคุณที่สำคัญประการหนึ่ง<br />

ของสมเด็จพระสังฆราชพระองค์นั้น<br />

ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช<br />

ครั้งที่ ๒<br />

ครั้น พระบาทสมเด็จพระ<br />

พุทธยอดฟ�าจุฬาโลกมหาราช ทรง<br />

ปราบดาภิเษก และสถาปนากรุง<br />

รัตนโกสินทร์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ ได้<br />

ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คืน<br />

สมณฐานันดรศักดิ์ และตำแหน่ง<br />

ดังเดิมให้แก่ สมเด็จพระอริยวงษญา<br />

ณสมเด็จพระสังฆราช (ศรี)<br />

สมเด็จพระสังฆราช (ศรี)<br />

เป็นที่ทรงเคารพนับถือ ของพระบาท<br />

สมเด็จพระพุทธยอดฟ�าจุฬาโลก<br />

มหาราช และสมเด็จกรมพระราชวัง<br />

บวรสถานมงคลเป็นอันมาก ทั้งเป็น<br />

ที่ทรงไว้วางพระราชหฤทัยในการที่<br />

จะฟ��นฟูทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา<br />

ให้เจริญรุ่งเรืองสืบไป เป็นป�จจัย<br />

ประการหนึ่งที่ทำให้ทรงพระราชดำริ<br />

ในอันที่จะทำสังคายนาพระธรรมวินัย<br />

ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์ เพื่อเป็นหลักของ<br />

พระพุทธศาสนา ในพระราชอาณา<br />

จักรยั่งยืนสืบไปชั่วกาลนาน และ<br />

โดยที่เป็นที่ทรงเคารพนับถือและเป็น<br />

ที่ทรงไว้วางพระราชหฤทัยดังกล่าว<br />

แล้วจึงกล่าวได้ว่า สมเด็จพระสังฆราช<br />

(ศรี) คงจักทรงเป็นกำลังสำคัญ ใน<br />

การชำระและฟ��นฟูพระพุทธศาสนา<br />

ในครั้งรัชกาลที่ ๑ เป็นอย่างมาก ทั้ง<br />

ในด้านความประพฤติปฏิบัติของพระ<br />

ภิกษุสามเณร การบูรณปฏิสังขรณ์<br />

พุทธสถานการชำระตรวจสอบพระ<br />

ไตรป�ฎกให้ถูกถ้วนบริบูรณ์ ตลอด<br />

ถึงในด้านความประพฤติปฏิบัติใน<br />

ทางที่ถูกที่ควรของพุทธศาสนิกชน<br />

ทั่วไป ดังจะเห็นได้ว่าในระหว่างที่<br />

สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) ทรงดำรง<br />

ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชนั้น ได้<br />

ทรงมีพระราชปุจฉาเกี่ยวกับการพระ<br />

ศาสนาด้านต่างๆ ไปยังสมเด็จพระ<br />

สังฆราชมากกว่า ๕๐เรื่อง สมเด็จ<br />

พระสังฆราช (ศรี) พร้อมด้วยพระสงฆ์<br />

ราชาคณะก็ได้ถวายพระพรแก้พระ<br />

ราชปุจฉา เป็นที่ต้องตามพระราช<br />

ประสงค์ทุกประการ<br />

สิ่งแสดงถึงพระราชศรัทธา<br />

เคารพนับถือใน พระบาทสมเด็จ<br />

พระพุทธยอดฟ�าจุฬาโลกมหาราช<br />

ที่ทรงมีต่อ สมเด็จพระสังฆราช (ศรี)<br />

อีกประการหนึ่งก็คือ เมื่อทรงตั้งเป็น<br />

สมเด็จพระสังฆราชแล้ว ได้โปรด<br />

เกล้าฯ ให้รื้อตำหนักทองของสมเด็จ<br />

พระเจ้ากรุงธนบุรี ไปปลูกเป็นกุฎี<br />

ถวาย ณ วัดบางว้าใหญ่ แต่น่าเสียดาย<br />

ที่ตำหนักทองนี้ถูกไฟไหม้เสียเมื่อครั้ง<br />

รัชกาลที่ ๓


บทความพิเศษ : สมเด็จพระสังฆราชพระองค์แรก แห่งกรุงรัตนโกสินทร์<br />

พระกรณียกิจสำคัญ :<br />

การสังคายนาพระไตรป�ฎก<br />

เป็นที่ประจักษ์ว่า เมื่อพระบาทสมเด็จพระ<br />

พุทธยอดฟ�าจุฬาโลกมหาราช ทรงปราบดาภิเษกเสด็จ<br />

เถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็นปฐมรัชกาลแห่งพระบรมราช<br />

จักรีวงศ์ กรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พระราชกรณียกิจประการ<br />

แรกที่ทรงกระทำก็คือ การจัดสังฆมณฑลและฟ��นฟู<br />

พระพุทธศาสนา ที่เสื่อมทรุดมาแต่การจลาจลวุ่นวาย<br />

ของบ้านเมือง แต่ครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาจนถึงครั้งกรุง<br />

ธนบุรี ในด้านสังฆมณฑลนั้นก็ทรงกำจัดอลัชชีภิกษุ<br />

และทรงตรากฎพระสงฆ์ขึ้น เพื่อป�องกันมิให้พระภิกษุ<br />

สามเณรประพฤตินอกพระธรรมวินัย และมีความประพฤติ<br />

กวดขันในพระธรรมวินัยยิ่งขึ้น ในด้านทำนุบำรุงพระพุทธ<br />

ศาสนาให้เจริญมั่นคง ก็โปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมพระ<br />

ไตรป�ฎกบรรดาฉบับที่มีทั้งที่เป็นอักษรลาว อักษรรามัญ<br />

ตรวจชำระแล้วแปลงเป็นอักษรขอมจารึกลงลานสร้างไว้<br />

ให้ครบถ้วน ประดิษฐานไว้ ณ หอพระมณเทียรธรรม พร้อม<br />

ทั้งโปรดให้สร้างคัมภีร์พระไตรป�ฎก ถวายพระสงฆ์สำหรับ<br />

เล่าเรียนไว้ทุกๆ พระอารามหลวง สิ้นพระราชทรัพย์<br />

ส่วนพระองค์ไปเป็นอันมาก ต่อมาทรงพระราชดำริเห็นว่า<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

พระไตรป�ฎกที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อต้นรัชกาลนั้น<br />

ยังบกพร่องตกหล่นอยู่เป็นอันมากทั้งพยัญชนะและเนื้อ<br />

ความ อันเนื่องมาจากความวิปลาสตกหล่นของต้นฉบับเดิม<br />

จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้คณะสงฆ์ประชุมสังคายนาตรวจชำระ<br />

พระไตรป�ฎกขึ้น<br />

เหตุการณ์สำคัญครั้งนี้เกิดขึ้นในปีที่ ๖ แห่ง<br />

รัชกาล พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ�าจุฬาโลกมหาราช<br />

นับเป็น การสังคายนาครั้งที่ ๒ ในราชอาณาจักรไทย<br />

(พ.ศ. ๒๓๓๑) (ครั้งแรกทำที่นครเชียงใหม่สมัยพระเจ้า<br />

ติโลกราชมหาราชแห่งอาณาจักรล้านนา) และ นับเป็นครั้ง<br />

แรกในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ (ครั้งที่ ๒ ทำในสมัยรัชกาล<br />

ที่ ๙ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๐) ทั้งนี้ได้มีการอาราธนาสมเด็จพระ<br />

สังฆราช พระราชาคณะให้ดำเนินการ สมเด็จพระสังฆราช<br />

ได้เลือกพระราชาคณะฐานานุกรม เปรียญอันดับ ที่เล่าเรียน<br />

พระไตรป�ฎกได้พระสงฆ์ ๒๑๘ รูป กับราชบัณฑิตยาจารย์<br />

๓๒ คน ทำการสังคายนาที่ วัดนิพพานาราม (วัดมหาธาตุ<br />

ยุวราชรังสฤษฎิ์) แบ่งพระสงฆ์ออกเป็น ๔ กอง ดังนี้<br />

๑๙


พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ�าจุฬาโลกมหาราช พระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช<br />

สมเด็จพระสังฆราช เป�นแม�กองชำระพระสุตตันป�ฎก<br />

พระวันรัต เป�นแม�กองชำระพระวินัยป�ฎก<br />

พระพิมลธรรม เป�นแม�กองชำระพระสัททาวิเศส<br />

พระธรรมไตรโลก เป�นแม�กองชำระพระปรมัตถป�ฎก<br />

การชำระพระไตรป�ฎกครั้งนี้ใช้เวลา ๕ เดือน ได้<br />

จารึกพระไตรป�ฎกลงลานใหญ่แล้วป�ดทองทึบทั้งปกหน้า<br />

ปกหลัง และกรอบ เรียกว่าฉบับทอง ทำการสมโภช แล้ว<br />

อัญเชิญเข้าประดิษฐานในตู้ประดับมุก ตั้งไว้ในหอพระ<br />

มณเทียรธรรมกลางสระในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม<br />

จากเรื่องราวของการสังคายนาครั้งนี้กล่าวได้ว่า<br />

สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) ทรงเป็นกำลังสำคัญในการดำเนิน<br />

การนับแต่ทรงเป็นประธานสงฆ์ ถวายคำแนะนำแด่<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ�าจุฬาโลกมหาราช ให้ทรง<br />

ตระหนักถึงความสำคัญ ของการธำรงรักษาพระธรรมวินัย<br />

ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์ เป็นเหตุให้ทรงพระราชวิริยะอุตสาหะ<br />

จัดการสังคายนาพระไตรป�ฎกขึ้น และในการทำสังคายนา<br />

สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) ก็ทรงแสดงพระปรีชาสามารถ<br />

๒๐<br />

โดยทรงเป็นแม่กองชำระพระสุตตันตป�ฎก ฉะนั้นจึง<br />

กล่าวได้ว่า การทำสังคายนาครั้งนี้ สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี<br />

สมพระราชประสงค์ทุกประการ โดยการอำนวยการของ<br />

สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) โดยแท้ นับเป็นพระเกียรติประวัติ<br />

อีกประการหนึ่งของสมเด็จพระสังฆราชพระองค์นั้น<br />

พระไตรป�ฎกฉบับสังคายนาเมื่อครั้งรัชกาลที่ ๑<br />

นี้เอง ที่ได้เป็นแม่ฉบับสำหรับตรวจสอบการจัดพิมพ์<br />

เป็นอักษรไทยครั้งแรก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑<br />

เป็นเล่มหนังสือจำนวน ๓๙ เล่ม ด้วยพระราชทรัพย์<br />

ส่วนพระองค์ ต่อมาในรัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จ<br />

พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์ขึ้น<br />

อีกครั้งหนึ่งและเพิ่มเติมจนครบบริบูรณ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๘<br />

เป็นเล่มหนังสือจำนวน ๔๕ เล่มเรียกว่าพระไตรป�ฎก<br />

ฉบับสยามรัฐ ดังที่ใช้เป็นแบบอยู่ในประเทศไทยป�จจุบัน


บทความพิเศษ : สมเด็จพระสังฆราชพระองค์แรก แห่งกรุงรัตนโกสินทร์<br />

วัดระฆังโฆสิตาราม<br />

พระกรณียกิจพิเศษ<br />

สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) ทรงเป็นพระราช<br />

อุป�ชฌายาจารย์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า<br />

นภาลัย รัชกาลที่ ๒ เมื่อทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ขณะ<br />

ทรงดำรงพระราชอิสริยยศ เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยา<br />

เธอเจ้าฟ�ากรมหลวงอิศรสุนทร เมื่อ พ.ศ.๒๓๓๑ และ<br />

สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ อีก ๒ พระองค์ คือสมเด็จ<br />

พระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ�ากรมหลวงนรินทร์รณเรศ และ<br />

สมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ�ากรมหลวงเทพหริรักษ์<br />

ทรงผนวช ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม<br />

ในพระบรมมหาราชวัง ครั้นทรงผนวชแล้ว สมเด็จพระเจ้า<br />

ลูกยาเธอ เจ้าฟ�ากรมหลวงอิศรสุนทร เสด็จไปประทับ<br />

อยู่วัดสมอราย (คือวัดราชาธิวาสในป�จจุบัน) เพื่อทรงศึกษา<br />

สมณกิจในสำนักพระป�ญญาวิสาลเถร (นาค) ตลอด ๑<br />

พรรษา แล้วจึงทรงลาผนวช<br />

ตู้พระไตรป�ฎก<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

พระอวสานกาล<br />

สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช<br />

(ศรี) ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช เมื่อครั้งรัชกาล<br />

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เป็นเวลา ๑๒ ปี และทรงดำรง<br />

ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ใน<br />

สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ�าจุฬาโลกมหาราช<br />

ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๓๒๕ ก็สิ้นพระชนม์ เมื่อเดือน ๕ ปีขาล<br />

จุลศักราช ๑๑๕๖ พุทธศักราช ๒๓๓๗ ในรัชกาลที่ ๑<br />

รวมเวลาอยู่ในตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช ๑๒ ปี เช่นกัน<br />

ทรงมีพระชนมายุเท่าใดไม่ปรากฏชัด ในกฎพระสงฆ์<br />

กล่าวถึงพระองค์ว่า“สมเด็จพระสังฆราชผู้เฒ่า” จึงน่าจะ<br />

มีพระชนมายุสูง ไม่น้อยกว่า ๘๐ พรรษา<br />

รวบรวมและเรียบเรียงมาจาก ::<br />

หนังสือชุดพระเกียรติคุณ<br />

สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ :<br />

สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศรี)<br />

วัดระฆังโฆสิตาราม, สุเชาวน์ พลอยชุม เรียบเรียง,<br />

มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.<br />

๒๑


พุทธศาสนสุภาษิต<br />

นา�ฺ�ตฺร โพชฺฌงฺคตปสา นา�ฺ�ตฺร อินฺทฺริยส�วรา<br />

นา�ฺ�ตฺร สพฺพนิสฺสคฺคา โสตฺถึ ปสฺสามิ ปาณินนฺติ.<br />

สํ.ส. ๑๕/๗๕<br />

นอกจากป�ญญาเครื่องตรัสรู� ตบะเครื่องเผากิเลส<br />

ให�เร�าร�อน นอกจากความสำรวมอินทรีย�นอกจากความ<br />

สละคืนทุกสิ่งทุกอย�าง เราก็มองไม�เห็นความสวัสดีของ<br />

สัตว�ทั้งหลาย ดังนี้.<br />

อธิบายความว่า บทว่า นา�ฺ�ตฺร โพชฺฌงฺคตปสา<br />

หมายความว่า นอกจากการเจริญโพชฌงค์และคุณคือ<br />

ตบะ เรา (ตถาคต) มองไม่เห็นความสวัสดีในที่อื่น บทว่า<br />

สพฺพนิสฺสคฺคา ได้แก่ พระนิพพาน ก็ในบทนี้ พระผู้มีพระ<br />

ภาคเจ้าทรงหมายถึง การเจริญโพชฌงค์ก่อน ภายหลังจึง<br />

ทรงถือเอาอินทรีย์สังวรด้วยว่า เมื่อภิกษุถือเอาอินทรีย์<br />

สังวรแล้ว ก็เป็นอันถือเอาจตุปาริสุทธิศีลด้วย ภิกษุตั้งอยู่<br />

ในจตุปาริสุทธิศีลนั้น เป็นนิสสัยมุตตกะ พ้นจากการถือ<br />

นิสสัยกับอุป�ชฌาย์หรืออาจารย์ สมาทานตบะคุณ กล่าวคือ<br />

ธุดงค์เข้าป�าเจริญกัมมัฏฐาน ย่อมทำโพชฌงค์ให้เกิดมี<br />

พร้อมกับวิป�สสนา อริยมรรคของภิกษุนั้น ทำนิพพานธรรม<br />

อันใดเป็นอารมณ์แล้วเกิดขึ้น นิพพานธรรมอันนั้น ชื่อว่า<br />

สัพพนิสสัคคะ.<br />

ขยายความว่า คำว่า สวัสดี ที่คนทั่วไปมักกล่าว<br />

ทักทายกันเมื่อพบหน้ากัน มีความหมายลึกซึ้งเกินกว่าที่<br />

เราเข้าใจ คือมีความหมายว่า มีความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้า<br />

ประสบความสำเร็จ ปลอดภัยจากอันตรายทั้งปวง มีความ<br />

สุขสดชื่นเกษมสำราญ และบรรลุถึงประโยชน์สูงสุดคือ<br />

พระนิพพาน ปราศจากอาสวะกิเลสทั้งปวงดับทุกข์โทมนัส<br />

โดยสิ้นเชิง.<br />

๒๒<br />

พระมหาประเชิญ ปญฺญาวุโธ (รวบรวม)


ยาตานุยายี จ ภวาหิ มาณว<br />

อลฺล�ฺจ ปาณึ ปริวชฺชยสฺสุ<br />

มา จสฺสุ มิตฺเตสุ กทาจิ ทุพฺภี<br />

มา จ วส� อสตีน� นิคจฺเฉติ.<br />

ขุ.ชา. ๒๘/๓๔๘<br />

ดูกรมาณพ ท่านจงเดินไปตามทางที่ท่านเดินไป<br />

แล้ว ๑, จงอย่าเผาฝ�ามืออันเปียกชุ่ม ๑, อย่าได้ประทุษร้าย<br />

ในหมู่มิตรในกาลทุกเมื่อ ๑, อย่าตกอยู่ในอำนาจของเหล่า<br />

อสตรี ๑ ฯ<br />

ผู้ใดพึงเชื้อเชิญคนที่ไม่คุ้นเคยกัน ไม่เคยพบเห็นกัน<br />

แม้ด้วยอาสนะ บุรุษพึงกระทำประโยชน์แก่บุคคลนั้น<br />

โดยแท้ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวบุรุษนั้นว่า ผู้เดินไปตามทาง<br />

ที่ท่านเดินแล้วบุคคลพึงอยู่ในเรือนของผู้ใด แม้คืนเดียว<br />

ได้รับข้าวน้ำเป็นอย่างดี ไม่ควรคิดร้ายแก่ผู้นั้นแม้ด้วยใจ<br />

ผู้คิดร้ายต่อบุคคลเช่นนั้น ชื่อว่าเผาฝ�ามืออันชุ่มและชื่อว่า<br />

ประทุษร้ายมิตร<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

บุคคลนั่งหรือนอนที่ร่มเงาของต้นไม้ใดไม่ควรหัก<br />

รานกิ่งของต้นไม้นั้น เพราะผู้ประทุษร้ายมิตรเป็นคนชั่ว<br />

ช้าเลวทราม<br />

หากบุรุษพึงให้แผ่นดินนี้ที่บริบูรณ์ด้วยทรัพย์ แก่<br />

หญิงผู้ที่สามียกย่องเป็นอย่างดี หญิงนั้นได้โอกาสแล้ว<br />

กลับดูหมิ่นบุรุษนั้นจนได้ บุคคลไม่พึงตกอยู่ในอำนาจของ<br />

อสตรีอย่างนี้ ท่านจงเป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรม จงละอธรรมเสีย<br />

นี้ชื่อ สาธุนรธรรม<br />

๒๓


เก�าอี้แห�งความหลัง<br />

(จินตลีลา) โดย…หญ้าอ่อน<br />

ณ วัดแห่งหนึ่ง ที่ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขา ไม่ห่างจากตัว<br />

อำเภออู่ทองมากนัก วัดนี้คือวัดเขาพระศรีสรรเพชญาราม<br />

อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี บนเนินเขาแห่งนี้เป็นที่โล่ง<br />

มองลงไปด้านล่างจะเห็นวิวทิวทัศน์ ในหน้าฝนจะมองเห็น<br />

แนวภูเขาเขียวขจี สวยงามมาก บ่งบอกถึงความชุ่มชื่นอุดม<br />

สมบูรณ์ของธรรมชาติ ซึ่งมีผลในด้านจิตใจของผู้พบเห็น<br />

ทำให้จิตใจแช่มชื่น สดใส มีชีวิตชีวา กระชุ่มกระชวย<br />

ขึ้นมาทันที ในหน้าแล้งแนวภูเขาและบริเวณรอบๆจะ<br />

แห้งแล้ง ต้นไม้ ใบไม้ จะกรอบแดงมองเห็นเป็นสีเหลือง<br />

ส่งผลถึงจิตใจของผู้พบเห็น ทำให้จิตใจห่อเหี่ยวหม่นหมอง<br />

แห้งผาก เศร้าสร้อย บนเนินเขาแห่งนี้ มีเก้าอี้ม้านั่งยาว<br />

อยู่ตัวหนึ่งนั่งได้สองคน<br />

ในกาลครั้งหนึ่ง มีหนุ่มสาวคู่หนึ่งมานั่งรำพึงรำพัน<br />

ถึงความรักที่มีต่อกัน ฝ�ายชายบอกว่า “ฉันจะรักเธอคน<br />

เดียวและตลอดไปชั่วนิรันดร์” ฝ�ายหญิงก็บอกเช่นเดียวกัน<br />

หนุ่มสาวคู่นั้นนั่งอยู่พอสมควรแก่เวลา แล้วก็กลับไป<br />

๒๔<br />

บทความพิเศษ<br />

วันรุ่งขึ้น มีหนุ่มสาวอีกคู่หนึ่งมานั่งบนเก้าอี้ตัวนั้น<br />

แล้วพรอดรำพันถึงความรักที่มีต่อกันเหมือนคู่ก่อน<br />

วันต่อมา ก็มีหนุ่มสาวมานั่งพรอดรำพันถึงความรัก<br />

ที่มีต่อกัน อยู่อย่างนี้เป็นประจำ จนนับไม่ถ้วน<br />

๔ ปีต่อมา มีผู้หญิงคนหนึ่งอุ้มลูกวัย ๓ ขวบเศษ<br />

มานั่งร้องไห้อยู่บนเก้าอี้ตัวนั้น อีกมุมหนึ่งมีผู้ชายคนหนึ่ง<br />

อุ้มลูกวัย ๓ ขวบเศษ มายืนทอดสายตามองลงไปด้านล่าง<br />

คิดถึงความหลัง ด้วยความสงสัยฝ�ายชายจึงเดินเข้าไปถาม<br />

ฝ�ายหญิง<br />

ฝ�ายหญิงบอกว่า “เมื่อ ๔ ปีที่แล้ว ตนกับคนรัก<br />

มานั่งพรอดรำพันถึงความรักที่มีต่อกัน ต่างคนต่างสัญญา<br />

ว่า ‘จะรักกันชั่วนิรันดร์’ มาบัดนี้เขาไปมีคนรักใหม่ เขาทิ้ง<br />

ฉันกับลูกไว้ให้ต่อสู้ดิ้นรนเพียงลำพัง ฉันคิดถึงเขาและ<br />

เศร้าใจที่เขาทิ้งฉัน จึงมานั่งร้องไห้คิดถึงความหลังอยู่ที่นี่”<br />

ฝ�ายชายบอกว่า “ฉันก็เช่นเดียวกัน เมื่อ ๔ ปีที่แล้ว<br />

ตนได้พาคนรักมานั่งพรอดรำพันอยู่ที่เก้าอี้ตัวนี้ บัดนี้เขาทิ้ง


ฉันไปมีคนรักใหม่แล้ว สองคนนั้นสนทนากันพอสมควรแล้ว<br />

ต่างคนก็แยกย้ายกันกลับไป ไม่รู้ว่าคติของสองคนนั้น และ<br />

ลูกของเขาจะเป็นอย่างไรต่อไป<br />

เหตุการณ์เหล่านี้บ่งบอกถึงสัจธรรมในโลกว่า<br />

ไม่มีความรักที่ยั่งยืน ไม่มีคำมั่นสัญญาที่มั่นคงในเวลาที่<br />

คนเรารักกัน ก็พรอดรำพันไปต่างๆ นานาเพื่อจะเอาใจ<br />

ฝ�ายตรงข้าม พอความรักจืดจางต่างคนต่างแยกทางกัน<br />

ที่เขากล่าวว่ารักเรานั้น ที่จริงแล้วไม่ใช่ เขารักตัวเขาเอง<br />

ต่างหาก เขาอยากได้เราไปเป็นของเขา เขาคิดว่าถ้าเราได้<br />

คนนี้แล้วเราจะมีความสุขตามความต้องการของตัณหา<br />

ถ้าเราไม่ได้ตามความต้องการก็เป็นทุกข์ จึงมีคติแห่งความ<br />

รัก ๔ ประการ คือ<br />

๑. เมื่อไม่ได้สิ่งที่ต้องการก็เป็นทุกข์<br />

๒. เมื่อได้สิ่งที่ต้องการแล้วย่อมยึดมั่นถือมั่น<br />

หวงแหนกลัวคนอื่นจะมาแย่งไป จึงเป็นทุกข์<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

๓. ครองชีวิตอยู่ก็เป็นทุกข์ เพราะต้องคอยแสวงหา<br />

สิ่งอำนวยความสะดวกมาให้คนรัก ต้องอบรมสั่งสอนบุตร<br />

หลานให้เป็นคนดี ถ้าบุตรหลานเป็นคนไม่ดียิ่งเป็นทุกข์<br />

ใหญ่<br />

๔. เป็นทุกข์เพราะความพรัดพรากจะพรัดพราก<br />

ในขณะที่มีชีวิตอยู่หรือพรัดพรากจากกันด้วยความตาย<br />

ก็เป็นทุกข์ทั้งนั้น<br />

รวมความว่า ความยึดมั่นถือมั่นคือตัวทุกข์ยึดมั่น<br />

น้อยก็ทุกข์น้อย ยึดมั่นมากก็ทุกข์มากอยากได้น้อยก็ทุกข์<br />

น้อยอยากได้มากก็ทุกข์มาก ไม่ยึดมั่น ไม่อยากได้ ก็ไม่ทุกข์<br />

ด้วยประการฉะนี้


คนภูธร<br />

โดย…ขุนช้าง<br />

ผู�ใหญ�สมัยก�อนเลี้ยงลูกอ�อนนอนไกวเปล ตื่นเช�ากล�อมโอ�..ละเห�ให�ลูกนอนสอนยืนเดิน<br />

อาบน้ำให�ลูกหลานตั้งไข�คลานจนเจริญ เลี้ยงลูกผูกใจเพลินจนเติบใหญ�ไม�เกเร<br />

ผู�ใหญ�สมัยใหม�กลับเปลี่ยนใจใฝ�กาเม เด็กสาวกลับไกวเปลให�ผู�ใหญ�ไม�ขวยเขิน<br />

อาบน้ำให�ผู�ใหญ�ถูขี้ไคลนวดกันเพลิน อาบอบนวดจึงเจริญเหล�าผู�เฒ�าเจ�ากามา<br />

ผู�ใหญ�ตัณหากลับลูกเมียลับเหลือคณา กลับใจใฝ�ตัณหาลืมชีวิตกิจการ......<br />

อดีตที่ผ่านพ้นมาจะเห็นได้เลยว่า คนครั้งกระโน้น<br />

ดูจะยึดมั่นในศีล กินในธรรม เลี้ยงดูปูเสื้อลูกหลานของตน<br />

ด้วยน้ำอดน้ำทน ยุงไม่ให้ไต่ไรไม่ตอม ทนุถนอมยอดแก้วตา<br />

ดวงใจ บุตรธิดาทายาทผู้สืบสกุล ผิดกับคนในกาลยุค<br />

ป�จจุบันมุ่งมั่นแต่ผลประโยชน์ จนมองประโยชน์ที่<br />

ควรปฏิบัติต่อบุตรหลาน กลับเป็นการให้สิ่งที่เป็นโทษ<br />

ไปอย่างสิ้นเชิง ผู้ใหญ่เป็นร่มโพธิ์ใบใหญ่ร่มไทรใบหนา<br />

นี่แหละตำนานเก่าก่อน กาลเวลาคือเครื่องพิสูจน์อย่าง<br />

ดีเยี่ยม ได้เปรียบเทียบความเป็นจริงของคนป�จจุบัน<br />

และผู้ใหญ่สมัยก่อนนับว่าห่างกันร้าวฟ�ากับเหว ศาสนา<br />

ทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดี นี้คือจุดมุ่งหมาย<br />

สำคัญมนุษย์ผู้มีใจสูง (ผู้ฝ�กตน) ได้ถือหลักศาสนาอย่าง<br />

เคร่งครัดไม่บิดพลิ้วตกหล่น จากวิถีชีวิตประจำวันแม้<br />

๒๖<br />

แต่เสี้ยววินาที คนจึงมีศรัทธาต่อพระศาสนาอย่างถวาย<br />

ชีวิต อุทิศตนเพื่อพระรัตนตรัย อุดมการณ์ที่ยิ่งใหญ่ช่วย<br />

ให้คนมีหิริโอตตัปปะละอายชั่วกลัวบาปกรรม ไม่ถลำ<br />

ละเมิดสิทธิ์คนอื่น แต่ป�จจุบันโลกของการก้าวกระโดด<br />

ไร้ขอบเขตทางจริยธรรม จนดูเหมือนจะคล้ายมือใครยาว<br />

สาวได้สาวดี สังคมเสื่อมลงจนแทบลงทะเลไปทุกขณะ<br />

จิตสำนึกที่ดีงามที่เคยมีในอดีต ต้องกลับกลายเป็นตำนาน<br />

ผู้ใหญ่บางคนยุคป�จจุบันเรียกว่า แก่เพราะกินข้าว เฒ่า<br />

เพราะอยู่นานเท่านั้น ลูกหลานจะกราบบูชาเพื่อสักการะ<br />

เทิดทูนกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณแทบไม่สนิทใจแล้ว<br />

วันอนาคตข้างหน้าจะเกิดอะไรขึ้นแก่สังคมไทย จึงไม่<br />

ควรประมาทอีกต่อไป...


ส.ค.ส. พระราชทาน ๒๕๕๓


๒๘<br />

ประมวลภาพกิจกรรม<br />

พิธีอุปสมบทหมู่ พิธีบวชเนกขัมมจาริณี วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ถึงวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๕๒<br />

กิจกรรมเนื่องในวันพ่อแห่งชาติ<br />

งานฌาปนกิจศพ คุณพ่อบำรุง ผิวเผือก ณ สุสานฮอลลีวูด<br />

โดยมีหลวงพ่อใหญ่ (พระราชธรรมวิเทศ) เป็นประธาน พร้อมพระสงฆ์ในแคลิฟอร์เนีย เมตตาเดินทางมาร่วมพิธีด้วย


<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

ภาพบรรยากาศวันงานส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ (งานนมัสการหลวงพ่อแก้ว)โดยมีการสวดนพเคราะห์ประจำวันเกิด<br />

สวดอิติป� โส ๑๐๘ จบ และเจริญชัยมงคลคาถา (สวดชะยันโต)<br />

ร่วมทอดผ้าป�าฯ สมทบทุนดวงประทีปโดย คุณแม่ลำใย ผิวเผือก พร้อมลูกหลานเป็นผู้นำทอดถวาย


กำหนดการงานฉลองสมณศักดิ<br />

กำหนดการงานฉลองสมณศักดิ์์์<br />

พระครูเกษมศาสนวิเทศ (หลวงตาประทีป)<br />

วันอาทิตย์ที ่ ่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓<br />

ณ <strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม ปีพุทธศักราช ๒๕๕๒ พระครูเกษมศาสนวิเทศ<br />

ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวงชั้นพิเศษ (ผจล.ชพ) คณะศิษยานุศิษย์ และ<br />

พุทธศาสนิกชน <strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong> มีความยินดีเป็นอย่างยิ่ง จึงพร้อมใจกันร่วมจัดพิธีฉลองและแสดงมุทิตาสักการะ<br />

ขึ้นในวันอาทิตย์ที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ ตามกำหนดการดังต่อไปนี้<br />

เวลา ๐๙.๓๐ น. ทำบุญตักบาตรแด่พระสงฆ์<br />

เวลา ๑๐.๓๐ น. พระสงฆ์ ๙ รูป เจริญพระพุทธมนต์<br />

เวลา ๑๑.๐๐ น. ถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์<br />

เวลา ๑๒.๓๐ น. แสดงมุทิตาสักการะ<br />

-เสร็จพิธี-


บทความธรรม ภาคภาษาอังกฤษ<br />

Magha Puja Day<br />

Fourfold Assembly<br />

by...PhramahaDusit Sawaengwong<br />

There are many important Buddhist Holy Days.<br />

These days fall on the full moon day and 8 th day<br />

of the waxing and waning moon. They are Visakha<br />

Puja Day, Asalha Puja Day and Magha Puja Day.<br />

In This lesson, we will study Magha Puja Day.<br />

Magha Puja Day takes place on the full<br />

moon day of the third of lunar month (full moon<br />

day of March). This Holy Day commemorates two<br />

important events in the life of the Buddha the ffi irst<br />

to ccurred early in the Buddha’s missionary life.<br />

When the Buddha went to Rajacaha city after<br />

the first Rains retreat, 1250 of his disciples,<br />

(Arahant) returned from their mission. They met<br />

the Buddha there to pay respect tohim. They<br />

assembled in the Veruvana Monastery (Temple).<br />

Two chief disciples of the Buddha, Sariputta and<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

Moggallana, were also there. This assembly is<br />

called the Fourfold Assembly because there were<br />

four important things about it :<br />

1. All 1250 monks who attained<br />

enlightenment<br />

2. All of them were ordained by the Buddha<br />

himself<br />

3. They assembled on their own without<br />

being called<br />

4. All of these happened on the full moon<br />

day of Magha Masa (March)<br />

๓๑


Fundamental Principles of Buddhism<br />

The Buddha took this opportunity to proclaim<br />

the fundamental principles of Buddhist teaching,<br />

as follows;<br />

1. SABBAPâPASSA AKARANANG Not to<br />

do any bad action<br />

2. KUSALASSæPASAMPADAâ To do good<br />

deeds<br />

3. SACITTA PARIYODAPANANG To<br />

purify the mind<br />

This is known as Ovada Patimokkha,(the<br />

fundamental principles of Buddhism). If all people<br />

were to follow these principles of Buddhism,<br />

human beings would have peaceful and happy<br />

livesindeed. This f i rst event happened in the early<br />

part of Buddha’s mission.<br />

The Great Decision<br />

The Second set of event took place in the<br />

last year of the second part of the Buddha’s life,<br />

on the full moon day of the third lunar month<br />

(March). The Buddha delivered a sermon named<br />

IDDHIPâDA DHAMMA, the Basis of Success :<br />

1. Aspiration<br />

2. Effort<br />

3. Thoughtfulness and<br />

4. Investigation.<br />

The Buddha told Venerable Ananda that he<br />

had decided to pass away on the full moon day of<br />

sixth lunar month (May), three months later. These<br />

two important events occurred on the full moon<br />

day of Magha month (late February early March),<br />

at Paval Cetiya, Vesali city, northeastern India.<br />

We pay homage to the Three Treasures of<br />

the Buddha, the Dhamma and the Sangha on the<br />

full moon day of Magha month. It is, therefore,<br />

called Magha Puja. The Buddhists all over the<br />

world observed this Holy Day.


Activities<br />

In the morning, people offer food to the<br />

monks and many making good deeds engaging in<br />

making-merit on a grand scale. In the afternoon,<br />

they give food for poor and handicapped people.<br />

Then they go to the monastery observe the Five<br />

Precepts and listen to a sermon. In the evenings<br />

everyone participates in the Candlelight Ceremony.<br />

They assemble on the monastery grounds with<br />

fl owers, incense sticks and lighted candles in their<br />

hands.<br />

They walk completely around the main<br />

chapel where the image of the Buddha is located<br />

keeping their right sides toward the Main Chapel as<br />

a sign of respect. They do this three times. As they<br />

walk they remember the virtues of the Buddha,<br />

the Dhamma, the Sangha and pay respect to them.<br />

They also respect fully commemorate Iddhipada<br />

Dhamma Sermon and the Parinibbana decision by<br />

Lord Buddha as reviewed above.<br />

We should pay respect to the Buddha, the<br />

Dhamma and Sangha. We should also practice and<br />

follow the three principles of Buddhism:<br />

1. Not to do any bad deeds<br />

2. To do good and<br />

3. To cleanse the mine of impurities.<br />

In this year, Magha Puja Day takes place on<br />

the full moon day of the 28th of February, 2010,<br />

Sunday.<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

On this occasion, we would like to invite all<br />

Buddhists to take part in the candle-lit procession<br />

to worship and honor the Compassion, the Wisdom<br />

and the Purity of the Buddha who taught the<br />

humanity to be kind and tolerant towards each<br />

other. These are the qualities which foster world<br />

peace.<br />

The Celebration of Maghapuja Day will be<br />

held at Wat Thai of Los Angeles on February 28,<br />

2010 (Sunday)<br />

09.30 am Gathering in front of the Uposatha<br />

Hall to offer food to the monks<br />

19.00 pm The lighting of candles and<br />

incense to take part in the<br />

candle-lit procession that<br />

circumambulates the main<br />

chapel three times, it celebrates<br />

the full moon day of March and<br />

commemorates the virtues of the<br />

Buddha, the Dhamma and the<br />

Sangha. And Chanting the special<br />

chanting called “Praise for the<br />

Buddha 108 times”<br />

๓๓


วันมาฆบูชา<br />

จาตุรงคสันนิบาต<br />

พระมหาดุสิต ญาณภูสิโต ป.ธ.๙<br />

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนามีอยู่ด้วยกัน<br />

หลายวัน ตรงกับวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนสามเดือนหก<br />

และเดือนแปด เช่น วันมาฆบูชาวันวิสาขบูชาและวัน<br />

อาสาฬหบูชา ในโอกาสนี้จะขอกล่าวถึงวันมาฆบูชา<br />

วันมาฆบูชาตรงกับวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนสาม<br />

(วันพระจันทร์เต็มดวงเดือนมีนาคม) ในวันสำคัญเช่นนี้<br />

ทำให้ระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในพุทธประวัติเกี่ยวกับองค์<br />

สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๒ ประการด้วยกัน คือ<br />

เหตุการณ์แรก เกิดขึ้นในช่วงแรกที่พระองค์ทรงเริ่ม<br />

ประกาศพระพุทธศาสนา<br />

เมื่อครั้งที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จ<br />

ไปยังกรุงราชคฤห์ ภายหลังจากออกพรรษามีพระสงฆ์<br />

จำนวน ๑,๒๕๐ รูป (ล้วนเป็นพระอรหันตสาวกกลับจาก<br />

การเที่ยวประกาศพระศาสนา แล้วประสงค์จะเข้าเฝ�าองค์<br />

สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงได้ประชุมกันที่วัดเวฬุวัน<br />

มหาวิหารโดยมีพระอัครสาวทั้งสอง คือพระสารีบุตร และ<br />

พระโมคคัลลานะ เป็นหัวหน้าการประชุมกันครั้งนี้เรียกว่า<br />

จาตุรงคสันนิบาต (การประชุมกันประกอบด้วยองค์สี่)<br />

เนื่องจากมีเหตุการณ์สำคัญ ๔ ประการ ได้เกิดขึ้นพร้อมกัน<br />

ดังนี้<br />

๓๔<br />

๑. มีพระสงฆ์จำนวน ๑,๒๕๐ รูปซึ่งล้วนเป็น<br />

พระอรหันต์<br />

๒. พระสงฆ์ทั้งหมดได้รับการอุปสมบทด้วย<br />

เอหิภิกขุอุปสัมปทา (ได�รับการอุปสมบทจากองค�สมเด็จ<br />

พระสัมมาสัมพุทธเจ�าโดยตรง)<br />

๓. พระสงฆ์ทั้งหมดมาประชุมพร้อมกันโดยไม่<br />

ได้นัดหมาย<br />

๔. เหตุการณ์ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นพร้อมกันในวัน<br />

เพ็ญเดือนมาฆะ (วันเพ็ญเดือนสาม) โอวาทปาฏิโมกข์<br />

(หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา)<br />

องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงประกาศ<br />

หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาอันเป็นหัวใจหลักของ<br />

คำสอนทางพระพุทธศาสนาไว้ดังนี้<br />

๑. สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง การไม่ทำบาป<br />

ทั้งปวง<br />

๒. กุสะลัสสูปะสัมปะทา การทำความดีทั้งปวง<br />

๓. สะจิตตะปะริโยทะปะนัง การทำจิตให้ผ่องใส<br />

นี่คือ โอวาทปาฏิโมกข์ (หลักคำสอนทางพระพุทธ<br />

ศาสนา) หากมนุษย์เรายึดตามหลักคำสอนทางพระพุทธ<br />

ศาสนาทั้งสามประการนี้ ทุกคนก็จะอยู่ด้วยอย่างสันติสุข<br />

อย่างแท้จริง นี้คือเหตุการณ์แรก ที่ได้เกิดขึ้นช่วงแรก<br />

ในการเริ่มประกาศพระพุทธศาสนา ขององค์สมเด็จพระ<br />

สัมมาสัมพุทธเจ้า


การปลงพระทัยที่ยิ่งใหญ่<br />

ส่วนเหตุการณ์ที่สองนี้ได้เกิดขึ้นในตอนท้ายของ<br />

พุทธประวัติ ตรงกับวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนสาม องค์<br />

สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ทรงแสดงพระธรรมเทศนา<br />

ที่มีชื่อว่า อิทธิบาท ธรรมอันเป็นฐานแห่งความสำเร็จ<br />

ในชีวิต ดังนี้<br />

๑. ฉันทะ ความพอใจ คือ ความต้องการที่จะทำ<br />

๒. วิริยะ ความเพียร คือ ความขยันหมั่นประกอบ<br />

สิ่งนั้นด้วยความพยายาม<br />

๓. จิตตะ ความคิดมุ่งฝ�กใฝ� คือ ความคิดมุ่งไป<br />

เอาจิตฝ�กใฝ� ไม่ปล่อยใจให้ฟุ�งซ่านเลื่อนลอยไป อุทิศตัว<br />

อุทิศใจให้แก่สิ่งที่ทำ<br />

๔. วิมังสา ความหมั่นตริตรอง คือ หมั่นใช้ป�ญญา<br />

พิจารณาใคร่ครวญตรวจตราหาเหตุผล<br />

องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสแก่<br />

พระอานนท์ว่า พระองค์ได้ปลงพระทัยที่จะเสด็จเข้าสู่<br />

ปรินิพพานในวันเพ็ญเดือนหก นับจากนี้ไปอีกสามเดือน<br />

เหตุการณ์สำคัญทั้งสองนี้ เกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ<br />

(ปลายเดือนกุมภาพันธ์ ก่อนเดือนมีนาคม) ที่ปาวาละ<br />

เจดีย์ เมืองไพสาลี ตอนเหนือของประเทศอินเดีย<br />

พุทธศาสนิกชนทั้งหลายพึงน้อมรำลึกบูชาพระ<br />

รัตนตรัยทั้ง๓ประการคือพระพุทธพระธรรมและพระสงฆ์<br />

ในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ด้วยเหตุนี้ เราจึงเรียกว่า“มาฆบูชา”<br />

พุทธศาสนิกชนทั่วโลกควรน้อมรำลึกถึงวันอัศจรรย์เช่นนี้<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

กิจกรรม<br />

ตอนเช้า พุทธศาสนิกชนที่ดีพึงทำบุญถวาย<br />

ภัตตาหารแด่พระสงฆ์ และกิจกรรมที่ดีอันก่อให้เกิดบุญ<br />

ทุกประการ ตอนบ่าย พึงบริจาคทานแก่คนยากจนอนาถา<br />

ต่อจากนั้นก็พึงเข้าวัด รักษาศีล ๕ ฟ�งพระธรรมเทศนา<br />

ส่วนตอนเย็น พึงตระเตรียมดอกไม้ ธูป เทียน เพื่อร่วม<br />

เวียนเทียนตามวัดวาอารามต่างๆ<br />

เดินเวียนขวารอบอุโบสถวิหาร ๓ รอบ ในขณะ<br />

ที่กำลังเดินเวียนรอบก็พึงน้อมรำลึกถึงพระพุทธคุณ<br />

พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณและน้อมรำลึกถึงพระธรรม<br />

เทศนา ที่ชื่อว่า อิทธิบาทธรรม และ การปลงพระทัยใน<br />

การเสด็จเข้าสู่ปรินิพพานขององค์สมเด็จพระสัมมา<br />

สัมพุทธเจ้าซึ่งได้กล่าวไว้แล้วในข้างต้น<br />

พุทธศาสนิกชนที่ดีพึงน้อมรำลึกถึงพระพุทธ<br />

พระธรรม และพระสงฆ์ และปฏิบัติตามหลักพุทธธรรม<br />

๓ ประการ คือ<br />

๑. การไม่ทำความชั่วทั้งปวง<br />

๒. การทำความดี<br />

๓. การชำระจิตให้ผ่องใส<br />

ปีนี้ วันมาฆบูชา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ<br />

วันอาทิตย์ที่ ๒๘ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

เนื่องในโอกาสนี้ขอเชิญร่วมพิธีเวียนเทียน เพื่อ<br />

สักการะบูชารำลึกถึงพระกรุณาคุณพระป�ญญาคุณ และ<br />

พระวิสุทธิคุณขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ทรงสั่งสอน<br />

มนุษยชาติให้มีเมตตาธรรม ขันติธรรมต่อเพื่อนมนุษย์<br />

ด้วยกันเพื่อให้เกิดสันติสุขในโลก<br />

ขอเชิญร่วมทำบุญตักบาตรเวียนเทียนและสวด<br />

อิติป� โสฯ ๑๐๘ จบ ณ <strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong> ในวันอาทิตย์<br />

ที่ ๒๘ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๓ ทำบุญตักบาตร<br />

เวลา ๐๙.๓๐ น. เวียนเทียน และสวดอิติป� โสฯ ๑๐๘ จบ<br />

ตั้งแต่เวลา ๑๙.๐๐ น. เป็นต้นไป<br />

๓๕


ปุจฉา-วิสัชชนา<br />

ถามมา<br />

ตอบไป<br />

เจริญพร (ไม่เกี่ยวกับ บก.แต่ประการใด) คุณผู้อ่าน คอลัมน์นี้เป็นคำสั่งของท่าน บก.ให้มานั่งตอบป�ญหา<br />

ประจำสองเดือนคลอดของ“ดวงประทีป” ฉบับแรกก็หนักใจ เพราะไม่มีใครถามแล้วจะตอบได้อย่างไร ให้ถามเอง<br />

ตอบเองมันไม่ธรรมชาติอะจิ ตอนนั้นยังอยู่แอลเอนะ เลยวิ่งหาคนถาม แต่คนที่นี่ก็อยู่ดีมีสุขดีแท้ได้ป�ญหามาสามสี่คน<br />

แต่เขาไม่ใช่เป็นคนมีป�ญหานะ ครั้นตอนนี้กลับไปอยู่เมืองไทยแล้ว ป�ญหาเยอะจริงๆ อิอิ ได้ไปบรรยายตามมหาวิทยาลัย<br />

ตอนใกล้จะหมดเวลา นักศึกษาเขียนข้อความมาถามมากมาย ตอบไม่หมด หมดเวลาก่อน ถือว่าได้โอกาสดีที่ฝ�ายบริหาร<br />

หนังสือ “ดวงประทีป” ให้สัมปทานหน้ากระดาษเชิญมาตอบป�ญหา จึงนำป�ญหาของเยาวชนเหล่านั้นมาตอบตรงนี้<br />

ตอบเลยนะ ก็ตอบไปซี้...มัวพูดอยู่นั้นแหละเปลืองหน้ากระดาษซะ...<br />

ถาม พระพุทธเจ้าท่านรู้ได้อย่างไรว่าท่านได้ตรัสรู้<br />

แล้ว ? แล้วมีบ้างไหมที่พระไทยได้นิพพาน แล้วพระไทย<br />

ที่มรณภาพแล้วไม่เน่าไม่เป��อย ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น ?<br />

๓๖<br />

โดย...พระมหากิตติศักดิ์ โคตมสิสฺโส (ศ.สียวน)<br />

ตอบ. เวลาเรากินข้าวแล้วเรารู้สึกอิ่มแล้ว เราขนของ<br />

รกๆ ออกจากห้องทำความสะอาด เราก็รู้ว่า สะอาด<br />

ว่างโปร่งโล่ง เป็นสุญญตาแล้ว เรากินมะนาวเราก็รู้สึกว่า<br />

เปรี้ยวแล้ว เมื่อพระพุทธเจ้าพระองค์ตรัสรู้ก็ทรงทราบ<br />

ได้เช่นกัน จุตูปาตญาณ ทรงทราบการตายการเกิดของ<br />

สัตว์ทั้งหลายว่า ไปอยู่ในที่ใดไปเป็นอะไร ปุพเพนิวาสา<br />

นุสสติญาณ ทรงทราบชาติในอดีตได้คือระลึกชาติได้<br />

อาสวักขยญาณ ทรงทราบว่าอาสวะ คือขยะกิเลสสิ้น<br />

แล้ว ญาณ แปลว่ารู้ พระป�ญจวัคคีย์ คือพยานปากสำคัญ<br />

ว่าพระพุทธองค์ตรัสรู้แล้ว ถามว่า พระไทยได้นิพพาน<br />

มีบ้างไหม ตอบว่า มีแน่นอน แต่พระอรหันต์แต่งตั้งเยอะ<br />

ที่สุด ถามว่า พระมรณภาพแล้วเพราะเหตุไรไม่เน่าเป��อย<br />

ข้อนี้ ทางการแพทย์ได้ตอบออกสื่อไปแล้วหลายครั้ง<br />

ด้วยเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ แต่แปลกลูกศิษย์พระพยายาม<br />

จะตอบให้เป็นไสยศาสตร์ ทำให้อาจารย์ไปนิพพานไม่ได้<br />

เพราะอัตตาและอีโก้ยังอยู่ครบ


ถาม. ฟุตบอลพรีเมียร์ลีก คู่ระหว่าง เชลลี กับ แมนยูฯ<br />

และคู่ของลิเวอร์พูล ใครเป็นคนยิงบ้าง ครับ ?<br />

ตอบ. ไม่รู้ ไม่ได้ดู (ถามกวนฟุตดี...)<br />

ถาม. สมมติว่า เคยเถียงกับพ่อแม่ ทะเลาะกับพ่อแม่<br />

ทำให้พวกเขาเสียน้ำตา แต่ถ้าสำนึกได้ แล้วทำดีตลอดมา<br />

จะสามารถลบล้างบาปนั้นได้ไหมค่ะ ?<br />

ตอบ. หนูได้สำนึกแล้ว เลิกสิ่งที่เคยทำไม่ดีพูดไม่ดีแล้ว<br />

ทำดีกับท่านตลอดมา ถือว่าหนูเป็นคนดีมาก ที่ต้นคด<br />

ปลายตรง ทางศาสนายกย่องว่าคนที่รู้ตัวว่าผิด เป็นบัณฑิต<br />

ได้ เราเคยให้พ่อแม่เสียน้ำตาเพราะความชั่ว จากนี้ไปควร<br />

เปลี่ยนใหม่ทำใหม่ให้น้ำตาพ่อแม่ไหลอีกครั้งเป็นน้ำตา<br />

แห่งความปลื้มป�ติในความดี ในความสำเร็จของลูก เมื่อกลับ<br />

ใจมาตั้งต้นใหม่ก็ตั้งใจทำอย่างดี พระพุทธเจ้าทรงสอนว่า<br />

หว่านเกลือ (บาป) ลงในแม่น้ำคงคา (ความดี) ไม่ทำให้น้ำ<br />

ในแม่น้ำเค็มได้ฉันใด หากเราทำพลาดผิดเพียงเล็กน้อย<br />

แต่ทำสิ่งดีงามมากมายกว่าหลายเท่ายาวนาน ถ้าดีถึงขั้น<br />

อรหันต์บาปนั้นย่อมเจือจาง ถ้าทำบาปหนักบาปจะยังอยู่<br />

จนกว่าจะนิพพาน<br />

ที่ถามว่าจะลบล้างบาปได้หรือไม่ ตอบว่าบาป<br />

ไม่ใช่ขนมที่เลอะมือแล้วล้างได้ กรรมไม่ใช่เชือกที่ผูกแล้ว<br />

ก็มาแก้กันเป็นแฟชั่นพาณิชย์ทำสิ่งใดไว้ย่อมได้สิ่งนั้น<br />

คำสอนในทางศาสนาสอนว่า สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม<br />

ไม่ให้ประมาท ใคร่ครวญก่อนแล้วค่อยทำดีกว่าพ่อแม่เป็น<br />

บุคคลพิเศษ เป็นพระอรหันต์ของลูกจึงเป็นเนื้อนาบุญ<br />

ของลูก นาที่ดินดีปลูกอะไรก็งอกงามได้ผลสูง เราทำอะไร<br />

ดีๆ ให้พ่อแม่จึงต่างจากทำอะไรให้คนอื่นที่ให้ผลน้อย<br />

แต่ในทางตรงข้าม ถ้าเราทำไม่ดี พูดไม่ดีกับพ่อแม่ ผลร้าย<br />

แรงจะตกมาถึงเราอย่างหนักทำให้เราทำมาหากินไม่ขึ้น<br />

ตกต่ำ โดดเดี่ยวไร้เพื่อนแท้เพราะพ่อแม่ยังเนรคุณได้ ใคร<br />

จะเชื่อมั่นไว้ใจได้อีกว่าจะไม่ทรยศเขา เป็นอนันตริยกรรม<br />

กรรมหนักที่สุดในศาสนาเมื่อตอนเล็กๆพ่อแม่ป�อนข้าว<br />

เป�าแล้วเป�าอีกกลัวลูกจะปากไหม้ไส้พอง พอโตขึ้นเราใช้<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

ปากที่พ่อแม่ถนอมมาทะเลาะเถียงด่าเป็นนักโต้คารม<br />

มัธยมศึกษา เป็นบาปแท้ๆ เลยแต่ยังไม่ใช่ครุกรรม จึงยัง<br />

ไม่หนักหนาเกินกาย ยังไม่สายเกินกรรม กรรมของเรา<br />

เราได้แก้ไข หมายถึง แก้การกระทำให้ไปในทิศทางที่ดี<br />

แล้ว หนักเป็นเบาแล้ว<br />

ถาม. การส่งใจถึงใจ มันส่งกันได้จริงไหมค่ะเวลาอยู่<br />

คนละที่ ?<br />

ตอบ. ใจมันเป็นอิสระมีอานุภาพสูงมาก ไม่มีอะไรขวาง<br />

กั้นกำแพงกี่ชั้นก็ขวางไม่ได้ส่งใจไปไหนก็ไม่ต้องเสีย<br />

แสตมป� ไวกว่า EMS หลายเท่า ไวกว่า E-mail หลายขุม<br />

นึกถึงใครมัวนั่งพิมพ์แกร�กๆ ใจมันไปถึงก่อนแล้ว รถติด<br />

หงุดหงิดกลางถนนกายดิ้นรนใจดิ้นพล่านไปถึงก่อน<br />

นานแล้ว เพลงชรินทร์จึงร้องว่า..“อันรักกันอยู่ไกลถึง<br />

สุดขอบฟ�า เหมือนชายคาเข้ามาเบียดดูเสียดสีอันชัง<br />

กันแม้ใกล้สักองคุลี ก็เหมือนมีแนวป�ามาป�ดบัง...”<br />

รักกันอยู่สุดขอบฟ�าใจไปหาได้ทันทีทันใด ใจไม่ต้อง<br />

เลือกว่าจะไปการบินไทยที่แพงชิบ..หรือจะการ บิน<br />

อื่นที่ถูกชัวร์ แต่ถึงอย่างไรก็ข้ามคืนกว่าจะถึง แต่ใจไม่<br />

เพียงข้ามวัน แค่ข้ามวิฯ เท่านั้นมันไปซ่ารอท่าอยู่แล้ว<br />

ถ้ารักกัน ไกลก็เหมือนใกล้ถ้าเกลียด ใกล้ก็เหมือนไกล<br />

ท่านจึงสอนให้ระวังใจ ควบคุมใจ อย่าตามใจ จงยับยั้ง<br />

ชั่งใจ ไม่อย่างนั้นจะเสียใจ จงฝ�กใจทัน<br />

ทันโต เสฏโฐ มนุสเสสุ มนุษย์ที่ฝ�ก (ใจ) ดีแล้ว<br />

ประเสริฐที่สุด<br />

๓๗


ปุจฉา-วิสัชชนา<br />

ถามมา<br />

ตอบไป<br />

ถาม. คนที่มีอาชีพทนายความ ว่าความให้คนที่ทำผิด<br />

แล้วผลปรากฏว่าชนะคดี อยากทราบว่าอาชีพทนาย<br />

ความผิดศีลหรือไม่ ?<br />

ตอบ. อาชีพทนายความเป็นดาบสองคม เป็นทั้งยาดม<br />

และยาทาในหลอดเดียวกัน เพราะเป็นอาชีพให้คุณให้โทษ<br />

ได้ตามกฎหมาย หากเขาไม่ซื่อสัตย์ต่อวิชาชีพ ก็เท่ากับทำ<br />

สิ่งถูกให้เป็นสิ่งผิด ทำสิ่งผิดให้เป็นสิ่งถูก ถ้าทำโดยมุ่ง<br />

ลาภสักการะเอาชนะเป็นสำคัญ เอาชื่อเสียงเป็นเรื่องใหญ่<br />

เอาป�จจัยเป็นเรื่องหลัก ถูกผิดเป็นเรื่องรอง ด้วยหลักฐาน<br />

ด้วยพยานด้วยฝีปากฝีมือ ด้วยฝีดอลล่าร์ ก็สามารถทำให้<br />

คนบริสุทธิ์ติดคุกหัวโต ได้โดยไม่ได้ทำผิดทำให้คนชั่ว<br />

ลวยนวล ผลคือทำให้ทนายโดนลอยอังคาร เพราะพระ<br />

พุทธเจ้าตรัสสอนภิกษุว่าสักกาโร ปุริสัง หันติสักการะย่อม<br />

ฆ่าคนได้ สักการะฆ่าคนได้หลายแบบ แต่ถ้าทนายความ<br />

ซื่อสัตย์ ก็เป็นพ่อพระเป็นที่พึ่งของคนยาก เป็นอาชีพ<br />

ช่วยคนให้อยู่รอดปลอดภัยช่วยใครๆ ไม่ให้ต้องตกนรก<br />

ก่อนตาย ถ้าถามว่าผิดศีลหรือไม่ ต้องดูว่ามีเจตนาหรือเปล่า<br />

ทำข้อเท็จจริง ให้เป็นเท็จจริงๆ ผิดศีลข้อ ๔ ทำเพื่อหวัง<br />

เงินทองได้ทรัพย์มาด้วยอาการแห่งขโมยผิดศีลข้อที่ ๒<br />

ทำคนถูกให้เป็นคนผิดจนถูกประหารชีวิตด้วยฝีมือ ทนาย<br />

ผิดศีลข้อ ๑<br />

๓๘<br />

ถาม. เจอขี้ช้าง คนก็ว่ามีช้าง แต่ขี้ผีผมก็ไม่เคยเจอ<br />

กลับบอกว่ามีผี แล้วผีมีหรือเปล่าครับทั้งๆ ที่ไม่มีขี้ผี ?<br />

ตอบ. เขามีแต่เห็นช้างขี้ อย่าขี้ตามช้างเจ้าคนนี้กลับ<br />

เห็นขี้ช้างจะไปตามช้างที่ขี้ แล้วเลยเถิดไปถึงต้องเห็นผีขี้<br />

จึงจะเชื่อว่ามีผีจริง คือถือเป็นปรัชญาเลย ไม่มีขี้ ไม่มีคน<br />

ไม่มีใคร ไม่มีอะไร เรียกว่าเอาขี้เป็นเครื่องวัดระดับ<br />

ความมีหรือไม่มี แต่โบราณไทยเราก็สุดยอด เพราะสอน<br />

วัดระดับความดีไม่ดีอยู่ที่ขี้เหมือนกัน สอนว่า ชั่วเป็นขี้<br />

ดีเป็นแก้ว ขุนพลแก้ว คหบดีแก้ว นางแก้ว ช้างแก้ว<br />

พ่อแก้ว แม่แก้ว ผัวแก้ว ลูกแก้ว ถ้าชั่วเป็นขี้หมด<br />

ไหนๆก็ไหนๆ แต่งเรื่องขี้ให้ดู..<br />

ขี้สนิม ขี้หน้า ขี้ด่า ขี้โรค<br />

ขี้เศร้า ขี้โศก ขี้หลอก ขี้หลอน<br />

ขี้มูก ขี้หมู ขี้รู้ ขี้ร้อน<br />

ขี้หนาว ขี้นอน ขี้สอน ขี้อาย<br />

ขี้แมลงวัน ขี้พนัน ขี้ประจบ<br />

ขี้หลีก ขี้หลบ ขี้หดตดหาย<br />

ขี้ไม่ให้หมาแด�ก ขี้แอ�กจะตาย<br />

ขี้หึงเหลือร้าย หล่อขี้แตกขี้แตน..........<br />

แล้วก็ขี้จุ�เบเบ� ขี้จุ�ตะละล่า


ถาม การที่พระไม่ฉันข้าวตอนเย็น เป็นเหตุให้ป�วย<br />

เป็นโรคกระเพาะ เป็นการทำร้ายทรมานกายตนเอง<br />

จะถือว่าเป็นบาปหรือไม่ เพราะเหตุใด ?<br />

ตอบ ขอบใจนะที่เป็นห่วงกระเพาะพระเมื่อก่อนก็นึก<br />

อย่างนี้แหละ แต่ตอนหลังได้อ่านเอกสารของกระทรวง<br />

สาธารณสุข โดยแพทย์เฉพาะทางหลายท่านบอกว่าอาหาร<br />

ที่จำเป็นที่สุดคือ อาหารเช้า เพราะร่างกายขาดอาหารมา<br />

หลายชั่วโมงแล้ว อีกอย่างเริ่มวันใหม่สมองและร่างกาย<br />

ต้องการพลังงานที่จะต้องคิดต้องทำงาน พูดถึงร่างกายดึง<br />

กรดจากอวัยวะส่วนอื่นมาใช้ ถ้าไม่มีอาหารหลักเข้าไป<br />

สู่ท้อง พูดถึงอนุมูลอิสระ ขยะร่างกายที่สะสมให้โทษ จึง<br />

อิ่มไว้ก่อน ด้วยอาหารหนักไม่ควรทำอะไรง่ายๆ กินง่ายๆ<br />

แบบกาแฟแก้วเดียวในมื้อเช้า แล้วไปหนักมื้ออื่นเขาตั้ง<br />

เป็นปรัชญาการกินไว้เลยว่า ทานอาหารเช้าแบบราชา<br />

กลางวันแบบคนธรรมดา เย็นแบบยาจก คือตอนเย็นอาหาร<br />

ไม่สำคัญเลยนิดหน่อยพอ หรือไม่กินก็ได้ เพราะกิน<br />

แล้วร่างกายไม่ได้ใช้ทำอะไร นอนหลับ อืด บ่อยเข้าผู้ชาย<br />

ตั้งท้อง ผู้หญิงเอวหาย เห็นหรือยังว่า พระพุทธเจ้าของเรา<br />

สุดยอดกว่าหมอมากมาย ทรงทราบมาก่อนตั้ง ๒๕๕๒ ปี<br />

มาแล้ว ฉะนั้นอย่ามายั่วยวนให้พระฉันเวลาเย็นเสียให้ยาก<br />

เลย ตอบได้เลย ไม่บาป เป็นบุญสุดๆ<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong> ถามมา<br />

ตอบไป<br />

ถาม การโกหกเพื่อปกป�องตนเองหรือเพื่อช่วยเพื่อน<br />

ช่วยผู้อื่น ถือว่าผิดศีลหรือเปล่าครับ เช่นเพื่อนถูกกลุ่ม<br />

นักเลงทำร้ายมาและหนีมาหาเรา แต่พอพวกนั้นมาถาม<br />

เรากลับตอบว่า ไม่รู้ไม่เห็น ?<br />

ตอบ องค์แห่งมุสามี ๔ ถ้าครบถือว่าผิดศีล<br />

๑. สิ่งของเรื่องราวไม่เป็นจริง<br />

๒. มีจิตคิดมุสา<br />

๓. ทำความเพียรเพื่อมุสา<br />

๔. ผู้อื่นเชื่อตามคำมุสา<br />

แต่มุสามี ๒ ประเภท ประเภททำให้เขาเสียหาย<br />

มาก และทำให้เขาเสียหายน้อย ประเภทนำไปสู่อบายสู่นรก<br />

ถ้าไม่ทำให้เขาเสียหาย แต่ทำให้เขาและพวกเราหายเสีย<br />

คือ หายเดือดร้อน แม้เขาหลงเชื่อจะไม่นำเราไปสู่อบาย<br />

พระเวสสันดรเคยมุสาแก่พญานางมัทรีว่า ให้ไปป�าเถิด<br />

ไม่เกิดเรื่องกับลูก แต่ที่แท้ เมื่อมัทรีไปกับเสียลูกถึงสองคน<br />

หมอบอกคนไข้ว่า ไม่ได้เป็นโรคร้าย เพื่อรักษาใจคนไข้<br />

ไว้ก่อน ไม่ให้ทรุดหนักก่อนจะตั้งหลักได้เป็นกุศโลบาย<br />

ช่วยคน ไม่ได้ทำลายใครให้เสียหาย มีพระธุดงค์เห็นคน<br />

ร้ายวิ่งหนีตำรวจมา ยิงกันสนั่นหวั่นไหว พระรู้ว่าคนร้าย<br />

แอบซ่อนอยู่ที่ไหน ตำรวจมาถามบอกความจริงกลัวโจร<br />

ตาย ศีลเราจะเศร้าหมอง บอกไม่รู้จะผิดศีล เลยเดินไป<br />

ข้างหน้าสองก้าวแล้วบอกตำรวจว่า “ตอนอาตมายืนตรงนี้<br />

ไม่เห็นโจรเลย” เล่ห์นี้ไม่ทราบพระจะรอดหรือไม่<br />

๓๙


ระเบียบการทำบุญใส�บาตร<br />

ชาวพุทธที่เป็นคฤหัสถ์ผู้อยู่ครองเรือน มีฐานะ<br />

เป็นอุบาสกบริษัท และอุบาสิกาบริษัท ซึ่งมีหน้าที่จะต้อง<br />

ช่วยกันบำรุงรักษาพระพุทธศาสนาไว้ให้ดำรงอยู่ และ<br />

ให้เจริญรุ่งเรืองสืบไป เพื่อเป็นประโยชน์แก่ตนเอง และส่วน<br />

รวมตลอดถึงชาวโลกด้วย<br />

พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้พระธรรมแล้วทรงเทศนา<br />

สั่งสอนพุทธบริษัท ๔ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา<br />

พระสงฆ์พุทธสาวกเป็นผู้รับมรดก ทรงแม่นยำจดจำ<br />

ศาสนธรรมคำสั่งสอน ของพระพุทธเจ้าไว้ พระพุทธศาสนา<br />

จึงยังดำรงอยู่ได้ตลอดมาจนกระทั่งป�จจุบัน<br />

พระสงฆ์พุทธสาวกทั้งหลายย่อมดำรงชีวิตอยู่ได้<br />

ด้วยป�จจัยที่ทายก อุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายจัดถวาย<br />

ตราบใดที่ ทายกอุบาสก อุบาสิกาทั้งหลายยังบริจาคป�จจัย<br />

ช่วยอุปถัมภ์บำรุงพระสงฆ์อยู่ พระสงฆ์ก็ยังศึกษาเล่าเรียน<br />

ทรงจำรักษาพระพุทธศาสนาไว้ได้ตราบนั้น<br />

๔๐<br />

ศาสนพิธี<br />

โดย พระครูสังฆรักษ์สุชาติ ปญฺญาวฑฺฒโน<br />

หากทายกอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายเลิกบริจาค<br />

ป�จจัยช่วยอุปถัมภ์บำรุงด้วยการทำบุญใส่บาตรพระสงฆ์<br />

เวลาเช้าประจำวันนี้ จึงนับได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งที่ได้ช่วยกัน<br />

สืบต่ออายุพระพุทธศาสนาให้ดำรงอยู่ และให้เจริญรุ่งเรือง<br />

สืบต่อไปตลอดกาลนาน<br />

ความจริง การใส่บาตรประจำวันนี้ เป็นวิธีการ<br />

สร้างบุญวาสนาบารมีอันจะเป็นบุพเพกตปุญญตาสำหรับ<br />

ตนต่อไปในอนาคตโดยตรง และเป็นผลดีที่ได้ช่วยอุปถัมภ์<br />

บำรุงพระพุทธศาสนาโดยอ้อม<br />

การใส่บาตรประจำวันนี้ นิยมจัดทำตามกำลัง<br />

ศรัทธาและตามความสามารถแห่งกำลังทรัพย์เท่าที่จะทำ<br />

ได้โดยไม่เกิน ๒ รูปบ้าง ๓ รูปบ้าง เป็นต้น


การทำบุญที่มีอานิสงส์มาก<br />

การทำบุญในพระพุทธศาสนาที่มีผลานิสงส์มาก<br />

เช่น การทำบุญใส่บาตรพระสงฆ์เป็นต้น จะต้องประกอบ<br />

พร้อมด้วย องค์คุณ ๓ ประการ<br />

๑. ป�จจัยวัตถุสิ่งของสำหรับทำบุญบริสุทธิ์<br />

๒. เจตนาของผู้ถวายบริสุทธิ์<br />

๓. พระภิกษุสามเณรเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์<br />

ปัจจัยวัตถุสิ่งของสำหรับทำบุญบริสุทธิ์<br />

ความบริสุทธิ์ของป�จจัยวัตถุสิ่งของที่นำมาทำบุญ<br />

นั้นมีลักษณะ ดังนี้<br />

๑. เงินที่จับจ่ายใช้สอยซื้อหาวัตถุสิ่งของเหล่านั้น<br />

ต้องเป็นเงินที่ได้มาด้วยการประกอบสัมมาอาชีวะ เกิดขึ้น<br />

จากหยาดเหงื่อแรงงานของตน<br />

๒. สิ่งของที่นำมาทำบุญนั้นเป็นของบริสุทธิ์ คือ<br />

มิได้เบียดเบียนชีวิตคนและสัตว์อื่น<br />

๓. วัตถุสิ่งของที่นำมาทำบุญนั้น เป็นของมีคุณภาพ<br />

ดี และเป็นส่วนที่ดีที่สุดในบรรดาสิ่งของที่มีอยู่ เช่น ข้าวสุก<br />

ที่ตักบาตร ก็เป็นข้าวปากหม้อ แกงก็เป็นแกงถ้วยแรก<br />

ที่ตักจากหม้อ<br />

๔. วัตถุสิ่งของนั้นสมควรแก่สมณบริโภคไม่ก่อเกิด<br />

โทษต่อพระภิกษุสามเณร<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

เจตนาของผู้ถวายบริสุทธิ์<br />

เจตนา คือความตั้งใจของผู้ทำบุญนั้นจะต้อง<br />

บริสุทธิ์ในกาลทั้ง ๔<br />

๑. ปุพพเจตนา ก่อนทำบุญมีจิตใจเลื่อมใสศรัทธา<br />

๒. มุญจนเจตนา ความตั้งใจขณะทำบุญมีความ<br />

ปีติยินดีในการทำ<br />

๓. อปรเจตนา ความตั้งใจหลังจากทำบุญไปแล้ว<br />

ภายใน ๗ วัน ระลึกถึงครั้งใดมีความปลื้มยินดี ไม่มีความ<br />

เสียดาย<br />

๔. อปราปรเจตนา ความตั้งใจภายหลังจาก ๗ วัน<br />

ไปแล้ว แม้จะล่วงเวลาไปนานก็ยังคงยินดีโสมนัสทุกครั้ง<br />

คำอธิษฐานใส่บาตร<br />

ข้าวขาวดังดอกบัว ยกขึ้นเหนือหัว ตั้งใจจำนง<br />

ตักบาตรพระสงฆ์ ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ขอให้พบดวงแก้ว<br />

ขอให้แคล้วบ่วงมาร ขอให้บรรลุพระนิพพานในอนาคต<br />

กาลเทอญ<br />

กรวดน้ำย่อ<br />

“อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย”<br />

ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพ<br />

เจ้าขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า จงมีความสุข ฯ<br />

“ ตามปกติ เราควรได�ประโยชน�จากคำติมากกว�าคำชม เพราะเขาชมสิ่งที่เราได�ทำหรือทำได�อยู�แล�ว แต�คำติชี้ถึงสิ่งที่เรา<br />

ทำไม�ได�หรือยังไม�ได�ทำ ถึงเขาติผิด เรารู�จักคิด ก็จักมองเห็นแง�คิดที่เป�นประโยชน�อยู�ดี ”<br />

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)<br />

๔๑


นินายรักอมตะ<br />

พระครูปลัดขวัญชัย ธมฺมวโร รวบรวม<br />

ลีลาวดี<br />

โดย ธรรมโฆษ<br />

๖. จำใจจากจร<br />

“ลีลาวดี! วันนี้ท่านดูท่าทางหงอยเหงามาก”<br />

เรวัตตะปรารภขึ้นกับลีลาวดี เมื่อเธอมาหาเขาเย็นวันหนึ่ง<br />

“ข้าพเจ้ารู้สึกไม่สบายใจเลยที่ได้เห็นท่านมีท่าทาง<br />

เช่นนี้ ท่านจะกรุณาบอกข้าพเจ้าหน่อยได้ไหมว่าอะไร<br />

เป็นเหตุแห่งความเศร้านี้ ข้าพเจ้าจะได้หาทางช่วยขจัด<br />

ป�ดเป�า ถ้าเพื่อลีลาวดีแล้ว แม้ชีวิตข้าพเจ้าก็อาจจะ<br />

สละแทนได้ โปรดบอกข้าพเจ้ามาซิ”<br />

“ขอบใจมาก เรวัตตะ! แต่ไม่มีเหตุอะไรดอก<br />

เธอคิดมากไปเองกระมัง” หญิงสาวตอบอย่างไม่ค่อยจะ<br />

เต็มปากนัก<br />

เด็กหนุ่มรู้อยู่ในทีว่า ลีลาวดีปกป�ดความจริง จึงรุก<br />

ต่อไปเพื่อคั้นเอาความจริงให้ได้<br />

“ลีลาวดี! ท่านจะป�ดบังความจริงไว้ทำไม ท่านไม่<br />

ไว้ใจเรวัตตะทาสผู้ซื่อสัตย์ของท่านดอกหรือ”<br />

หญิงสาวก้มหน้านิ่ง เอานิ้วกรีดชายภูษาอยู่ไปมา<br />

เธอกำลังอยู่ในห้วงมหันตทุกข์และอยากบอกให้เรวัตตะรู้<br />

เพื่อขอความช่วยเหลือ แต่เธอยังมองไม่เห็นทางสำเร็จ<br />

๔๒<br />

ถ้าขืนทำอย่างนั้น แทนที่จะเกิดผลดี กลับจะเกิดผลร้าย<br />

ยิ่งขึ้นคือเรวัตตะจะพลอยเดือดร้อนไปด้วย เพราะฉะนั้น<br />

เธอจึงตัดสินใจจะเผชิญกรรมไปคนเดียว โดยไม่ต้องการ<br />

ให้เรวัตตะพลอยลำบากไปด้วย<br />

“ลีลาวดี! ก่อนหน้านี้ ข้าพเจ้าได้ยินเสียงร้องไห้<br />

คร่ำครวญดังมาจากปราสาท ข้าพเจ้าคิดว่าคงได้เกิดอะไร<br />

ขึ้นทางปราสาท และเหตุนั้นคงจะเกี่ยวกับความโศกเศร้า<br />

ของลีลาวดีของข้าพเจ้า”<br />

หญิงสาวรีบเงยหน้า จ้องมองเรวัตตะด้วยความ<br />

ตื่นเต้นตกใจ เพราะเธอไม่เคยคิดว่าเรวัตตะจะได้ยินเสียง<br />

นั้น แต่แล้วเธอก็พูดกลบเกลื่อนเสีย<br />

“ฉันก็ได้ยินเสียงนั้นเหมือนกันมันไม่ได้ดังขึ้นที่<br />

ปราสาทดอก แต่บนปราสาทอีกหลังหนึ่งที่อยู่ถัดไป”<br />

คำตอบของลีลาวดี มิได้ให้ความกระจ่างแก่เรวัตตะ<br />

เลย คำพูดและอาการของเธอ ยังมีพิรุธชวนให้สงสัยอยู่<br />

เมื่อลีลาวดีจากไปไม่นาน เสียงร้องไห้คร่ำครวญแบบเก่า<br />

ก็ดังขึ้น หนุ่มจัณฑาลพยายามเงี่ยหูฟ�งอย่างตั้งใจ เพื่อหา<br />

ทิศทางอันแท้จริงของเสียงนั้น เมื่อฟ�งในห้องไม่ชัด


เขาจึงออกมายืนฟ�งข้างนอกอีก เสียง<br />

นั้นดังมาจากปราสาทอย่างแน่นอน<br />

มันเป็นเสียงคร่ำครวญแสดงความ<br />

เจ็บปวดของใครคนหนึ่ง โดยมิรอช้า<br />

เรวัตตะรีบละจากกระท่อมเดินมุ่ง<br />

หน้าสู่ปราสาท เคราะห์ดีที่ประตูด้าน<br />

หลังยังไม่ป�ด เขารีบแอบแฝงกาย<br />

เข้าไปภายในซึ่งมืดทึบ ค่อยๆ ย่อง<br />

ขึ้นไปตามชั้นบันไดจนถึงชั้นบน<br />

ซึ่งเป็นที่มาของเสียงนั้น เขารีบ<br />

ตรงไปยังประตูห้องที่กำลังมีเหตุ<br />

แต่บังเอิญไปชนเข้ากับใครคนหนึ่ง<br />

เพราะความมืดมองไม่เห็นกันคนที่ถูก<br />

ชนปรี่มาจ้องหน้าเขา<br />

“ท่านเป็นใครมาทำไมที่นี่?”<br />

เรวัตตะเพ่งดูอยู่นาน จึงทราบ<br />

ว่า ผู้ถามมิใช่ใครอื่นหากเป็นนางทาสี<br />

คนสนิทของลีลาวดีนั่นเอง จึงตอบไป<br />

ว่า “ฉันเองเรวัตตะเกิดเรื่องอะไร<br />

ขึ้นหรือ?”<br />

“เกิดเรื่องใหญ่แล้ว เรวัตตะ!”<br />

นางทาสีตอบด้วยเสียงละล่ำละลัก<br />

“นางพราหมณีและกัณณิการู้หมดว่า<br />

เธอกับลีลาวดีไปพบ และคุยกัน<br />

อย่างไร ทั้งสองคนโกรธลีลาวดีมาก<br />

การที่ไปพบกับเธอ เขาถือว่าเป็นการ<br />

กระทำที่เลวทรามน่าอับอายขายหน้า<br />

ที่สุด วันแรกนางพราหมณีเรียก<br />

ลีลาวดีไปถาม เธอรับสารภาพโดย<br />

ชื่นตาและชี้เหตุผลว่า การกระทำ<br />

ของเธอไม่ใช่สิ่งที่ควรอับอายอะไร<br />

มารดาโกรธมาก ถึงกับจับลีลาวดีผูก<br />

แล้วเฆี่ยนตีอย่างไร้เมตตาปราณี<br />

แต่ลีลาวดีก็อดที่จะไปเยี่ยมเธอไม่<br />

ได้ และทุกคราวที่ไปก็ถูกตีอย่างนี้<br />

เธอฟ�งเอาเองเถอะ เรวัตตะ! ฉันทน<br />

ฟ�งต่อไปอีกไม่ไหวแล้ว” เมื่อนางทาสี<br />

เดินลงบันไดไปแล้ว เรวัตตะรีบไปเอา<br />

หูแนบฟ�งที่ประตูเสียงข้างในดังออก<br />

มาอย่างชัดเจน “อีลูกทรยศ! แกเกิด<br />

มาเพื่อทำลายวงศ์ตระกูลโดยแท้<br />

ขัตติยมหาศาล พราหมณ์มหาศาลมี<br />

ดาษดื่นในกรุงสาวัตถี แต่กลับยินดีไป<br />

คลุกคลีกับเจ้าคนจัณฑาลเดนมนุษย์<br />

ข้ายินดีที่จะยอมเสียลูกทรยศอย่าง<br />

แก แต่จะไม่ยอมเสียศักดิ์ศรีของ<br />

พราหมณ์เป็นอันขาด เอ้า! เจ้าทาส<br />

ผู้กำยำ จงโบยเข้าอีก ๘ ที”<br />

เสียงไม้เรียวแหวกอากาศ<br />

กระทบผิวหนังเสียงกรีดร้องด้วย<br />

ความเจ็บปวด เสียงหัวเราะร่าแสดง<br />

ความพอใจของมารดาดังออกมาอีก<br />

ครั้งหนึ่ง เรวัตตะยืนกัดฟ�นด้วยหัวใจ<br />

อันปวดร้าว เขาอยากจะพังประตูเข้า<br />

ไปช่วยลีลาวดี แต่วิธีช่วยเหลือที่แยบ<br />

คายกว่านั้นไม่มีแล้วหรือ?<br />

“อย่าตีมันเลยแม่”เสียง<br />

กัณณิกาดังขัดขึ้น “ถึงตีมัน ก็ตาย<br />

เปล่า เรามาทำอย่างนี้ดีกว่า คือเรื่อง<br />

นี้เกิดขึ้นเพราะเจ้าจัณฑาลคนเดียว<br />

เป็นเหตุ เพราะฉะนั้น ขอให้เราช่วย<br />

กันขับมันหนีเสียเถอะ”<br />

“แม่ก็อยากทำอย่างนั้นแต่<br />

เจ้าลืมไปแล้วหรือว่า เจ้าอัปมงคล<br />

ตัวนั้น มันเป็นหัวแก้วหัวแหวนของ<br />

พ่อเจ้าถ้าพ่อเจ้ากลับมาไม่พบมันเรา<br />

ก็อาจพบความลำบากยิ่งกว่านี้”<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

เสียงสองแม่ลูกเงียบลง ยัง<br />

เหลือแต่เสียงสะอื้นไห้ของลีลาวดี<br />

ขณะที่กำลังยืนคิดอยู่ที่ประตูนั่นเอง<br />

เรวัตตะก็เกิดความคิดที่จะช่วย<br />

ลีลาวดีเขารีบกลับมายังกระท่อม<br />

น้อย เขียนจดหมายขึ ้นฉบับหนึ ่ง ข้อ<br />

ความว่า<br />

“ลีลาวดี! ข้าพเจ้าทราบตลอด<br />

แล้วในวันนี้ว่าความทุกข์ของท่าน<br />

เป็นเช่นใดข้าพเจ้าได้พิจารณาดู<br />

ละเอียดแล้ว เห็นว่าทุกข์นั้นมีข้าพเจ้า<br />

คนเดียวเป็นต้นเหตุถ้าข้าพเจ้ามิได้<br />

อยู่ที่นี่ ท่านก็คงมีความสุขอยู่ท่าม<br />

กลางวงศ์ญาติเช่นเดิม เพราะฉะนั้น<br />

ข้าพเจ้าขอลาท่านกลับสู่บ้านตั้งแต่<br />

วันนี้เป็นต้นไป ข้าพเจ้าเป็นจัณฑาล<br />

ไม่สมควรจะอยู่ร่วมโลกกับท่านผู้เป็น<br />

พราหมณ์ ถ้าอยู่ไปก็มีแต่จะนำความ<br />

ทุกข์มาสู่ท่าน จึงขอลาไปอยู่ท่าม<br />

กลางจัณฑาลด้วยกัน ข้าพเจ้ายังคิดถึง<br />

ท่านและจะคิดถึงไปจนตลอดชีวิต<br />

ขอให้ลีลาวดีสุขสำราญอยู่<br />

ท่ามกลางคณะญาติเหมือนเดิม<br />

ลาก่อน”<br />

“เรวัตตะ”<br />

เขานำจดหมายนั้นไปมอบ<br />

ให้นางทาสีไว้ สั่งกำชับให้เธอมอบ<br />

ให้แก่ลีลาวดีในโอกาสอันควรแล้ว<br />

กลับสู่กระท่อมเด็กหนุ่มรวบรวม<br />

สมบัติเล็กๆ น้อยๆ ของเขาแล้วเอา<br />

ผ้าห่อเข้าเป็นห่อใหญ่ ส่วนมากก็มี<br />

เสื้อผ้าที่ลีลาวดีให้เขานั่นเอง เขา<br />

เอาห่อผ้ามาอุ้มไว้ แล้วรีบออกจาก<br />

๔๓


กระท่อมไปยืนอยู่ข้างล่าง หันกลับมามองดูกระท่อมแล้วกล่าวเบาๆ ว่า “ลาก่อน! กระท่อมที่เคยให้ความสุขแก่ฉัน”<br />

เขารีบเดินตรงไปทางฝ��งสระ ณ จุดที่เขาพบกับลีลาวดีเป็นครั้งแรก ยืนอยู่ที่นั่นครู่หนึ่ง แล้วรีบเดินแอบแฝงความมืดออก<br />

สู่ถนนใหญ่ เดินบ้าง วิ่งบ้าง จนกระทั่งถึงประตูเมืองด้านทิศอุดร ขณะนั้น นายทวารบาลกำลังจะป�ดประตูพอดี แต่เรวัตตะ<br />

ได้อาศัยความเร็วเล็ดลอดออกไปได้เขารู้สึกโล่งอก เมื่อได้สูดบรรยากาศอันสดชื่นภายนอกกำแพงเมือง ตั้งแต่นี้ไป<br />

เขาหวังที่จะคืนไปอยู่ในอ้อมอกอันอบอุ่นของมารดาบิดาดังเดิม<br />

๗. พ่อแม่อยู่แห่งใด<br />

ระยะทางจากประตูเมืองถึงหมู่บ้านจัณฑาลไม่<br />

ใกล้นัก แต่เรวัตตะก็ตั้งใจ จะไปให้ถึงในคืนนั้นเขาไม่อยาก<br />

อยู่ในเมือง ของพวกพราหมณ์ หรือแม้บริเวณที่ใกล้<br />

เมืองอีกต่อไป อยากจะหนีไปให้ไกลที่สุดเท่าที่จะไกลได้<br />

เขาเดินไปอย่างรีบเร่ง ท่ามกลางความมืด และความเงียบ<br />

อย่างเยือกเย็นแห่งรัตติกาล บางครั้งเขาก็สะดุดทางขรุขระ<br />

ล้มลง ห่อผ้ากระเด็นออกจากมือ เด็กหนุ่มพยายามกัดฟ�น<br />

พยุงกายลุกขึ้นควานหาห่อผ้า โดยอาศัยแสงอันขมุกขมัว<br />

แห่งดวงดาว กว่าจะพบก็เสียเวลาไปมิใช่น้อย เสียงนกแสก<br />

ที่ร้องอยู่ทางเบื้องหลัง ชวนให้หนุ่มจัณฑาลคิดไปว่า เป็น<br />

เสียงของลีลาวดีที่กำลังวิ่งตามมา เขาเผลอตัวหันหลังกลับ<br />

แล้วก็หยุดยืนคอยเธอ แต่เมื่อทราบว่ามันเป็นเสียงร้องของ<br />

นกแสก เขาก็รีบเร่งเดินทางต่อไป<br />

ในที่สุด เรวัตตะก็เข้าสู่หมู่บ้านจัณฑาลชาวบ้าน<br />

พากันนอนหลับหมดแล้ว สุนัขแก่สองสามตัวลุกขึ้นมา<br />

เห่ากรรโชกเขาแต่เด็กหนุ่มไม่คำนึงเขาเดินต่อไปจนกระทั่ง<br />

มองเห็นเรือนของบิดายืนตัวสลัวอยู่ในความมืด เรวัตตะดี<br />

ใจรีบตรงไปเคาะประตูเรียกบิดา “คุณพ่อเป�ดประตูรับ<br />

ลูกด้วย” ในที่สุด มีเสียงตวาดออกมาจากภายใน<br />

๔๔<br />

“ใครมาปลุกในยามค่ำคืน”<br />

“ลูกเอง เรวัตตะน่ะ จำเสียงลูกไม่ได้หรือ”<br />

“เรวัตตะ!” เสียงจากภายในออกชื่อเขาเบาๆ เป็น<br />

เชิงคิด แล้วมีเท้ากระทบพื้นดังมาที่ประตู ประตูได้ถูก<br />

เป�ดออก แล้วคนทั้งสองก็เผชิญหน้ากัน“เจ้าเป็นใคร<br />

มาจากไหน?” ชายที่เป�ดประตูถามแต่เรวัตตะมิได้ตอบ<br />

เขาเริ่มประหลาดใจ เพราะรู้สึกว่าชายคนนั้นจะไม่ใช่บิดา<br />

ของเขาเสียแล้ว เพราะดูมีหนวดเครารุ่มร่ามแก่กว่าบิดา<br />

ของเขามาก ทั้งกิริยาอาการที่แสดงแก่เขาก็บ่งชัดว่าเป็น<br />

คนอื่น เรวัตตะเดินตามเจ้าของบ้านเข้าไปด้วยความสงสัย<br />

ลังเลใจเป็นกำลัง “บิดาของฉันเปลี่ยนแปลงไปถึงขนาดนี้<br />

เชียวหรือ” เขาคิดอยู่ในใจ เมื่อคนทั้งสองมานั่งหน้าเตาไฟ<br />

พร้อมกันแล้ว ความจริงก็ปรากฏขึ้นชายคนนั้นมิใช่บิดา<br />

ของเขา แต่เป็นชายแปลกหน้าซึ่งเรวัตตะไม่เคยเห็นมา<br />

ก่อน<br />

“โอ! ข้าพเจ้าเข้าบ้านผิดเสียแล้ว”เขาอุทานพลาง<br />

ผลุนผลันออกไป แต่แล้วต้องกลับเข้ามาอีก เพราะบ้านนั้น<br />

เป็นบ้านของเขาอย่างแน่นอน เขาจำได้ดี ถ้าอย่างนั้น<br />

บิดาของเขาไปไหน ชายคนนั้นคือใคร?<br />

“มารดาบิดาของข้าพเจ้าไปไหน” เขาถามชายแก่


อย่างร้อนรน “มารดาบิดาของเจ้าคือใคร ลองบอกมาซิ”<br />

“บิดาของข้าพเจ้าชื่อพันธุมะ มารดาชื่อสุชานี”<br />

“อ้อ !” ชายแก่อุทาน พลางพยักหน้าว่าเข้าใจ“เจ้าหมายถึง<br />

สองสามีภรรยา ที่เคยเป็นเจ้าของบ้านนี้ เจ้าชื่อเรวัตตะ<br />

ลูกชายของพันธุมะใช่ไหม เขาเคยเล่าให้ฉันฟ�งบ่อยๆ ว่ามี<br />

ลูกชายคนหนึ่งอยู่กับสุมังคละคฤหบดี ในกรุงสาวัตถี”<br />

“ถูกแล้ว ข้าพเจ้าเป็นลูกของท่าน โปรดบอก<br />

ข้าพเจ้าเถอะว่าบัดนี้ท่านไปไหน” เด็กหนุ่มรบเร้า<br />

ชายแก่ยกมือขึ้นลูบเครา ตามองดูเพดานอย่างใช้<br />

ความคิดแล้วกล่าวขึ้น “เขาหนีจากหมู่บ้านนี้ไปนานแล้ว<br />

ฉันเองก็ไม่ทราบว่าเขาไปไหน เขาบอกแต่เพียงว่าจะขึ้นไป<br />

อยู่ทางเหนือ แถบเชิงเขาหิมาลัยแต่ไม่ทราบว่าจะเป็นเมือง<br />

ใดแน่ ก่อนไปเขามิได้แจ้งให้เจ้าทราบดอกหรือ”<br />

“มิได้บอกเลย ข้าพเจ้าเพิ่งทราบเดี๋ยวนี้เอง อนิจจา!<br />

มารดาบิดาไม่น่าจะทอดทิ้งลูกไว้ โดยอาการเช่นนี้เลย<br />

ข้าพเจ้าอุตส่าห์ฝ�าความระกำลำบากมา ก็หวังจะพบกับ<br />

อ้อมกอดอันอบอุ่นของบิดามารดา แต่แล้วก็ผิดหวัง<br />

พระผู้เป็นเจ้าช่างไม่กรุณาข้าพเจ้าบ้างเลย”<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

นินายรักอมตะ ลีลาวดี<br />

เขาซบหน้าลงกับฝ�ามือ แล้วสะอื้นไห้ด้วยความ<br />

เศร้าใจอย่างสุดซึ้ง ชายแก่นึกสงสารเขาเป็นกำลัง<br />

จึงเอ่ยปากปลอบโยน<br />

“อย่าโศกเศร้าไปเลย หนูเอ�ย!ถึงเจ้าจะไม่ได้พบ<br />

มารดาบิดา แต่ได้พบฉัน ก็เท่ากับมารดาบิดาเหมือนกันฉัน<br />

อยู่คนเดียวไม่มีลูกมีหลาน อยู่กับฉันเถอะฉันจะรักเอ็นดู<br />

เจ้า เช่นเดียวกับลูกหลานของฉันเอง”<br />

“เป็นพระคุณอย่างสูง ที่ท่านมีใจกรุณาต่อข้าพเจ้า<br />

แต่ข้าพเจ้าอยู่กับท่านไม่ได้ดอก”เรวัตตะกล่าวทั้งกำลัง<br />

สะอื้น<br />

“เจ้าจะไปไหน” ชายแก่ถาม<br />

“ไปทุกหนทุกแห่ง ที่มารดาบิดาของข้าพเจ้าอยู่ถ้า<br />

ท่านอยู่ทางแถบเหนือ ข้าพเจ้าก็จะไปทางเหนือ”เด็กหนุ่ม<br />

ยืนยัน<br />

ชายแก่มองเขาอย่างยิ้มเยาะ ในความเด็ดเดี่ยวอัน<br />

ไม่เดียงสาของเด็กๆ แล้วกล่าวขึ้น<br />

“เจ้าช่างใจเด็ดเดี่ยวจริงนะ พ่อหนู!แต่ว่าเจ้ารู้จัก<br />

ทางเหนือน้อยไป ฉันจะบอกความจริงให้ ทางเหนือภูมิ<br />

ประเทศเต็มไปด้วยป�าดงพงพี ที่ดารดาษไปด้วยปีศาจและ<br />

๔๕


นินายรักอมตะ ลีลาวดี<br />

สัตว์ร้าย คนทั้งหลายไป มีกันเป็น<br />

หมวดหมู่ มีอาวุธครบมือจึงจะเอาตัว<br />

รอดได้อย่างปลอดภัย ถ้าไปคนเดียว<br />

ยากที่จะเอาชีวิตรอดเจ้าจะไปคน<br />

เดียวฉันเกรงเหลือเกินว่าจะไม่รอด<br />

ชีวิตไปได้ อยู่กับฉันที่นี่ดีกว่า บางที<br />

พ่อแม่ของเจ้าอาจกลับมาที่นี่อีกได้”<br />

เรวัตตะยังคงยืนยันที่จะไปท่าเดียว<br />

ชายแก่พยายามอธิบายเหตุผลชักชวน<br />

ให้อยู่ด้วยเป็นเวลานาน แต่ไม่สามารถ<br />

ทำให้จิตใจของเรวัตตะอ่อนลงได้<br />

“ถ้าอย่างนั้นก็ตามใจ” ชายแก่ยอม<br />

แพ้ในที่สุดแล้วต่างคนต่างแยกย้าย<br />

กันไปนอน<br />

ทุกสิ่งทุกอย่างยังอยู่เหมือน<br />

เมื่อก่อนต่างแต่ว่าบัดนี้เขาอยู่คนเดียว<br />

ไม่มีมารดาบิดาอยู่ด้วยอยู่ในฐานะ<br />

แขกแปลกถิ่น ไม่มีสิทธิ์เป็นเจ้าของ<br />

บ้านเหมือนเมื่อก่อน เรวัตตะรู้สึก<br />

๔๖<br />

ว้าเหว่ใจ ดุจกำลังนอนอยู่ในป�าเปลี่ยว<br />

เขาอยากจะหนีไปในคืนนั้นเสียด้วย<br />

ซ้ำ แต่ด้วยความอ่อนเพลียทั้งกาย<br />

ใจจึงม่อยหลับไป ในขณะหลับ เขา<br />

ฝ�นถึงพ่อแม่ บ่นละเมอถึงพ่อแม่<br />

จนได้ยินถึงหูชายแก่เจ้าของบ้าน<br />

ทำให้แกรู้สึกสงสารสังเวชอย่างลึก<br />

ซึ้งแกลุกขึ้นนั่งเงี่ยหูฟ�งอย่างเอาใจใส่<br />

ประเดี๋ยวเด็กหนุ่มก็ละเมอขึ้นอีก<br />

เขาร่ำร้องถึงมารดาบิดา แต่บางครั้ง<br />

ก็ดูเหมือนไม่ใช่บิดามารดาเป็นชื่ออีก<br />

ชื่อหนึ่ง ซึ่งชายแก่ไม่เคยได้ยินและ<br />

ไม่เข้าใจความหมายนั้นก็คือ คำว่า<br />

“ลีลาวดี”<br />

วันรุ่งขึ้น เรวัตตะก็อำลาชาย<br />

แก่เจ้าของบ้านเดินทางต่อไปเมื่อเดิน<br />

ผ่านหมู่บ้านพวกชาวบ้านและเพื่อน<br />

ฝูงเก่าๆ ต่างพากันร้องถามข่าวคราว<br />

และขอร้องให้อยู่ด้วย เรวัตตะมิได้<br />

สนองความปรารถนาดีของใครเขามุ่ง<br />

หน้าเดินทางต่อไป ผ่านทุ่งนาป�าไม้<br />

คามและนิคมนับจำนวนไม่ถ้วน เข้า<br />

บ้านไหนก็ถามชาวบ้านถึงมารดาบิดา<br />

เมื่อไม่พบก็เดินทางต่อไป<br />

(โปรดติดตามตอนต่อไป)


ข�าวสารงานบุญ<br />

ข่าวประชาสัมพันธ์ อีกข่าวหนึ่งนะครับ ทางวัดไทย<br />

ลอสแองเจลิสของเรา ขอเชิญเจริญพรมายังพุทธศาสนิก<br />

ชนและผู้มีจิตศรัทธาทุกท่าน ร่วมกิจกรรมวันมาฆบูชา<br />

ในวันอาทิตย์ที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ ซึ่งในวันนี้ถือว่า<br />

เป็นวันสำคัญยิ่งอีกวันหนึ่งทางพระพุทธศาสนา ซึ่งได้มี<br />

เหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกันถึง ๔ ประการด้วยกัน หรือเรียก<br />

อีกวันหนึ่งว่า วันจาตุรงคสันนิบาต ซึ่งทางวัดไทยของเรา<br />

ก็ได้จัดให้มีกิจกรรมกันตั้งแต่เช้าโดยเริ่มตั้งแต่เวลา<br />

๐๙.๓๐น. จะมีการทำบุญตักบาตรแด่พระสงฆ์ จำนวน<br />

๒๒ รูป รอบอุโบสถศาลาวัดไทย จากนั้นเวลา ๑๐.๓๐ น.<br />

ก็จะทำพิธีถวายผ้าป�าสามัคคี สมทบทุนซื้อเครื่องพิมพ์<br />

เวลา ๑๑.๐๐ น. ร่วมกันถวายภัตตาเพลแด่พระสงฆ์วัดไทย<br />

และเวลา ๑๘.๐๐ น. ร่วมกันเวียนเทียนรอบอุโบสถศาลา<br />

วัดไทย เวลา ๑๙.๓๐ น. ร่วมสวดอิติป�โส ๑๐๘ จบ ทาง<br />

วัดไทยจึงได้แจ้งข่าวประชาสัมพันธ์มายังพุทธศาสนิกชน<br />

และผู้มีจิตศรัทธาทุกท่าน ร่วมในกิจกรรมดังกล่าว เพื่อ<br />

เป็นการสั่งสมบุญและประกอบคุณงามความดีให้กับ<br />

ตนเองและแผ่บุญกุศลไปให้กับผู้มีพระคุณสืบไป<br />

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่<br />

โทร. ๘๑๘-๗๘๐-๔๒๐๐ ต่อ ๖๐๑ หรือ ๖๐๙<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

โดย ท.ทิวเทือกเขา<br />

ข่าวต่อมา เป็นข่าวประชาสัมพันธ์วัดไทยฯ ทางคณะ<br />

สงฆ์ และคณะอุบาสกอุบาสิกา<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong> ขอ<br />

เรียนเชิญเจริญพรมายังพุทธศาสนิกชน และผู้มีจิตศรัทธา<br />

ทั่วไปร่วมทอดผ้าป�าสามัคคี เพื่อสมทบทุนจัดซื้อเครื่อง<br />

พิมพ์สำเร็จรูป ไว้ประจำที่วัดไทยของเรา เพื่อใช้ประโยชน์<br />

ในเรื่องการจัดพิมพ์เอกสาร วารสาร ข่าวสารงานบุญต่างๆ<br />

ของวัด ในวันอาทิตย์ที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ (วันมาฆบูชา)<br />

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. ๘๑๘-๗๘๐-<br />

๔๒๐๐ ต่อ ๖๐๑ หรือ ๖๐๙ หรือ www.watthai.com<br />

อีเมลล์ watthaila@gmail.com<br />

ท่านสามารถร่วมบริจาคได้โดยตรงที่ พระเจ้าหน้าที่<br />

นายเวรบนอุโบสถศาลาวัดไทย ได้ทุกวัน ตั้งแต่เวลา<br />

๐๘.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. หรือบริจาคเป็น Check หรือ Money<br />

Order สั่งจ่ายในนาม Wat Thai of Los Angeles<br />

8225 Coldwater Canyon Ave. North Hollywood,<br />

CA 91605 วงเล็บหรือหมายเหตุไว้ว่า สบทบทุนซื้อ<br />

เครื่องพิมพ์ ทางวัดไทยจะทำการออกใบเสร็จอนุโมทนา<br />

บุญ แล้วจัดส่งไปยังที่อยู่ของท่านต่อไป<br />

๔๗


รอบรััััั<br />

้วโรงเรียนวัดไทยฯ โดย พระเยือนศรัณย์ จนฺทโชโต<br />

พบกันในฉบับนี้เป็นวันดีปีใหม่ จิตใจสดใส ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ปีขาล (เสือน่ารัก) ในปีที่ผ่านมาหลายคนหลายท่าน<br />

คงประสบโชคดีบ้าง โชคร้ายบ้าง ผิดหวังสมหวังเป็นของคู่อยู่กับโลก แต่ใครๆ ก็ไม่อยากผิดหวังอยากสมหวังกันทั้งนั้น<br />

อยากมีงาน มีเงิน มีบ้าน มีรถ และมีรัก อยากได้สิ่งต่างๆ ตามที่ใจปรารถนา แต่สิ่งที่อยากได้นั้น ไม่ใช่ลอยมาให้ได้ง่ายๆ<br />

อยากได้ต้องทำงานเหน็ดเหนื่อย ไม่เบื่อ ไม่หน่ายไม่ถอยหนีจึงจะมีกินมีใช้ตลอดไป ในโอกาสนี้ก็ขอฝาก ส.ค.ส. ๒๕๕๓<br />

เป็น ส.ค.ส.พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อเป็นศิริมงคลกับชีวิต<br />

ให้กับสมาชิกทุกท่าน (หน้า ๒๗)<br />

วันพ่อแห่งชาติ ซึ่งทางโรงเรียนพุทธศาสนาวัดไทย ได้จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ ๖ ธันวาคมปีที่ผ่านมา คณะครูอาสาฯ<br />

ประจำการ ๑ ปีและกรรมการได้คัดเลือกให้กงสุลใหญ่ ดำรง ใคร่ครวญ เป็นคุณพ่อดีเด่นกิตติมศักดิ์และคุณพ่อดีเด่น<br />

กิตติมศักดิ์ ก็ได้มอบเกียรติบัตรประกาศเกียรติคุณให้กับคุณพ่อดีเด่นของชุมชนอีก ๓ ท่านคือ สุรพล เมฆพงษ์สาทร<br />

กรรมการอำนวยการวัดไทยฯ ฝ�ายบริหาร สำรวย เอื้อยอ่อง, สนั่น กลิ่นกาหลง และคุณพ่อดีเด่นของโรงเรียนประจำ<br />

ปี ๒๕๕๒ ทุกระดับชั้นอีก ๑๘ ท่าน มีใครบ้าง คงจำกันได้นะ..! หลายคนต่างวิตกว่าฝนจะตก แต่ปรากฏว่าไม่มีฝนเลย<br />

ทำให้บรรยากาศในงานดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย ครึกครื้น สนุกสนานกับการแสดงของนักเรียนวัดไทยทั้งชุดใหญ่<br />

และชุดเล็ก สวยสดงดงาม น่ารักมากๆๆ งานนี้ผู้บริหารโรงเรียนทั้งพระสงฆ์ ครู ผู้ปกครอง ก็ต้องเหนื่อยเป็นพิเศษ<br />

เลย จนกว่างานจะเสร็จสิ้น...<br />

๔๘


<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

เสร็จงานแล้วก็ต้องผ่อนคลายให้หายเหนื่อยกันหน่อย หลังจากป�ดเรียนภาคแรก หลังจากป�ดเรียนภาคแรก ผู้ปกครองใจดีก็ชวนครูประจำการ<br />

และเด็กๆ ไปช�อบป��ง (อิอิ ไม่ใช่) ไปลุยหิมะที่บิ๊กแบร์ จัดแจงเตรียมอาหารหวาน คาว ครบถ้วน หิ้วกระเป�าเอาเสื้อผ้า<br />

ไปเป็นหอบแล้วก็นอนหนาว เฝ�าหิมะกันจนตัวสั่น หนาวแต่ก็สนุก เป็นสุขได้นั่งกระเช้าขึ้นเขา แล้วก็นั่งกะละมังถังพลาสติก<br />

สไลด์ลงมา เสียง เฮ้.. วี๊ด ว�าย ดังลั่นจนความหนาวหายไปเลย..น�าน<br />

ก่อนที่จะลุยหิมะก็ต้องเติมพลังกันให้เต็มที่ และก็เป็นธรรมเนียมของไทย อยู่ที่ไหนๆ ถ้ามีพระอยูด้วยก็ต้องทำ<br />

อาหารถวายให้พระฉันก่อนเสร็จสรรพเรียบร้อยแล้วรับพร ยะถา สัพพี จากพระ แล้วก็อร่อยกันทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ดูซิว่า<br />

แม่ครัวหัวป�า มีใครบ้าง ดูเอาเอง<br />

๔๙


กลับจากบิ๊กแบร์ ยังไม่แย่จากการเหน็ดเหนื่อย ครูอาสาฯ ของเราทั้งหมดก็มารุมกัน (กางเต้นท์เตรียมการจัดงาน<br />

ปีใหม่ หรืองานนมัสการหลวงพ่อแก้ว ที่ประชาชนให้ความศรัทธามาก ใครปรารถนาอะไรมาบนกับหลวงพ่อแก้วแล้ว<br />

ย่อมสำเร็จเกือบทุกราย และทางวัดก็มีไข่ที่ประชาชนมาแก้บนหลวงพ่อแก้ว แจกพระวัดต่างๆ ที่มาฟ�งพระปาฏิโมกข์<br />

ตลอดทั้งปีไม่มีหมด เพราะบารมีหลวงพ่อแก้ว งานปีใหม่ ๒๕๕๓ นี้จึงมีผู้มาร่วมสวดพระพุทธคุณ (อิติป�โส ๑๐๘)<br />

เป็นจำนวนมากกว่าทุกปี พอเสร็จงานแล้วใครกางเต้นท์ (ครู) ก็ต้องมาเก็บไปไว้ที่เดิม นี่..เป็นการออกกำลังกายให้น้ำหนัก<br />

ลดลงและทำให้หุ่นงาม น�ะ..จะบอกให้<br />

งานซ่อมโรงเรียนได้ดำเนินการมาตั้งแต่เดือนธันวาคม ปีที่ผ่านมา ขณะนี้ก็ได้ทำการซ่อมไปเรื่อยๆ ด้วยการเปลี่ยน<br />

พื้นห้องเรียนจากพื้นปูนให้เป็นพื้นไม้ และพื้นเพดาน คนงานชาวแมคซิกัน (สุดหล่อ) กำลังขมีขมันทำกันอย่างเต็มที่<br />

ทั้งวัดความกว้าง ยาว ทั้งตัด ทั้งปู แล้วก็ยืนดู ว่าเรียบร้อยดีไหม ส่วนข้างนอกก็จัดการทาสีตัวอาคารและรั้วเหล็กหน้า<br />

โรงเรียน ดูแล้วก็เริ่มมีสีสันสวยงามขึ้นมาบ้าง..<br />

ภายในออฟฟ�ช ได้ทำการปรับปรุงใหม่โยกย้ายของเก่าออกทาสีใหม่ จัดวางโต�ะการทำงานเข้าแถวเป็นระเบียบดี<br />

ห้องกว้างขึ้น บรรยากาศน่าทำงาน และเป็นหน้าตาของโรงเรียนไว้ต้อนรับทุกท่านที่มาเยือน และผู้ปกครองที่จะนำบุตร<br />

หลานมาเรียนในภาคที่ ๒ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๒-๒๕๕๓ แต่การซ่อมยังไม่เสร็จสิ้น ๑๐๐% ก็ต้องซ่อมต่อไป”<br />

โชคดี มีเงินใช้ พบกันใหม่ ฉบับหน้า<br />

๕๐


<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

โป�ะแตก, ก.ต.ราดหน้าลนไฟ, เกี้ยวกุ้งสาหร่าย ผัดไทยอยุธยา, ปลาดุกกรอบผัดเผ็ด<br />

๕๑


สายธารศรัทธา<br />

เดือนธันวาคม ปีพุทธศักราช 2552<br />

Anna butler $ 100<br />

วิจิตรา กาญจนทัพพะ $ 200<br />

ฐิติกุล อึ้งอารยะวงศ์ $ 50<br />

ครอบครัวผิวเผือก $ 1,500<br />

พระราชธรรมวิเทศ $ 100<br />

คณะป�ญจดี $ 155<br />

Churi $ 50<br />

บูชาของใส่บาตรต้นเดือน $ 734<br />

กัญญา - ระยอง แสงนิล $ 155<br />

สังฆทานต้นเดือน $ 157<br />

Vasana ladew $ 200<br />

Chintana Siliprasit $ 50<br />

วิไล สถาวรวิศิษฏ์ $ 142.99<br />

ต้นกัณฑ์เทศน์ $ 58<br />

ต้นผ้าป�าฯวันพ่อแห่งชาติ ต้นผ้าป�าฯวันพ่อแห่งชาติ $ 102<br />

ตู้ตักบาตรพระประจำวัน $ $ 573<br />

อุไร เรียนพรหม $ 200<br />

ร้านแมว $ 36<br />

ตู้บูชาสังฆทาน $ 1,134<br />

ตู้ภิกษุอาพาธ $ 668<br />

ตู้พระธรรมราชานุวัตร $ 86 86<br />

ตู้อาหารเด็กถิ่นทุรกันดาร ตู้อาหารเด็กถิ่นทุรกันดาร $ $ 204 204<br />

ตู้ภัตตาหาร ตู้ภัตตาหาร $ 48 48<br />

ตู้คนพิการเด็กกำพร้า $ 457<br />

ห้องสมุด $ 129<br />

บำรุงบูรณะอุโบสถ บำรุงบูรณะอุโบสถ $ 221<br />

ตู้ส่งเสริม โรงเรียนวัดไทย $ 367<br />

ตู้บริจาคเนกขัมมะ $ 818<br />

ร้านก�วยเตี๋ยว ร้านก�วยเตี๋ยว (ต่ออาทิตย์) (ต่ออาทิตย์) $1,696 $1,696<br />

ตู้ศพไม่มีญาติ $ 121<br />

ตู้ทาสีโบสถ์ $ 423<br />

๕๒<br />

ตู้ชำระหนี้สงฆ์ $ 457<br />

ตู้เซียมซี $ 57<br />

ตู้หลวงพ่อโต $ 214<br />

ตู้หลวงพ่อสด $ 75<br />

ตู้หลวงพ่อหินอ่อน $ 19<br />

ตู้พระแม่กวนอิน $ 65<br />

ตู้หลวงพ่อแก้ว $ 549<br />

ตู้น้ำ ไฟ ที่ดิน $ 480<br />

สมคิด อิงนิ่ม $ 25<br />

Tonglor May $ 50<br />

วิไล เลิศเสาวภาคย์ $ 20<br />

Wicha $ 611<br />

Tourism Authority of thailand $ 200<br />

คณะสงฆ์วัดมงคลรัตนาราม ซานฟรานฯ $ 130<br />

คุณชนะศึก นิชานนท์ $ 50<br />

พลเอกเลิศรัตน์ รัตนวานิช $ 350<br />

สุวลี ป�ติกถา ป�ติกถา $ 4,020<br />

N.wudhapitak $ 25 25<br />

ตู้สังฆทาน $ 495 495<br />

ตู้หลวงพ่อโต ตู้หลวงพ่อโต $ 179 179<br />

ตู้หลวงพ่อปากน้ำ $ 85<br />

ตู้หลวงพ่อหินอ่อน $ 10<br />

ตู้พระแม่กวนอิม $ 39<br />

ตู้หลวงพ่อแก้ว $ 228<br />

ตู้ค่าน้ำไฟ ที่ดิน $ 299 299<br />

ตู้ภัตตาหาร ตู้ภัตตาหาร $ $ 91<br />

ตู้งานบวชเนกขัมมะ $1,825<br />

ตักบาตรประจำวัน $ 265<br />

ร้านข้าวแกง ร้านข้าวแกง $ $ 661<br />

ร้านก�วยเตี๋ยว ร้านก�วยเตี๋ยว (ต่ออาทิตย์) (ต่ออาทิตย์) $ 412<br />

ตู้ศพไม่มีญาติ $ 81<br />

ตู้ทาสีอุโบสถศาลา ตู้ทาสีอุโบสถศาลา $ $ 302 302<br />

ตู้สังฆทาน $ 907 907<br />

ทองใส ริชาร์ ริชาร์ แอนแซลล์ (เงินบาทไทย) ฿ 1,000<br />

k. Goldman $ 500


ตู้หลวงพ่อโต $ 182<br />

โยมป�าตุ�ย $ 100<br />

คณะแกะสลัก $ 31<br />

อนัญญา $ 20<br />

ครอบครัวศิลานนท์ $ 100<br />

Thittama - Kyle Hickey $ 200<br />

Somkuan Watchinda $ 500<br />

Paul Khanittha Schall $ 100<br />

คณะป�ญจดี $ 1,000<br />

Sutus Vetayases $ 30<br />

ตู้หลวงพ่อสด $ 52<br />

ตู้หลวงพ่อหินอ่อน $ 50<br />

ตู้พระแม่กวนอิม $ 84<br />

ตู้หลวงพ่อแก้ว $ 348<br />

ตู้น้ำ ไฟ ที่ดิน $ 367<br />

ตู้ภัตตาหาร $ 38<br />

ตู้ตักบาตรประจำวัน $ 490<br />

ข้าวแกง $ 853<br />

ร้านก�วยเตี๋ยว $ 425<br />

ตู้ศพไม่มีญาติ $ 95<br />

ตู้ทาสีโบสถ์ $152<br />

Dr.Chumnong Chantra $ 400<br />

Swei Ea $ 200<br />

Chaving Hoenpichai $ 100<br />

คณะปฏิบัติสายบุญ $ 100<br />

คุณบุญศรี กุลวุฒิวิลาศ $ 20<br />

คุณสุพร ฉั่วตระกูล $ 20<br />

ตู้สังฆทาน $ 930<br />

ตู้บริจาคเนกขัมมะ $ 103<br />

หลวงพ่อแก้ว $ 599<br />

ตู้ภัตตาหาร $ 41<br />

ตู้หลวงพ่อโต $ 194<br />

ตู้หลวงพ่อสด $ 97<br />

ตู้หลวงพ่อหินอ่อน $ 31<br />

ตู้พระแม่กวนอิม $ 52<br />

<strong>วัดไทยลอสแองเจลิส</strong><br />

ตู้น้ำ ไฟ ที่ดิน $ 511<br />

ตู้ศพไม่มีญาติ $ 123<br />

ตู้ทาสีโบสถ์ $ 355<br />

รายนามผู้อุปถัมภ์ดวงประทีป<br />

ต้นผ้าป�าฯ กองทุน ดวงประทีป $ 508<br />

ครอบครัวคุณตาบำรุง ผิวเผือก $ 8,200<br />

Aumporn Lamoonpuk $ 50<br />

เจริญรัตน์ เด่นประเสริฐ $ 115<br />

คณะป�ญจดี-Prida lek Prasithpramote $ 100<br />

สมพร พุ่มแก้ว เมธิกา คำกองแก้ว $ 304<br />

ร้านวิม Hollywood บำรุงค่าโฆษณา $ 50<br />

kanchanee Robles $ 100<br />

๕๓


ทักทาย..ท�ายเล�ม<br />

ดวงประทีปมีน้ำหล่อเลี้ยงจากผู้เคารพศรัทธาต่อหลักธรรม พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งได้รับความเมตตา กรุณา<br />

ก่อเกิดพลังศรัทธาไทย ต่างหยิบยื่นความเสียสละทรัพย์ที่หาได้อย่างยากลำบาก จุนเจือไม่ขาดสาย ทำให้เราสัมผัสคุณค่า<br />

แห่งการให้ด้วยใจศรัทธาอย่างเต็มเปี�ยม คนจำนวนมหาศาลที่เข้าใจดีว่า พระศาสนาเป็นตัวจักรสำคัญยิ่งในสังคม<br />

แต่เพียงคนน้อยนิดที่จะสละทรัพย์ภายนอกมาร่วมกันขับเคลื่อนวงล้อแห่งธรรม เพื่อธำรงรักษาเอกลักษณ์อันอุดมป�ญญา<br />

ดังพุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า “แสงสว่างอื่นจะเสมอด้วยปัญญาไม่มี”<br />

ดวงประทีปส่องสว่างแพรวพราว เจิดจรัสในมือผู้หยิบมาศึกษาอ่าน พิจารณาเนื้อหาสาระที่คณะทีมงาน<br />

พระสงฆ์ มีความประสงค์สรรค์สร้างเจือจานอาหารใจ เกร็ดความรู้จากนิทานเซ็น โดยท่านพุทธทาส ข้อคิดในการเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพในการทำงาน ของนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา องค์การยูเนสโกได้ถวายรางวัลแห่งสันติภาพโลก<br />

อย่างพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) ถามมา-ตอบไป ของ ศ.สียวน เป็นหลักคิดที่ได้ประโยชน์ต่อชีวิตประจำวัน<br />

ที่เคยสงสัย ไม่รู้ว่าจะสอบถามใคร พระมหากิตติศักดิ์ โคตมสิสฺโส ลบความเคลือบแคลงไขข้อสงสัยให้หายได้ด้วยการ<br />

ปุจฉา-วิสัชชนา และที่สำคัญกราบขอบพระคุณพระเดชพระคุณหลวงพ่อใหญ่ เมตตากรุณามอบคาถาเพื่อชีวิตในวันขึ้น<br />

ปีใหม่นี้ และคณะสงฆ์ทุกรูปที่คอยคิดช่วยเสริมแรงประสาน ส่งบทความเนื้อหาเพื่อจัดทำรูปเล่ม เพื่อเป็นธรรมบรรณาการ<br />

แก่ผู้ที่ติดตามอ่านข่าวสารดวงประทีปตลอดมา หวังว่าเกร็ดสาระเนื้อหาในเล่มนี้ จักเกิดประโยชน์ไม่มากก็น้อย<br />

และเป็นกระบอกเสียงของคณะสงฆ์ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมทางศาสนา เพื่อจรรโลงพระพุทธศาสนาให้<br />

สถิตมั่น สถาพรตลอดชั่วกาลนาน<br />

คณะผู้จัดทำ<br />

๕๔<br />

บริการพ�นสี<br />

เคาะตัวถังรถทุกชนิด<br />

ฝ�มือปราณีต ราคาย�อมเยา<br />

ตีราคาให�ฟรี ตีราคาให�ฟรี


ฉีกตามรอยปรุ<br />

ใบสมัครสมาชิกวารสาร<br />

ชื่อ-นามสกุล<br />

(ภาษาไทย) :: ......................................................................................................................................................<br />

First Name-Last name :: .....................................................................................................................................................<br />

เลขที่อยู่<br />

(Address)...................................................................................................................................................................<br />

..................................................................................................(City) .....................................................................................<br />

จังหวัด (State) .............................................................................................รหัสไปรษณีย์ (Zipcode) ..................................<br />

(<strong>Home</strong> Phone.)...........................................................................(Cell Phone)....................................................................<br />

(Fax) ............................................................................ (E-mail) ............................................................................................<br />

เคยเป็นสมาชิกหนังสือดวงประทีป<br />

� เคยเป็น ..............ปี � ไม่เคย<br />

มีความประสงค์<br />

� สมัครสมาชิก � อื่นๆ<br />

........................................................................................<br />

ข้าพเจ้าขอสมัครเป็นสมาชิกหนังสือดวงประทีป และกรุณาจัดส่งหนังสือให้ตามที่อยู่ที่ได้แจ้งไว้ข้างบนนี้<br />

ลงชื่อ<br />

............................................................................<br />

( ....................................................................................)<br />

................./.............../................<br />

หมายเหตุ :: หนังสือดวงประทีปจะออกทุกๆ ๒ เดือน กรุณาส่งใบสมัครได้ที่<br />

สำนักงานหนังสือดวงประทีป (กุฏิ ๑)<br />

Wat Thai of Los Angeles 8225 Coldwater Canyon Ave. North Hollywood CA. 91605<br />

หรือเข้าไปสมัคร online ได้ที่<br />

www.watthai.com E-mail : watthaila@gmail.com<br />

สนใจลงโฆษณา / บริจาคค่าทำหนังสือติดต่อได้ที่<br />

พระครูปลัดขวัญชัย ธมฺมวโร, พระไชยา ปริปุณฺโณ<br />

พระประยนต์ ญาณโสภโณ Tel. 818.915-2391, 818.780-4200 ต่อ 601<br />

เลขที่


สวัสดีป�เสือ<br />

่<br />

สวัสดีปีเสือเผื่อความสุข<br />

โรคภัยทุกข์ใดใดให้ห่างหาย<br />

เสือจะดุอย่างไรไม่ฟูมฟาย เพียรขวนขวายให้เหลือเฟ�อเสือนอนกิน<br />

รู้ว่าเสืออย่าเอาเรือเข้าไปจอด<br />

ระวังตัวให้รอดก่อนด่าวดิ้น<br />

เสือตบก้นตั้งไกก่อจ่อชีวิน<br />

เสือตกถังล่อลิ้นด้วยเหยื่อคาว<br />

เสือไว้ลายทำสิ่งใดไม่ไร้ชื่อ<br />

เห็นฝีไม้ลายมือทุกย่างก้าว<br />

เสือกระดาษไร้อำนาจประกาศปาว ตะโกนลั่นสนั่นด้าวไร้คนฟ�ง<br />

เขียนเสือให้วัวกลัวด้วยภาพนิ่ง<br />

วัวไม่วิ่งหนีเสือให้แลหลัง<br />

อย่าจับเสือมือเปล่าเข้าโกดัง เป็นเสือหิวน่าชังสะอิดสะเอียน<br />

เสือผู้หญิงวิ่งโร่โอ่เนื้อคู<br />

น่าอดสูประจานตนให้คลื่นเหียน<br />

คนหน้าเนื้อใจเสือเฝ�อเบียดเบียน<br />

ชอบซ่อนเสี้ยนแทงใจในคารม<br />

เสือซ่อนเล็บเก็บลายไว้คอยท่า พอเหยื่อมาตะปบคว่ำให้ขื่นขม<br />

เสือลากหางทำเป็นเซื่องให้นิยม<br />

เมื่อได้ทีจึงขย่มขย้ำกิน<br />

สวัสดีปีเสือเชื่อพุทธะ<br />

จึงชนะเสือสังคมในทุกถิ่น<br />

เสือป�าอยู่ส่วนเสือจับเนื้อกิน<br />

เป็นห่วงโซ่มิรู้สิ้นอาหารไพร<br />

คนเห็นเสือเป็นสำนวนชวนให้คิด แต่ดวงจิตเสือเห็นเป็นไฉน<br />

เสือจะร้ายดุดันประการใด เสือก็ไม่เห็นแก่ตัวมั่วกามา<br />

ด้วยชาติเสือจับเนื้อกินเองนั้น<br />

มีศักดิ์ศรีเป็นเดิมพันสมสง่า<br />

เรามนุษย์สูงส่งด้วยป�ญญา ควรคงค่าของตนด้วยผลงาน<br />

“วิญญ์รวี”

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!