14.10.2023 Views

บทปริทัศนหนังสือ Introduction to Science and Technology Studies ของ Sergio Sismondo โดยปกรณ์ เลิศเสถียรชัย

บทปริทัศนหนังสือ Introduction to Science and Technology Studies ของ Sergio Sismondo โดยปกรณ์ เลิศเสถียรชัย จาก วารสารวิจัยสังคม ปีที่ 42 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย.62) หน้า 189-195.

บทปริทัศนหนังสือ Introduction to Science and Technology Studies ของ Sergio Sismondo โดยปกรณ์ เลิศเสถียรชัย

จาก วารสารวิจัยสังคม ปีที่ 42 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย.62) หน้า 189-195.

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>บทปริทัศนหนังสือ</strong><br />

<strong>Sergio</strong> <strong>Sismondo</strong>. An <strong>Introduction</strong> <strong>to</strong> <strong>Science</strong> <strong>and</strong> <strong>Technology</strong><br />

<strong>Studies</strong> (2 nd Edition): Wiley-Blackwell. 2009.<br />

ISBN-10: 1405187654 ISBN-13: 978-1405187657.<br />

ปกรณ <strong>เลิศเสถียรชัย</strong><br />

Pakorn Lertsatienchai<br />

สถาบันวิจัยสังคม<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

Chulalongkorn University<br />

Social Research Institute (CUSRI)<br />

Email: pakorn.l@chula.ac.th<br />

เกริ่นนำ<br />

ความเขาใจผิดในการทำงานสหสาขาวิชาในบานเรา โดยเฉพาะระหวาง<br />

วิทยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตร กับ สังคมศาสตร คือ การแบงสวนงานไปทำ<br />

คิดวาจะมาประกบกันได ทวาขาดการสรางกรอบคิดรวมกันแตแรกอันสำคัญ<br />

ยิ่งยวด หนึ่งในกรอบคิดนั้นคือ STS<br />

วารสารวิจัยสังคม ปที่ 42 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย.62) หนา 189-195.


190 ปกรณ <strong>เลิศเสถียรชัย</strong><br />

STS นั้นเปนตัวยอ<strong>ของ</strong>ความหมายสองประการดวยกัน <strong>Science</strong> <strong>and</strong><br />

<strong>Technology</strong> <strong>Studies</strong> ประการหนึ่ง และ <strong>Science</strong>, <strong>Technology</strong> <strong>and</strong> Society<br />

อีกประการหนึ่ง ความแตกตางโดยคราวคือ ประการแรกจะเนนการศึกษา<br />

ทางทฤษฎี มีลักษณะทางวิชาการมากกวา หากประการหลังนั้น มีภาคปฏิบัติการ<br />

ประกอบดวย เพื่อใหสังคมเขาไปมีสวนกำกับทิศทาง<strong>ของ</strong>วิทยาศาสตร<br />

และเทคโนโลยีมากขึ้น หรืออีกนัยหนึ่ง สรางกระบวนการประชาธิปไตย<br />

ในวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

แมหนังสือ<strong>ของ</strong> <strong>Sergio</strong> <strong>Sismondo</strong> จะใชชื่อวา An <strong>Introduction</strong> <strong>to</strong><br />

<strong>Science</strong> <strong>and</strong> <strong>Technology</strong> <strong>Studies</strong> ซึ่งมีแนวโนมจะเนนไปในทางประการแรก<br />

มากกวา กระนั้นก็มีการสอดแทรกประการหลังไวพอดู โดยอุทิศอยางจำเพาะ<br />

เปนบทให ซึ่งผูเขียนก็ไดแถลงไวในบทนำ<br />

ทั้งนี้ STS อาจจะดูเปนสิ่งใหมในบานเรา แตในโลกวิชาการตะวันตก<br />

มีความเคลื่อนไหวในทางนี้มานานแลว หากสืบยอนกลับไป นับจากสงครามโลก<br />

ครั้งที่สอง กลาวคือ ค.ศ. 1945 สหรัฐอเมริกาสามารถสรางระเบิดปรมาณู<br />

ไดสำเร็จจากโครงการแมนฮัตตัน (Manhattan Project) ที่ระดมนักวิทยาศาสตร<br />

และวิศวกรจำนวนประมาณกวาหนึ่งหมื่นคน เขามาทำงานในสถานที่เดียวกัน<br />

เรงทำงานในเวลาจำกัดดวยงบประมาณมหาศาล โครงการนี้เองทำใหผูบริหาร<br />

โครงการคนหนึ่ง Vannevar Bush ไดถอดแบบความสำเร็จออกเปนตัวแบบเชิงเสน<br />

(linear model) อันกลาวถึง วิทยาศาสตรขนาดใหญ (big science) ที่ประสบ<br />

ความสำเร็จจากการอัดฉีดงบประมาณและบุคลากรจำนวนมหาศาลลงไป<br />

ซึ่งพอจะกลาวไดวาเปนนโยบายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยแรก อยางไรก็ดี<br />

นี่สรางความรับรูวา ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตองอาศัย


ปริทัศนหนังสือ 191<br />

การสนับสนุนจากสังคมอยางมโหฬาร พรอมกันนั้นเอง ผลทำลายลางอันสะเทือน<br />

ใจจากระเบิดปรมาณูนี้เอง ก็ทำใหนักวิทยาศาสตรจำนวนหนึ่งสำนึกวา<br />

แวดวงวิชาการไมสามารถแยกขาดจากสังคม และความรับผิดชอบ<strong>ของ</strong><br />

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตอสังคมนั้นเปนเรื่องที่มิอาจเลี่ยงได ความดังนี้<br />

ไดแสดงไวในหนังสือ<strong>ของ</strong> Robert Jungk ชื่อเรื่อง Brighter than a Thous<strong>and</strong><br />

Suns: A Personal His<strong>to</strong>ry of the A<strong>to</strong>mic Scientists อยางเปนโศกนาฏกรรม<br />

เรื ่องจริงที่ชวนติดตาม<br />

ครั้นชวงทศวรรษ 1960 และ 1970 ที่วิทยาศาสตรขนาดใหญยังแสดง<br />

บทบาทสำคัญตอเนื่องผานขายใยทหาร-อุตสาหกรรม (military-industrial<br />

complex) กอปรกับการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในโครงการขนาดใหญ<br />

และการผลิตอาวุธทำลายลางเพื่อใชในสงครามเวียดนาม ความสำนึกรับผิดชอบ<br />

เชนนี้สงผลตอเนื่องมายังขบวนการนักศึกษาและปญญาชน ที่ประทวงระบบ<br />

เทคโนโลยีขนาดใหญ และทดลองนำเสนอวัฒนธรรมการใชชีวิตในรูปแบบใหม<br />

ที่ตอตานกระแสเดิม หนังสือเลมหนึ่งที่เปนดังตัวแทน<strong>ของ</strong>ยุคสมัยคือ<br />

งาน<strong>ของ</strong> Theodore Roszak ชื่อเรื่อง The Making of a Counter Culture:<br />

Reflections on the Technocratic Society <strong>and</strong> Its Youthful Opposition<br />

นี่เองคือจุดเริ่มตน<strong>ของ</strong> STS ในรูปแบบที่มี “สังคม” (Society) เขามาเกี่ยว<strong>ของ</strong><br />

ซึ่งก็งอกเงยออกมาเปนขบวนการเทคโนโลยีที่เหมาะสม (technological<br />

appropriation) อันเปนฐานหนึ่ง<strong>ของ</strong>การคิดเรื่องการเปลี่ยนผานสูความยั่งยืน<br />

(sustainability transition) ในปจจุบัน<br />

ยอนกลับมาที่หนังสือ An <strong>Introduction</strong> <strong>to</strong> <strong>Science</strong> <strong>and</strong> <strong>Technology</strong><br />

<strong>Studies</strong> เลมนี้เปนสวนผสมระหวางปรัชญากับสังคมวิทยา ผูเขียนสอนทั้งปรัชญา


192 ปกรณ <strong>เลิศเสถียรชัย</strong><br />

และสังคมวิทยาที่ Queen’s University ประเทศแคนาดา อนึ่ง ในแงมุม<br />

ทางสังคมวิทยานั้น โดยสอดคลองกับที่ไดกลาวไปขางตน ผูเขียนแสดงใหเห็นภาพ<br />

<strong>ของ</strong>สหสาขาวิชา STS ที่ทะลวงผานกรอบสังคมวิทยาแบบโครงสรางหนาที่นิยม<br />

(structural functionalism) ที่ครอบงำอยางชัดเจนในทศวรรษ 1950 และเริ่ม<br />

คลี่คลายในทศวรรษ 1960 สูการเปนสังคมวิทยาเชิงวิพากษ (critical sociology)<br />

อนึ่ง โครงสรางหนาที่นิยมเนนการมองระบบภาพรวม<strong>ของ</strong>วิทยาศาสตร<br />

และเทคโนโลยีในสังคม โดยสอดคลองกับการวิเคราะห “บรรทัดฐาน” (norm)<br />

ในฐานะที่เปนแบบอยางอุดมคติ (ideal type) หากขอที่ขาดพรองอยางมากคือ<br />

ที่จริงแลวนักวิทยาศาสตรและวิศวกร เขาใจและตีความ และสรางการกระทำ<br />

<strong>ของ</strong>ตนเองในวงการขึ้นมาไดอยางไร คำถามนี้เองเปนคำถามสำคัญ<strong>ของ</strong> STS<br />

ไมวาจะในแบบใดก็ตาม ทั้งนี้ การเนนแงมุมการทำความเขาใจและตีความนี้เอง<br />

ทำให STS ตางจากจริยธรรม<strong>ของ</strong>วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพราะ STS จะไปเนนที่<br />

การพลิกแพลง<strong>ของ</strong>ตัวผูกระทำที่หนางานจริงมากกวาที่หลักการ กระนั้นทั้งสองอยางนี้<br />

ก็เปนสวนเสริมกันที่สำคัญอยูดีที่กำกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหอยูในรอง<br />

ในรอยที่สังคมรับได<br />

สวนแงมุมในทางปรัชญานั้น ผูเขียนเริ่มตนปญหาการอุปนัย (problem<br />

of induction) กลาวคือ ตอปรากฏการณหนึ่งใดหรือการสังเกตหนึ่งใด<br />

เราไมสามารถกำหนดไปไดอยางแนชัดวา เราจะใชทฤษฎีหรือคำอธิบายอยางใด<br />

มาทาบกับปรากฏการณไดพอดี หากมีไดมากมายหลากหลายมาก ประเด็นนี้<br />

สืบเนื่องไปวา ผูเขียนไดประมวลความคิดเรื่องกระบวนทัศน (paradigm)<br />

<strong>ของ</strong> Thomas Kuhn โดยกระชับ จุดหนึ่งก็เพื่อใหเห็นวาประวัติศาสตร<br />

วิทยาศาสตรนั้นไมสามารถอธิบายไดอยางเปนเสนตรงตอเนื่อง และนอกจากนั้น<br />

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีก็มิใชแวดวงที่เปนหนึ่งเดียว ลงตัว แตมีการขับเคี่ยว


ปริทัศนหนังสือ 193<br />

การประสานตอรอง รวมถึงกลเม็ดฉอฉล อยูเรื่อยไป หนังสือเลมนี้นำเสนอ<br />

ความดังกลาวพรอมตัวอยางประกอบที่เดนชัด ซึ่งใหภาพวงการที่แตกตางออกไป<br />

จากการรับรูโดยทั่วไปในสังคม หรือแมแตนโยบายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

ที่ยังอิงกับตัวแบบเชิงเสนที่ไดกลาวไปแลวขางตน<br />

แงมุมสองประการนี้ เปนจุดเริ่มไปสูทอนกลาง<strong>ของ</strong>หนังสือ ที่ตั้งคำถาม<br />

วาถึง “การแตงสราง” (construction) <strong>ของ</strong>วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

หัวใจ<strong>ของ</strong>ประเด็นนี้คือ เนื้อหาทางวิทยาศาสตรและรูปแบบ<strong>ของ</strong>เทคโนโลยี<br />

ไมจำเปนตองเปนในแบบที่เปนอยูนี้ ถาเราไดสืบคนไปถึงกระบวนการที่แตงสราง<br />

ขึ้นมา เราก็อาจจะเห็นทางเลือกอื่นก็ได ซึ่งอาจจะเปนทางเลือกอื่นที่เคยมีมา<br />

ในอดีตและหายไปแลว หรือที่อาจยังไมปรากฏ อยางไรก็ดี ในวิถีทาง<strong>ของ</strong> STS<br />

นี่มิไดหมายความวา “อะไรก็ได” (anything goes) แตหมายความวา สภาพทางวัตถุ<br />

มาประสานกับพลังการกระทำการ<strong>ของ</strong>กลุมทางสังคมที่เกี่ยว<strong>ของ</strong>จนนำมาสูรูปแบบ<br />

<strong>ของ</strong>วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่คงตัวระดับหนึ่งไดอยางไร แนวทางการศึกษา<br />

(approach) ที่รูจักกันดีที่สุดอยางหนึ่งคือ ทฤษฎีเครือขายผูกระทำการ<br />

(Ac<strong>to</strong>r-Network Theory: ANT) ไดถูกนำเสนอโดยกระชับในหนังสือเลมนี้<br />

กระนั้นก็มีแนวทางอื่นเชน การแตงสรางทางสังคม<strong>ของ</strong>เทคโนโลยี (Social<br />

Construction of <strong>Technology</strong>: SCOT) ที่ไดนำเสนอพรอมตัวอยางการอธิบาย<br />

ประวัติศาสตร ขอดี<strong>ของ</strong>เลมนี้ ไมไดเอียงไปในทางใดทางหนึ่ง แตรวบรวม<br />

และเปรียบเทียบอยางรอบดานใหเห็นศักยภาพและขอจำกัด ตลอดจน<br />

ขอวิพากษวิจารณ<strong>ของ</strong>แตละแนวทาง นั่นคือแสดงใหเห็นวา STS เปนสาขาวิชา<br />

หนึ่งที่มีความเปนสหสาขาวิชา อันเปนพลวัตและหลากหลาย จนนักคิดชื่อดัง<br />

เพียงไมกี่คนไมสามารถเปนภาพตัวแทน<strong>ของ</strong> STS ทั้งหมดได


194 ปกรณ <strong>เลิศเสถียรชัย</strong><br />

ในชวงบททายๆ <strong>ของ</strong>หนังสือเลมนี้ คือการหวนกลับสู “หัวจิตหัวใจ”<br />

(spirit) <strong>ของ</strong> STS ที่มี “สังคม” อนึ่ง เมื่อวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปลี่ยนจาก<br />

การกำกับโดยขายใยทหาร-อุตสาหกรรมมาสูบรรษัทขนาดใหญ ในทางการเมือง<br />

บทบาท<strong>ของ</strong> STS สวนหนึ่งยอมเลี่ยงไมพนการ “ลอกคราบ” กระบวนการแตงสราง<br />

แหงยุคสมัยนี้ รวมถึงการผนวกเอาคนทั่วไปที่พนจากแวดวงการแตงสรางนี้<br />

ใหมามีสวนรวมในการแตงสรางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นิยามศัพทที่แสดงแทน<br />

สภาวะนี้คือ “วิทยาศาสตรภาคประชาชน” (citizen science) กระแสที่เกิดขึ้น<br />

ทั่วโลกคือ ความไมเชื่อใจตอผูเชี่ยวชาญที่แผขยายไปเพราะผลกระทบ<br />

ที่ไมไดคาดคิดจากวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อีกทั้งการเรียกรองจริยธรรม<br />

จากนักวิทยาศาสตรและวิศวกรที่เกี่ยว<strong>ของ</strong> ผลสืบเนื่องคือ เกิดขบวนการ<br />

ที่นักวิทยาศาสตรรวมเรียนรูกับประชาชนที่มีความรูเชิงถิ่นที่ดีกวา หรือวิศวกร<br />

ที่พรอมนำประชาชนมาเปนผูรวมสรางเทคโนโลยีแตแรก ไมใชสรางเทคโนโลยี<br />

สำเร็จรูปแลวนำนักสังคมศาสตรมาสรางการยอมรับเทคโนโลยีจากประชาชน<br />

เพียงเทานั้น เหลานี้คือการนำหลัก STS มาสูการปฏิบัติจริง อันเปนการจุดประกาย<br />

ในเบื้องทาย<strong>ของ</strong>หนังสือเลมนี้<br />

ดวยความที่เปน “บทแนะนำหนึ่ง” (An <strong>Introduction</strong>) จึงเทากับการ<br />

ยอมรับขอจำกัด<strong>ของ</strong>หนังสือขนาดประมาณสองรอยหนาที่ไมอาจขยายไป<br />

ครอบคลุมเรื่องราวที่เกี่ยว<strong>ของ</strong>กับ STS ที่แผขยายออกไปตามพัฒนาการ<strong>ของ</strong>วิชา<br />

และขบวนการไดทั้งหมด สวนที่มิไดครอบคลุม ไดแก ทฤษฎีระบบเทคนิค<br />

ขนาดใหญ (Large Technical Systems: LTS) ที่พูดถึงเทคโนโลยีเมื่อขยาย<br />

เปนระบบขนาดใหญแลวก็ยากที่ใครจะไปเปลี่ยนแปลงได, สังคมความเสี่ยง<br />

(risk society) ที่พูดถึงความเสี่ยงจากสังคมสมัยใหมซึ่งสามารถแยกเปนหนังสือ


ปริทัศนหนังสือ 195<br />

แนะนำอีกเลมได, ระบบนวัตกรรม (systems of innovation) ที่พูดถึงการรวมสราง<br />

นวัตกรรมที่กาวไกลไปกวาตัวแบบเชิงเสนมากแลว<br />

อยางไรเสีย นี่เปนหนังสือที่เลนบทบาทเบื้องตนไดสมบูรณและพรอมสง<br />

ตอผูอานไปยังเลมอื่นที่ยากและเจาะจงกวานี้ กระนั้นก็มิใชหนังสือที่อานได<br />

โดยงายนัก ผูอานตองพอมีพื้นฐานทางปรัชญาและสังคมวิทยาอยูบาง ความรูทาง<br />

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนั้นอาจจะไมจำเปนตองมีมาก แตตองพรอมที่จะคนเพิ่ม<br />

เล็กนอยในจุดที่กลาวถึงและอยากไดความเขาใจถองแท สวนในทางวิชาการ<br />

นี่ถือเปนความอุตสาหะสำคัญที่ประสบความสำเร็จในการประมวลองคความรู<br />

<strong>ของ</strong> STS ที่มานานหลายทศวรรษ อันนายกยองยิ่ง<br />

ขณะนี้ ผูเขียนบทปริทัศนนี้ กำลังแปลหนังสือเลมนี้อยู คาดวาจะตีพิมพ<br />

กับสำนักพิมพ Illumination Editions ในปหนา (พ.ศ. 2563)<br />

ภาษาอังกฤษ<br />

รายการอางอิง<br />

<strong>Sismondo</strong>, S. (2009). An <strong>Introduction</strong> <strong>to</strong> <strong>Science</strong> <strong>and</strong> <strong>Technology</strong><br />

<strong>Studies</strong>, 2 nd Edition: Wiley-Blackwell; (Oc<strong>to</strong>ber 12, 2009).

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!