12.04.2014 Views

พยาธิใบไม้ตับในประเทศไทย Liver Fluke in Thailand - มหาวิทยาลัย ...

พยาธิใบไม้ตับในประเทศไทย Liver Fluke in Thailand - มหาวิทยาลัย ...

พยาธิใบไม้ตับในประเทศไทย Liver Fluke in Thailand - มหาวิทยาลัย ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553 49<br />

<strong>พยาธิใบไม้ตับในประเทศไทย</strong><br />

<strong>Liver</strong> <strong>Fluke</strong> <strong>in</strong> <strong>Thailand</strong><br />

ณัฏฐวุฒิ แก้วพิทูลย์*<br />

ศูนย์วิจัยและบริการตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื อจากปรสิตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

<strong>มหาวิทยาลัย</strong>อุบลราชธานี อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190<br />

สรญา แก้วพิทูลย์<br />

วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข <strong>มหาวิทยาลัย</strong>อุบลราชธานี อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190<br />

บทคัดย่อ<br />

พยาธิใบไม้ในตับยังคงเป็นปัญหาที สําคัญทางด้านสาธารณสุขของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

ประมาณการว่ามีผู้ป่วยด้วยโรคพยาธิใบไม้ตับไม่น้อยกว่า 6 ล้านคน ในประเทศไทยมีรายงานพบพยาธิใบไม้ตับครังแรก<br />

โดย Leiper ในปี พ.ศ. 2454 จากนัน Sadun ได้ทําการศึกษาและให้ข้อสรุปว่าพยาธิใบไม้ตับที พบในประเทศไทยเป็นชนิด<br />

Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i และได้รับการยืนยันอีกครังโดย Wykoff และคณะในปี พ.ศ. 2509 พยาธิใบไม้ตับรูปร่างคล้ายใบไม้<br />

ลําตัวเรียวยาว ขนาดโดยเฉลี ย ยาว 7.0 (5.4–10.2) มม. กว้าง x 1.5(0.8–1.9) มม. ไข่พยาธิใบไม้ตับมีขนาด 27 x 15<br />

ไมครอน ตัวแก่ของพยาธิใบไม้ตับ O. viverr<strong>in</strong>i อาศัยอยู ่ในท่อนํ าดีในตับของโฮสต์เฉพาะ เช่น คน สุนัข แมว มีหอยนํ าจืด<br />

Bithynia species เป็นโฮสต์ตัวกลางลําดับที หนึ ง ปลานํ าจืดกลุ่มปลาวงศ์ตะเพียนเป็นโฮสต์ตัวกลางลําดับที สอง พยาธิ<br />

ใบไม้ตับติดต่อสู ่คนโดยการกินปลาดิบๆ สุกๆ ซึ งมีระยะติดต่อ การติดเชื อพยาธิใบไม้ตับมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรค<br />

เกี ยวกับระบบตับและทางเดินนํ าดี เช่น ถุงนํ าดีอักเสบ ตัวเหลือง นิวในถุงนํ าดี ตับม้ามโต และหลักฐานทางระบาดวิทยา<br />

และในสัตว์ทดลองพบว่ามีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคมะเร็งท่อนํ าดี ดังนันการให้สุขศึกษาเกี ยวกับการควบคุมและ<br />

ป้องกันยังคงมีความสําคัญโดยเฉพาะในพื นที เสี ยง<br />

คําสําคัญ : พยาธิใบไม้ตับ Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i มะเร็งท่อนํ าดี ประเทศไทย<br />

Abstract<br />

Opisthorchiasis caused by Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i rema<strong>in</strong>s a major public health problem <strong>in</strong> <strong>Thailand</strong><br />

especially <strong>in</strong> the Northeast. It is estimated that six million people are <strong>in</strong>fected with O. viverr<strong>in</strong>i (calculated from<br />

overall 9.4% prevalence <strong>in</strong> 2001). The liver fluke was first described <strong>in</strong> 1911 by Leiper. Sadun commented that<br />

the liver fluke <strong>in</strong>fection <strong>in</strong> <strong>Thailand</strong> was caused by O. viverr<strong>in</strong>i, not by O. fel<strong>in</strong>eus, and this was confirmed later<br />

by Wykoff et al. <strong>in</strong> 1965. The adult worms of O. viverr<strong>in</strong>i are flat, leaf-shaped, and transparent. The average size<br />

of fresh worms is 7.0 (5.4–10.2) x 1.5 (0.8–1.9) mm. Eggs are 27 μm x 15 μm <strong>in</strong> average size. The adult worm<br />

lives <strong>in</strong> the hepatic bile ducts of def<strong>in</strong>itive host especially <strong>in</strong> human, dog, and cat. Snails of Bithynia species are<br />

the 1 st <strong>in</strong>termediate host and cypr<strong>in</strong>oids fishes are the 2 nd <strong>in</strong>termediate host, respectively. The liver fluke<br />

<strong>in</strong>fection occurs by eat<strong>in</strong>g traditional raw or uncooked fish products which is popular <strong>in</strong> the northeastern and<br />

northern region particularly <strong>in</strong> the rural areas. The liver fluke <strong>in</strong>fection is associated with a number of<br />

hepatobiliary diseases, <strong>in</strong>clud<strong>in</strong>g cholangitis, obstructive jaundice, cholithiasis, and hepatomegaly. Moreover,<br />

both experimental and epidemiological evidence strongly implicate the liver fluke <strong>in</strong>fection correlated with the<br />

etiology of the bile duct cancer (cholangiocarc<strong>in</strong>oma). Health education programs to prevent and control<br />

opisthorchiasis are still required <strong>in</strong> the high-risk areas.


50 วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553<br />

Keywords : <strong>Liver</strong> fluke, Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i, Cholangiocarc<strong>in</strong>oma, <strong>Thailand</strong><br />

บทนํา<br />

พยาธิใบไม้ตับยังคงเป็นปัญหาที สําคัญทางด้าน<br />

สาธารณสุขของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคตะวันออก<br />

เฉียงเหนือ ประมาณการว่ามีผู้ป่วยด้วยโรคพยาธิใบไม้ตับไม่<br />

น้อยกว่า 6 ล้านคน นอกจากนี แล้วยังพบว่าพยาธิใบไม้ตับมี<br />

ความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งท่อนํ าดีอีกด้วย พยาธิใบไม้<br />

ตับของคนที สําคัญมีอยู ่ 3 ชนิด ได้แก่ Clonorchis s<strong>in</strong>ensis<br />

พบระบาดแถบจีน ญี ปุ่น ฮ่องกง เกาหลี ไต้หวันและ<br />

เวียดนาม Opisthorchis fel<strong>in</strong>eus พบระบาดแถบ ยุโรป<br />

ตะวันนออก เช่นไซบีเรีย Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i พบระบาด<br />

แถบ ประเทศไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม (IARC,<br />

1994) ในประเทศไทยมีรายงานพบครังแรกโดย Leiper ในปี<br />

พ.ศ. 2454 ซึ งได้ตรวจศพที จังหวัดเชียงใหม่และวินิจฉัยว่า<br />

เป็นโรคพยาธิใบไม้ตับชนิด O. fel<strong>in</strong>eus ต่อมาในปี พ.ศ.<br />

2470 เฉลิม พรหมมาศ รายงานว่าพบพยาธิใบไม้ตับกว่า<br />

1,000 ตัว ในท่อนํ าดีของศพชายไทย อายุ 17 ปี ซึ งเป็นชาว<br />

จังหวัดร้อยเอ็ด และให้การวินิจฉัยเป็นพยาธิใบไม้ตับชนิด<br />

O. fel<strong>in</strong>eus เช่นเดียวกัน ระหว่างปี พ.ศ. 2497-2499<br />

Sadun ศึกษาและให้ข้อสรุปว่าพยาธิใบไม้ตับที พบใน<br />

ประเทศไทยไม่ใช่ชนิด O. fel<strong>in</strong>eus แต่เป็น O.viverr<strong>in</strong>i และ<br />

ได้รับการยืนยันอีกครังโดย Wykoff และคณะในปี พ.ศ.2509<br />

สุวัชร วัชรเสถียร และ จําลอง หะริณสุต ได้รายงานการ<br />

สํารวจพยาธิใบไม้ตับในปี พ.ศ. 2501 พบว่าเป็นพยาธิใบไม้<br />

ตับทัวประเทศ 22.1% โดยมีภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบ<br />

มากที สุด รองลงมา คือภาคเหนือ และภาคกลาง คิดเป็นร้อย<br />

ละ 29.8, 10.3 และ 0.3 ตามลําดับ ข้อมูลล่าสุดทังประเทศ<br />

พบอัตราความชุกเท่ากับ 9.4% (Jongsusuntigul และ<br />

Imsomboon, 2003) ปัจจุบันนี มีรายงานการศึกษาวิจัยเป็น<br />

จํานวนมากทังด้านการระบาดวิทยา พยาธิชีววิทยา ชีว<br />

โมเลกุลเกี ยวกับพยาธิใบไม้ตับ ซึ งมีข้อมูลที สามารถ<br />

สนับสนุนและสรุปได้ว่าพยาธิเป็นสาเหตุหลักของการเกิด<br />

มะเร็งท่อนํ าดี ถึงแม้ว่าจะระดับอัตราความชุกของพยาธิ<br />

ใบไม้ตับจะลดลงแต่ก็ยังพบระบาดในพื นที เดิมๆ และก็พบ<br />

อัตราป่วยด้วยโรคมะเร็งสูงอยู ่เช่นเดิม จึงถือได้ว่าพยาธิชนิด<br />

นี มีความสําคัญและเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขของไทย<br />

อย่างยิง บทความนี จึงได้ทําการทบทวนวรรณกรรมต่างๆ<br />

เพื อเป็นประโยชน์ในการนําความรู้ที ทันสมัยมากขึ น ทังด้าน<br />

การระบาดของพยาธิ และสาเหตุ ความสัมพันธ์กับการเกิด<br />

มะเร็งท่อนํ าดี ซึ งจะทําให้เราเข้าใจกลไกและความสัมพันธ์<br />

ของพยาธิกับโฮสต์มากยิงขึ น<br />

รูปร่างลักษณะ<br />

พยาธิใบไม้ตับ (O. viverr<strong>in</strong>i) รูปร่างคล้ายใบไม้<br />

ลําตัวเรียวยาว เมื อมีชีวิตอยู ่มีสีขาวอมชมพู ตัวบางใสรูป<br />

พยาธิ มีลักษณะส่วนท้ายมนกว่าส่วนหัว ขนาดยาว 7.0<br />

(5.4–10.2) มม. กว้าง x 1.5(0.8–1.9) มม. oral sucker<br />

อยู ่ปลายหน้าสุด รังไข่เป็นแขนง มดลูกยาวขดไปมาใน<br />

ส่วนกลางลําตัว อัณฑะมี 2 อันมีลักษณะเป็นกลีบๆ (lobe)<br />

อยู ่ส่วนท้ายของตัว (ภาพที 1)<br />

ภาพที 1 พยาธิใบไม้ตับ Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i รูปร่าง<br />

คล้ายใบไม้ ลําตัวเรียวยาว เมื อมีชีวิตอยู ่มีสีขาว<br />

อมชมพู ตัวบางใสรูปพยาธิ มีลักษณะส่วนท้ายมน<br />

กว่าส่วนหัว ขนาดยาว 5.5-9.5 มม. กว้าง 0.7-1.6<br />

มม. oral sucker อยู ่ปลายหน้าสุด รังไข่เป็นแขนง<br />

มดลูกยาวขดไปมาในส่วนกลางลําตัวอัณฑะมี 2<br />

อันมีลักษณะเป็นกลีบๆ (lobe) อยู ่ส่วนท้ายของ<br />

ตัว (A; O. fel<strong>in</strong>eus, B; O. viverr<strong>in</strong>i, C;<br />

Clonorchis s<strong>in</strong>ensis) (ดัดแปลงจาก Ash, 1997)<br />

ไข่พยาธิใบไม้ตับ (O.viverr<strong>in</strong>i) รูปไข่สีนํ าตาลปนเหลืองมี<br />

ฝาปิด ไหล่ของไข่มองเห็นชัด มีตุ่มเล็กๆอยู ่ทางด้านท้าย<br />

ไข่มีขนาด 27 x 15 ไมครอน (ภาพที 2) เมื อปนกับอุจจาระ<br />

ใหม่ๆ มีพยาธิตัวอ่อนไมราซิเดียมเจริญอยู ่ภายใน เปลือก<br />

ไข่ของพยาธิใบไม้ตับชนิด O.viverr<strong>in</strong>i เมื อดูกล้อง<br />

scann<strong>in</strong>g electron microscope จะเห็นเป็นเส้นๆ เรียก<br />

muskmelon pattern (Kaewkes, 2003)


่<br />

่<br />

<br />

51 วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553<br />

ภาพที 2 ไข่พยาธิใบไม้ตับ Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i รูปไข่สีนํ าตาลปนเหลืองมีฝาปิด ไหล่ของไข่มองเห็นชัด มีตุ่มเล็กๆอยู<br />

ทางด้านท้าย ไข่มีขนาด 27 x 15 ไมครอน (A) เปลือกไข่ของพยาธิใบไม้ตับชนิด O.viverr<strong>in</strong>i เมื อดูกล้อง<br />

scann<strong>in</strong>g electron microscope จะเห็นเป็นเส้นๆ เรียก muskmelon pattern (B) (ดัดแปลงจาก Kaewkes,<br />

2003)<br />

ภาพที 3 อาหารที มีรายงานการปนเปื อนของระยะติดต่อของพยาธิใบไม้ตับ Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i ปลานํ าจืด ซึ งจัดเป็น<br />

โฮสต์ตัวกลางลําดับที สอง เช่น ปลาแม่สะแด้ง ปลาตะเพียนทราย ปลาสร้อยนกเขา ปลาสูตร ปลากะมัง ในเนื อ<br />

ปลาเหล่านี มีระยะติดต่อ คือ เมตาเซอร์คาเรีย (metacercaria) ฝังตัวในรูปซีสต์ มีประชาชนนิยมนํามาปรุงหรือ<br />

ทําอาหารแบบดิบๆ สุกๆ เช่น ก้อยปลา ปลาส้ม ปลาร้า และแจ่วบอง เป็นอาหารที นิยมรับประทานในภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือของประเทศไทย<br />

วงจรชีวิตของพยาธิ<br />

ตัวแก่ของพยาธิใบไม้ตับ O. viverr<strong>in</strong>i อาศัยอยู ่ในท่อ<br />

นํ าดีในตับของโฮสต์เฉพาะ เช่น คน สุนัข แมว นอกจากนี ยัง<br />

อาจอาศัยอยู ่ในถุงนํ าดีหรือตับอ่อนได้ ไข่จะปนออกมากับ<br />

นํ าดี เข้าสู ่ลําไส้เล็ก และปนออกมากับอุจจาระ ถ้าไข่ตกลงสู<br />

แหล่งนํ า หอยนํ าจืดพวก Bithynia species ซึ งเป็นโฮสต์<br />

กลางลําดับที หนึ งจะกินไข่พยาธิเข้าไป ไข่จะฟักตัวออกมา<br />

เป็นไมราซิเดียม (miracidium) แล้วเจริญต่อไปเป็นเซอร์คา-<br />

เรีย (cercaria) เซอร์คาเรียจะว่ายออกจากหอยไปฝังตัวใน<br />

ปลานํ าจืด โฮสต์ตัวกลางลําดับที สอง เช่น ปลาแม่สะแด้ง<br />

ปลาตะเพียนทราย ปลาสร้อยนกเขา ปลาสูตร ปลากะมัง<br />

เป็นต้น พยาธิเจริญต่อไปเป็นเป็นระยะติดต่อ คือ เมตา<br />

เซอร์คาเรีย (metacercaria) ฝังตัวในรูปซีสต์ เมื อคนและ<br />

สัตว์กินปลาที มีระยะนี แบบสุกๆดิบๆ เช่น ก้อยปลา(ภาพที<br />

3) เมตาเซอร์คาเรียจะแตกออกจากซีสท์ มาอยู ่ในลําไส้<br />

ส่วนดูโอดีนัม แล้วเดินทางผ่านเข้าสู ่ท่อนํ าดีใหญ่ เดินทาง<br />

ต่อไปถึงท่อนํ าดีเล็กแล้วฝังตัวเจริญเป็นตัวแก่ต่อไป<br />

ระยะเวลาตังแต่คนกินตัวอ่อนระยะติดต่อของพยาธิเข้าไป<br />

จนเจริญเป็นตัวเต็มวัยและตรวจพบไข่ในอุจจาระใช้เวลา<br />

ประมาณ 4-8 สัปดาห์ (Wykoff et al., 1965) (ภาพที 4)


52 วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553<br />

ภาพที 4 วงจรชีวิตของพยาธิใบไม้ตับ Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i ตัวแก่ของพยาธิใบไม้ตับอาศัยอยู ่ในท่อนํ าดีในตับของโฮสต์<br />

ไข่จะปนออกมากับอุจจาระตกลงสู ่แหล่งนํ า หอยนํ าจืดโฮสต์กลางลําดับที หนึ งจะกินไข่พยาธิเข้าไป ไข่จะฟักตัว<br />

ออกมาเป็นไมราซิเดียม (miracidium) แล้วเจริญต่อไปเป็นเซอร์คาเรีย (cercaria) และว่ายออกจากหอยไปฝังตัว<br />

ในปลานํ าจืด ซึ งจัดเป็นโฮสต์ตัวกลางลําดับที หนึ ง และเจริญต่อไปเป็นเป็นระยะติดต่อ คือ เมตาเซอร์คาเรีย<br />

(metacercaria) เมื อโฮสต์กินปลาที มีระยะนี แบบสุกๆดิบๆ เมตาเซอร์คาเรียจะแตกออกจากซีสท์ มาอยู ่ในลําไส้<br />

ส่วนดูโอดีนัม แล้วเดินทางผ่าน เข้าสู ่ท่อนํ าดีใหญ่ เดินทางต่อไปถึงท่อนํ าดีเล็กแล้งฝังตัวเจริญเป็นตัวแก่ต่อไป<br />

ดัดแปลงจาก http://www.dpd.cdc.gov/DPDx/HTML/Opisthorchiasis.htm.<br />

การระบาดของ<strong>พยาธิใบไม้ตับในประเทศไทย</strong><br />

จากข้อมูลย้อนหลัง 10 ปี ของสํานักระบาดวิทยา กรม<br />

ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าในปี พ.ศ. 2538 มี<br />

รายงานผู้ติดเชื อจํานวน 71 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ<br />

0.12 ต่อประชากรแสนคน ช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2539-2543<br />

ไม่มีรายงานผู้ป่วย จนกระทัง ปี พ.ศ. 2544 มีผู้ป่วยทังสิ น<br />

1,071 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 1.72 ต่อประชากรแสนคน และ<br />

ผู้ป่วยลดลงในปี พ.ศ. 2545 เหลือ 469 ราย คิดเป็นอัตรา<br />

ป่วย 0.75 ต่อประชากรแสนคน จํานวนผู้ป่วยกลับมีรายงาน<br />

เพิมขึ นในปี พ.ศ. 2546 มีรายงานโรคพยาธิใบไม้ในตับ<br />

จํานวน 995 ราย อัตราป่วย 1.58 ต่อประชากรแสนคน ไม่มี<br />

รายงานผู้เสียชีวิตจากการติดเชื อพยาธิใบไม้ในตับ จังหวัดที<br />

มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน มากที สุด 10 จังหวัดแรก<br />

ได้แก่ สกลนคร ยโสธร อํานาจเจริญ ลําปาง มุกดาหาร<br />

เชียงราย นครสวรรค์ น่าน ภูเก็ต และ หนองบัวลําภู โดยมี<br />

อัตราป่วย 60.32, 36.14, 23.21, 1.50, 0.59, 0.56, 0.44,<br />

0.41, 0.36 และ 0.20 ตามลําดับ การกระจายของกลุ่มอายุ<br />

ผู้ป่วย พบว่าผู้ป่วยกลุ่มอายุ 45-54 ปี มีรายงานการติดเชื อ<br />

พยาธิมากที สุด 218 ราย หรือคิดเป็นอัตราป่วย 2.94 ต่อ<br />

ประชากรแสนคน รองลงมาเป็นกลุ่มอายุ 55-64 ปี จํานวน<br />

125 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 2.85 ต่อประชากรแสนคน ไม่<br />

พบผู้ป่วยในกลุ่มทารกแรกคลอด (0-28 วัน) และในกลุ่ม<br />

เด็กอายุ 0-3 เดือน เริมมีรายงานพบผู้ป่วยในกลุ่มเด็กอายุ<br />

4-5 เดือน จํานวน 2 ราย อาชีพที มีรายงานการติดเชื อ<br />

พยาธิมากที สุดคืออาชีพเกษตรกร จํานวน 759 ราย คิด<br />

เป็นร้อยละ 76.3 รองลงมาพบในกลุ่มนักเรียน จํานวน 113<br />

ราย คิดเป็นร้อยละ 11.4 ไม่พบผู้ป่วยในกลุ่มอาชีพงาน<br />

บ้าน ประมงและเลี ยงสัตว์ อัตราส่วนชายต่อหญิง เท่ากับ<br />

1:1.1 จํานวนผู้ป่วยกระจายรายเดือน พบผู้ป่วยมากในช่วง<br />

ต้นปี ตังแต่เดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ์ โดยจํานวนผู้ป่วย<br />

ที เกิดในช่วง 2 เดือนนี มี 489 ราย คิดเป็นร้อยละ 49.0<br />

ของผู้ป่วยที พบทังปี (อัสดง วรรณจักร และพจมาน ศิริ<br />

อารยาภรณ์, 2546) สําหรับข้อมูลผู้ป่วยระหว่างปี 2546-<br />

2549 ดังแสดงในภาพที 5, 6, 7, 8, 9


วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553 53<br />

ภาพที 5 แสดงอัตราการติดเชื อพยาธิใบไม้ตับโดยจําแนกตามลักษณะเวลาเป็นเดือนและปี ตังแต่ปี พ.ศ. 2544-2549<br />

(สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2550)<br />

ภาพที 6 แสดงอัตราการติดเชื อพยาธิใบไม้ตับโดยจําแนกตามลักษณะอายุ ตังแต่ปี พ.ศ. 2544-2549 (สํานักระบาดวิทยา<br />

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2550)


54 วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553<br />

ภาพที 7 แสดงอัตราการติดเชื อพยาธิใบไม้ตับโดยจําแนกตามลักษณะเพศ ตังแต่ปี พ.ศ. 2544-2549 (สํานักระบาดวิทยา<br />

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2550)<br />

ภาพที 8 แสดงอัตราการติดเชื อพยาธิใบไม้ตับโดยจําแนกตามอาชีพ ตังแต่ปี พ.ศ. 2544-2549 (สํานักระบาดวิทยา กรม<br />

ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2550)


่<br />

วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553 55<br />

ภาพที 9 แสดงอัตราการติดเชื อพยาธิใบไม้ตับโดยจําแนกตามภาค ตังแต่ปี พ.ศ. 2544-2549 (สํานักระบาดวิทยา กรม<br />

ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2550)<br />

ในปี พ.ศ. 2547 มีรายงานโรคพยาธิใบไม้ตับจํานวน<br />

830 ราย อัตราป่วย 1.33 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงาน<br />

ผู้เสียชีวิต จังหวัดที มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนมาก<br />

ที สุด 10 จังหวัดแรก ได้แก่ จังหวัดสกลนคร 49.02ลําพูน<br />

(30.47) อํานาจเจริญ (7.59) ลําปาง (5.20) ยโสธร (4.39)<br />

มุกดาหาร (2.68) เชียงใหม่ (1.11) บุรีรัมย์ (0.97) กาฬสินธุ์<br />

(0.61) และอุทัยธานี (0.60) ผู้ป่วยมีจํานวนเพิมมากขึ น<br />

อย่างชัดเจนตังแต่อายุ 25 ปีขึ นไป กลุ่มอายุผู้ป่วยที มีอัตรา<br />

ป่วยสูงสุดอยู ่ในช่วงกลุ่มอายุ 55 – 64 ปี เท่ากับ 2.98 ต่อ<br />

ประชากรแสนคน พบผู้ป่วย 124 ราย รองลงมาได้แก่ กลุ่ม<br />

อายุ 45 – 54 ปี พบจํานวน 198 ราย อัตราป่วยเท่ากับ<br />

2.59 ต่อประชากรแสนคน อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง<br />

เท่ากับ 1.2:1 เป็นผู้ป่วยนอก ร้อยละ 98.9 (821 ราย) ส่วน<br />

ใหญ่อาศัยอยู ่เขตองค์การบริหารส่วนตําบล ร้อยละ 98.3<br />

(816 ราย) ผู้ป่วยที เหลืออาศัยอยู ่ในเขตเทศบาล ภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ มีจํานวนผู้ป่วยสูงสุด 636 ราย คิด<br />

เป็นอัตราป่วย 2.96 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาได้แก่<br />

ภาคเหนือพบผู้ป่วย 193 ราย อัตราป่วย 1.61 ต่อประชากร<br />

แสนคนภาคกลางพบผู้ป่วยน้อยมาก ส่วนภาคใต้ไม่มี<br />

รายงานผู้ป่วยเลย ปีนี พบผู้ป่วยจํานวนมากในช่วงต้นปีและ<br />

กลางปีโดยมีการรายงานผู้ป่วยมากกว่า 100 รายขึ นไปใน<br />

เดือนพฤษภาคม ร้อยละ 25.5 (212 ราย) กุมภาพันธ์ ร้อย<br />

ละ 19.2 (159 ราย) กันยายน ร้อยละ 17.2 (143 ราย) และ<br />

มิถุนายนพบ ร้อยละ 16.9 (140 ราย) ผู้ป่วยที พบในช่วงฤดู<br />

ฝน คือ เดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน มีทังหมด 600<br />

ราย คิดเป็นร้อยละ 72.3 ของผู้ป่วยที พบทังปี (อัสดง วรรณ<br />

จักร และพจมาน ศิริอารยาภรณ์, 2547)<br />

ในปี พ.ศ. 2548 มีรายงานผู้ป่วยโรคพยาธิใบไม้ในตับ<br />

396 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต อัตราป่วย 0.64 ต่อประชากรแสน<br />

คน มีแนวโน้มลดลงตังแต่ปี พ.ศ. 2546 อัตราส่วนส่วนเพศ<br />

ชายต่อเพศหญิง เท่ากับ 1.2:1 กลุ่มอายุที พบอัตราป่วย<br />

สูงสุดสามอันดับแรก คือ กลุ่มอายุ 55 – 64 ปี, 45 – 54 ปี<br />

และ 35 – 44 ปี อัตราป่วย 1.19, 1.14 และ 1.14 ต่อประชากร<br />

แสนคน ตามลําดับ ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม<br />

ร้อยละ 84.09 (333 ราย/396 ราย) เดือนที พบผู้ป่วยมาก<br />

ที สุด คือ เดือนกันยายน 257 ราย ผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู ่ใน<br />

พื นที ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (242 ราย) และภาคเหนือ<br />

(152 ราย) ภาคกลาง (2 ราย) ไม่มีรายงานผู้ป่วยจาก<br />

ภาคใต้ ซึ งคิดเป็นอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนใน<br />

ภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เท่ากับ<br />

1.28, 1.14 และ 0.01 ตามลําดับ ผู้ป่วยส่วนใหญ่อาศัยอยู<br />

ในพื นที เขตองค์การบริหารส่วนตําบล ร้อยละ 96.21 (381


56 วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553<br />

ราย/ 396 ราย) ในปี พ.ศ. 2548 มีอัตราป่วยโรคพยาธิใบไม้<br />

ในตับน้อยที สุด นับตังแต่ปี พ.ศ. 2544 จังหวัดที มีอัตรา<br />

ป่วยสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดแพร่ สกลนคร<br />

ลําปาง ยโสธร และอํานาจเจริญ อัตราป่วยต่อประชากรแสน<br />

คน เท่ากับ 20.11, 13.96, 4.50, 4.25 และ 3.80 ตามลําดับ<br />

(การุณ ชนะชัย, 2548)<br />

ในปีพ.ศ. 2549 มีการรายงานผู้ป่วยโรคพยาธิใบไม้ใน<br />

ตับ 459 ราย อัตราป่วย 0.73 ต่อประชากรแสนคน ไม่มี<br />

ผู้เสียชีวิต อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชาย เท่ากับ 1 : 1.4<br />

กลุ่มอายุที พบอัตราป่วยสูงสุดสามอันดับแรก คือ กลุ่มอายุ<br />

45 – 54 ปี, 35 – 44 ปี และ 55 – 64 ปี อัตราป่วย 1.81,<br />

1.57 และ 1.10 ต่อประชากรแสนคน ตามลําดับ ผู้ป่วยส่วน<br />

ใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 49.02 รองลงมา คือ<br />

นักบวช ร้อยละ 13.07 รับจ้าง ร้อยละ 5.22 และไม่ระบุ ร้อย<br />

ละ 24.18 เดือนกุมภาพันธ์ พบผู้ป่วยมากที สุด 183 ราย<br />

ในขณะที เดือนอื น ๆ พบผู้ป่วยน้อย ไม่เกิน 35 รายต่อ<br />

เดือน ภาคเหนือ อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด ภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เท่ากับ 1.45, 1.34<br />

และน้อยกว่า 0.01 ตามลําดับ ไม่มีผู้ป่วยในภาคใต้ จังหวัด<br />

ที มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน สูงสุด 5 อันดับแรก<br />

ได้แก่ จังหวัดน่าน แพร่ ขอนแก่น ยโสธร และสกลนคร<br />

เท่ากับ 15.07, 13.83, 7.55, 4.81 และ 4.33 ตามลําดับ<br />

ผู้ป่วยส่วนใหญ่มาจากพื นที เขตองค์การบริหารส่วนตําบล<br />

ร้อยละ 78.43 และเทศบาล ร้อยละ 21.57 (นัฐพนธ์ เอก<br />

รักษ์รุ่งเรือง, 2549)<br />

ข้อมูลเฝ้าระวังโรคของสํานักระบาดวิทยา กรม<br />

ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ตังแต่วันที 1 มกราคม<br />

2550-26 พฤศจิกายน 2550 พบผู้ป่วย 559 ราย จาก 19<br />

จังหวัด คิดเป็นอัตราป่วย 0.89 ต่อแสนประชากร ไม่มี<br />

รายงานผู้เสียชีวิต สัดส่วนเพศชายต่อเพศหญิง 1:0.64<br />

กลุ่มอายุที พบมากที สุด คือ 45-54 ปี (28.09%) อาชีพของ<br />

ผู้ป่วยส่วนใหญ่ คือเกษตรร้อยละ 63 จังหวัดที มีอัตราป่ววย<br />

ต่อแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับแรก คือ สกลนคร (22.72<br />

ต่อแสนประชากร) น่าน (14.24 ต่อแสนประชากร) ลําพูน<br />

(13.31 ต่อแสนประชากร) แพร่ (10.89 ต่อแสนประชากร)<br />

และศรีสะเกษ (2.49 ต่อแสนประชากร) ภาคที มีอัตราป่วย<br />

สูงสุด คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รองลงมาคือ<br />

ภาคเหนือ คิดเป็นอัตราป่วย 1.68 และ 1.68 ต่อแสน<br />

ประชากร ตามลําดับ ปีนี มีรายงานผู้ป่วยในภาคใต้ด้วย คิด<br />

เป็นอัตราป่วย 0.02 ต่อแสนประชากร ตังแต่ปี พ.ศ. 2546<br />

อุบัติการณ์โรคพยาธิใบไม้ในตับมีแนวโน้มที ลดลงเรื อยมา<br />

แต่ในปี พ.ศ. 2549 และ 2550 กลับมีอัตราป่วยเพิมขึ น<br />

พื นที ที พบจํานวนผู้ป่วย และอัตราป่วยสูงยังคงเป็นภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ซึ งมีความนิยมในการ<br />

บริโภคปลาดิบ ซึ งเป็นปัจจัยเสี ยงของการเกิดโรค อย่างไรก็<br />

ตาม ในการแปลผลข้อมูล อาจต้องมีการพิจารณาในเรื อง<br />

ของความครอบคลุมการรายงานผู้ป่วยในแต่ละพื นที ซึ งอาจ<br />

มีความแตกต่างกันได้ รวมถึงข้อจํากัดในการตรวจหาไข่<br />

พยาธิโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ เนื องจากไข่พยาธิใบไม้ตับ<br />

แยกได้ยากจากไข่พยาธิใบไม้ลําไส้ (ที มักไม่ทําให้เกิด<br />

อาการ รวมทังไม่เป็นปัจจัยเสี ยงต่อโรคมะเร็งตับ) (สํานัก<br />

ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2550)<br />

อาการ และ พยาธิสภาพ<br />

โรคพยาธิใบไม้ตับส่วนใหญ่ไม่มีอาการ เมื อมีพยาธิ<br />

สะสมมากๆ เป็นเวลานานอาจจะทําให้เกิดอาการ เช่น<br />

ท้องอืด แน่นท้อง เจ็บบริเวณชายโครงขวา ออกร้อนบริเวณ<br />

หน้าท้อง มีอาการอักเสบของท่อนํ าดี ดีซ่าน ตับโต มีไข้<br />

ระยะสุดท้ายของโรค ผู้ป่วยจะผอมซีด บวม บางรายเป็น<br />

โรคตับแข็ง มีนํ าในช่องท้องหรือท้องมาน สาเหตุที ทําให้เกิด<br />

อาการต่างๆ เนื องจากพยาธิหลังสารและหรือตัวพยาธิเอง<br />

เกาะผนังลําไส้ทําให้เกิดการระคายเคืองต่อผนังท่อนํ าดี และ<br />

การอุดตันของท่อนํ าดี เนื องจากพยาธิมีการเคลื อนตัวไปมา<br />

ในนัน บางตัวอาจไปทําให้เกิดอุดตันท่อนํ าดีส่วนปลาย<br />

นอกจากนันของเสียที ขับออกมาจากตัวพยาธิยังก่อให้เกิด<br />

การระคายเคืองของท่อนํ าดีอีกด้วย ผู้ป่วยมักมีอาการเบื อ<br />

อาหาร มีไข้ตํ าๆ ตับอาจโตกดเจ็บ และเริมมีอาการตัว<br />

เหลือง เริมมีภาวะแทรกซ้อน เช่น ท่อนํ าดีอักเสบเรื อรัง<br />

เป็นๆหายๆ มีไข้สูงปานกลาง ตัวเริมเหลืองมากขึ น ตับโต<br />

กดเจ็บ เริมมีอาการตับแข็ง ม้ามโต แรงดันเลือดสูง อาจพบ<br />

มะเร็งของท่อนํ าดีร่วมด้วย (ณรงค์ ขันตีแก้ว, 2548) เมื อมี<br />

การติดเชื อพยาธิใบไม้ตับ พยาธิจะอาศัยอยู ่ตามท่อทางเดิน<br />

นํ าดีภายในตับเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็อาจพบได้ตามท่อทางเดิน<br />

นํ าดีนอกตับ ถุงนํ าดี และตับอ่อน การเกิดพยาธิสภาพเกิด<br />

จากการทําลายเยื อบุผิวท่อทางเดินนํ าดี เกิด epitherial<br />

desquamation ซึ งเกิดจากการเสียดสีทางกายภาพของ<br />

พยาธิใบไม้ตับ (mechanical irritation) และการดูดกัดของ<br />

sucker พยาธิและ/หรือเกิดจาก metabolic products ที<br />

พยาธิใบไม้ตับขับถ่ายออกมา จากรายการศึกษาที ผ่านมา<br />

พบว่า สารที ปล่อยจากตัวพยาธิ (excretory-secretory<br />

products) สามารถกระตุ้นเซลล์เยื อบุท่อทางเดินนํ าดีและ<br />

เซลล์ NIH-3T3 normal mouse fibroblast ซึ งเซลล์มีการ<br />

แบ่งตัวเพิมขึ น สารคัดหลังที ปล่อยออกมานี นําไปสู ่การเกิด


วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553 57<br />

biliary cell hyperplasia ในคนและสัตว์ทดลองที ติดเชื อ<br />

พยาธิใบไม้ตับ (Thuwajit et al., 2004) อีกสาเหตุหนึ งน่าจะ<br />

เกิดจาก ภูมิต้านทานของโฮสต์ต่อพยาธิมีส่วนสําคัญในการ<br />

ทําให้เกิดโรค (บรรจบ ศรีภาและคณะ, 2548; Sripa et al.,<br />

2007) จากการศึกษาที ผ่านมาพบว่า มี lymphocyte, mast<br />

cells, eos<strong>in</strong>ophils และ macrophages <strong>in</strong>filtration รอบๆ<br />

periportal area ซึ งตอบสนองต่อแอนติเจน พยาธิที มี<br />

ออกมาจํานวนมากในช่วงระยะเฉียบพลัน เมื อมีการติดเชื อ<br />

เรื อรัง เป็นเวลานานมักจะพบว่าการอักเสบลดลง มี<br />

immunodepression และ immunomodulation กลไก<br />

เหล่านี เป็น immunopathologic mechanism หลักฐานที<br />

ช่วยยืนยันเกี ยวกับด้าน ภูมิคุ้มกันวิทยาได้ดีคือ ในผู้ป่วยที<br />

ติดเชื อและผนังถุงนํ าดีหนาตัว พบความสัมพันธ์กับระดับ<br />

ของแอนติบอดีชนิด IgG ที จําเพาะต่อแอนติเจนของพยาธิ<br />

ซึ งมีความสัมพันธ์มากกว่าความรุนแรงของการติดเชื อ<br />

(Haswell-Elk<strong>in</strong>s et al., 1991)<br />

ตารางที 1 ผลการประเมินความสามารถในการก่อมะเร็ง<br />

ของหนอนพยาธิชนิดต่างๆ โดย International<br />

Agency for Research on Cancer<br />

Agent<br />

Degree of<br />

evidence of<br />

carc<strong>in</strong>ogenicity<br />

Human Animal<br />

Overall<br />

carc<strong>in</strong>ogenicity<br />

<strong>in</strong> human (group)<br />

Schistosoma S L 1 carc<strong>in</strong>ogenic<br />

haematobium<br />

S. japonicum L L 2B probably<br />

carc<strong>in</strong>ogenic<br />

S. mansoni I L 3 noncarc<strong>in</strong>ogenic<br />

Opisthorchis S L 1 carc<strong>in</strong>ogenic<br />

viverr<strong>in</strong>i<br />

O. fel<strong>in</strong>eus I I 3 noncarc<strong>in</strong>ogenic<br />

Clonorchis<br />

s<strong>in</strong>ensis<br />

L L 1A possibly<br />

carc<strong>in</strong>ogenic<br />

S: sufficient evidence L: Limited evidence I: Inadequate<br />

evidence<br />

ที มา: ไพบูลย์ สิทธิถาวร 2548; IARC, 1994<br />

พยาธิใบไม้ตับเป็นตัวก่อมะเร็ง<br />

ในปี พ.ศ. 2506 วีกิต วีรานุวัฒน์ และณัฐ ภมรประวัติ<br />

ได้ทําการตรวจวิเคราะห์ชิ นเนื อตับ และพบความสัมพันธ์<br />

ระหว่างพยาธิใบไม้ตับกับมะเร็งท่อนํ าดี จากนันได้มี<br />

รายงานการตรวจผู้ป่วยและตรวจชันสูตรพลิกศพผู้ป่วย<br />

มะเร็งท่อนําดีและมะเร็งตับ ในระยะเวลาระหว่าง 2509-<br />

2532 ได้ทําการศึกษาในหลายพื นที ในประเทศไทยซึ งศึกษา<br />

เกี ยวกับความสัมพันธ์ของพยาธิใบไม้ตับกับมะเร็งท่อนํ าดี<br />

สถาบันวิจัยโรคมะเร็งนานาชาติ (International Agency for<br />

Research on Cancer, IARC)ได้สรุปว่ามีหลักฐานเพียง<br />

พอที จะสรุปได้ว่า พยาธิใบไม้ตับเป็นสาเหตุของมะเร็งท่อ<br />

นํ าดีตับในคน แต่ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างพยาธิใบไม้ตับ<br />

กับมะเร็งเซลล์ตับ (ตารางที 1)<br />

นอกจากนันยังมีปัจจัยอื นๆ เช่น สารเคมีและยารักษา<br />

โรคบางชนิด สารเคมีที เกิดจากอาหารหมักดอง สุรา ฯลฯ<br />

ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะทางระบบอิมมูน ปัจจัยทาง<br />

พันธุกรรม และปัจจัยอื นๆ ที เกี ยวข้องกับสิงแวดล้อม เป็น<br />

ปัจจัยส่งเสริมในการเกิดโรค (IARC, 1994; Srivatanakul<br />

et al., 1991) จากการคาดประมาณของสถาบันวิจัยโรค<br />

มะเร็งนานาชาติ ประเทศไทยจัดอยู ่ในกลุ่มประเทศที มี<br />

อุบัติการณ์ของมะเร็งท่อนํ าดีระดับสูงมาก ปัจจุบันนี มะเร็ง<br />

ท่อนํ าดีมีอัตราอุบัติการณ์สูงมากใน ภาคตะวันออกเฉียง<br />

เหนือ ซึ งมีความสัมพันธ์กับความชุกของพยาธิใบไม้ตับ พบ<br />

ระบาดในพื นที เดียวกัน อุบัติการณ์ของมะเร็งท่อนํ าดีเท่ากับ<br />

84.6 ต่อประชากรแสนคน ในเพศชาย และ 36.8 ต่อ<br />

ประชากรแสนคน ในเพศหญิง(Vatanasapt et al., 1995) ผู้<br />

ที เคยติดเชื อพยาธิ หรือกําลังติดเชื อพยาธิใบไม้ตับเสี ยงต่อ<br />

การเกิดมะเร็งท่อนํ าดี (Park<strong>in</strong>s et al., 1991) ในภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือพบว่า ผู้ที มีการติดเชื อพยาธิใบไม้ตับ<br />

จํานวนมากความหนาแน่นของพยาธิมากกว่า 6000<br />

egg/gram feces หรือตัวพยาธิ 120 ตัว จะมีความเสี ยงต่อ<br />

การเกิดมะเร็งท่อนํ าดีมากกว่าผู้ไม่ติดเชื อ 14 เท่า (odd<br />

ratio=14) การดื มแอลกอฮอล์บ่อยๆ มีความเสี ยงต่อการ<br />

เกิดมะเร็งท่อนํ าดี ลําดับเอนไซม์ Glutathione-Stransferase<br />

M1 (GSTM1) ก็เป็นอีกปัจจัยเสี ยงต่อการเกิด<br />

มะเร็งท่อนํ าดีเช่นกัน (ตารางที 2) (ไพบูลย์ สิทธิถาวร,<br />

2548)


58 วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553<br />

ตารางที 2 สรุปปัจจัยเสี ยงของมะเร็งท่อนํ าดีที มีนัยสําคัญทางสถิติจากการศึกษาด้านระบาดวิทยาในประเทศไทย<br />

Variables Odds ratio 95% confidence <strong>in</strong>terval<br />

Intensity of O. viverr<strong>in</strong>i (egg/gram feces) *<br />

0 1 reference<br />

1-1,500 1.67 0.2-16.3<br />

1,501-6,000 3.23 0.4-29.5<br />

>6,000 14.08 1.67-118.6<br />

Age*<br />

24-34 1 reference<br />

35-49 4.57 0.5-38.5<br />

>50 9.21 1.1-74.69<br />

Sex*<br />

Female 1 reference<br />

Male 3 0.8-11.2<br />

Antibody titer for O. viverr<strong>in</strong>i**<br />

Negative 1 reference<br />

Positive 6.8 3.31-13.9<br />

No. of praziquantel treatment**<br />

0 1 reference<br />

1 3.4 1.6-5.77<br />

2-4 4.6 1.84-11.5<br />

O. viverr<strong>in</strong>i antibody***<br />

Negative (0.2) 27.09 6.3-116.5<br />

Alcohol dr<strong>in</strong>k<strong>in</strong>g***<br />

Never 1 reference<br />

Occasional 2.2 0.65-7.45<br />

Ex-regular 6.23 1.23-31.57<br />

Regular 4.3 1.12-16.57<br />

Genetic polymorphism***<br />

O. viverr<strong>in</strong>i antibody negative <strong>in</strong>dividual 1 reference<br />

O. viverr<strong>in</strong>i antibody positive <strong>in</strong>dividual<br />

GSTM1 wild 10.34 1.31-81.63<br />

Null 23.53 3.33-97.4<br />

* Haswell-Elk<strong>in</strong>s et al, 19949 ** Chernrungroj, 200010 ***Honjo et al, 2005<br />

ที มา: ไพบูลย์ สิทธิถาวร 2548<br />

กลไกการเกิดมะเร็งท่อนํ าดีที เกิดร่วมกับการติดเชื อ<br />

พยาธิใบไม้ตับนัน เมื อมีการติดเชื อพยาธิใบไม้ตับจะเกิด<br />

การทําลายเซลล์เยื อบุท่อทางเดินนํ าดี จากนันก็จะมีการ<br />

สร้างเซลล์เยื อบุผิวขึ นมาทดแทนใหม่ และนอกจากนี แล้ว<br />

ยังเกิดจากการกระตุ้นจากสารคัดหลังจากพยาธิโดยตรง<br />

เกิด epithelial hyperplasia, goblet cell metaplasia และ<br />

adenomatous hyperplasia การติดเชื อพยาธิก็ทําให้เกิด<br />

การอักเสบมากขึ นรอบๆ ท่อทางเดินนํ าดี มีเซลล์อักเสบ<br />

จํานวนมาก ได้แก่ macrophages, neutrophils,<br />

eos<strong>in</strong>ophils, mast cells, lymphocytes และ plasma cells<br />

(บรรจบ ศรีภาและคณะ, 2548; Sripa et al., 2007) เซลล์<br />

อักเสบเหล่านี จะสร้าง nitric oxide และ oxygen free


วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553 59<br />

radicals ซึ งเมื อมีการสร้างสารเหล่านี ออกมาก็จะสามารถ<br />

ทําลายสารพันธุกรรมของเซลล์ได้โดยตรง หรือเป็นสารตัง<br />

ต้นในการสร้างสารก่อมะเร็ง N-nitroso compounds โดย<br />

กระบวนการ endogenous nitrosation ผ่านเอนไซม์ iNOS<br />

สารก่อมะเร็งเหล่านี จะถูกเมแทไลท์ให้กลายเป็น ultimate<br />

carc<strong>in</strong>ogen โดยเอนไซม์ P450 (CYP) ในตับ โดยเฉพาะ<br />

ชนิด CYP 2E1 และ CYP 2A6 (CYP จัดเป็น Phase I<br />

drug metaboliz<strong>in</strong>g enzyme) สารก่อมะเร็งนี จะสามารถไป<br />

ทําให้เกิด DNA adduct ในเซลล์เยื อบุท่อนํ าดีที มีกําลังมี<br />

การแบ่งเซลล์ เกิดการเปลี ยนแปลงของสารพันธุกรรมและ<br />

พัฒนาเป็นมะเร็งท่อนํ าดีในที สุด ลําดับเหตุการณ์การ<br />

เปลี ยนแปลง ไปเป็นมะเร็งท่อนํ าดีเชื อว่าเป็นแบบ<br />

“dysplasia carc<strong>in</strong>oma sequence” เนื องจากมีการพบรอย<br />

โรคเช่นนี ในเยื อบุท่อทางเดินนํ าดี ในตับบริเวณที ไม่ได้เป็น<br />

มะเร็งและส่วนที อยู ่ใกล้บริเวณที เริมเป็นมะเร็ง (บรรจบ<br />

ศรีภา และคณะ 2548; Sripa et al., 2007; พวงรัตน์<br />

ยงวนิช และสมชาย ปินลออ, 2548) สารก่อมะเร็งต่างๆ<br />

พบในอาหารประจําวัน เช่น ปลาร้า ปลาส้ม ปลาจ่อม และ<br />

อาหารหมักดองอื นๆ ซึ งมีรายงานการปนเปื อนของสารก่อ<br />

มะเร็งโดยเฉพาะกลุ่ม N-nitroso compounds หรือ<br />

precursors นอกจากนี หลักฐานจากการศึกษาใน<br />

สัตว์ทดลองว่าสารก่อมะเร็งกลุ่มนี สามารถชักนําให้เกิด<br />

มะเร็งเซลล์ตับและ มะเร็งท่อนํ าดีได้ (ภาพที 10) วิทยา<br />

ธรรมวิทย์และคณะ ได้ศึกษาวิจัยในสัตว์ทดลองโดยการให้<br />

สารก่อมะเร็ง dimethylnitrosam<strong>in</strong>e ขนาด 25 ppm ในนํ า<br />

ดื มร่วมกับการติดเชื อพยาธิใบไม้ตับ 100 metacercariae<br />

ในหนูแฮมสเตอร์ และพบว่าสามารถชักนําให้เกิดมะเร็งท่อ<br />

นํ าดีได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ไม่พบในกลุ่มที ให้พยาธิใบไม้ตับ<br />

หรือสารก่อมะเร็งอย่างเดียว (Thamavit et al., 1978)<br />

ภาพที 10 แสดงกลไกการเกิดพยาธิสภาพและความสัมพันธ์ของการเกิดมะเร็งท่อนํ าดี เมื อมีการติดเชื อพยาธิใบไม้ตับจะ<br />

เกิดการทําลายเซลล์เยื อบุท่อทางเดินนํ าดีจากการสัมผัสกับตัวพยาธิและ/หรือเกิดจากการกระตุ้นจากสารคัดหลัง<br />

จากพยาธิโดยตรง เกิด epithelial hyperplasia, goblet cell metaplasia และ adenomatous hyperplasia มีเซลล์<br />

อักเสบจํานวนมากรอบๆ ท่อทางเดินนํ าดี เซลล์อักเสบจะสร้าง nitric oxide และ oxygen free radicals สามารถ<br />

ทําลายสารพันธุกรรม หรือเป็นสารตังต้นในการสร้างสารก่อมะเร็ง N-nitroso compounds โดยกระบวนการ<br />

endogenous nitrosation เกิดการเปลี ยนแปลงของสารพันธุกรรมและ พัฒนาเป็นมะเร็งท่อนํ าดีในที สุด นอกจากนี<br />

แล้วยังมีสารก่อมะเร็งกลุ่ม N-nitroso compounds (exogenous nitrosation) พบในอาหารพวก ปลาร้า ปลาส้ม<br />

ปลาจ่อม และอาหารหมักดอง สารก่อมะเร็งกลุ่มนี สามารถชักนําให้เกิด มะเร็งท่อนํ าดี (ดัดแปลงจาก Sripa et al.,<br />

2007)


60 วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553<br />

การตรวจวินิจฉัยโรคพยาธิใบไม้ตับ<br />

การตรวจวินิจฉัยโรคทําได้โดยการตรวจหาไข่พยาธิ<br />

ในอุจจาระดูภาพไข่พยาธิ ซึ งเป็นวิธีการที ง่าย ประหยัด<br />

แต่มีความจําเป็นต้องใช้ความชํานาญ วิธีที นักวิจัยพยายาม<br />

พัฒนากันขึ นมาสําหรับการตรวจวินิจฉัย คือการตรวจหา<br />

ระดับแอนติบอดี แอนติเจนในสารคัดหลังต่างๆ รวมทังการ<br />

พัฒนาวิธีทางชีวโมเลกุล ซึ งให้ผลที มีความไวสูง แต่ก็ยังมี<br />

ปัญหาในด้านราคาแพง ในอดีตจนถึงปัจจุบันได้พยายาม<br />

พัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัยโรคพยาธิใบไม้ตับ โดยเฉพาะ<br />

ในรายที การติดเชื อน้อยๆ หรือมีการอุดตันของท่อทางเดิน<br />

นํ าดีทําให้ไม่สามารถตรวจพบไข่พยาธิในอุจจาระได้<br />

(Sithithaworn et al., 1991) การตรวจหาแอนติเจนของ<br />

พยาธิในอุจจาระก็เป็นอีกวิธีหนึ งที มีกลุ่มนักวิจัยได้<br />

พยายามที จะทําการศึกษาและพัฒนาแต่ก็พบว่ายังไม่<br />

เหมาะสม (Chaicumpa et al., 1992; Siris<strong>in</strong>ha et al.,<br />

1995) การตรวจหาแอนติบอดีที จําเพาะต่อพยาธิใบไม้ตับ<br />

ในผู้ ป่ วยนั นได้ มี ความพยายามนํ ามาใช้<br />

(Wongratancheew<strong>in</strong> et al., 1988; Elk<strong>in</strong>s et al., 1990;<br />

Siris<strong>in</strong>ha et al., 1991; Akai et al., 1995) เช่นวิธี<br />

immunoelectrophoresis โดยใช้แอนติเจนชนิดสกัดอย่าง<br />

หยาบมาเป็นตัวตรวจจับแอนติบอดีในผู้ที ติดเชื อแต่ก็พบว่า<br />

เกิดปฏิกิริยาข้ามกับโรค gnathostomiasis และ<br />

schistosomiasis (Janechaiwat et al., 1980) อีกวิธีคือ<br />

Indirect haemagglut<strong>in</strong>ation ก็ได้พัฒนาเพื อตรวจหา<br />

แอนติบอดีแต่ก็ยังไม่ได้ผลเท่าที ควร (Siris<strong>in</strong>ha et al.,<br />

1983b) อีกวิธีที มีการใช้ในห้องปฏิบัติการบ้างคือ Enzyme<br />

l<strong>in</strong>ked Immunosorbent Assay (ELISA) ซึ งวีธีการตรวจ<br />

ด้วยวิธีนี ได้ผลดีแต่ว่าปัญหาในการแยกแยะระหว่างผู้ที ติด<br />

เชื อปัจจุบันกับผู้ที เคยติดเชื อหรือผู้ที ได้รับการรักษาให้<br />

หายด้วยยาแล้วนัน ยังให้ค่าผลบวกปลอม เนื องจากระดับ<br />

แอนติบอดีของผู้ป่วยจะยังคงมีอยู ่ (Feldheim and<br />

Knobloch, 1982; Akai et al., 1995; Srivatanakul et al.,<br />

1985; Wongratanacheew<strong>in</strong> et al., 1988a;<br />

Poopyruchpong et al., 1990). ในช่วงระยะเวลา 5 ปี<br />

ย้อนหลังมานี มีนักวิจัยหลายกลุ่มได้พัฒนาการตรวจ<br />

วินิจฉัยทางชีวโมเลกุลโดยเฉพาะวิธี polymerase cha<strong>in</strong><br />

reaction (PCR) ซึ งนํามาประยุกต์ใช้ในการตรวจหาชิ น<br />

DNA ในอุจจาระของสัตว์ทดลองและผู้ป่วย ซึ งให้ผลที มี<br />

ความไวและความจําเพาะสูง (Wongratanacheew<strong>in</strong> et al.,<br />

2001; 2002) ขณะที Eursitthichai et al. (2004) ได้พัฒนา<br />

และนําโปรตีน OV28GST มาตรวจวินิจฉัยโรคก็ได้ผลการ<br />

ศึกเป็นที น่าพอใจ แต่อย่างไรก็ตามเกี ยวกับด้านชีวโมลกุล<br />

ถึงแม้ว่าจะให้ค่าความไวและความจําเพาะสูงแต่ก็ยังต้องมี<br />

การทดลองในพื นที ระบาด และศึกษาเกี ยวกับต้นทุน<br />

จุดคุ้มทุน รวมถึงจําเป็นต้องมีผู้เชี ยวชาญประจํา<br />

ห้องปฏิบัติการด้วย ดังนันวิธีที เหมาะสมและยังใช้ใน<br />

ปัจจุบันก็ยังเป็นการตรวจหาไข่พยาธิโดยใช้วิธีต่างๆเพื อ<br />

เพิมประสิทธิภาพ เช่น Modified formal<strong>in</strong> ethyl-acetate<br />

concentration technique, modified Stoll dilution egg<br />

count technique หริอ Katz’s modified thick smear<br />

technique (Katz et al., 1972) เป็นต้น วิธีการเหล่านี เป็น<br />

การปฏิบัติง่ายๆ ต้นทุนตํ า เพียงแต่ว่าผู้ตรวจทาง<br />

ห้องปฏิบัติการจะต้องแม่นยําในการจําแนกไข่พยาธิใบไม้<br />

ตับออกจากพยาธิใบไม้ลําไส้ขนาดเล็ก<br />

การควบคุมและป้ องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ<br />

สําหรับการป้องกันการติดโรคพยาธิใบไม้ตับ สิงที<br />

ควรปฏิบัติ คือ ให้ประชาชนเข้าใจถึงวงจรชีวิตของพยาธิ<br />

และการป้องกันไม่ถ่ายอุจจาระเรี ยราด ไม่เป็นที เป็นทาง<br />

โดยเฉพาะอย่างยิงการถ่ายลงนํ า เพิมศักยภาพของชุมชน<br />

ในการพึ งตนเอง และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ<br />

เครือข่ายของระบบสาธารณสุขของประเทศ ในด้าน<br />

นโยบายในการควบคุมโรค ควรเน้นผลการลดอุบัติการณ์<br />

ในระยะยาว ทําลายหอยนํ าจืดตัวกลาง รวมถึงการสํารวจ<br />

อุบัติการณ์ของโรคเป็นประจํา ซึ งเป็นการค้นหาผู้ป่วยเชิง<br />

รุก เมื อพบแล้วก็ให้การรักษา ซึ งยาที มีประสิทธิภาพที สุด<br />

ตอนนี ก็คือยา praziquantel การส่งเสริมสุขภาพโดยทัวไป<br />

โดยการส่งเสริมการบริโภคอาหารที มีประโยชน์ เพื อลด<br />

ความเสี ยงในการเป็นโรค เลิกการรับประทานปลาดิบๆ<br />

สุกๆ และมุ่งประเด็นไปที การทําอย่างไรประชาชนจึงจะมี<br />

พฤติกรรมการบริโภคที ปลอดภัย ซึ งความปลอดภัยนี จะ<br />

รวมไปถึงการบริโภคที ถูกสุขลักษณะ ไม่บริโภคปลาดิบ<br />

หรืออาจจะหาวิธีการบริโภคปลาดิบที ปลอดภัย คล้ายกับ<br />

การบริโภคปลาดิบของประเทศญี ปุ่น<br />

บทสรุป<br />

พยาธิใบไม้ตับยังคงเป็นปัญหาที สําคัญทางด้าน<br />

สาธารณสุขของประเทศไทย คนและสัตว์ติดเชื อพยาธิโดย<br />

กินปลาที มีระยะติดต่อ เช่น ก้อยปลา ปลาส้ม ปลาจ่อม<br />

ปลาร้าดิบ ผู้ป่วยระยะแรกๆมักจะไม่มีอาการ เมื อมีพยาธิ<br />

สะสมมากๆ เป็นเวลานานจะทําให้เกิดอาการท้องอืด แน่น<br />

ท้อง เจ็บบริเวณชายโครงขวา ถ้าปล่อยไว้นานๆ จะมี


วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553 61<br />

อาการอักเสบของท่อนํ าดี ดีซ่าน ตับโต มีไข้ ระยะสุดท้าย<br />

ของโรค ผู้ป่วยจะผอมซีด บวม มีนํ าในช่องท้องหรือ<br />

ท้องมาน และเกิดมะเร็งท่อนํ าดี จากข้อมูลการศึกษาทังใน<br />

สัตว์ทดลองและมนุษย์ สถาบันวิจัยโรคมะเร็งนานาชาติได้<br />

สรุปว่า พยาธิใบไม้ตับเป็นสาเหตุของมะเร็งท่อนํ าดีตับใน<br />

คน และพบว่าประเทศไทยมีอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งท่อ<br />

นํ าดีสูงที สุดในโลก กลุ่มผู้ป่วยด้วยโรคพยาธิใบไม้ตับที<br />

สําคัญคือวัยทํางาน มักพบในเพศชายมากกว่าเพสหญิง<br />

และพบในกลุ่มอาชีพเกษตรกร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

และภาคเหนือ เป็นพื นที ที มีการรายงานการระบาดตลอด<br />

จากข้อมูลอดีตจนถึงปัจจุบันนี จําเป็นอย่างยิงที ยังต้องมี<br />

การรณรงค์การงดรับประทานอาหารดิบๆ สุกๆ ควบคู ่กับ<br />

การให้ความรู้เรื องของมะเร็งท่อนํ าดีเพื อลดอัตราการ<br />

เจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าว<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

การุณ ชนะชัย. 2548. สรุปรายงานการเฝ้ าระวังโรค:<br />

โรคพยาธิใบไม้ตับ. สํานักระบาดวิทยา กรม<br />

ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 366-369.<br />

ณรงค์ขันตีแก้ว. 2548. “มะเร็งท่อนํ าดี<br />

(cholangiocarc<strong>in</strong>oma)”. ศรีนครินทร์เวชสาร,<br />

20, 143-149.<br />

นัฐพนธ์ เอกรักษ์รุ่งเรือง. 2549. สรุปรายงานการเฝ้ า<br />

ระวังโรค: โรคพยาธิใบไม้ตับ. สํานักระบาด<br />

วิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,<br />

287-293<br />

บรรจบ ศรีภา, พวงรัตน์ ยงวนิชย์ และชวลิต ไพโรจน์กุล.<br />

2548. “สาเหตุและกลไกลการเกิดโรคมะเร็งท่อ<br />

นํ าดี: ปฐมบทความสัมพันธ์กับพยาธิใบไม้ตับ”.<br />

ศรีนครินทร์เวชสาร, 20, 122-134.<br />

ไพบูลย์ สิทธิถาวร. 2548. “บทบาทของพยาธิใบไม้ตับต่อ<br />

การเกิดมะเร็งท่อนํ าดีในสถานการณ์ปัจจุบัน”. ศรี<br />

นครินทร์เวชสาร, 20, 135-142.<br />

พวงรัตน์ ยงวนิชและสมชาย ปินลออ. 2548. “กลไกการ<br />

ก่อมะเร็งท่อนํ าดีโดยอนุมูลอิสระจากพยาธิใบไม้<br />

ตับ”. ศรีนครินทร์เวชสาร, 20, 150-155.<br />

สํานักระบาดวิทยา. 2550. รางานการเฝ้ าระวังโรค: โรค<br />

พยาธิใบไม้ตับ 1 มกราคม 2550-26<br />

พฤศจิกายน 2550.สํานักระบาดวิทยา กรม<br />

ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.<br />

อัสดง วรรณจักร และพจมาน ศิริอารยาภรณ์. 2546. สรุป<br />

รายงานการเฝ้ าระวังโรค: โรคพยาธิใบไม้ตับ.<br />

สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวง<br />

สาธารณสุข, 359-365.<br />

อัสดง วรรณจักรและพจมาน ศิริอารยาภรณ์. 2547. สรุป<br />

รายงานการเฝ้ าระวังโรค: โรคพยาธิใบไม้ตับ.<br />

สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวง<br />

สาธารณสุข, 349-352.<br />

Akai PS, Pungpak S, Chaicumpa W, Kitikoon V,<br />

Ruangkunaporn Y, Bunnag D, Befus AD.<br />

1995. “Serum antibody responses <strong>in</strong><br />

opisthorchiasis”. Int J Parasitol, 25, 971-973.<br />

Ash L. R., Oreil T. C., 2007, Ash&Orihel’s Atlas of<br />

Human Parasitology. 5 th Edition. ASCP<br />

Press, Chicago: 330-331<br />

Chaicumpa W., Ybanez L., Kitikoon V., Pungpa S.,<br />

Ruangkunaporn Y., Chongsa-nguan, M.,<br />

Sormani S., 1992. “Detection of Opisthorchis<br />

viverr<strong>in</strong>i antigens <strong>in</strong> stools us<strong>in</strong>g specific<br />

monoclonal antibody”. Int J Parasitol, 22,<br />

527–531.<br />

Chernrungroj G., 2000, Risk factor for<br />

cholangiocarc<strong>in</strong>oma: a case control study:<br />

Doctoral Dissertation to the Faculty of the<br />

Graduate School, Yale University;<br />

Elk<strong>in</strong>s D. B., Haswell-Elk<strong>in</strong>s M. R., Mairiang E., 1990.<br />

“A high frequency of hepatobiliary disease<br />

and suspected CCA associated with heavy<br />

Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i <strong>in</strong>fection <strong>in</strong> a small<br />

community <strong>in</strong> northeast <strong>Thailand</strong>”. Trans R<br />

Soc Trop Med Hyg, 84, 715-719.<br />

Eursitthichai V., Viyanant V., Vichasri-Grams S.,<br />

Sobhon P., Tesana S., Upatham S. E.,<br />

Hofmann A., Korge G., Grams R., 2004.<br />

“Molecular clon<strong>in</strong>g and characterization of a<br />

glutathione S-transferase encod<strong>in</strong>g gene from<br />

Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i”. Asian Pac J Allergy<br />

Immunol, 22, 219-228.<br />

Feldheim, W., Knobloch, J., 1982. “Serodiagnosis of<br />

opisthorchisviverr<strong>in</strong>i <strong>in</strong>festation by an enzyme


62 วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553<br />

immuno-assay”. Trop Med Parasitol, 33, 8–<br />

10.<br />

Haswell-Elk<strong>in</strong>s M. R., Elk<strong>in</strong>s D. B., Sithithaworn P.,<br />

Treesarawat P., Kaewkes S., 1991.<br />

“Distribution patterns of Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i<br />

with<strong>in</strong> a human community”. Parasitology,<br />

103, 97-101.<br />

Honjo S., Srivatanakul P., Sriplung H., Kikukawa H.,<br />

Hanai S., Uchida K., Todoroki T.,<br />

Jedpiyawongse A., Kittiwatanachot P., Sripa<br />

B., Deerasamee S., Miwa M., “Genetic and<br />

environmental determ<strong>in</strong>ants of risk for<br />

cholangiocarc<strong>in</strong>oma via Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i<br />

<strong>in</strong> a densely <strong>in</strong>fested area <strong>in</strong> Nakhon<br />

Phanom, northeast <strong>Thailand</strong>”. 2005. Int J<br />

Cancer. Jun 14 [epub]<br />

IARC. Schistosomes, liver flukes and Helicobacter<br />

pylori. IARC Work<strong>in</strong>g Group on the<br />

Evaluation of Carc<strong>in</strong>ogenic Risks to Humans.<br />

Lyon, 7-14 June 1994.<br />

Janechaiwat J., Tharavanij S., Vajrasthira S.,<br />

Chaicumpa W., 1980. “The immunological<br />

diagnosis of human opisthorchiasis and the<br />

humoral immune response to opisthorchis<br />

<strong>in</strong>fection <strong>in</strong> the hamster”. J Med Assoc Thai,<br />

63, 439–447.<br />

Jongsuksuntigul P., Imsomboon T., 2003.<br />

“Opisthorchiasis control <strong>in</strong> <strong>Thailand</strong>”. Acta<br />

Trop, 88, 229-232.<br />

Kaewkes S., 2003. “Taxonomy and biology of liver<br />

flukes”, Acta Trop; 88, 177-186<br />

Katz M., Chaves A., Pellegr<strong>in</strong>o J., 1972. “A simple<br />

device for quantitative stool thick smear<br />

technique <strong>in</strong> Schistosoma mansoni”, Rev Inst<br />

Med Trop Sao Paulo 379-99.<br />

Leiper R. T., 1911. “Notes of the occurrence of<br />

parasites presumably rare <strong>in</strong> man”. J London<br />

School Trop Med, 1, 16–19<br />

Park<strong>in</strong> D. M., Srivatanakul P., Khlat M., Chenvidhya<br />

D., Chotiwan P., Insiripong S., L'Abbe K. A.,<br />

Wild C. P., 1991. “<strong>Liver</strong> cancer <strong>in</strong> <strong>Thailand</strong>. I.<br />

A case-control study of cholangiocarc<strong>in</strong>oma”.<br />

Int J Cancer 48, 323-8.<br />

Poopyruchpong N., Viyanant V., Upatham E. S.,<br />

Srivatanakul P., 1990. “Diagnosis of<br />

opisthorchiasis by enzyme-l<strong>in</strong>ked<br />

immunoprecipitation assay us<strong>in</strong>g partially<br />

purified antigens”. Asian Pac J Allergy<br />

Immunol, 8, 27–31.<br />

Prommas C., 1927. “Report of a case of Opisthorchis<br />

fel<strong>in</strong>eus <strong>in</strong> Siam”. Ann Trop Med Parasitol,<br />

21, 9-10.<br />

Sadun E. H. 1955. “Studies on Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i<br />

<strong>in</strong> <strong>Thailand</strong>”. Am J Hyg, 62, 81–115<br />

Siris<strong>in</strong>ha S., Tuti S., Vichasri S., Tawats<strong>in</strong> A., 1983b.<br />

“Humoral immune responses <strong>in</strong> hamsters<br />

<strong>in</strong>fected with Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i”.<br />

Southeast Asian J Trop Med Publ Health,<br />

14, 243–251.<br />

Siris<strong>in</strong>ha S., Chawengkirttikul R., Sermswan, R.,<br />

1991a. “Immunodiagnosis of opisthorchiasis”.<br />

Southeast Asian J Trop Med Publ Health,<br />

22, 179–183.<br />

Siris<strong>in</strong>ha S., Chawengkirttikul R., Haswell-Elk<strong>in</strong>s M.<br />

R., Elk<strong>in</strong>s D. B., Kaewkes S., Sithithaworn P.,<br />

1995. “Evaluation of a monoclonal antibodybased<br />

enzyme-l<strong>in</strong>ked immunosorbent assay<br />

for the diagnosis of Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i<br />

<strong>in</strong>fection <strong>in</strong> endemic area”. Am J Trop Med<br />

Hyg, 52, 521–524.<br />

Sithithaworn P., Tesana S., Pipitgool V., 1991.<br />

“Relationship between faecal egg count and<br />

worm burden of Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i <strong>in</strong><br />

human autopsy cases”. Parasitol, 102, 227-<br />

281.<br />

Sripa B., Kaewkes S., Sithithaworn P., Mairiang E.,<br />

Laha T, Smout M., Pairojkul C.,<br />

Bhudhisawasdi V., Tesana S., Th<strong>in</strong>kamrop B.,<br />

Bethony J. M., Loukas A., Br<strong>in</strong>dley P. J.,


วารสารวิชาการ มอบ. ปีที 12 ฉบับที 1 มกราคม – เมษายน 2553 63<br />

2007. “<strong>Liver</strong> fluke <strong>in</strong>duces<br />

cholangiocarc<strong>in</strong>oma”. PLoS Med, 4 e201<br />

Srivatanakul P., Viyanant V., Kurathong S., Tiwaweeh<br />

D., 1985. “Enzyme-l<strong>in</strong>ked immunosorbent<br />

assay for detection of Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i<br />

<strong>in</strong>fection”. Southeast Asian J Trop Med Publ<br />

Health, 16, 234–239.<br />

Srivatanakul P., Ohshima H., Khlat M., Park<strong>in</strong> M.,<br />

Sukaryodh<strong>in</strong> S. 1991. “Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i<br />

<strong>in</strong>festation and endogenous nitrosam<strong>in</strong>es as<br />

risk factors for cholangiocarc<strong>in</strong>oma <strong>in</strong><br />

<strong>Thailand</strong>”. Int J Cancer, 48, 821–825<br />

Thamavit W., Bhamarapravati N., Sahaphong<br />

S,Vasrasthira S., Angsubhakorn S., 1978.<br />

“Effects of Dimethylnitrosam<strong>in</strong>e on Induction<br />

of cholangiocarc<strong>in</strong>oma <strong>in</strong> Opisthorchis<br />

Viverr<strong>in</strong>i- Infected Syrian golden Hamsters”.<br />

Cancer Res, 38, 52-58.<br />

Thamavit W., Kongkanunt R., Tiwwech D., Moore M.<br />

A., 1978. “Level of Opisthorchis <strong>in</strong>festation<br />

and carc<strong>in</strong>ogen dose-dependence of<br />

cholangiocarc<strong>in</strong>oma <strong>in</strong>duction <strong>in</strong> Syrian<br />

golden hamsters”. Virchows Arch B, 54,<br />

4634-4639.<br />

Thuwajit C., Thuwajit P., Kaewkes S., Sripa B.,<br />

Uchida K., Miwa M., Wongkham S., 2004.<br />

“Increased cell proliferation of mouse<br />

fibroblast NIH-3T3 <strong>in</strong> vitro <strong>in</strong>duced by<br />

excretory/secretory product(s) from<br />

Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i”. Parasitology, 129,<br />

455-64.<br />

Vatanasapt V., Mart<strong>in</strong> N., Sriplung S., Ch<strong>in</strong>davijak K.,<br />

Sontipong S., Sriamporn S., 1995. “Cancer<br />

<strong>in</strong>cidence <strong>in</strong> <strong>Thailand</strong> 1988-1991”. Cancer<br />

Epidemiol Biomarkers Prev, 4,475-483.<br />

Viranuvatti V., Kasamsant, D. & Bhamarapravati, N.<br />

1995. “Retention cyst of liver caused by<br />

opisthorchiasis associated with<br />

cholangiocarc<strong>in</strong>oma”. Am J Gastroenterol,<br />

23,442-446.<br />

Viranuvatti V. S., Har<strong>in</strong>asuta C., 1959. Primary<br />

carc<strong>in</strong>oma of the liver. Analysis of 90<br />

cases. Baltimore: Willams and Wilk<strong>in</strong>s, USA<br />

Wongratanacheew<strong>in</strong> S., Bunnag D., Vaeusorn N.,<br />

Siris<strong>in</strong>ha S., 1988a. “Characterization of<br />

humoral immune response <strong>in</strong> the serum and<br />

bile of patients with opisthorchiasis and its<br />

application <strong>in</strong> immunodiagnosis”. Am J Trop<br />

Med Hyg, 38, 356–362.<br />

Wongratanacheew<strong>in</strong> S., Charupatana C., Bunnag D.,<br />

Siris<strong>in</strong>ha S., 1988b. “Effect of praziquantel<br />

treatment on antibody levels and<br />

lymphoproliferative responses <strong>in</strong> patients with<br />

opisthorchiasis”. Southeast Asian J Trop<br />

Med Publ Health, 19, 109–116.<br />

Wongratanacheew<strong>in</strong> S., Good M. F., Sithithaworn<br />

P., Haswell-Elk<strong>in</strong>s M. R., 1991. “Molecular<br />

analysis of T and B cell repertoires <strong>in</strong> mice<br />

immunized with Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i<br />

antigens”. Int J Parasitol, 21, 719-721.<br />

Wongratanacheew<strong>in</strong> S., Pumidonm<strong>in</strong>g W., Sermswan<br />

R., Maleewong W., 2001. “Development of a<br />

PCR-based method for the detection of<br />

Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i <strong>in</strong> experimentally<strong>in</strong>fected<br />

hamsters”. Parasitol, 122, 175–180.<br />

Wongratanacheew<strong>in</strong> S., Pumidonm<strong>in</strong>g W., Sermswan<br />

R. W., Pipitgool V., Maleewong W. 2002.<br />

“Detection of Opishorchis viverr<strong>in</strong>i <strong>in</strong> human<br />

stool specimens by PCR”. J Cl<strong>in</strong> Microbiol,<br />

40, 3879–3880.<br />

Wykoff D. E., Har<strong>in</strong>asuta C., Juttijudata P., W<strong>in</strong>n M.<br />

M. 1965. “Opisthorchis viverr<strong>in</strong>i <strong>in</strong> <strong>Thailand</strong>the<br />

life cycle and comparison with O.<br />

fel<strong>in</strong>eus”. J Parasitol , 51, 207–214

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!