20.03.2014 Views

µ - Khamkoo

µ - Khamkoo

µ - Khamkoo

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

74<br />

ของพมาไปจนจรดอาณาบริเวณชายแดนที่อังกฤษเปนผูขีดเสนพรมแดนเอาไวในศตวรรษที่ 19 22<br />

ความพยายามของสถาบันทหารในอันที่จะรวมอาณาบริเวณทั้งหลายเขาดวยกัน จึงเปนพันธะกิจ<br />

ที่ไมเคยมีมากอนในประวัติศาสตรการเมืองของพมา<br />

เปาหมายและอุดมการณของสถาบันทหารจึงพัฒนาขึ้นมาพรอม ๆ กับพันธะกิจที่ได<br />

วางไว นั่นก็คือ สรางความเปนเอกภาพใหเกิดขึ้นใหไดในรัฐชาติที่เรียกวาพมานี้ และวิธีการเดียว<br />

ที่ทหารใชก็คือ การใชวิธีการทางทหาร (militarization) นั่นเอง ทั้งนี้เพราะประวัติศาสตรการเมือง<br />

ของพมาไมมีกลไกและกระบวนการที่จะมาบริหารจัดการความขัดแยงภายในประเทศ ในทาง<br />

กลับกัน รัฐบาลพมาทั้งที่เปนรัฐบาลพลเรือนและรัฐบาลทหารตางเลือกใชปฏิบัติการทางทหารมา<br />

เปนกลไกสําคัญในการแกไขความขัดแยง แมวาในประวัติศาสตรจะมีการใชวิธี “เจรจา” กับ<br />

บรรดากลุมตอตานรัฐทั้งหลายใหเขาสูกระบวนการหยุดยิง (ceasefire) อยูบาง แตแลวก็หวนกลับ<br />

ไปสูการใชกําลังในเวลาไมนานนัก สวนกลุมตอตานรัฐที ่เขาสูกระบวนการเจรจาหยุดยิงนั้น<br />

หากแตพิจารณาที่มาที่ไปของการเจรจาแลวจะพบวาหลายกลุมกระทําไปหลังจากถูกปฏิบัติการทาง<br />

ทหารจากกองทัพจนไมมีทางเลือกอื่นนอกจากการยอมจํานน<br />

แมวาการชุมนุมประทวงอยางสันติของนักศึกษา ประชาชนไดถูกลอมปราบอยางทารุณ<br />

โดยทหาร ตํารวจ และไดนําไปสูคลื่นการหลั่งไหลเขาปาของนักศึกษาจํานวนมาก เพื่อรบกับการตอ<br />

สูดวยกําลังอาวุธดวยการลงนามในสัญญาหยุดยิง (cease fire agreement) กับรัฐบาลทหารพมา เชน<br />

รัฐคะฉิ่น และกลุมไทใหญทางตอนเหนือ แตการตอสูดวยอาวุธเพื่อกอบกูเอกราชของกลุมชาติพันธุ<br />

ตางๆ ก็ยังคงดําเนินตอไป<br />

การตอสูเพื่อเอกราชของชาวไทใหญนับเปนการตอสูที่ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร<br />

การเคลื่อนไหวของกลุมชาติพันธุเพื่อกูชาติ (Ethno-Nationalist Movement) ในพมาก็วาได<br />

ขบวนการตอตานในยุคแรกๆ นั้น เริ่มตนจากกลุมหนุมศึกหาญ ภายใตการนําของ<br />

เจานอยซอหยั่นตะ ในป พ.ศ. 2528 และนับตั้งแต พ.ศ. 2503 เปนตนมา การปฏิวัติเพื่อกูชาติไดแพร<br />

ขยายไปทั่วรัฐไทใหญ และพัฒนาไปสูกลุมกองกําลังมากมายหลายกลุมภายใตการนําของผูนําที่มี<br />

ความคิด ความเชื่อที่แตกตางกัน เชน Shan State Army (SSA), Shan United Revolutionary Army<br />

(SURA), Shan National Army (SNA), Shan United Army (SUA), Shan State Restoration Council<br />

(SSRC) และ Mong Tai Army (MTA) ตางๆ เปนตน<br />

22 Ibid, p. 57.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!