18.08.2013 Aufrufe

cache

cache

cache

MEHR ANZEIGEN
WENIGER ANZEIGEN

Sie wollen auch ein ePaper? Erhöhen Sie die Reichweite Ihrer Titel.

YUMPU macht aus Druck-PDFs automatisch weboptimierte ePaper, die Google liebt.

บทที่<br />

2<br />

การตรวจเอกสาร<br />

ทฤษฎีและแนวคิดที่ใชในการวิจัย<br />

การวิจัยครั้งนี้ไดนําแนวคิดทางทฤษฎีของเศรษฐศาสตรการคาระหวางประเทศ<br />

เศรษฐศาสตรจุลภาค และเศรษฐศาสตรมหภาค มาใชเปนแนวทางในการวิจัย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้<br />

ทฤษฎี Heckscher-Ohlin<br />

แนวคิดทางทฤษฎีของ Heckscher-Ohlin กลาววา “การคาระหวางประเทศเกิดขึ้นจาก<br />

ความแตกตางของตนทุนเปรียบเทียบ เนื่องจากความแตกตางของความอุดมสมบูรณของปจจัยการ<br />

ผลิต และสัดสวนของการใชปจจัยการผลิตของสินคาแตละชนิดแตกตางกัน ประเทศที่มีความ<br />

ไดเปรียบโดยเปรียบเทียบจะสงสินคาที่ผลิตดวยปจจัยการผลิตที่ประเทศนั้นมีความอุดมสมบูรณ<br />

และจะสั่งสินคาที่ตนมีความเสียเปรียบซึ่งผลิตดวยปจจัยการผลิตที่ประเทศนั้นมีอยูนอย”<br />

(เกสร,<br />

2530)<br />

จากทฤษฎีนี้นํามาใชอธิบายไดวา<br />

ประเทศไทยไมสามารถผลิตวัตถุดิบยาสวนใหญไดเอง<br />

หรือกลาวไดวาไมมีความอุดมสมบูรณในวัตถุดิบยา และยาแผนปจจุบันบางชนิดไมสามารถผลิต<br />

เลียนแบบไดเนื่องจากยารักษาโรคชนิดนั้นไดรับการคุมครองจากสิทธิบัตรยา<br />

ดังนั้นจึงตองนําเขา<br />

วัตถุดิบยาและยาแผนปจจุบันจากตางประเทศ เพื่อใหสนองตอความตองการภายในประเทศ<br />

แนวคิดเกี่ยวกับมูลคาการนําเขา<br />

แนวคิดเกี่ยวกับมูลคาการนําเขา<br />

โดยมูลคาการนําเขาสินคาจากตางประเทศจะเทากับผล<br />

คูณของปริมาณสินคาที่นําเขาจากตางประเทศ<br />

และราคาสินคาจากตางประเทศที่พิจารณาถึงคา<br />

เงินตราของประเทศผูซ<br />

ื้อ<br />

(อุดม, 2543) ซึ่งเทากับ<br />

M = Q x P

Hurra! Ihre Datei wurde hochgeladen und ist bereit für die Veröffentlichung.

Erfolgreich gespeichert!

Leider ist etwas schief gelaufen!