06.06.2013 Views

Buddhist Chronology

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ไกลกว่าปารีส-ลอนดอน มาก)<br />

ในปี 1919 เจ้าของโรงแรมแห่งหนึ่งในนคร<br />

นิวยอร์กตั้งรางวัล<br />

คงเหมือนท้าขึ้นมาว่า<br />

ใครขับเครื่องบิน<br />

บินเดี่ยวรวดเดียวไม่หยุดเลยจากนิวยอร์กไปถึงปารีส<br />

(๕,๘๐๐ กม.) ได้ จะให้เงิน $25,000<br />

เมื่อตั้งรางวัลขึ้นแล้ว<br />

เวลาผ่านไปจนถึงปี 1927/<br />

๒๔๗๐ ได้มีผู้พยายามบินหลายครั้ง<br />

แต่ไม่มีผู้ใดประสบ<br />

ความสาเร็จ มีแต่กลายเป็นการสละชีวิต เท่าที่ทราบว่า<br />

ตายไป ๖ ราย<br />

ในปี 1927 นั้น<br />

หนุ่มขี้อาย<br />

อายุ ๒๕ ปี มีชื่อว่า<br />

ชาร์ลส์ เอ. ลินด์เบอร์ก (Charles A. Lindbergh, 1902-<br />

1974) ในฐานะที่เป็นนักบินคนหนึ่ง<br />

ย่อมได้ยินข่าวเรื่องนี้<br />

เรื่อยมา<br />

เขาคิดว่า เขาต้องทาได้ ขอแต่ให้มีเครื่องบินที่ดี<br />

ครั้นแล้ว<br />

ลินด์เบอร์กหาผู้สนับสนุนเงินทุนค่า<br />

เครื่องบิน<br />

เขาไปพบบริษัทใหญ่ๆ ที่เป็นผู้ผลิตหลายราย<br />

ก็ล้วนปฏิเสธ ไม่ยอมขายเครื่องบินให้<br />

ในที่สุด<br />

เขาจ้าง<br />

บริษัทหนึ่งทาเครื่องบินขึ้น<br />

โดยตัวเขาเองช่วยออกแบบ<br />

จนเสร็จ ตั้งชื่อเครื่องบินนั้นว่า<br />

Spirit of St. Louis<br />

ครั้นแล้ว<br />

เช้าวันที่<br />

๒๐ พ.ค. เวลา ๐๗.๕๒ น.<br />

ชาร์ลส์ เอ. ลินด์เบอร์ก ก็นา Spirit of St. Louis ขึ้น<br />

จาก Long Island เมืองนิวยอร์ก เนื่องจากเครื่องบินนั้น<br />

เล็กเครื่องยนต์เดียว<br />

และต้องบรรทุกน้ามันมาก<br />

เขาจึง<br />

พยายามลดน้าหนักของอื่นให้เหลือน้อยที่สุด<br />

แม้แต่ร่ม<br />

ชูชีพ และวิทยุก็ไม่เอาไป ที่นั่งนักบินก็ใช้ไม้สาน<br />

มองทาง<br />

ข้างหน้าด้วยกล้องเปริสโคป (periscope)<br />

ลินด์เบอร์กคนเดียวแล่นลอยอยู่เหนือมหาสมุทร<br />

แอตแลนติก ในเครื่องบินลาน้อย<br />

ที่มีความเร็วเฉลี่ย<br />

๑๐๗<br />

ไมล์ ต่อชั่วโมง<br />

(๑๗๒ กม./ชม.) ตลอดวัน ตลอดคืน<br />

กลางท้องฟ้าเวิ้งว้าง<br />

มีอากาศและกระแสลมที่น่าพรั่นกลัว<br />

ฝ่าทั้งหิมะ<br />

ทั้งฝนและลูกเห็บ<br />

น้าแข็งจับปีกเครื่องบิน<br />

หลายครั้งต้องผ่านไปกลางเมฆหนาทึบ<br />

มองไม่เห็นอะไร<br />

เลย ทั้งหิวกระหาย<br />

และเมื่อยล้าอ่อนเพลีย<br />

บ่อยครั้งที่<br />

เขาหมดความรู้สึกหรือผลอยหลับไป<br />

แล้วรู้สึกตัวขึ้นมา<br />

ใหม่ทันพอดีก่อนที่เครื่องบินจะดิ่งลงบนพื้นมหาสมุทรที่<br />

เย็นเยือก ขณะเดียวกัน ผู้คนทั่วโลกที่รอฟังข่าว<br />

ก็ได้แต่<br />

หวั่นใจว่า<br />

วันหนึ่งกับคืนหนึ่ง<br />

แล้วก็อีกวันหนึ่งผ่านไปแล้ว<br />

เครื่องบินน้อยลานั้นอยู่ตรงไหน<br />

มีชะตากรรมเป็นอย่างไร<br />

จะไปถึงที่หมายหรือไม่<br />

ในที่สุด<br />

คืนวันรุ่งขึ้น<br />

๒๑ พ.ค. ๒๔๗๐ เวลา<br />

๒๒.๒๒ น. ชาร์ลส์ เอ. ลินด์เบอร์ก ก็ไปถึงเมืองปารีส เขา<br />

นาเครื่องบินลงจอดที่สนาม<br />

Le Bourget รวมใช้เวลาบิน<br />

๓๓ ชั่วโมงครึ่ง<br />

เป็นระยะทาง ๕,๘๐๐ กม. (๓,๖๐๐ ไมล์)<br />

นี่คือการบินเดี่ยวรวดเดียวข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก<br />

สาเร็จครั้งแรก<br />

(first nonstop solo flight across the<br />

Atlantic)<br />

ที่สนามบินกรุงปารีสนั้น<br />

แม้จะเป็นเวลากลางคืน<br />

ปรากฏว่าประชาชนที่ตามข่าวพากันมารอรับด้วยความ<br />

ตื่นเต้นเนืองแน่นมากมาย<br />

(Walter Cronkite แห่ง CBS<br />

บรรยายว่า คนมารับที่สนามบินมากกว่าแสนคน)<br />

ลินด์<br />

เบอร์กกลายเป็นวีรบุรุษ ๒ ฟากมหาสมุทร เขาทาให้ทั้ง<br />

การบินและนักบิน เป็นข่าวหน้าแรกของหนังสือพิมพ์ไป<br />

ทั่วโลก<br />

หนังสือพิมพ์เรียกเขาว่า “Lucky Lindy” (ลินดี้ผู้<br />

มีโชค) บ้าง “Lone Eagle” (อินทรีย์เดี่ยว)<br />

บ้าง<br />

เมื่อกลับมาอเมริกา<br />

เพื่อนร่วมชาติได้จัดงาน<br />

ต้อนรับลินด์เบอร์กอย่างวีรบุรุษผู้ยิ่งใหญ่<br />

ที่ได้นาความ<br />

สาเร็จและเกียรติยศมาให้แก่ประเทศชาติ เป็นงานฉลอง<br />

ชัยครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดของชาติหลังการชนะในสงครามโลก<br />

ครั้งที่<br />

๑ ริ้วกระดาษที่คนโปรยลงมาตามถนนบนทาง<br />

ที่เขาผ่านไป<br />

รวมน้าหนักได้สัก<br />

๑,๘๐๐ ตัน มากกว่าที่<br />

เคยโปรยคราวสิ้นสงครามโลกครั้งที่<br />

๑ นั้นเกิน<br />

๑๐ เท่า<br />

เป็นเหตุการณ์ที่ได้รับการบันทึกไว้อย่างเป็นเกียรติภูมิ<br />

ของชาวอเมริกัน เป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงที่สุดท่านหนึ่งใน<br />

ประวัติศาสตร์การบิน<br />

นอกจากเงินรางวัล $25,000 ที่ตั้งไว้<br />

และ<br />

เครื่องหมายเกียรติยศที่ประธานาธิบดีอเมริกันมอบให้<br />

แล้ว รัฐสภาอเมริกัน (Congress) ได้ออกกฎหมายพิเศษ<br />

มอบเหรียญ Congressional Medal of Honor แก่เขา<br />

(เหรียญตราสูงสุดนี้<br />

ตามปกติให้เฉพาะแก่ทหาร เพื่อเชิดชู<br />

“conspicuous gallantry and intrepidity at the<br />

risk of life, above and beyond the call of duty.”)<br />

ความสาเร็จครั้งนี้<br />

ด้านหนึ่งเป็นเครื่องบ่งชี้ถึง<br />

ความก้าวหน้าและความหวังที่สดใสของเทคโนโลยี<br />

พร้อม<br />

กับที่อีกด้านหนึ่ง<br />

เป็นการพิสูจน์ความสามารถของมนุษย์<br />

แสดงถึงความเข้มแข็งกล้าหาญ และเป็นพยานแห่งคตินิยม<br />

อเมริกันอันชื่นชมในความสาเร็จที่ทาได้ยาก (“hard-won<br />

achievement”) นอกจากเป็นความสาเร็จของตัวนักบิน<br />

แล้ว ก็ทาให้ประชาชนสนใจเครื่องบิน<br />

สนใจการบิน และ<br />

มีความมั่นใจในการเดินทางด้วยเครื่องบิน<br />

ตลอดจนการที่<br />

จะมีใจให้แก่การเดินทางทางอากาศเพิ่มขึ้นด้วย<br />

เวลาผ่านมาอีก ๕ ปี ในปี 1932/๒๔๗๕ อะมีเลีย<br />

แอร์ฮาร์ท (Amelia Earhart) ได้เป็นสตรีคนแรกที่บิน<br />

ห้ามซื้อ-ขาย<br />

อนุญาตให้ใช้เพื่อการศึกษาส่วนตัวเท่านั้น<br />

ภาพประกอบส่วนใหญ่มีลิขสิทธิ์<br />

หากประสงค์จะนําไปใช้ต่อ ต้องติดต่อขออนุญาตจากเจ้าของก่อน<br />

ภาคพิเศษ 243

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!