18.08.2013 Aufrufe

cache

cache

cache

MEHR ANZEIGEN
WENIGER ANZEIGEN

Sie wollen auch ein ePaper? Erhöhen Sie die Reichweite Ihrer Titel.

YUMPU macht aus Druck-PDFs automatisch weboptimierte ePaper, die Google liebt.

หอการคาอเมริกันในประเทศไทยไดจัดทําสมุดปกขาวเรื่อง<br />

“การคุมครองสิทธิบัตรของ<br />

อุตสาหกรรมยาในประเทศไทย” โดยมีขอเสนอวาสหรัฐอเมริกาจะใหสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร<br />

แกประเทศไทย แตในที่สุดเมื่อวันที่<br />

19 มกราคม 2532 สหรัฐอเมริกาก็ไดประกาศยกเลิกสิทธิ<br />

ยกเวนภาษีสินคาขาเขาจากประเทศไทยที่สงไปยังสหรัฐอเมริกาภายใตระบบการใหสิทธิพิเศษทาง<br />

ภาษีศุลกากรเปนการทั่วไปคิดเปนมูลคา<br />

165 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา โดยใหเหตุผลวา ประเทศ<br />

ไทยไมไดใหการคุมครองทรัพยสินทางปญญาอยางเพียงพอและมีประสิทธิภาพ<br />

กลาวคือ<br />

สหรัฐอเมริกาตองการใหประเทศไทยแกไขพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ใหครอบคลุม<br />

สิทธิบัตรผลิตภัณฑยาดวย ขบวนการของการเคลื่อนไหวของสหรัฐอเมริกานี้เปนไปอยางมีระบบ<br />

ทั้งในรูปของการเจรจาปญหาทางการคาระหวางเจาหนาที่ระดับสูงของสหรัฐอเมริกาและเจาหนาที่<br />

ระดับสูงของไทย และการเคลื่อนไหวของบรรษัทยาขามชาติและกลุมผลประโยชนตางๆ<br />

อยาง<br />

ตอเนื่องทั้งในสหรัฐอเมริกาและในไทย<br />

แตในขณะเดียวกันกลุมนักวิชาการและองคกรพัฒนาตางๆ<br />

โดยเฉพาะกลุมศึกษาปญหายา<br />

โครงการศึกษาระบบทรัพยสินทางปญญา สถาบันวิจัยสังคม<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะกรรมการประสานงานองคกรเอกชนเพื่อการสาธารณสุขมูลฐาน<br />

(คปอส) ไดเคลื่อนไหวคัดคานมาโดยตลอด<br />

จากแรงกดดันโดยผานการตอรองทางการคาทั้งการเจรจาฝายเดียวและสองฝาย<br />

สงผลให<br />

ในวันที่<br />

22 สิงหาคม 2532 ประเทศไทยจําเปนตองใชมาตรการทางการบริหารใหมีการผูกขาดยาที่<br />

มีชื่อเรียกวา<br />

“มาตรการชั่วคราว”<br />

คือ ใหยาใหมที่ไมเคยขายในไทยทั้งหมดมีสิทธิผูกขาดตลาดได<br />

อยางนอย 2 ป และตอมาในวันที่<br />

30 กันยายน 2535 รัฐบาลไทยไดมีการแกไขพระราชบัญญัติ<br />

สิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ฉบับที่<br />

2 (พ.ศ. 2535) ซึ่งเปนการแกไขกอนกําหนดการ<br />

ณ วันที่<br />

1 มกราคม<br />

2543 ที่ระบุไวในความตกลงทางการคาที่เกี่ยวของกับทรัพยสินทางปญญาในบทบัญญัติที่<br />

65.2 โดย<br />

ไดขยายการครอบคลุมสิทธิบัตรผลิตภัณฑยา ขยายอายุสิทธิบัตรจาก 15 ป เปน 20 ป และไดจัดตั้ง<br />

คณะกรรมการสิทธิบัตรยาขึ้นเพื่อทําหนาที่กํากับดูแลมิใหราคายาสูงมากเกินไป<br />

เนื่องจากการไดรับ<br />

สิทธิบัตรผลิตภัณฑยาแลวจะเกิดการผูกขาด ตอมาเมื่อวันที่<br />

31 พฤษภาคม 2537 รัฐบาลไดใหสิทธิ<br />

ผูกขาดตลาดของยาที่ไมสามารถจดสิทธิบัตรไดเพราะไมมีความใหมตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร<br />

แตเปนยาที่ไมเคยเขามาจําหนายในประเทศไทย<br />

(Pipeline Products Protection) และขยายเวลา<br />

ผูกขาดจากอยางนอย 2 ป เปน 5 – 6 ป ดวยการแกไข “มาตรการชั่วคราว”<br />

เปน “มาตรการติดตาม<br />

ความปลอดภัยจากการใชยา” (Safety Monitoring Program: SMP) และไดใหการคุมครองยา<br />

ยอนหลัง โดยใหสิทธิผูกขาดตลาดของยาที่ไดรับสิทธิบัตรเปนครั้งแรกในตางประเทศในระหวาง<br />

วันที่<br />

1 มกราคม 2529 ถึงวันที่<br />

30 กันยายน 2534 แตทางสหรัฐอเมริกาก็ยังคงกดดันประเทศไทย<br />

เรื่อยมาจนประเทศไทยไดแกไขพระราชบัญญัติสิทธิบัตรอีกครั้ง<br />

เปน พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ.<br />

40

Hurra! Ihre Datei wurde hochgeladen und ist bereit für die Veröffentlichung.

Erfolgreich gespeichert!

Leider ist etwas schief gelaufen!