17.11.2012 Aufrufe

Unit 3 air standard cycle

Unit 3 air standard cycle

Unit 3 air standard cycle

MEHR ANZEIGEN
WENIGER ANZEIGEN

Sie wollen auch ein ePaper? Erhöhen Sie die Reichweite Ihrer Titel.

YUMPU macht aus Druck-PDFs automatisch weboptimierte ePaper, die Google liebt.

Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

ข้อกําหนดเพื่อทําให้การคํานวณง่ายขึ้น<br />

- แก๊สในกระบอกสูบเป็น Perfect gas (เป็นไปตามกฏของบอยส์และชาลส์,<br />

ค่าความร้อนคงที่)<br />

- สมมติให้แก๊สในระบบเหมือนกับอากาศทุกประการ (ไม่คิดว่ามีไอน้ํามันหรือเป็นไอเสีย)<br />

โดยมี Specific heat =0.170 kcal/kg⋅OC - กระบวนการอัดและขยายตัวเป็น Adiabatic คือไม่มีความร้อนผ่านเข้าออกกระบอกสูบ<br />

(Q=0) และไม่คิดความเสียดทาน<br />

- ให้คิดเสมือนว่าไม่มีการดูดหรือคายอากาศออกจากระบบ<br />

ถ้าทําตามได้หมดเราเรียกสภาวะนี้ว่า<br />

Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

1


วัฏจักรที่สําคัญในเครื่องต้นกําลัง<br />

Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

- วัฏจักร Otto <strong>cycle</strong> หรือวัฐจักรปริมาตรคงที่<br />

(Constant volume)<br />

- วัฏจักร Diesel <strong>cycle</strong> หรือวัฐจักรความดันคงที่<br />

(Constant pressure)<br />

- วัฏจักรรวม Dual <strong>cycle</strong> (รวม Otto กับ Diesel เข้าด้วยกัน)<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

2


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

Thermal efficiency of <strong>cycle</strong><br />

คือสัดส่วนของการเปลี่ยนพลังงานความร้อนที่ได้รับไปเป็นพลังงานอื่น<br />

(ในที่นี้คือ<br />

เปลี่ยนไปเป็นงานการหมุนของเครื่องยนต์)<br />

คํานวณทางอ้อมได้จาก<br />

Work done = Heat supplied – Heat rejected<br />

หรือ W = Q A – Q R<br />

เพราะว่าประสิทธิภาพความร้อนของวัฏจักร = งานที่ได้รับ<br />

ปริมาณความร้อนที่ให้<br />

หรือในทางทฤษฎี (Theoretical thermal efficiency) แล้ว<br />

η = Q A – Q R<br />

Q A<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

3


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

Carnot <strong>cycle</strong><br />

- เป็นวัฏจักรอย่างง่ายที่ใช้อธิบายการทํางานของเครื่องจักรความร้อน<br />

- ยังไม่มีการสร้างเพื่อใช้งานจริงได้ ที่คล้ายๆมีแค่วัฏจักรการทําความเย็น<br />

(ไว้เรียนในวิชา Refrigeration)<br />

วัฏจักร P-V วัฏจักร T-S<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

4


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

ตําแหน่งที่<br />

1 ไป 2 เป็นการอัดก๊าซในระบบแบบ Adiabatic (ไม่มีความร้อนเข้าออก)<br />

ตําแหน่งที่<br />

2 ไป 3 ให้ความร้อนกับก๊าซในระบบแบบ Isothermal (อุณหภูมิคงที่)<br />

ตําแหน่งที่<br />

3 ไป 4 ก๊าซในระบบเกิดการขยายตัวแบบ Adiabatic (จ่ายงานกลออกมา)<br />

ตําแหน่งที่<br />

4 ไป 1 ระบายความร้อนออกจากก๊าซในระบบแบบ Isothermal<br />

พื้นที่ใต้กราฟทั้ง<br />

2 เมื่อ อินทิเกรทหาแล้ว ต้องมีค่าเท่ากัน คือ เท่ากับงานของระบบ<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

5


ประสิทธิภาพของวัฏจักร Carnot<br />

η = Q A –Q R<br />

Q A<br />

Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

จากตัวอย่าง 2.3 (บทที่แล้ว)<br />

เราได้ว่า W = C ln V2 V1 สังเกตว่า W และ Q มีหน่วยเดียวกันคือ kcal เพราะว่ามันคือพลังงานเหมือนกันแต่อยู่คนละ<br />

รูป คือเป็นพลังงานกล กับพลังงานความร้อน ดังนั้นเราดัดแปลงสมการมาใช้ด้วยกันได้<br />

โดยแปลง C คือ PV (ตัวอย่าง 2.3) และ W คือ Q<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

6


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

ในกระบวนการ 2 ไป 3 เป็นการให้ความร้อน<br />

สมการที่ใช้จึงเปลี่ยนเป็น<br />

QA = PV ln V3 V2 แต่จะเห็นว่าจาก 2 ไป 3 ปริมาตรของระบบเปลี่ยนไป<br />

(รูป ก) จะหางานทั้งหมด<br />

ตัองอินทิเกรท<br />

จาก W = PV<br />

dW = PdV<br />

W ทั้งหมด = ∫PdV<br />

= 2 ∫ 3 PdV<br />

แต่เพราะเป็นกระบวนการ Isothermal ซึ่งอุณหภูมิคงที่<br />

ดังนั้น พลังงานภายในไม่มีการ<br />

เปลี่ยนแปลงหรือ<br />

∆U = 0<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

7


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

จากสมการ Q = ∆U + W<br />

ดังนั้น<br />

Q = W = 2 ∫ 3 PdV (ก)<br />

เนื่องจากเป็นกระบวนการอุณหภูมิคงที่<br />

ซึ่ง<br />

PV = C หรือ P = C<br />

V<br />

แทนค่า P ในสมการ (ก) ได้เป็น W = 2∫3 C dV<br />

V<br />

= C 2 ∫ 3 1 dV<br />

V<br />

W = C ln V 3<br />

V 2<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

8


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

แต่ C = PV เอากลับไปแทน จะใช้ที่ตําแหน่ง<br />

2 หรือ 3 ก็ได้เท่ากัน ในที่นี้ใช้ตําแหน่ง<br />

3<br />

ได้เป็น W = P3V3 ln V3 V2 และ W = Q ดังนั้น<br />

Q = P3V3 ln V3 ในกรณีไม่รู้ P หรือ V ว่ามีค่าเท่าใด แต่รู้ Temp. อาจใช้กฏของก๊าซมาช่วยโดย<br />

PV = WRT<br />

เมื่อ W = ค่าน้ําหนักของอากาศหรือแก๊ซ<br />

R = Gas constant ซึ่งอากาศ<br />

R = 29.27 kg⋅m/kg⋅K<br />

T = temp. หน่วยเป็น K<br />

V 2<br />

(3.4)<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

9


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

ในกระบวนการ 2 ไป 3 เป็นการให้ความร้อน (Q A ) ดังนั้นแทนค่าใน สมการ 3.4 ได้เป็น<br />

Q A = WRT 3 ln V 3<br />

V 2<br />

ทํานองเดียวกัน หา การระบายความร้อน (Q R ) ในกระบวนการ 4 ไป 1 ได้จาก<br />

Q R = P 4 V 4 ln V 4<br />

V 1<br />

และ Q R = WRT 4 ln V 4<br />

V 1<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

10


คํานวณหาประสิทธิภาพทางความร้อนจาก<br />

η = Q A – Q R<br />

Q A<br />

Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

WRT 3 ln V 3 – WRT 4 ln V 4<br />

= V 2 V 1<br />

WRT 3 ln V 3<br />

V 2<br />

WRT3 ln V3 – WRT4 ln V4 = V2 V1 WRT3 ln V3 WRT3 ln V3 V2 V2 04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

11


คํานวณหาประสิทธิภาพทางความร้อนจาก<br />

Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

V4<br />

T4<br />

ln<br />

V1<br />

η<br />

= 1−<br />

V3<br />

T3<br />

ln<br />

V2<br />

แต่กระบวนการอัดและคลายความดันเป็น Adiabatic ซึ่งมีสมการสําหรับ<br />

Adiabatic (จาก<br />

thermodynamics โปรดไปทบทวนด้วย) ดังนี้<br />

T<br />

T<br />

2<br />

1<br />

⎡P<br />

= ⎢<br />

⎣ P<br />

2<br />

1<br />

⎤<br />

⎥<br />

⎦<br />

( k−1)<br />

/ k ( k−1)<br />

⎡ V1<br />

⎤<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

=<br />

⎢<br />

⎣<br />

V<br />

2<br />

⎥<br />

⎦<br />

12


T<br />

T<br />

2<br />

1<br />

Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

ในระบบของเรารู้แต่ Temp (T) กับ ปริมาตร (V) ไม่รู้ความดันเพราะอยู่ในกระบอกสูบ จึง<br />

เลือกเอาแต่ความสัมพันธ์ของ T กับ V ของระบบจากตําแหน่ง 1 ไป 2 (ช่วงการอัดตัว) มา<br />

พิจารณา คือ<br />

=<br />

⎡ V1<br />

⎢<br />

⎣V2<br />

⎤<br />

⎥<br />

⎦<br />

( k−1)<br />

จากนั้นการขยายตัวของไอเสียในกระบอกสูบจากตําแหน่ง 3 ไป 4 จะเขียนสมการเป็น<br />

T<br />

T<br />

3<br />

4<br />

⎡V4<br />

⎤<br />

=<br />

⎢<br />

V<br />

⎥<br />

⎣ 3 ⎦<br />

( k−1)<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

13


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

จากแผนภูมิ T-S ที่ผ่านมาจะเห็นว่า<br />

จากตําแหน่ง 2 ไป 3 เป็นกระบวนการ Isothermal ซึ่ง<br />

อุหภูมิคงที่<br />

(เช่นเดียวกับจากตําแหน่ง 1 ไป 4) หรือ T2 =T3 และ T4 = T1 ดังนั้น<br />

T 2 =<br />

แทนค่าฝั่งซ้ายและขวาด้วยค่าจากสไลด์ก่อนนี้ได้เป็น<br />

⎡ V1<br />

⎢<br />

⎣V2<br />

⎤<br />

⎥<br />

⎦<br />

T<br />

1<br />

( k−1)<br />

=<br />

T<br />

T<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

3<br />

4<br />

⎡ V<br />

⎢<br />

⎣V<br />

4<br />

3<br />

⎤<br />

⎥<br />

⎦<br />

( k−1)<br />

อากาศมีค่า k=1.4 มีเลขยกกําลังที่เท่ากันทั้งซ้ายและขวา<br />

ตัดออกเลย ได้เป็น<br />

14


⎡ V<br />

⎢<br />

⎣V<br />

จากสมการ<br />

1<br />

2<br />

⎤ ⎡ V4<br />

⎥ = ⎢<br />

⎦ ⎣V<br />

3<br />

⎤<br />

⎥<br />

⎦<br />

T<br />

η = 1−<br />

T<br />

4<br />

3<br />

Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

V<br />

ln<br />

V<br />

V<br />

ln<br />

V<br />

⎡V<br />

⎤<br />

หรือย้ายข้างเศษส่วนได้เป็น 4 ⎤ ⎡ V3<br />

⎢ ⎥ = ⎢ ⎥<br />

⎣ V1<br />

⎦ ⎣V<br />

2 ⎦<br />

4<br />

1<br />

3<br />

2<br />

T4<br />

η = 1−<br />

T<br />

แทนค่า สัดส่วน V ด้านบนได้เป็น<br />

3<br />

หรือ<br />

T<br />

η = 1−<br />

T<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

L<br />

H<br />

15


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

T4<br />

= 1−<br />

T<br />

η หรือ<br />

เมื่อ TL คือ อุณหภูมิต่ําที่สุดของวัฏจักรคาร์โนต์<br />

(T4 หรือ T1 )<br />

TH คือ อุณหภูมิสูงที่สุดของวัฏจักรคาร์โนต์<br />

(T2 หรือ T3 )<br />

3<br />

T<br />

η = 1−<br />

T<br />

ตัวอย่างที่<br />

3.2 จงคํานวณประสิทธิภาพความร้อนของวัฏจักรคาร์โนต์ ซึ่งทํางานระหว่าง<br />

อุณหภูมิ 20 OC กับ 1,450 OC T<br />

( 20 + 273K)<br />

วิธีทํา จากสมการ L η = 1− แทนค่าได้ η=<br />

1−<br />

T<br />

H<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

L<br />

H<br />

ดังนั้น η=0.83% #<br />

( 1,<br />

450+<br />

273K)<br />

16


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

Otto <strong>cycle</strong><br />

- เป็นวัฏจักรการทํางานจริงของเครื่องยนต์ก๊าซโซลีน (เบนซิน) แสดงได้ดังแผนภูมิ P-V<br />

แผนภูมิ P-V ของวัฏจักร Otto<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

17


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

ตําแหน่งที่<br />

1 ไป 2 เป็นการอัดก๊าซในระบบแบบ Adiabatic (ไม่มีความร้อนเข้าออก)<br />

ตําแหน่งที่<br />

2 ไป 3 ให้ความร้อนกับก๊าซในระบบแบบ Isochoric (ปริมาตรคงที่)<br />

เนื่องจาก<br />

ประกายไฟจากหัวเทียนจะจุดและเผาไอดีอย่างรวดเร็วและเสร็จก่อน<br />

ที่ลูกสูบจะทันเคลื่อนที่ออก<br />

ทําให้ปริมาตรในกระบวนการนี้ คงที่<br />

ตําแหน่งที่<br />

3 ไป 4 ก๊าซในระบบเกิดการขยายตัวแบบ Adiabatic (จ่ายงานกลออกมา)<br />

ตําแหน่งที่<br />

4 ไป 1 ระบายก๊าซไอเสียร้อนออกจากระบบแบบ Isochoric (ปริมาตรคงที่)<br />

เพราะ ลูกสูบเลื่อนลงสุดและลิ้นไอดีเปิดออก ทําให้ความดันตก แต่<br />

ปริมาตรห้องเผาไหม้เท่าเดิม (ลูกสูบยังไม่ทันวิ่ง)<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

18


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

จากสมการประสิทธิภาพของวัฏจักรความร้อน<br />

η=<br />

QA −Q<br />

Q<br />

ในจังหวะจุดระเบิด (กระบวนการจาก 2 ไป 3) จะเกิดความร้อน, Q A เท่ากับ<br />

โดย W = น้ําหนักของไอดีในกระบอกสูบ<br />

CV = ความร้อนจําเพาะของไอดีที่ปริมาตรคงที่<br />

T = อุณหภูมิสัมบูรณ์ (K)<br />

A<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

R<br />

QA =<br />

WCV<br />

( T3<br />

−T2<br />

)<br />

19


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

ในจังหวะคลายไอเสีย (กระบวนการจาก 1 ไป 4) จะต้องทิ้งความร้อน, Q R เท่ากับ<br />

QR = WCV<br />

( T4<br />

−T1<br />

)<br />

แทนค่า Q A และ Q R ในสมการประสิทธิภาพของวัฏจักรความร้อน ได้เป็น<br />

η=<br />

WC<br />

WC<br />

=<br />

WC<br />

V<br />

V<br />

V<br />

( T<br />

( T<br />

( T<br />

WC<br />

=<br />

1−<br />

WC<br />

3<br />

3<br />

3<br />

V<br />

V<br />

−T<br />

WC<br />

−T<br />

−T<br />

( T<br />

( T<br />

2<br />

2<br />

4<br />

3<br />

2<br />

V<br />

) −(<br />

WC<br />

( T −T<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

3<br />

) WC<br />

−<br />

) WC<br />

−T<br />

−T<br />

1<br />

2<br />

)<br />

)<br />

V<br />

2<br />

V<br />

V<br />

( T<br />

)<br />

( T<br />

( T<br />

4<br />

3<br />

4<br />

−T<br />

1<br />

−T1<br />

)<br />

−T<br />

)<br />

2<br />

)<br />

20


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

( T<br />

η=<br />

1−<br />

( T<br />

จากสมการของกระบวนการ Adiabatic ที่ว่า<br />

T<br />

T<br />

2<br />

1<br />

⎡P<br />

= ⎢<br />

⎣ P<br />

2<br />

1<br />

⎤<br />

⎥<br />

⎦<br />

−T<br />

−T<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

4<br />

3<br />

1<br />

2<br />

)<br />

)<br />

( k−1)<br />

/ k ( k−1)<br />

⎡ V1<br />

⎤<br />

พิจารณาเฉพาะความสัมพันธ์ของ T กับ V (เพราะไม่รู้ความดัน)<br />

T<br />

T<br />

2<br />

1<br />

=<br />

⎡ V1<br />

⎢<br />

⎣V2<br />

⎤<br />

⎥<br />

⎦<br />

=<br />

⎢<br />

⎣<br />

( k−1)<br />

V<br />

2<br />

⎥<br />

⎦<br />

(3.12)<br />

21


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

จะได้ว่า ( k−1)<br />

⎡ V1<br />

⎤<br />

T2<br />

= T1<br />

⎢<br />

V<br />

⎥<br />

⎣ 2 ⎦<br />

ทํานองเดียวกันในกระบวน Adiabatic การจาก 3 ไป 4 สมการคือ<br />

T<br />

T<br />

3<br />

4<br />

⎡V4<br />

= ⎢<br />

⎣ V3<br />

( k−1)<br />

หรือ ( k−1)<br />

⎡V4<br />

⎤<br />

T3<br />

=<br />

T4<br />

⎢<br />

V<br />

⎥<br />

⎣ 3 ⎦<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

⎤<br />

⎥<br />

⎦<br />

22


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

แทนค่า T2 และ T3 ลงในสมการที่<br />

3.12 จะได้ว่า<br />

η 4<br />

k−1<br />

1<br />

k−1<br />

4<br />

4<br />

3<br />

= 1−<br />

⎡<br />

⎢T<br />

⎢⎣<br />

⎛ V<br />

⎜<br />

⎝ V<br />

⎞<br />

⎟<br />

⎠<br />

( T<br />

−T<br />

)<br />

⎛ V ⎞<br />

⎜ 1 −T1<br />

⎟<br />

⎝ V2<br />

⎠<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

⎤<br />

⎥<br />

⎥⎦<br />

(a)<br />

23


-แผนภูมิ P-V ของวัฏจักร Otto<br />

Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

จะเห็นว่า ที่ตําแหน่ง<br />

2 และ 3 มีปริมาตร (V) เท่ากัน<br />

ที่ตําแหน่ง<br />

1 และ 4 มีปริมาตร (V) เท่ากัน<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

24


ซึ่งสัดส่วนของปริมาตรอธิบายได้ด้วยสมการ<br />

⎡ V<br />

⎢<br />

⎣V<br />

4<br />

3<br />

⎤<br />

⎥<br />

⎦<br />

Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

( k−1)<br />

⎡ V1<br />

= ⎢<br />

⎣V2<br />

⎤<br />

⎥<br />

⎦<br />

( k−1)<br />

แทนค่าในสมการหาประสิทธิภาพทางความร้อน (สมการ (a) ) ได้เป็น<br />

( T4<br />

−T1<br />

)<br />

η= −<br />

k−1<br />

⎡ ⎛ V ⎞ ⎤<br />

⎢ − ⎜ 1 ( T4<br />

T1<br />

) ⎟ ⎥<br />

⎢⎣<br />

⎝ V2<br />

⎠ ⎥⎦<br />

1 η=<br />

1− k−1<br />

⎛ V1<br />

⎞<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

⎜<br />

⎝ V<br />

2<br />

1<br />

⎟<br />

⎠<br />

η=<br />

1−<br />

rC คือ อัตราส่วนการอัดตัว ซึ่งเท่ากับปริมาตร<br />

ณ BDC หารด้วย ปริมาตร ณ TDC<br />

1<br />

r k−1<br />

C<br />

25


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

26


- เครื่องเบนซิน rC = 6.5-10.5<br />

- เครื่องน้ํามันก๊าด<br />

rC = 4.5-5.0<br />

- เครื่อง LPG rC = 8.0-10.5<br />

Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

27


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

28


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

29


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

30


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

31


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

32


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

- ประสิทธิภาพสัมพัทธ์ (Relative thermal efficiency) หรือ ηr คือการเปรียบเทียบ<br />

ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ที่สนใจ<br />

(จากบทที่<br />

2 เช่น ประสิทธิภาพทางความร้อนของ<br />

แรงม้าอินดิเคต หรือแรงม้าฝืด) ต่อประสิทธิภาพทางความร้อนของวัฏจักร เขียนได้เป็น<br />

η<br />

ηr<br />

=<br />

η<br />

- ในตัวอย่าง 3.5 ให้ IHP (Indicated horse power) ทําให้รู้ η it ดังนั้น η ใดๆ = η it<br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

���<br />

<strong>cycle</strong><br />

33


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

34


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

35


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

36


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

37


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

38


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

39


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

40


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

41


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

42


Air <strong>standard</strong> <strong>cycle</strong><br />

04-811-307 ต้นกําลังสําหรับระบบการเกษตร กระวี ตรีอํานรรค<br />

43

Hurra! Ihre Datei wurde hochgeladen und ist bereit für die Veröffentlichung.

Erfolgreich gespeichert!

Leider ist etwas schief gelaufen!