01.02.2024 Views

บางส่วนของ บทที่ 5 ศาลรัฐธรรมนูญ กับการแปลความหมาย สร้าง และบังคับใช้ “หลักนิติธรรมไทย”

บางส่วนของ บทที่ 5 ศาลรัฐธรรมนูญ กับการแปลความหมาย สร้าง และบังคับใช้ “หลักนิติธรรมไทย” โดย กล้า สมุทวณิช จากหนังสือ หนังสือ 'นิติรัฐนิติธรรมฯ: ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาเปรียบเทียบ' บรรณาธิการโดย เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

บางส่วนของ บทที่ 5 ศาลรัฐธรรมนูญ กับการแปลความหมาย สร้าง และบังคับใช้ “หลักนิติธรรมไทย” โดย กล้า สมุทวณิช
จากหนังสือ หนังสือ 'นิติรัฐนิติธรรมฯ: ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาเปรียบเทียบ' บรรณาธิการโดย เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>บทที่</strong> 5<br />

<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong><strong>กับการแปลความหมาย</strong><br />

สราง และบังคับใช <strong>“หลักนิติธรรมไทย”</strong><br />

กล้า สมุทวณิช 1<br />

บทนำ<br />

ในวงการกฎหมายไทยก่อนหน้านี้ หากพูดถึงหลักการแห่งการ<br />

บัญญัติ การใช้ และการตีความกฎหมาย จะมีคำาสำาคัญสองคำาที่<br />

สลับกันใช้หรือใช้คู่กันไปเลยแบบไม่แน่ใจกำ้ากึ่ง คือคำาว่า (หลัก)<br />

“นิติรัฐ” และ (หลัก) “นิติธรรม” จนกระทั่งผู้ร่างรัฐธรรมนูญแห่ง<br />

ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้เข้ามาชี้ขาดให้ว่านับแต่<br />

นี้ต่อไป ประเทศไทยเราจะใช้ “หลักนิติธรรม” ในการกำากับการ<br />

ปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตาม<br />

รัฐธรรมนูญและหน่วยงานของรัฐ ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน<br />

(พุทธศักราช 2560) ก็ได้ต่อให้ด้วยว่า การปฏิบัติหน้าที่ขององค์กร<br />

1<br />

นักวิชาการคดีรัฐธรรมนูญชำานาญการ สำานักงาน<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong> สำาเร็จการ<br />

ศึกษานิติศาสตรบัณฑิต นิติศาสตรมหาบัณฑิต และเนติบัณฑิตไทย มีประกาศ-<br />

นียบัตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครองที่คณะกรรมการตุลาการศาล<br />

ปกครอง (ก.ศป.) รับรอง.<br />

171


และหน่วยงานของรัฐตามหลักนิติธรรมดังกล่าวต้องเป็นไปเพื่อ<br />

ประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชน<br />

โดยรวมเข้าไปอีกด้วย<br />

หลังจากนั้นคำาว่า “หลักนิติธรรม” ก็กลายเป็นคำาเกร่ออัน<br />

ใหญ่โต (Buzzword) มีการตั้งหน่วยงานขึ้นมาทำาการศึกษาหลัก<br />

นิติธรรม มีโครงการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการนำาไปขึ้นต้น<br />

ต่อท้ายหลักสูตรหรือการอบรมต่าง ๆ ของทางราชการ จนในที่สุด<br />

หลักนิติธรรมได้รับการแปลความและขยายความใหม่จนเกิดเป็น<br />

“หลักนิติธรรมแบบไทย ๆ” ขึ้นมาในที่สุด<br />

แต่หากกล่าวว่าใครคือผู้ที่จะ “ชี้ขาด” ได้ว่าหลักนิติธรรมคือ<br />

อะไรหรือหลักการใด เป็นหรือไม่เป็นหลักนิติธรรม ก็ต้องได้แก่ผู้<br />

มีอำานาจในการวินิจฉัยชี้ขาดให้เป็นที่ยุติ คือองค์กรตุลาการ และ<br />

องค์กรตุลาการที่มีบทบาทมากที่สุดในการเมืองการปกครองและ<br />

นิติภพคือ “<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong>” ส่วนหนึ่งเป็นเพราะว่าหน้าที่และ<br />

อำานาจของ<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong>อยู่ที ่การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐ-<br />

ธรรมนูญของกฎหมายและร่างกฎหมาย การตรวจสอบความชอบ<br />

ด้วยสมาชิกภาพและสถานะของผู้ดำารงตำาแหน่งทางการเมืองชั้น<br />

สูง รวมถึงการวินิจฉัยปัญหาที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และอำานาจของ<br />

สถาบันและองค์กรตามรัฐธรรมนูญ และในเรื่องสำาคัญที่เกี่ยวกับ<br />

พรรคการเมืองเช่นการยุบพรรค อีกส่วนหนึ่งก็เพราะรัฐธรรมนูญ<br />

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 บัญญัติให้ผลของคำาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรม­<br />

นูญนั้น “…เป็นเด็ดขาด มีผลผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล<br />

องค์กรอิสระ และหน่วยงานของรัฐ” และ “…ให้ใช้ได้ในคดีทั้งปวง<br />

172


แต่ไม่กระทบต่อคำาพิพากษาของศาลอันถึงที่สุดแล้ว…”<br />

เมื่อหน้าที่และอำานาจของ<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong>มีวัตถุแห่งคดีเป็น<br />

ผลพวงแห่งการใช้อำานาจตามรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุด ทั้ง<br />

มีผลผูกพันต่อองค์กรอื่นทุกองค์กรภายใต้รัฐธรรมนูญ และปรากฏ<br />

หลายครั้งว่า<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong>ได้หยิบยกเอาคำาว่า “หลักนิติธรรม”<br />

มาอ้างใช้ในการวินิจฉัยคดีหลายเรื่อง ทั้งเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ<br />

ตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแห่งกฎหมาย<br />

และที่เกี่ยวข้องกับการใช้อำานาจและปฏิบัติหน้าที่ของสถาบันและ<br />

องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ดังนั้น “คำาวินิจฉัยของ<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong>”<br />

จึงเป็นหลุมแหล่งที่ดีหากเราจะประสงค์จะขุดร่อนหาสิ่งที่เรียกว่า<br />

“หลักนิติธรรม” ในบริบทของประเทศไทย<br />

บทความชิ้นนี้มาจากการศึกษาคำาวินิจฉัยของ<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong><br />

ที่มีการปรับเอาหลักนิติธรรมมาใช้เป็นเหตุผลแห่งการวินิจฉัย มี<br />

ขอบเขตของการรวบรวมข้อมูลตั้งแต่การบังคับใช้ของรัฐธรรมนูญ<br />

แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จนถึงช่วงเวลาที่ทำาการ<br />

ศึกษาคือเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2565 โดยแบ่งการนำาเสนอออก<br />

เป็นสี่ส่วน ได้แก่ ส่วนที่หนึ่ง ความหมายของ “หลักนิติธรรม”<br />

และ <strong>“หลักนิติธรรมไทย”</strong> ที่เป็นการศึกษาว่าหลักนิติธรรมในความ<br />

หมายดั้งเดิมทางวิชาการหมายถึงอะไร และหลักการดังกล่าวเข้า<br />

มาในประเทศไทยและกลับกลายมีสภาพเป็นอย่างไร ส่วนที่สอง<br />

หลักนิติธรรมในคำาวินิจฉัยของ<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong>ไทยที่จะศึกษาว่า<br />

<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong>ไทยวางแนวทางและแปลความ “หลักนิติธรรม”<br />

ไว้อย่างไรบ้าง เพื่อนำ าไปสู่การสรุปวิเคราะห์ในส่วนที่สาม ข้อพิจารณา<br />

173


เกี่ยวกับ <strong>“หลักนิติธรรมไทย”</strong> โดยการแปลความหมายและบังคับ<br />

ใช้ของ<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong>ซึ่งเป็นบทสรุปและข้อสังเกตในส่วนสุดท้าย<br />

“หลักนิติธรรม” และ <strong>“หลักนิติธรรมไทย”</strong><br />

การทำาความเข้าใจว่า <strong>“หลักนิติธรรมไทย”</strong> เหมือนหรือต่างจาก<br />

“หลักนิติธรรม” ที่เป็นแนวคิดดั้งเดิมอย่างไรนั้น มีเรื ่องที่จะต้อง<br />

ทำาความเข้าใจได้แก่ (1) “หลักนิติธรรม” ในความหมายตรงตาม<br />

ที่มา จากนั้นจะเป็นการนำาสำารวจ (2) การมีอยู ่ของ “หลักนิติธรรม”<br />

ในบริบททางรัฐธรรมนูญของไทย รวมถึง (3) ความพยายามให้<br />

ความหมายของ “หลักนิติธรรม” ในทางวิชาการของไทย โดยมี<br />

รายละเอียดดังต่อไปนี้<br />

(1) “หลักนิติธรรม” ในความหมายตรงตามที่มา<br />

อาจสรุปได้ว่า “หลักนิติธรรม” หรือ Rule of Law คือหลักการเชิง<br />

ปรัชญาหรือคุณค่าทางกฎหมายที่เชื่อว่านอกจากสิ่งที่ได้เขียนไว้ใน<br />

บทบัญญัติแห่งกฎหมายลายลักษณ์อักษรแล้ว ยังมีคุณค่าหรือ<br />

หลักเกณฑ์แห่งการตรา การใช้ และการตีความกฎหมายที่ไม่เป็น<br />

ลายลักษณ์อักษรกำากับอยู่ ซึ่งหลักการนี้เป็นคุณค่าแห่งความยุติ-<br />

ธรรมที่ยอมรับกันว่ากฎหมายใด ๆ ในที่สุดแล้วก็จะต้องเคารพต่อ<br />

หลักการนี้<br />

ความหมายของคำาว่า “หลักนิติธรรม” ที่ได้รับความนิยม<br />

174


่<br />

อ้างอิงถึงมากที่สุดคือนิยามของ ศาสตราจารย์เอ. วี. ไดซี (A. V.<br />

Dicey) จากหนังสือ Law of the Constitution ซึ่งตีพิมพ์ในปี ค.ศ.<br />

1885 หลักนิติธรรมของไดซีมีนัยสำาคัญสามประการ คือ<br />

ประการแรก ฝ่ายบริหารไม่มีอำานาจลงโทษบุคคลใดตาม<br />

อำาเภอใจ เว้นเพียงในกรณีที่มีการละเมิดกฎหมายโดยชัดแจ้ง<br />

และการลงโทษที่อาจกระทำาได้จะต้องกระทำาตามกระบวนการปกติ<br />

ของกฎหมายต่อหน้าศาลปกติ (ordinary courts) ของแผ่นดิน<br />

ประการที่สอง ไม่มีบุคคลใดอยู่เหนือกฎหมายไม่ว่าเขาจะอยู<br />

ในตำาแหน่งหรือเงื่อนไขประการใด ๆ ไม่ว่าเป็นเจ้าหน้าที่รัฐหรือ<br />

บุคคลธรรมดาล้วนต้องอยู่ภายใต้กฎหมายและศาลเดียวกัน และ<br />

ประการที่สาม หลักทั ่วไปของกฎหมายรัฐธรรมนูญหรือสิทธิ<br />

ขั้นพื้นฐาน (Fundamental rights) ของประชาชนจะต้องเป็นผลจาก<br />

คำาวินิจฉัยตัดสินของศาลหรือกฎหมายธรรมดา มิใช่เกิดจากการ<br />

รับรองคำ้าประกันเป็นพิเศษโดยรัฐธรรมนูญดังเช่นกรณีของรัฐ-<br />

ธรรมนูญประเทศอื่น 2<br />

จรัญ โฆษณานันท์เห็นว่าความคิดเรื่อง “หลักนิติธรรม” ของ<br />

ไดซีมีนำ้าเสียงในเชิงอุดมคติเกี่ยวกับการปกป้องคุ้มครองสิทธิ­<br />

เสรีภาพส่วนบุคคลจากการใช้อำานาจโดยพลการ (Arbitrariness)<br />

ของรัฐ แต่ก็มิใช่การวางหลักการทั่วไป หากเป็นการวางหลักโดย<br />

คำานึงถึงหลักปฏิบัติของประเทศอังกฤษในยุคสมัยนั้น เป็นการ<br />

2<br />

จรัญ โฆษณานันท์, นิติปรัชญา, (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำาแหง, 2554),<br />

หน้า 356.<br />

175


สังเคราะห์ข้อสรุปจากบริบททางประวัติศาสตร์ของอังกฤษโดย<br />

เฉพาะ 3 โดยเฉพาะการนับถือศาลยุติธรรมศาลเดียวและข้อจำากัด<br />

อำานาจรัฐนั้นเป็นไปตามหลักคอมมอนลอว์ (Common Law) ใน<br />

ฐานะแหล่งที่มาเดียวกัน ไม่ได้แยกเป็นกฎหมายปกครองหรือ<br />

กฎหมายมหาชน ความเชื่อมั ่นของไดซีที่มีต่อศาลยุติธรรมจึงเป็น<br />

การปฏิเสธต่อระบบการควบคุมอำานาจอย่างอื่นนอกเหนือจากศาล<br />

คอมมอนลอว์ที่มีอำานาจชำาระคดีได้เป็นการทั่วไป<br />

แม้ว่า “หลักนิติธรรม” ที่ถ้าจะแปลโดยเคร่งครัดจะเป็นหลัก­<br />

การของกฎหมายที ่พัฒนามาจากระบบกฎหมายอังกฤษเท่านั้น<br />

แต่หลักการว่าการปกครองโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือผู้ใช้อำานาจรัฐ<br />

จะต้องมีกรอบจำากัดการใช้อำานาจบางอย่างไม่ว่าจะโดยบทบัญญัติ<br />

แห่งกฎหมายหรือคุณค่าอื่นที่เหนือกว่า เพื่อมิให้การใช้อำานาจนั้น<br />

เป็นไปโดยมิชอบจนล่วงลำ้ากำ้าเกินสิทธิหรือเสรีภาพของประชาชน<br />

ก็เป็นหลักการที่มีอยู่ในทุกระบบกฎหมายเช่นกัน เพียงแต่อาจจะ<br />

มีชื่อเรียกที่แตกต่างกันออกไป ถ้อยคำาหรือหลักกฎหมายที่ใกล้<br />

เคียงกับคำาว่า “หลักนิติธรรม” ที่เป็นที่แพร่หลายไม่แพ้กันคือคำา<br />

ว่า “หลักนิติรัฐ” ซึ่งหลายครั้งในตำารา รายงาน หรือข้อเขียนทาง<br />

วิชาการอาจเรียกรวมกันไปว่า หลักนิติธรรม (หรือ/และ) หลัก<br />

นิติรัฐ 4 ทั้งนี้เพราะในที่สุดแล้วไม่ว่าจะเรียกชื่อว่าอะไรหลักการทั้ง<br />

3<br />

เพิ่งอ้าง, หน้า 357.<br />

4<br />

เช่น การใช้ถ้อยคำาใน โครงการศึกษาวิจัย “กรอบแนวคิดและกรอบยุทธศาสตร์<br />

ในการพัฒนาดัชนีชี้วัดด้านหลักนิติธรรม/นิติรัฐ (Rule of Law Index/Indicators)<br />

ในประเทศไทย” รายงานศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ โดย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา<br />

176


สองก็มีสาระตรงกัน หรือแม้แต่จะรวมเอาหลักเกณฑ์ทางกฎหมาย<br />

อเมริกาอย่าง “หลักศุภนิติกระบวน” (Due Process of Law) เข้า<br />

มาร่วมวงด้วยก็ยังได้ เพราะทั้งหมดนี้คือความคิดทางกฎหมายที่<br />

เชื่อว่ามีหลักเกณฑ์แห่งความเป็นธรรมอย่างหนึ่งซึ่งอาจเป็นหรือ<br />

ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรก็ได้ ที่ต้องอยู่เหนือกว่าการใช้อำานาจรัฐ<br />

เพื่อการจำากัดการใช้อำานาจรัฐและการคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภาพ<br />

ของประชาชน<br />

เราอาจอธิบายโดยสรุปได้ว่าหลักนิติธรรมคือหลักการดังกล่าว<br />

ที่พัฒนาในประเทศอังกฤษ ส่วนหลักนิติรัฐเป็นหลักการที่พัฒนาใน<br />

ประเทศภาคพื้นยุโรป ความแตกต่างของหลักการทั้งสองประการ<br />

นี้ที่ชัดเจนที่สุดปรากฏในคำาอธิบายของวรเจตน์ที่ว่า ทั้งหลักนิติรัฐ<br />

(Rechtsstaatsprinzip) และหลักนิติธรรม (The Rule of Law) ต่าง<br />

ได้รับการพัฒนาขึ้นในโลกตะวันตกโดยมีเป้าหมายที่จะจำ ากัดอำานาจ<br />

ของผู้ปกครองให้อยู่ในกรอบของกฎหมาย กล่าวอีกนัยหนึ่ง ทั้ง<br />

หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรมต่างก็ไม่ต้องการให้มนุษย์ปกครอง<br />

มนุษย์ด้วยกันเอง แต่ต้องการให้กฎหมายเป็นผู้ปกครองมนุษย์<br />

ซึ่งหมายความว่าผู้ที่ทรงอำานาจบริหารปกครองบ้านเมืองจะกระทำา<br />

การใด ๆ ก็ตาม การกระทำานั้นจะต้องสอดคล้องกับกฎหมาย จะ<br />

กระทำาการให้ขัดต่อกฎหมายไม่ได้5<br />

ประเทศไทย ที่แม้ตั้งใจจะกล่าวถึงหลัก Rule of Law แต่ก็ใช้คำาแปลรวมไปว่า<br />

“หลักนิติธรรม/นิติรัฐ”<br />

5<br />

วรเจตน์ ภาคีรัตน์, คำาสอนว่าด้วยรัฐและหลักกฎหมายมหาชน, พิมพ์ครั้งที่ 3<br />

แก้ไขเพิ่มเติม, (กรุงเทพฯ: อ่านกฎหมาย, 2564), หน้า 307.<br />

177


่<br />

อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาในรายละเอียดแล้วจะพบว่าหลัก<br />

การทั้งสองมีความแตกต่างกันอยู่ สาเหตุแห่งความแตกต่างอยู ่ที<br />

พัฒนาการในทางประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเยอรมนีซึ่ง<br />

เป็นแหล่งกำาเนิดความคิดว่าด้วยหลักนิติรัฐและในอังกฤษซึ่งพัฒนา<br />

ความคิดว่าด้วยหลักนิติธรรมขึ้น เมื่อพิจารณาความเป็นมาทาง<br />

ประวัติศาสตร์ประกอบกับการปรับใช้หลักนิติรัฐและนิติธรรมใน<br />

ระบบกฎหมายเยอรมันและระบบกฎหมายอังกฤษแล้ว พบว่าหลัก<br />

นิติรัฐและหลักนิติธรรมมีความแตกต่างกันทั้งในแง่ของบ่อเกิดของ<br />

กฎหมาย วิธีการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐาน การกำาหนดให้มีหรือ<br />

ไม่มีศาลปกครอง และระบบวิธีพิจารณาคดีตลอดจนการแบ่งแยก<br />

อำานาจ สรุปได้ดังนี้<br />

ความแตกต่างในแง่บ่อเกิดของกฎหมาย กล่าวคือ ในระบบ<br />

กฎหมายคอมมอนลอว์ของอังกฤษได้รับการ “<strong>สร้าง</strong>” ขึ้นโดย<br />

ผู้พิพากษา เมื่อศาลได้ตัดสินคดีใดคดีหนึ่งไปแล้ว หลักกฎหมาย<br />

ที่ศาลได้<strong>สร้าง</strong>ขึ้นเพื่อใช้ตัดสินคดีก็ตกทอดต่อมาเป็นลำาดับและ<br />

กลายเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่จริงในบ้านเมืองด้วย<br />

ส่วนระบบกฎหมายในภาคพื้นยุโรปเกิดขึ้นจากการตราโดยกระ-<br />

บวนการนิติบัญญัติ ผู ้พิพากษาในฐานะที่เป็นผู ้ที่รับใช้รัฐมีหน้าที่<br />

ในการปรับใช้กฎหมาย การตัดสินคดีของผู้พิพากษาในแต่ละคดี<br />

ไม่มีผลเป็นการ<strong>สร้าง</strong>กฎหมายขึ้นมาใหม่<br />

ความแตกต่างในแง่ของการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐาน โดยเหตุ<br />

ที่ระบบกฎหมายคอมมอนลอว์ในอังกฤษไม่มีรัฐธรรมนูญที่เป็นลาย­<br />

ลักษณ์อักษร การประกันสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลในอังกฤษจึง<br />

178


ไม่ได้เป็นการประกันในระดับรัฐธรรมนูญ สิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคล<br />

ในอังกฤษไม่ได้มีฐานะเป็นกฎหมายที่มีผลใช้บังคับโดยตรงและอยู่<br />

ในลำาดับชั้นที่สูงกว่ากฎหมายธรรมดาที่ตราขึ้นโดยรัฐสภา อย่างไร<br />

ก็ตามในทางปฏิบัติบุคคลย่อมได้รับการประกันสิทธิขั้นพื้นฐานโดย<br />

องค์กรตุลาการ แต่ภาคพื้นยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบกฎ-<br />

หมายเยอรมัน การคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลเป็นการ<br />

คุ้มครองในระดับรัฐธรรมนูญ กล่าวคือ สิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคล<br />

ที่ได้รับการบัญญัติไว้ใน “กฎหมายพื้นฐาน” ซึ่งถือว่าเป็นรัฐธรรม­<br />

นูญของประเทศเยอรมนีนั้น ผูกพันทั้งองค์กรนิติบัญญัติ บริหาร<br />

และตุลาการในฐานะที่เป็นกฎหมายที่มีผลใช้บังคับได้โดยตรง<br />

องค์กรนิติบัญญัติมีหน้าที่ในทางรัฐธรรมนูญที่จะต้องไม่ตรากฎ-<br />

หมายให้ขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติว่าด้วยสิทธิขั้นพื้นฐาน มิฉะนั้น<br />

ย่อมต้องถือว่ากฎหมายดังกล่าวขัดต่อรัฐธรรมนูญ<br />

ซึ่งเรื่องนี้ก็ส่งผลมาสู่ความแตกต่างในแง่ของการควบคุม<br />

ตรวจสอบการตรากฎหมายเนื ่องจากตามหลักนิติรัฐ องค์กรนิติ-<br />

บัญญัติย่อมต้องผูกพันต่อรัฐธรรมนูญในการตรากฎหมายขึ้นใช้<br />

บังคับ ประเทศหลายประเทศที่ยอมรับหลักนิติรัฐจึงกำาหนดให้มี<br />

องค์กรที่ควบคุมตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย<br />

ที่องค์กรนิติบัญญัติตราขึ้น องค์กรที่ทำาหน้าที่ในลักษณะเช่นนี้โดย<br />

ปกติแล้วย่อมได้แก่<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong> ซึ่ง<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong>เองก็ต้อง<br />

ผูกพันตนต่อรัฐธรรมนูญด้วย จึงต้องควบคุมตรวจสอบความชอบ<br />

ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายที่ตราขึ้นโดยองค์กรนิติบัญญัติโดย<br />

เกณฑ์ในทางกฎหมาย ไม่อาจนำาเจตจำานงของตนเข้าแทนที่เจตจำานง<br />

179


ขององค์กรนิติบัญญัติได้ ในขณะที่อังกฤษซึ่งเดินตามหลักนิติธรรม<br />

ถือว่ารัฐสภาเป็นรัฏฐาธิปัตย์ ในทางทฤษฎีรัฐสภาสามารถตรากฎ­<br />

หมายอย่างไรก็ได้ทั้งสิ้น ไม่อาจมีกรณีที่รัฐสภาตรากฎหมายขัด<br />

หรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญได้ แม้หากว่าจะมีผู ้ใดอ้างว่ารัฐสภาตรา<br />

กฎหมายขัดกับรัฐธรรมนูญจารีตประเพณี การอ้างเช่นนั้นก็หามีผล<br />

ทำาให้กฎหมายที่ตราขึ้นโดยรัฐสภานั้นสิ้นผลลงไม่ ศาลในอังกฤษ<br />

ไม่มีอำานาจที่จะตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญจารีตประเพณี<br />

ของกฎหมายที่ตราขึ้นโดยรัฐสภา และด้วยเหตุนี้อังกฤษจึงไม่มี<br />

<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong> การควบคุมการตรากฎหมายของรัฐสภาอังกฤษ<br />

จึงเป็นการควบคุมกันทางการเมือง ไม่ใช่ทางกฎหมาย<br />

ส่วนความแตกต่างในแง่ของการมีศาลปกครองและระบบ<br />

วิธีพิจารณาคดี เนื่องจากระบบกฎหมายอังกฤษไม่มีการแบ่งแยก<br />

กฎหมายเอกชนกับกฎหมายมหาชนออกจากกัน ด้วยเหตุนี้อังกฤษ<br />

จึงไม่มีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นมาเป็นอีกระบบศาลหนึ่งโดยเฉพาะ<br />

คู่ขนานไปกับศาลยุติธรรมดังที่ปรากฏในภาคพื้นยุโรป ในการฟ้อง<br />

ร้องขอให้ตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำาของฝ่าย<br />

ปกครองนั้น ราษฎรอังกฤษอาจฟ้องได้ในศาลยุติธรรมหรือศาล<br />

ธรรมดา โดยหลักนิติธรรมถือว่าทั้งราษฎรและองค์กรเจ้าหน้าที่ของ<br />

รัฐต่างต้องตกอยู่ภายใต้กฎหมายเดียวกันและภายใต้ศาลเดียวกัน 6<br />

6<br />

วรเจตน์ ภาคีรัตน์, “หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม,” 2553, เครือข่ายกฎหมาย<br />

มหาชนไทย, เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2565, http://public-law.net/publaw/<br />

view.aspx?id=1431.<br />

180


จากความเป็นมาและสาระที่แตกต่างกันของ “หลักนิติธรรม”<br />

และ “หลักนิติรัฐ” จะเห็นได้ถึงข้อสงสัยว่า เช่นนี้ประเทศไทยซึ่ง<br />

ใช้ระบบประมวลกฎหมายและถือหลักความเป็นกฎหมายสูงสุด<br />

ของรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นรูปแบบเดียวกับประเทศทางภาคพื้นยุโรป<br />

แต่เหตุใดเรากลับถือเอา “หลักนิติธรรม” ซึ่งเป็นหลักการของคอม­<br />

มอนลอว์และประเทศอังกฤษมาเป็นหลักการสำาคัญในการพิจารณา<br />

ความชอบธรรมของกฎหมายนั้นจะส่งผลอันไม่สอดคล้องประการ<br />

ใดหรือไม่<br />

หากเราจะถือว่าคำาว่า “หลักนิติธรรม” ในบริบทของไทยโดย<br />

แท้จริงแล้วเป็นคำาเดียวกับคำาว่า “หลักนิติรัฐ” อาจไม่สู้เป็นปัญหา<br />

เท่าใด แต่ถ้าเราถือว่า “หลักนิติธรรม” ของไทยเป็นอย่างเดียวกับ<br />

หลักนิติธรรมแบบอังกฤษ ก็จะทำาให้เกิดข้อพิจารณาถึงความสอด-<br />

คล้องของระบบกฎหมายได้ ซึ่งเราจะได้วิเคราะห์กันในส่วนต่อไป<br />

(2) การมีอยู่ของ “หลักนิติธรรม”<br />

ในบริบททางรัฐธรรมนูญของไทย<br />

ดังได้กล่าวไปแล้วว่าก่อนหน้านี้ในประเทศไทย คำาว่า “หลักนิต ิ<br />

ธรรม” และ “หลักนิติรัฐ” ถูกใช้สลับกันหรือแทนที่กันได้เสมอ<br />

สุดแต่ใครจะเลือกใช้ตามความคุ้นเคยและความเข้าใจ กระทั่งเมื่อ<br />

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ถูกตราขึ้น<br />

และประกาศใช้บังคับ คำาว่า “หลักนิติธรรม” ก็ได้รับเลือกให้เป็น<br />

คำาหลักที่แสดงถึงหลักการแห่งกฎหมายและการใช้อำานาจรัฐที่ได้<br />

181


รับการรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ซึ่ง<br />

นอกจากจะเป็นบทบัญญัติซึ่งประกาศว่าอำานาจอธิปไตยเป็นของ<br />

ปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำ านาจนั้น<br />

ทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรม­<br />

นูญแล้ว ในวรรคสองก็ยังบัญญัติว่า “การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา<br />

คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ และหน่วยงาน<br />

ของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม”<br />

หากเป็นจริงตามคำาพูดของวิษณุ เครืองามที่ได้กล่าวไว้ใน<br />

การบรรยายพิเศษ เรื่อง <strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong>: ผู้พิทักษ์หลักนิติธรรม<br />

ในการประชุมทางวิชาการ เนื่องในวาระ<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong>ครบรอบ<br />

20 ปี เมื ่อวันที ่ 9 เมษายน 2561 ณ โรงแรมเพนนินซูล่า กรุงเทพ­<br />

มหานครว่า การที่คำาว่า “หลักนิติธรรม” ถูกกำาหนดให้เป็นหลัก<br />

การแห่งกฎหมายและการใช้อำานาจรัฐในประเทศไทย มิได้เกิดจาก<br />

การตกผลึกของความคิดทางกฎหมาย แต่เกิดจากการลงมติของ<br />

สภาร่างรัฐธรรมนูญในขณะนั้น ซึ่งวิษณุกล่าวว่าคำาว่าหลักนิติธรรม<br />

ชนะไปอย่างฉิวเฉียด 7<br />

แต่ไม่ว่าจะด้วยเหตุใดก็ตาม นั ่นก็ถือเป็นครั้งแรกที่มีการ<br />

รับรองหลักนิติธรรมโดยการตราไว้ในรัฐธรรมนูญให้มีสถานะเป็น<br />

บทบัญญัติลายลักษณ์อักษรและมีสภาพบังคับ จากที่ก่อนหน้านี้<br />

7<br />

สำานักงาน<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong>, รายงานการประชุมทางวิชาการ เนื่องในวาระศาล<br />

รัฐธรรมนูญครบรอบ 20 ปี วันที่ 9–10 เมษายน 2561 ณ โรงแรมเพนนินซูล่า<br />

กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย (เอกสารภายใน), (กรุงเทพฯ: สำานักงานศาล<br />

รัฐธรรมนูญ, 2561), หน้า 14.<br />

182


เคยเป็นเพียงหลักการที่ได้รับการยอมรับในการศึกษาทางวิชาการ<br />

ด้านกฎหมายหรือในคำาพิพากษาที่อาจนำาหลักนิติธรรมมาใช้โดย<br />

อาจไม่ได้กล่าวถึงหลักการนี้โดยตรงเท่านั้น<br />

หลักนิติธรรมยังได้รับการรับรองต่อมาในรัฐธรรมนูญแห่ง<br />

ราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน (พุทธศักราช 2560) มาตรา 3<br />

วรรคสอง แต่นอกจากจะกำาหนดให้ “รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล<br />

องค์กรอิสระ และหน่วยงานของรัฐ ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไป<br />

ตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และหลักนิติธรรม” แล้วยังมีเงื่อนไข<br />

ตามมาต่อด้วยว่า การปฏิบัติหน้าที่ให้ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ กฎ-<br />

หมาย และหลักนิติธรรมดังกล่าวต้องเป็นไป “เพื่อประโยชน์ส่วน<br />

รวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม”<br />

อีกด้วย<br />

นอกจากนี้ หลักนิติธรรมยังมีสภาพบังคับเพิ่มเติมให้เป็น<br />

หลักการสำาคัญในการตรากฎหมายขึ้นมาใช้บังคับ และรวมถึงการ<br />

พิจารณาในความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายที่มีผลใช้บังคับ<br />

อยู่แล้วด้วย ปรากฏตามมาตรา 26 วรรคหนึ่งที่บัญญัติว่า การ<br />

ตรากฎหมายที่มีผลเป็นการจำากัดสิทธิเสรีภาพของบุคคลต้องเป็น<br />

ไปตามเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญในกรณีที ่รัฐธรรมนูญมิได้<br />

บัญญัติเงื่อนไขไว้ กฎหมายดังกล่าวต้องไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม<br />

ไม่เพิ่มภาระหรือจำากัดสิทธิเสรีภาพของบุคคลเกินสมควรแก่เหตุ<br />

และจะกระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลมิได้ รวมทั้ง<br />

ต้องระบุเหตุผลความจำาเป็นในการจำากัดสิทธิเสรีภาพไว้ด้วย<br />

บทบัญญัติของมาตรา 3 วรรคสองและมาตรา 26 วรรคหนึ่ง<br />

183

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!