18.08.2013 Aufrufe

cache

cache

cache

MEHR ANZEIGEN
WENIGER ANZEIGEN

Erfolgreiche ePaper selbst erstellen

Machen Sie aus Ihren PDF Publikationen ein blätterbares Flipbook mit unserer einzigartigen Google optimierten e-Paper Software.

ที่เกี่ยวกับสิทธิในทรัพยสินทางปญญาระหวางไทยกับประเทศที่พัฒนาแลวเกิดขึ้นทั้งในเวทีการคา<br />

โลกและการเจรจาแบบทวิภาคีควบคูกันไป<br />

กอนการแกไขพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522<br />

รัฐบาลสหรัฐอเมริกา ไดกดดันใหไทยใชมาตรการชั่วคราวซึ่งเปนมาตรการทางการบริหารเพื่อใหมี<br />

การผูกขาดทางการตลาดของยาที่บางชนิดที่ไมอยูในขายที่จะไดรับสิทธิบัตร<br />

ตอมาภายหลัง<br />

พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2535 มีผลบังคับใชแลว มาตรการดังกลาวไดปรับเปลี่ยนเปน<br />

“มาตรการติดตามความปลอดภัยจากการใชยา” (Safety Monitoring Program: SMP) ซึ่งถือปฏิบัติ<br />

กันอยูจนถึงป<br />

พ.ศ. 2544 จึงไดแยกการผูกขาดทางการตลาดออกจากการติดตามความปลอดภัยของ<br />

ยาใหม<br />

การที่ประเทศไทยกําหนดใหยาเปนสินคาที่ขอรับสิทธิบัตรไดทั้งสิทธิบัตรกระบวนการ<br />

ผลิตและสิทธิบัตรผลิตภัณฑ ซึ่งดําเนินการตั้งแต<br />

พ.ศ. 2535 กอนที่ขอกําหนดในขอตกลงวาดวย<br />

สิทธิในทรัพยสินทางปญญาที่เกี่ยวกับการคาจะบังคับใชถึง<br />

8 ป (ในป พ.ศ. 2543) เปนที่คาดวาจะ<br />

ทําใหเกิดผลเสียตอระบบยาและระบบสุขภาพหลายประการ ไดแก การที่ยาตนแบบที่มีสิทธิบัตร<br />

เหลานั้นไดรับสิทธิผูกขาดทางการตลาดเปนเวลานานกวา<br />

10-12 ป เปนสาเหตุใหยามีราคาแพง<br />

ประชาชนซึ่งสวนใหญมีฐานะยากจนไมสามารถเขาถึงยาจําเปน นอกจากนี้<br />

ยังเปนการเพิ่ม<br />

อุปสรรคของการพัฒนาอุตสาหกรรมยาภายในประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศไทยเปนประเทศ<br />

ที่ตองนําเขาเภสัชเคมีภัณฑที่ใชเปนวัตถุดิบในการผลิตยาเกือบทั้งหมด<br />

ซึ่งถือวาเปนอุตสาหกรรม<br />

ยาขั้นปลาย<br />

ผลกระทบตอราคายาและการเขาถึงยานี้เห็นไดชัดในกลุมยาตานไวรัสเอดส<br />

ถึงแมวา<br />

ขอตกลงดังกลาว รวมทั้งพระราชบัญญัติสิทธิบัตรจะมีมาตรการเพื่อบรรเทาความเสียหายอัน<br />

เนื่องมาจากการผูกขาดสินคาที่มีสิทธิบัตร<br />

เชน การใหสิทธิโดยรัฐ การบังคับใชสิทธิ การนําเขา<br />

ซอน เปนตน แตตลอดเวลาที่ผานมาก็ไมปรากฏวาประเทศไทยไดนํามาตรการเหลานี้มาใช<br />

นอกเหนือจากขอตกลงเกี่ยวกับการคุมครองสิทธิในทรัพยสินทางปญญาที่กลาวขางตน<br />

ยัง<br />

มีขอตกลงทางการคาระหวางประเทศอื่นๆ<br />

ที่จะมีผลกระทบตอระบบยาและระบบสุขภาพของไทย<br />

ซึ่งบางกรณีไดมีการลงนามใหสัตยาบันแลว<br />

หรือมีการปรับปรุงแกไขกฎหมายของไทยให<br />

สอดคลองกับขอตกลง และจะมีผลบังคับใชตามเวลาที่กําหนด<br />

เชน ความตกลงทั่วไปเกี่ยวกับ<br />

การคาบริการ (General Agreement on Trade in Services: GATS), ความตกลงวาดวยการใช<br />

มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Agreement on the Application of Sanitary and<br />

Phytosanitary Measure: SPS), ความตกลงวาดวยอุปสรรคทางดานเทคนิคตอการคา (Agreement on<br />

Technical Barriers to Trade: TBT), ขอตกลงวาดวยอัตราศุลกากรพิเศษที่เทากันของเขตการคาเสรี<br />

อาเซียน (AFTA), ขอตกลงภายใตความรวมมือทางเศรษฐกิจเอเชียแปซิฟก (APEC)<br />

20

Hurra! Ihre Datei wurde hochgeladen und ist bereit für die Veröffentlichung.

Erfolgreich gespeichert!

Leider ist etwas schief gelaufen!