20.04.2014 Views

คู่มือการวิจัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม

คู่มือการวิจัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม

คู่มือการวิจัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

คู่มือการวิจัย<br />

มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

จัดท าโดย ส านักวิจัย<br />

พ.ศ. 2554


2<br />

ค าน า<br />

เอกสารคู่มือการวิจัยเล่มนี้ ส านักวิจัย มหาวิทยาลัยศรีปทุมจัดท าขึ้นเพื่อให้คณาจารย์และ<br />

บุคลากรของมหาวิทยาลัยได้ศึกษาและใช้เป็นแนวปฏิบัติในการด าเนินการวิจัยเกี่ยวกับการวิจัยได้ถูกต้อง<br />

ตามขั้นตอนต่างๆ ซึ่งมหาวิทยาลัยได้ก าหนดไว้<br />

เอกสารเล่มนี้ ประกอบด้วยส่วนส าคัญ 7 ส่วน ได้แก่<br />

ส่วนแรก ประกอบด้วยประกาศทุนประเภทต่างๆ เงื่อนไขและแนวปฏิบัติในการด าเนินการวิจัยที่<br />

และประกาศการสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

ส่วนที่สอง แบบฟอร์มวิจัย<br />

ส่วนที่สาม แนวทางการจัดท ารายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์<br />

ส่วนทีสี่ รูปแบบการเขียนอ้างอิง อัญพจน์ และบรรณานุกรม<br />

ส่วนที่ห้า รูปแบบการพิมพ์บทคัดย่อ<br />

ส่วนที่หก รูปแบบการพิมพ์รายงานวิจัย<br />

ส่วนที่เจ็ด จรรยาบรรณนักวิจัยมหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

ส านักวิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารคู่มือวิจัยเล่มนี้ จะอ านวยประโยชน์แก่คณาจารย์และ<br />

บุคลากรของมหาวิทยาลัย ในการติดต่อกับส านักวิจัยและการด าเนินงานต่างๆ เกี่ยวกับการวิจัย และหากมี<br />

ข้อบกพร่องประการใดในเอกสารเล่มนี้ ส านักวิจัยยินดีรับฟังข้อเสนอแนะ เพื่อน าไปพัฒนาแก้ไขปรับปรุง<br />

ให้ดียิ่งขึ้นในโอกาสต่อไป<br />

ส านักวิจัย<br />

มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

สิงหาคม 2554


3<br />

สารบัญ<br />

ส่วนที่ หน้า<br />

1. ประกาศประเภททุนที่มหาวิทยาลัยสนับสนุนและประกาศสนับ<br />

สนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยมหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

1.1 ประกาศมหาวิทยาลัยศรีปทุมเรื่อง หลักเกณฑ์การขอรับทุนท างาน 5<br />

วิจัยสถาบัน<br />

1.2 ประกาศหลักเกณฑ์การขอรับทุนวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 7<br />

1.3 ประกาศมหาวิทยาลัยศรีปทุมเรื่อง หลักเกณฑ์การให้ทุนนักวิจัยรุ่นใหม่ 9<br />

ส าหรับบุคลากรภายใน<br />

1.4 ประกาศมหาวิทยาลัยศรีปทุมเรื่อง เกณฑ์การให้ทุนนักวิจัยที่มี 12<br />

ประสบการณ์ ส าหรับบุคลากรภายใน<br />

1.5 ประกาศมหาวิทยาลัยศรีปทุมเรื่อง เกณฑ์การให้ทุนสิ่งประดิษฐ์ 16<br />

ส าหรับบุคลากรภายใน<br />

1.6 ประกาศมหาวิทยาลัยศรีปทุมเรื่อง ก าหนดหลักเกณฑ์และอัตรา 20<br />

ค่าตอบแทนผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติและ<br />

ระดับชาติ<br />

2. แบบฟอร์มวิจัย 24<br />

3. แนวทางการจัดท ารายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ 63<br />

4. รูปแบบการเขียนอ้างอิง อัญพจน์ และบรรณานุกรม 69<br />

5. รูปแบบการพิมพ์บทคัดย่อ 102<br />

6. ข้อแนะน าในการพิมพ์รายงานวิจัย 104<br />

7. จรรยาบรรณนักวิจัยมหาวิทยาลัยศรีปทุม 111<br />

ภาคผนวก<br />

ภาคผนวก ก. 113


4<br />

ส่วนที่ 1<br />

ประกาศประเภททุนที่มหาวิทยาลัยสนับสนุนและประกาศสนับ<br />

สนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยมหาวิทยาลัยศรีปทุม


24<br />

ส่วนที่ 2<br />

แบบฟอร์มวิจัย


มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

25<br />

แบบเสนอโครงการวิจัยส าหรับบุคลากรภายใน<br />

FM วจ.-01<br />

ข้อ 1 ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) ...........................................................................................…...<br />

(ภาษาอังกฤษ) .....................................................................................….........<br />

ข้อ 2 ประเภทของงานวิจัย ...........................................................................................…...<br />

ข้อ 3 สาขาที่ท าการวิจัย ...........................................................................................…...<br />

ข้อ 4 ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือที่ปรึกษาโครงการวิจัย<br />

ชื่อ(ภาษาไทย)......................……............... (ภาษาอังกฤษ)…..................................................<br />

คุณวุฒิสูงสุด...............................……......... ต าแหน่ง.............……..........................................<br />

สถานที่ท างาน...................................................................................…………..…..................<br />

ประสบการณ์ในงานวิจัย (หรือมีความช านาญงานวิจัยด้านใด)...................................…..........<br />

ข้อ 5 คณะผู้ด าเนินงานวิจัย (เสนอเรียงล าดับเป็นหมายเลขจนครบทุกคนในคณะ)<br />

ชื่อ(ภาษาไทย)......................……............... (ภาษาอังกฤษ)…..................................................<br />

คุณวุฒิ (เรียงล าดับโดยเริ่มจากปริญญาตรีขึ้นไป).................................................................….<br />

ต าแหน่ง.............................................สถานที่ท างาน...............................................…………..<br />

ประสบการณ์ในงานวิจัย (หรือมีความช านาญงานวิจัยด้านใด).....................................………<br />

ประวัติการได้รับทุน................................................................................................…………..<br />

ผลงานวิจัยที่พิมพ์ออกเผยแพร่ (บอกผลงานที่ส าคัญๆ ไม่จ าเป็นต้องบอกครบทุกเรื่อง)...........<br />

ข้อ 6 รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการวิจัยที่เสนอขอรับทุนอุดหนุนการวิจัย โดยละเอียด<br />

6.1 ความส าคัญและที่มาของการวิจัย<br />

(ระบุหลักการและเหตุผลซึ่งท าให้มีความจ าเป็นที่ต้องท าการวิจัยเรื่องนี้ และระบุกรอบ<br />

แนวคิดในการวิจัย หรือทฤษฎีที่รองรับการวิจัยเรื่องนี้)<br />

6.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย<br />

(ระบุวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายของโครงการวิจัยให้ชัดเจน เรียงตามล าดับความส าคัญ<br />

เป็นข้อๆ)


26<br />

6.3 ค าถามการวิจัย<br />

(ระบุค าถามย่อยที่ต้องการค าตอบส าหรับการวิจัยเรื่องนี้เป็นข้อๆ ให้ชัดเจน ค าถามการวิจัย<br />

มีความจ าเป็นอย่างยิ่งส าหรับการวิจัยเชิงส ารวจ เพราะให้แนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูล)<br />

6.4 สมมุติฐานการวิจัย (ถ้ามี)<br />

(ระบุสมมุติฐานการวิจัยทุกข้อที่ก าหนดไว้ การวิจัยเชิงส ารวจอาจไม่มีสมมุติฐานการวิจัย<br />

ส าหรับค าถามการวิจัยบางข้อก็ได้)<br />

6.5 ขอบเขตของการวิจัย<br />

(ระบุขอบเขตของงานวิจัยให้ครอบคลุม ดังต่อไปนี้)<br />

- กลุ่มเป้าหมาย หรือประชากร<br />

- เนื้อหาของการวิจัย<br />

- ระยะเวลา<br />

6.6 นิยามศัพท์เฉพาะ<br />

(ให้นิยามศัพท์เฉพาะตามที่จ าเป็นและเห็นสมควร)<br />

6.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ<br />

(ระบุความคาดหมายของประโยชน์ที่จะได้รับจากโครงการวิจัย ว่าจะมีผลต่อการพัฒนาใน<br />

เรื่องใด และอย่างไรบ้าง)<br />

6.8 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง<br />

(ระบุงานวิจัยที่มีผู้ท าการวิจัยไว้แล้ว ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานวิจัยเรื่องนี้ พร้อมทั้งชี้ให้เห็นว่า<br />

งานวิจัยเรื่องนี้จะเป็นการเพิ่มเติมความรู้ต่อจากงานวิจัยที่ผ่านมาแล้วอย่างไรบ้าง ทั้งนี้ เพื่อ<br />

ป้องกันการท าวิจัยซ้ าซ้อน)<br />

6.9 ระเบียบวิธีการวิจัย<br />

(ระบุรายละเอียดของการด าเนินงานวิจัยให้ครอบคลุมถึงสิ่งต่อไปนี้โดยละเอียดและชัดเจน)<br />

- แบบแผนทางการวิจัย<br />

- ขั้นตอนการด าเนินงาน<br />

- ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง<br />

- เครื่องมือการวิจัย<br />

- การรวบรวมข้อมูล<br />

- การวิเคราะห์ข้อมูล


27<br />

6.10 แผนการด าเนินงานตลอดโครงการ<br />

(ระบุขั้นตอนและระยะเวลาของแผนการด าเนินงานวิจัยแต่ละขั้นตอนโดยละเอียด รวมทั้ง<br />

แผนภูมิแสดงระยะเวลาในการด าเนินงานภายในรอบปี ตามแบบตาราง)<br />

กิจกรรมการวิจัย<br />

เดือน<br />

1.<br />

2.<br />

3.<br />

4.<br />

ขั้นตอนการด าเนินงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9<br />

6.11 สถานที่ท าการวิจัย ทดลอง หรือเก็บข้อมูล<br />

(ระบุสถานที่ๆ จะใช้ท าการวิจัยให้ชัดเจน โดยระบุสถานที่ท าการทดลองหรือเก็บข้อมูล<br />

พร้อมทั้งเหตุผล)<br />

6.12 อุปกรณ์การวิจัย (ถ้ามี)<br />

(ระบุอุปกรณ์การวิจัยนอกเหนือจากเครื่องมือการวิจัยในข้อ 6.9 ตัวอย่างเช่น เครื่องมือ<br />

วิทยาศาสตร์ที่ต้องมีการจัดหา หรือสร้างขึ้นมาใหม่)<br />

6.13 งบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดโครงการ<br />

(ระบุรายละเอียดงบประมาณค่าใช้จ่ายในการวิจัยรวมตลอดโครงการ แยกประเภทตาม<br />

หมวดค่าใช้สอย ค่าวัสดุ (ดังรายละเอียดที่แนบ))<br />

6.14 บรรณานุกรม<br />

(ระบุเอกสารที่ใช้อ้างอิงในการเขียนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในหัวข้อ 6.8 และเอกสารอื่นๆ ที่<br />

ใช้ค้นคว้าเพื่อการท าวิจัยเรื่องนี้ โดยเขียนเรียงล าดับตามรูปแบบการเขียนบรรณานุกรม)<br />

ข้อ 7 ค าชี้แจงเพิ่มเติม (ถ้ามี)<br />

(ระบุรายละเอียดอื่นๆ ที่จะช่วยให้การพิจารณาจัดสรรทุนอุดหนุนการวิจัยเป็นไปได้ชัดเจนยิ่งขี้น)<br />

1<br />

0<br />

1<br />

1<br />

1<br />

2


28<br />

ข้อ 8<br />

หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ<br />

ข้าพเจ้าเข้าใจ และยินดีปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับทุนอุดหนุนงานวิจัย<br />

ของมหาวิทยาลัยศรีปทุมทุกประการ พร้อมนี้ได้ส่งแบบเสนอขอรับทุนอุดหนุนการวิจัย<br />

จ านวน……. ชุด ตามก าหนดในประกาศ มาประกอบการพิจารณา<br />

(ลงชื่อ)......................................................<br />

(.................................................)<br />

หัวหน้าโครงการวิจัย<br />

........../........../..........<br />

ข้อ 9<br />

ความเห็นของหัวหน้าภาค/หัวหน้าหน่วยงาน<br />

.............................................................……..........................................................................<br />

.............................................................……..........................................................................<br />

(ลงชื่อ)......................................................<br />

(.......….........................................)<br />

ต าแหน่ง………………………………....<br />

........../........../..........<br />

ข้อ 10 ความเห็นของคณบดี/ผู้อ านวยการส านัก<br />

O ไม่อนุญาตให้.............................................................…………………….ด าเนินการวิจัย<br />

เนื่องจาก.................................................................................................................…….<br />

………………………………………………………………………………………….<br />

O อนุญาตให้................................................……………..............ด าเนินการวิจัยตามกรอบ<br />

โครงร่างการวิจัยที่เสนอ และจะติดตามการด าเนินงานวิจัยจนแล้วเสร็จโครงการ<br />

(ลงชื่อ)......................................................<br />

(.......….........................................)<br />

ต าแหน่ง………………………………....<br />

........../........../..........


29<br />

หมวดค่าตอบแทน<br />

1. ค่าตอบแทนนักวิจัย<br />

แนวทางการจัดท าค่าใช้จ่ายของโครงการวิจัยที่เสนอขอรับทุนอุดหนุนงานวิจัย<br />

มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

รายการ<br />

จ านวน<br />

ลดพันธกิจ โครงการละ 15,000 บาท<br />

ไม่ลดพันธกิจ โครงการละ 48,000 บาท<br />

2. ค่าตอบแทนผู้ช่วยนักวิจัย 12,000 บาท<br />

หมวดค่าใช้สอย<br />

1. ค่าถ่ายเอกสาร ตามที่จ่ายจริง ไม่เกิน 3,000 บาท<br />

2. ค่าผลิตเครื่องมือวิจัย (แบบสอบถาม, แบบทดสอบ)<br />

ฉบับละ 5 บาท ตามจ านวนกลุ่มตัวอย่าง ตามที่จ่ายจริง ไม่เกิน 10,000 บาท<br />

3. ค่าเดินทางเพื่อรวบรวมข้อมูล<br />

3.1 ในกรุงเทพฯ ไม่เกิน 4,000 บาท<br />

3.2 จังหวัดปริมณฑล (รัศมีไม่เกิน 150 กิโลเมตร) ไม่เกิน 6,000 บาท<br />

3.3 จังหวัดอื่น ๆ ให้เบิกค่าพาหนะ ค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าที่พัก<br />

ตามระเบียบการเดินทางไปปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย<br />

4. ค่าประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 15,000 บาท<br />

(ค านึงถึงจ านวนข้อมูลประกอบการพิจารณา)<br />

5. ค่าผลิตรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ และบทคัดย่อ โครงการละ 4,200 บาท<br />

6. ค่าจัดท ารูปเล่มรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการละ 1,000 บาท<br />

หมวดค่าวัสดุ<br />

1. ค่าวัสดุส านักงาน เหมาจ่าย ไม่เกิน 3,000 บาท<br />

2. ค่าไปรษณีย์ (แสตมป์, ซองจดหมาย) ตามที่จ่ายจริง ไม่เกิน 7,000 บาท<br />

(ค่าแสตมป์ และซอง (ไป-กลับ) ชุดละ 6 บาท (3บ. x 2))<br />

3. ค่าอุปกรณ์ หรือเครื่องมือการวิจัยที่ต้องจัดซื้อหรือจัดจ้าง<br />

ให้เป็นไปตามระเบียบของการจัดซื้อจัดจ้างของมหาวิทยาลัย


30<br />

FM วจ.-02<br />

มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

สัญญาขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยส าหรับบุคลากรภายใน<br />

เขียนที่................................................<br />

วันที่....….....เดือน..........…..........พ.ศ. .....….......<br />

ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว)..................………..............…………......... อายุ.............ปี สัญชาติ......................<br />

เชื้อชาติ...........…...................... สังกัดหน่วยงาน.............................................. โทรศัพท์.................................<br />

ที่อยู่.............................................................……………..........................…………………………………..... รหัส<br />

ไปรษณีย์.........…................. โทรศัพท์...................………………………...........................................….<br />

เป็นหัวหน้าโครงการวิจัยที่ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ประจ าปีการศึกษา........……. เพื่อ<br />

ท าการวิจัยเรื่อง (ภาษาไทย).....................................................................…………….…………...………<br />

.....................................................................................................................................……..…………………<br />

(ภาษาอังกฤษ).............................…………..................................................…………..………<br />

.........................................................................................................................……..………........……………<br />

ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า ‚ผู้รับทุน‛ ยินยอมปฏิบัติตามสัญญาหลักเกณฑ์ข้อบังคับของมหาวิทยาลัย โดย<br />

อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีปทุม ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า "ผู้ให้ทุน" ดังมีข้อความต่อไปนี้<br />

ข้อ 1 ผู้รับทุนได้ทราบและเข้าใจหลักเกณฑ์ กฎ และข้อบังคับของผู้ให้ทุน ซึ่งมีอยู่แล้วขณะที่ท า<br />

สัญญานี้โดยตลอด ผู้รับทุนขอผูกพันยินยอมปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ กฎ และข้อบังคับดังกล่าว โดยเคร่งครัด<br />

ข้อ 2 ผู้รับทุนจะท าการวิจัยด้วยความวิริยะอุตสาหะให้ส าเร็จ ได้ผลสมความมุ่งหมายของผู้ให้ทุน<br />

หากเกิดอุปสรรคไม่สามารถท าการวิจัยได้ด้วยประการใดก็ดี ผู้รับทุนจะรายงานให้ผู้ให้ทุนทราบทันที และผู้รับทุน<br />

จะรายงานผลการวิจัยตรงตามเวลาและหลักเกณฑ์ที่ได้ก าหนดไว้<br />

ข้อ 3 ผู้รับทุนยินยอมปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการเบิกจ่ายเงิน และการส่งใบส าคัญโดย<br />

เคร่งครัดตามเวลาที่ก าหนดไว้ และผู้รับทุนจะใช้เงินทุนอย่างประหยัด มีประสิทธิภาพและให้เกิดประโยชน์สูงสุด<br />

ข้อ 4 ผู้รับทุนรับรองว่าทุก 4 เดือน นับแต่วันที่ได้ท าสัญญาขอรับทุนเป็นต้นไป จะส่งรายงาน<br />

ความก้าวหน้าตามโครงการที่ได้รับอนุมัติ และส่งรายงานสรุปผลเมื่อสิ้นปีของการได้รับทุน แม้ว่าการวิจัยนั้นจะยัง<br />

ไม่เสร็จสมบูรณ์ และเมื่อท าการวิจัยเสร็จสมบูรณ์ตามระยะเวลาที่ก าหนดในโครงการแล้ว จะส่งรายงานฉบับ<br />

สมบูรณ์ตามเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยก าหนด<br />

ข้อ 5 ผู้รับทุนยินยอมให้ลิขสิทธิ์ของผลการวิจัยที่ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยนี้ เป็นของผู้ให้ทุน<br />

นับตั้งแต่เริ่มต้นท าการวิจัยจนกระทั่งผลการวิจัยเสร็จสิ้น และนับต่อไปอีกเป็นระยะเวลา 3 ปี ก่อนที่จะถือเอา<br />

ลิขสิทธิ์นั้นเป็นของผู้รับทุน และเมื่อผู้รับทุนน าผลการวิจัยดังกล่าว ไปลงพิมพ์เผยแพร่ผู้รับทุนรับรอง ที่จะลง<br />

ข้อความแสดงกิตติกรรมประกาศว่า "โครงการวิจัยนี้ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีปทุม" ทั้งนี้ใน<br />

ระยะเวลาดังกล่าว การเผยแพร่งานวิจัยผู้รับทุนต้องได้รับอนุญาตจากผู้ให้ทุนเป็นลายลักษณ์อักษร<br />

ข้อ 6 ในระยะเวลาที่ก าหนดในสัญญาฉบับนี้ ผู้รับทุนจะไม่รับทุนวิจัยในหัวข้อเรื่องเดียวกับทุนวิจัย<br />

ตามสัญญานี้ จากแหล่งทุนภายนอก หากผู้รับทุนฝ่าฝืนผู้ให้ทุนจะงดเว้นการให้ทุนตามสัญญานี้ทันที


ข้อ 7 ผู้ให้ทุนค านึงถึงจริยธรรมและจรรยาบรรณของนักวิชาการและนักวิจัยเป็นส าคัญ การคัดลอก<br />

ผลงานทางวิชาการของผู้อื่น หรือการกระท าใดๆ ที่ไม่เหมาะสมกับจริยธรรมหรือจรรยาบรรณ ให้ถือว่าเป็นการผิด<br />

สัญญาตามสัญญาฉบับนี้<br />

ข้อ 8 หากผู้รับทุนประพฤติผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใด หรือไม่อาจท าการวิจัยให้ลุล่วงตลอดไปตาม<br />

โครงการวิจัยที่ได้รับการจัดสรรเงินทุนอุดหนุนโดยผู้ให้ทุนพิจารณาเห็นว่าผู้รับทุนไม่มีเหตุผลอันสมควร ผู้ให้ทุน<br />

มีสิทธิบอกเลิกสัญญาฉบับนี้ได้ทันทีและมีสิทธิเรียกร้องเงินที่ได้มอบให้แก่ผู้รับทุนคืนทั้งหมด<br />

หนังสือสัญญานี้ท าขึ้นไว้ 2 (สอง) ฉบับ มีข้อความตรงกัน ผู้ให้ทุนถือไว้ 1 (หนึ่ง) ฉบับ และผู้รับทุนถือ<br />

ไว้ 1 (หนึ่ง) ฉบับ<br />

คู่สัญญาได้อ่านและเข้าใจข้อความในสัญญานี้โดยตลอดดีแล้ว จึงได้ลงลายมือชื่อไว้เป็นส าคัญต่อหน้าพยาน<br />

31<br />

(ลงชื่อ)....................................................................ผู้รับทุน<br />

(...................................................................)<br />

…………………………………………..<br />

(ลงชื่อ)........................................................พยาน<br />

(..........................................................)<br />

คณบดี/ผู้อ านวยการ……………………………………………….<br />

(ลงชื่อ)........................................................พยาน<br />

(..........................................................)<br />

ผู้อ านวยการส านักวิจัย<br />

(ลงชื่อ)........................................................พยาน<br />

(..........................................................)<br />

นิติกร<br />

(ลงชื่อ)....................................................................ผู้ให้ทุน<br />

(...................................................................)<br />

…………………………………………..<br />

ปฏิบัติหน้าที่แทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีปทุม


มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

32<br />

แบบสัญญายืมเงินทุนอุดหนุนการวิจัยส าหรับบุคลากรภายใน<br />

FM วจ.-03<br />

สัญญาการยืมเงินทุนอุดหนุนการวิจัยมหาวิทยาลัยศรีปทุม เลขที่.............ประจ าปีการศึกษา........................<br />

งวดที่………… ยื่นต่อส านักวิจัย วันที่..………….….เดือน......…….………..........พ.ศ..…………….......<br />

ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว)..............................................................………….......………...........................<br />

ต าแหน่ง...........….............................................สังกัดหน่วยงาน................................………........................<br />

หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง…………………………………….......................................................................<br />

…...............................................................................................…………….................................................<br />

…...............................................................................................…………….................................................<br />

มีความประสงค์ขอยืมเงินทุนอุดหนุนการวิจัย เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการวิจัย ดังรายละเอียดต่อไปนี้<br />

1) หมวดค่าตอบแทน …………………………. บาท<br />

2) หมวดค่าใช้สอย …………………………. บาท<br />

3) หมวดค่าวัสดุ …………………………. บาท<br />

รวมเงิน …………………………. บาท<br />

(ตัวอักษร……………………………………………………………….……………………..)<br />

ข้าพเจ้าได้ยืมเงิน งวดที่…….…….ไปแล้ว เป็นจ านวนเงิน……………………...……บาท ยังคง<br />

เหลือเงินในโครงการอีก…………………………………………บาท<br />

ข้าพเจ้าสัญญาว่า จะปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และสัญญาเกี่ยวกับการให้ทุนอุดหนุนการวิจัยของ<br />

มหาวิทยาลัยศรีปทุม และจะน าใบส าคัญคู่จ่ายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งเงินเหลือจ่าย (ถ้ามี) ส่งใช้ภายหลังในก าหนดเวลา<br />

ในระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากมหาวิทยาลัย คืนภายใน……….วัน นับแต่วันที่ได้รับเงินยืมนี้ ถ้าข้าพเจ้าไม่ส่งตาม<br />

ก าหนด ข้าพเจ้ายินยอมให้หักเงินเดือนค่าจ้าง หรือเงินอื่นใดที่ข้าพเจ้าจะพึงได้รับจากมหาวิทยาลัยชดใช้จ านวนเงิน<br />

ที่ยืมไปจนครบถ้วนได้ทันที<br />

(ลงชื่อ)..............................................ผู้ยืม<br />

(.................….…...................)<br />

หัวหน้าโครงการวิจัย<br />

วันที่……/…..…/….…<br />

(ลงชื่อ)..............................................ผู้รับเรื่อง<br />

(.................….…...................)<br />

เจ้าหน้าที่ส านักวิจัย<br />

วันที่……/…..…/….…


มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

33<br />

การเสนอขออนุมัติ<br />

FM วจ.-04<br />

เรียน<br />

ประธานคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย<br />

ตามที่มหาวิทยาลัย ได้อนุมัติเงินทุนอุดหนุนการวิจัย ประจ าปีการศึกษา………….………….…….<br />

จ านวนทั้งหมดแล้วนั้น บัดนี้ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว)………………………………………….…………<br />

หัวหน้าโครงการวิจัย<br />

เรื่อง…………………………………………............................……………………………………………<br />

……………………………………………………………………………………………………….……..<br />

……………………………………………………………………………………………………………...<br />

ใคร่ขอเบิกเงินทุนอุดหนุนการวิจัย งวดที่…….….. เป็นจ านวนเงิน……………………………………...บาท<br />

(ตัวอักษร…………………………………………………………………………………………………...)<br />

(ด้านล่างส าหรับเจ้าหน้าที่)<br />

(ลงชื่อ).....................................................<br />

(...................…....…………...........)<br />

หัวหน้าโครงการวิจัย<br />

วันที่………/………/……….<br />

ผู้วิจัยได้ ท าแบบสัญญายืมเงินทุนอุดหนุนการวิจัยมหาวิทยาลัยศรีปทุมแล้ว (FM วจ.-03)<br />

ผู้วิจัยได้ ส่งรายงานความก้าวหน้า ครั้งที่……………..แล้ว<br />

ผู้วิจัยได้ ส่งบันทึกการใช้เงิน งวดที่……………..แล้ว<br />

พิจารณาแล้วเห็นควรเบิกเงิน งวดที่…….. จ านวนเงิน………………….……….บาท ได้<br />

ลงชื่อ<br />

วันที่<br />

…………………………………………<br />

(………………………………………)<br />

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ<br />

คณะกรรมการพัฒนางานวิจัย<br />

………..…. / ………..…. / …………...<br />

ลงชื่อ<br />

วันที่<br />

…………………………………………<br />

(………………………………………)<br />

กรรมการและเลขานุการ<br />

คณะกรรมการพัฒนางานวิจัย<br />

………..…. / ………..…. / …………...<br />

อนุมัติ ไม่อนุมัติ เนื่องจาก ………………………………………………………………….<br />

ลงชื่อ<br />

วันที่<br />

…………………………………………<br />

(………………………………………)<br />

ประธานคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย<br />

………..…. / ………..…. / …………...


มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

34<br />

แบบรายงานความก้าวหน้าของการวิจัยส าหรับบุคลากรภายใน<br />

ครั้งที่…….. ปีการศึกษา……………..<br />

ระหว่างเดือน……………..………..ถึงเดือน…………………..……<br />

FM วจ.-05<br />

ชื่อโครงการ ภาษาไทย …………………………………………………………........……………...<br />

…………………………………………………………........……………...<br />

ภาษาอังกฤษ ……………………………………………………………………………...<br />

……………………………………………………………………………...<br />

1. วัตถุประสงค์ของโครงการ (โดยสรุป)<br />

2. แผนการด าเนินงาน (ดังเอกสารแนบ)<br />

3. ผลงานวิจัยที่ได้ท าไปแล้วในงวดนี้ (โดยละเอียดจากแผนการด าเนินงานวิจัยแต่ละขั้นตอน)<br />

4. การใช้จ่ายงบประมาณ<br />

งบประมาณที่ได้รับ งบประมาณที่ใช้ไป<br />

หมวดค่าตอบแทน<br />

-………………………. …………………. บาท …………………. บาท<br />

หมวดค่าใช้สอย<br />

-………………………. …………………. บาท …………………. บาท<br />

-…………………….... …………………. บาท …………………. บาท<br />

หมวดค่าวัสดุ<br />

-…………………….... …………………. บาท …………………. บาท<br />

-…………………..….. …………………. บาท …………………. บาท<br />

5. งานตามโครงการที่จะท าในงวดต่อไป<br />

6. ค าชี้แจงและปัญหาอุปสรรค (ถ้ามีให้ชี้แจง)<br />

7. ถ้าผู้ด าเนินการวิจัยได้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ต้องแจ้งให้ทราบดังนี้<br />

ชื่อผู้ท าวิจัย ชื่อผู้ท าวิจัย หน่วยงาน<br />

1)…………………..(ลาออก) ………………….(ท าหน้าที่แทน) ………………….<br />

2)…………………..(ลาออก) ………………….(ท าหน้าที่แทน) ………………….<br />

3)…………………..(ลาออก) ………………….(ท าหน้าที่แทน) ………………….<br />

ลงชื่อ<br />

วันที่<br />

…………………………………………<br />

(………………………………………)<br />

หัวหน้าโครงการวิจัย<br />

………..…. / ………..…. / …………...


35<br />

เอกสารแนบรายงานความก้าวหน้าของงานวิจัย<br />

รายละเอียดของการรายงานความก้าวหน้าของการวิจัย ครั้งที่ 1<br />

ในการรายงานความก้าวหน้าของงานวิจัยครั้งที่ 1 ผู้วิจัยจะต้องเสนอร่างบทที่ 1 และบทที่ 2 ของ<br />

รายงานการวิจัย พร้อมกับเสนอร่างฉบับแรกของเครื่องมือมาให้คณะกรรมการพัฒนางานวิจัยพิจารณา<br />

รายละเอียดของ บทที่ 1 และบทที่ 2 มีดังนี้<br />

บทที่ 1 บทน า<br />

- ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา<br />

- วัตถุประสงค์ของการวิจัย<br />

- ค าถามการวิจัย<br />

- สมมุติฐานการวิจัย<br />

- ขอบเขตการวิจัย<br />

- นิยามศัพท์<br />

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง<br />

- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่วิจัย<br />

- ทฤษฏีรองรับเรื่องที่วิจัย<br />

- ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง<br />

- สรุป<br />

รายละเอียดของการรายงานความก้าวหน้าของการวิจัย ครั้งที่ 1<br />

ในการรายงานความก้าวหน้าของงานวิจัยครั้งที่ 2 ผู้วิจัยครั้งที่ 2 ผู้วิจัยจะต้องเสนอบทที่ 1 และบทที่<br />

2 ที่แก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว ตลอดจนเสนอร่างบทที่ 3 พร้อมด้วยเครื่องมือการวิจัยที่เสร็จ<br />

สมบูรณ์พร้อมที่จะน าไปรวบรวมข้อมูลการวิจัย<br />

รายละเอียดของ บทที่ 3 มีดังนี้<br />

บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย<br />

- รูปแบบการวิจัย<br />

- ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง<br />

- ขั้นตอนการด าเนินงานวิจัย<br />

- เครื่องมือการวิจัย<br />

- การรวบรวมข้อมูล<br />

- การวิเคราะห์ข้อมูล


36<br />

รายละเอียดของการรายงานความก้าวหน้าของการวิจัย ครั้งที่ 3<br />

ในการรายงานความก้าวหน้าของงานวิจัยครั้งที่ 3 ผู้วิจัยจะต้องเสนอร่างรายงานการวิจัยฉบับ<br />

สมบูรณ์ ซึ่งประกอบด้วยบทที่ 1 ถึงบทที่ 5 พร้อมด้วยบรรณานุกรมและภาคผนวก โดยจะต้องพิมพ์ตามรูปแบบที่<br />

มหาวิทยาลัยก าหนด<br />

ส่วนประกอบของบทที่ 4 บทที่ 5 และภาคผนวก มีดังนี้<br />

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล<br />

ผู้วิจัยต้องเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย โดยเรียงล าดับตามค าถามการวิจัย (หรือ<br />

สมมุติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้)<br />

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ<br />

- สรุปการด าเนินงานวิจัย<br />

- สรุปผลการวิจัย<br />

- อภิปรายผล<br />

- ข้อเสนอแนะเพื่อด าเนินการ<br />

- ข้อเสนอแนะเพื่อการท าวิจัยครั้งต่อไป<br />

บรรณานุกรม<br />

ผู้วิจัยต้องน าเสนอเอกสารที่ใช้ค้นคว้าประกอบการวิจัย โดยเรียงล าดับตามแบบของการ<br />

เขียนบรรณานุกรม<br />

ทั้งนี้ โดยเริ่มต้นบรรณานุกรมจากเอกสารภาษาไทยก่อน แล้วตามด้วยบรรณานุกรมเอกสาร<br />

ภาษาต่างประเทศ<br />

ภาคผนวก<br />

ผู้วิจัยต้องเสนอตัวอย่างเครื่องมือการวิจัยและรายละเอียดอื่น ๆ ของข้อมูลการวิจัยที่ไม่<br />

ต้องการให้ปรากฏในเนื้อหาข้างใน<br />

อภิธานศัพท์ (ถ้ามี)<br />

ในกรณีที่มีความจ าเป็นต้องอธิบายความหมายของศัพท์เป็นจ านวนมาก ควรจัดท าอภิธานศัพท์ด้วย<br />

ประวัติย่อผู้วิจัย ตามหัวข้อต่อไปนี้<br />

- ชื่อและนามสกุล<br />

- วัน เดือน ปีที่เกิด<br />

- สถานที่เกิด<br />

- สถานที่อยู่ปัจจุบัน<br />

- ต าแหน่งหน้าที่การงานปัจจุบัน<br />

- สถานที่ท างานปัจจุบัน<br />

- ประวัติการศึกษา


มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

37<br />

FM วจ.-06<br />

แนวทางการพิจารณาโครงการวิจัยที่ขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยมหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

โครงการวิจัยเรื่อง<br />

.........................................................................................................................................................<br />

…………………………………………………………………………………………………….<br />

…………………………………………………………………………………………………….<br />

ประเด็น<br />

1. ความเหมาะสมของชื่อเรื่อง<br />

- ตรงกับประเด็นปัญหาที่ท าการวิจัย<br />

- ครอบคลุมกับปัญหาที่ท าการวิจัย<br />

- ภาษากะทัดรัด ชัดเจน สื่อให้เข้าใจ<br />

ความเห็นและข้อเสนอแนะ<br />

2. การก าหนดปัญหาและขอบเขตปัญหา<br />

- วิเคราะห์เท็จจริงอย่างถี่ถ้วนและสอดคล้อง<br />

ระหว่างปัญหากับข้อเท็จจริง<br />

- ตัวแปรสมเหตุสมผล<br />

- ขอบเขตของปัญหาเหมาะสม<br />

3. จุดมุ่งหมายของการวิจัย<br />

- ครอบคลุมประเด็นที่จะตอบปัญหา<br />

- เฉพาะเจาะจงจุดมุ่งหมายแต่ละข้อ<br />

- ภาพชัดเจนตรงประเด็น<br />

4. สมมุติฐานของงานวิจัย<br />

- ตรงกับประเด็นปัญหาหรือจุดมุ่งหมาย<br />

- ชัดเจนและเฉพาะเจาะจง<br />

- แสดงความสัมพันธ์ของตัวแปร<br />

- มีการใช้ทฤษฏีและหลักการก าหนดสมมุติฐาน<br />

5. นิยามศัพท์เฉพาะ<br />

- เหมาะสมและเจาะจงเฉพาะ<br />

- ครบถ้วน


38<br />

ประเด็น<br />

6. ขอบเขตของงานวิจัย<br />

- ชัดเจนเหมาะสมกับเรื่องที่วิจัย<br />

- ครอบคลุมต่อจุดมุ่งหมาย<br />

- มีความเป็นไปได้<br />

ความเห็นและข้อเสนอแนะ<br />

7. ข้อจ ากัดของการวิจัย<br />

- ชัดเจน สมเหตุสมผล<br />

8. ข้อตกลงเบื้องต้นของการวิจัย<br />

- ชัดเจน และเหมาะสมตรงประเด็น<br />

9. เอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง<br />

- ตรงตามเรื่อง<br />

- ครอบคลุม และถูกต้อง<br />

- กะทัดรัดและแสดงแนวโน้มของการน าไปตั้ง<br />

สมมุติฐาน<br />

10. การด าเนินการวิจัย<br />

- แบบวิจัยเหมาะสม<br />

- อธิบายวิธีด าเนินการวิจัยชัดเจน<br />

- กลุ่มประชากรและการสุ่มตัวอย่างเหมาะสม<br />

- ความเหมาะสมของการควบคุมตัวแปร<br />

- ความเหมาะสมและคุณสมบัติของเครื่องมือที่<br />

ใช้ในการวิจัย<br />

- ความถูกต้องในการเก็บรวบรวมข้อมูล<br />

- การควบคุมคุณภาพและการตรวจสอบข้อมูล


39<br />

ประเด็น<br />

11. การวิเคราะห์ข้อมูล<br />

- การแบ่งตัวแปร<br />

- การเลือกใช้สถิติ<br />

- วิเคราะห์ข้อมูลอย่างละเอียดและเป็นไป<br />

ตามล าดับขั้นตอน<br />

12. แหล่งค้นคว้าและหนังสืออ้างอิงครบถ้วน<br />

ความเห็นและข้อเสนอแนะ<br />

13. ประโยชน์ที่ได้รับจากงานวิจัย<br />

ข้อสรุปการพิจารณา<br />

ควรให้ทุน<br />

ควรให้ทุน โดยมีการแก้ไขเพิ่มเติม<br />

ไม่สมควรได้รับทุน เนื่องจาก<br />

.........................................................................................................................................................<br />

.........................................................................................................................................................<br />

.........................................................................................................................................................<br />

.........................................................................................................................................................<br />

ลงชื่อ .......................................................<br />

(....................................................)<br />

ผู้พิจารณาโครงการวิจัย<br />

วันที่ ................./.................../ ..................


มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

40<br />

แบบรายงานสรุปการติดตามและประเมินผลโครงการวิจัย ครั้งที่ 1<br />

ระหว่างเดือน………..…….. ถึงเดือน……..……….. พ.ศ……….<br />

โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท.…………..<br />

ปีการศึกษา…………….……..<br />

FM วจ.-07/1<br />

1. ชื่อโครงการวิจัย<br />

1.1 ภาษาไทย…………………………………………………………………………………………..<br />

……………………………………………………………………………………………………..<br />

……………………………………………………………………………………………………..<br />

1.2 ภาษาอังกฤษ..……………………………………………………………………………………..<br />

……………………………………………………………………………………………………..<br />

……………………………………………………………………………………………………..<br />

2. ชื่อผู้ได้รับทุน<br />

2.1 หัวหน้าโครงการ...……………………………………………………………………………….<br />

หน่วยงาน………………………………………………………โทร. …………………………..<br />

2.2 รองหัวหน้าโครงการ……………………………………………………………………………..<br />

หน่วยงาน……………………………………………………โทร. ……………………………..<br />

2.3 ผู้ร่วมโครงการ…………………………………………………………………………………...<br />

หน่วยงาน……………………………………………………โทร. ……………………………..<br />

3. ระยะเวลาท าการวิจัยตลอดโครงการ…....…เดือน ตั้งแต่…….….……..…… ถึง……………….……<br />

4. ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อชื่อโครงการวิจัย<br />

4.1 ชื่อโครงการเป็นภาษาไทย<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ ……………………………………………………………………………<br />

……………………………………………………………………………………………….<br />

……………………………………………………………………………………………….<br />

4.2 ชื่อโครงการเป็นภาษาอังกฤษ<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ ……………………………………………………………………………<br />

……………………………………………………………………………………………….<br />

……………………………………………………………………………………………….


5. ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อการเขียน บทที่ 1 บทน า<br />

5.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

…………………………………………………………………………..…………………….<br />

…………………………………………………………………………..…………………….<br />

…………………………………………………………………………..…………………….<br />

……………………………………………………………………………..………………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

5.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

…………………………………………………………………………………..…………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

…………………………………………………………………………………..…………….<br />

…………………………………………………………………………………..…………….<br />

5.3 ค าถามการวิจัย<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

…………………………………………………………………………………..…………….<br />

5.4 สมมุติฐานการวิจัย<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

…………………………………………………………………………………..…………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

……………………………………………………………………………..………………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

41


5.5 ขอบเขตของการวิจัย<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

………………………………………………………………..……………………………….<br />

…………………………………………………………………..…………………………….<br />

…………………………………………………………………..…………………………….<br />

…………………………………………………………………..…………………………….<br />

…………………………………………………………………..…………………………….<br />

5.6 นิยามศัพท์<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

……………………………………………………………………..………………………….<br />

…………………………………………………………………..…………………………….<br />

……………………………………………………………………..………………………….<br />

………………………………………………………………………..……………………….<br />

…………………………………………………………………………..…………………….<br />

6. ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อการเขียน บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง<br />

6.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่วิจัย<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

………………………………………………………………………..……………………….<br />

………………………………………………………………………..……………………….<br />

…………………………………………………………………………..…………………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

6.2 กรอบความคิดทางทฤษฎี หรือทฤษฎีที่รองรับเรื่องที่วิจัย<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

………………………………………………………………………………..……………….<br />

…………………………………………………………………………………..…………….<br />

42


6.3 ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

…………………………………………………………………………………………..…….<br />

……………………………………………………………………………………..………….<br />

……………………………………………………………………………………..………….<br />

……………………………………………………………………………………..………….<br />

………………………………………………………………..……………………………….<br />

6.4 สรุป<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

………………………………………………………………………..……………………….<br />

………………………………………………………………………..……………………….<br />

…………………………………………………………………………..…………………….<br />

…………………………………………………………………………..…………………….<br />

…………………………………………………………………………..…………………….<br />

7. ความเห็น หรือข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

7.1 ความเห็น หรือข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ส าหรับการเขียน บทที่ 1<br />

…………………………………………………………..……………………………………..<br />

…………………………………………………………..……………………………………..<br />

…………………………………………………………..……………………………………..<br />

…………………………………………………………..……………………………………..<br />

…………………………………………………………..……………………………………..<br />

…………………………………………………………..……………………………………..<br />

7.2 ความเห็น หรือข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ส าหรับการเขียน บทที่ 2<br />

…………………………………………………………..……………………………………..<br />

…………………………………………………………..……………………………………..<br />

…………………………………………………………..……………………………………..<br />

…………………………………………………………..……………………………………..<br />

…………………………………………………………..……………………………………..<br />

…………………………………………………………..……………………………………..<br />

43


8. ความก้าวหน้าของงานวิจัย<br />

งานวิจัยก้าวหน้าตามขั้นตอนและแผนการวิจัย ควรยืมเงินทดรองจ่ายงวดต่อไปได้<br />

งานวิจัยไม่ก้าวหน้าตามขั้นตอนเพียงพอที่จะยืมเงินทดรองจ่ายงวดต่อไปได้<br />

44<br />

(ลงชื่อ)...................................………………..<br />

(...................……..............………..…)<br />

ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือที่ปรึกษางานวิจัย<br />

วันที่………/………/………<br />

ได้รับทราบความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว จึงน าเสนอประธานคณะกรรมการพัฒนา<br />

งานวิจัย เพื่อพิจารณา<br />

(ลงชื่อ)................................………………………..<br />

(...................…….............…………..…)<br />

เลขานุการคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย<br />

วันที่………/………/………<br />

เห็นชอบให้ด าเนินการตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอ<br />

(ลงชื่อ)................................………………………..<br />

(...................……............……………..…)<br />

ประธานคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย<br />

วันที่………/………/………


มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

45<br />

แบบรายงานสรุปการติดตามและประเมินโครงการวิจัย ครั้งที่ 2<br />

ระหว่างเดือน………..…….. ถึงเดือน……..……….. พ.ศ……….<br />

โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท.…………..<br />

ปีการศึกษา…………….……..<br />

FM วจ.-07/2<br />

1. ชื่อโครงการวิจัย<br />

1.1 ภาษาไทย…………………………………………………………………………………………..<br />

……………………………………………………………………………………………………..<br />

……………………………………………………………………………………………………..<br />

1.2 ภาษาอังกฤษ..……………………………………………………………………………………..<br />

……………………………………………………………………………………………………..<br />

……………………………………………………………………………………………………..<br />

2. ชื่อผู้ได้รับทุน<br />

2.1 หัวหน้าโครงการ...……………………………………………………………………………….<br />

หน่วยงาน……………………………………………………โทร. ……………………………..<br />

2.2 รองหัวหน้าโครงการ……………………………………………………………………………..<br />

หน่วยงาน……………………………………………………โทร. ……………………………..<br />

2.3 ผู้ร่วมโครงการ…………………………………………………………………………………...<br />

หน่วยงาน……………………………………………………โทร. ……………………………..<br />

3. ระยะเวลาท าการวิจัยตลอดโครงการ….…เดือน ตั้งแต่…….…………..…… ถึง……………….……<br />

4. ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อการเขียน บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย<br />

4.1 รูปแบบการวิจัย<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….…………..………………<br />

……………………………………………………………………………….……………….<br />

…………………………………………………………………………….………………….<br />

………………………………………………………………….…………………………….<br />

………………………………………………………………………………….…………….<br />

………………………………………………………………………………….…………….<br />

…………………………………………………………………………………….………….


4.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

……………………………………………………………………………………………..….<br />

………………………………………………………………………………………..……….<br />

…………………………………………………………………………………………..…….<br />

…………………………………………………………………………………………..…….<br />

………………………………………………………………………………………..……….<br />

………………………………………………………………………………………..……….<br />

…………………………………………………………………………………………..…….<br />

…………………………………………………………………………………………..…….<br />

4.3 ขั้นตอนการด าเนินงานวิจัย<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

……………………………………………………………………………………..………….<br />

………………………………………………………………………………………..……….<br />

…………………………………………………………………………………………..…….<br />

………………………………………………………………………………………..……….<br />

…………………………………………………………………………………………..…….<br />

…………………………………………………………………………………………..…….<br />

………………………………………………………………………………………..……….<br />

……………………………………………………………………………………………..….<br />

4.4 เครื่องมือการวิจัย<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

………………………………………………………………………………….…..………….<br />

……………………………………………………………………………..…….…………….<br />

…………………………………………………………………………………….……..…….<br />

…………………………………………………………………………………….……..…….<br />

……………………………………………………………………………………….……..….<br />

……………………………………………………………………………………….…..…….<br />

…………………………………………………………………………………….……..…….<br />

46


4.5 การรวบรวมข้อมูล<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

…………………………………………………………………………………………...…….<br />

……………………………………………………………………………………...………….<br />

……………………………………………………………………………………...………….<br />

……………………………………………………………………………………...………….<br />

……………………………………………………………………………………...………….<br />

……………………………………………………………………………………...………….<br />

4.6 การวิเคราะห์ข้อมูล<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………<br />

………………………………………………………………………………………...……….<br />

…………………………………………………………………………………...…………….<br />

…………………………………………………………………………………...…………….<br />

………………………………………………………………………………...……………….<br />

………………………………………………………………………………...……………….<br />

………………………………………………………………………………...……………….<br />

5. ความเห็นหรือข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของผู้ทรงคุณวุฒิ ส าหรับการเขียน บทที่ 3<br />

………………………………………………………………………………………..………………...<br />

…………………………………………………………………………………….……….…………...<br />

…………………………………………………………………………………………..……………...<br />

…………………………………………………………………………………………..……………...<br />

…………………………………………………………………………………………..……………...<br />

……………………………………………………………………………………………..…………...<br />

………………………………………………………………………………………………..………...<br />

……………………………………………………………………………………………..…………...<br />

………………………………………………………………………………………………..………...<br />

……………………………………………………………………………………………..…………...<br />

………………………………………………………………………………………………..………...<br />

………………………………………………………………………………………………..………...<br />

47


6. ความก้าวหน้าของงานวิจัย<br />

งานวิจัยก้าวหน้าตามขั้นตอนและแผนการวิจัย ควรยืมเงินทดรองจ่ายงวดต่อไปได้<br />

งานวิจัยไม่ก้าวหน้าตามขั้นตอนเพียงพอที่จะยืมเงินทดรองจ่ายงวดต่อไปได้<br />

48<br />

(ลงชื่อ).............................……………………..<br />

(...................……..............………..…)<br />

ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือที่ปรึกษางานวิจัย<br />

วันที่………/………/………<br />

ได้รับทราบความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว จึงน าเสนอประธานคณะกรรมการพัฒนา<br />

งานวิจัย เพื่อพิจารณา<br />

(ลงชื่อ).............................……………………..<br />

(...................……..............………..…)<br />

เลขานุการคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย<br />

วันที่………/………/………<br />

เห็นชอบให้ด าเนินการตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอ<br />

(ลงชื่อ).............................……………………..<br />

(...................……..............………..…)<br />

ประธานคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย<br />

วันที่………/………/………


มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

49<br />

FM วจ.-07/3<br />

แบบรายงานสรุปการติดตามและประเมินผลโครงการวิจัย ครั้งที่ 3<br />

ระหว่างเดือน………..…….. ถึงเดือน……..……….. พ.ศ……….<br />

โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท.…………..<br />

ปีการศึกษา…………….……..<br />

2. ชื่อโครงการวิจัย<br />

1.1 ภาษาไทย…………………………………………………………………………………………..<br />

……………………………………………………………………………………………………..<br />

……………………………………………………………………………………………………..<br />

1.2 ภาษาอังกฤษ..…………………………………………………….………………………………..<br />

……………………………………………………………………………………………………..<br />

……………………………………………………………………………………………………..<br />

2. ชื่อผู้ได้รับทุน<br />

2.1 หัวหน้าโครงการ...……………………………………………………………………………….<br />

หน่วยงาน……………………………………………………โทร. ……………………………..<br />

2.2 รองหัวหน้าโครงการ……………………………………………………………………………..<br />

หน่วยงาน……………………………………………………โทร. ……………………………..<br />

2.3 ผู้ร่วมโครงการ…………………………………………………………………………………...<br />

หน่วยงาน……………………………………………………โทร. ……………………………..<br />

3. ระยะเวลาท าการวิจัยตลอดโครงการ….…เดือน ตั้งแต่…….…………..…… ถึง…………………..…<br />

4. ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อการเขียน บทที่ 1 บทน า<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….


5. ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อการเขียน บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

6. ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อการเขียน บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

7. ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อการเขียน บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

8. ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อการเขียน บทที่ 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

50


51<br />

9. ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อการเขียนบรรณานุกรม<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

10. ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อการเขียนภาคผนวก<br />

เหมาะสมดีแล้ว<br />

ควรปรับแก้ ดังนี้ (อาจเสนอปรับแก้ในตัวรายงานด้วยก็ได้) …….……………………………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

11. ความเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในภาพรวม ส าหรับรายงานการวิจัยทั้งฉบับ<br />

………………………………………………………………………..……………………………….<br />

………………………………………………………………………..……………………………….<br />

………………………………………………………………………..……………………………….<br />

………………………………………………………………………..……………………………….<br />

………………………………………………………………………..……………………………….<br />

……………………………………………………………………..………………………………….<br />

………………………………………………………………………..……………………………….<br />

………………………………………………………………………..……………………………….<br />

………………………………………………………………………..……………………………….<br />

………………………………………………………………..……………………………………….<br />

………………………………………………………………..……………………………………….<br />

………………………………………………………………..……………………………………….


12. ความก้าวหน้าของงานวิจัย<br />

งานวิจัยก้าวหน้าตามขั้นตอนและแผนการวิจัย ควรจัดท าเป็นร่างรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้<br />

งานวิจัยไม่ก้าวหน้าตามขั้นตอนเพียงพอที่จะจัดท าเป็นร่างรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้ควรปรับแก้ดังนี้<br />

………………………………………………............………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

………………………………………………………………………………………….………….<br />

52<br />

(ลงชื่อ)............................…..………………..<br />

(...................……............….……..…)<br />

ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือที่ปรึกษางานวิจัย<br />

วันที่………/………/………<br />

ได้รับทราบความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว จึงน าเสนอประธานคณะกรรมการพัฒนา<br />

งานวิจัย เพื่อพิจารณา<br />

เห็นชอบให้ด าเนินการตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอ<br />

(ลงชื่อ)............................…..………………..<br />

(...................……............….……..…)<br />

เลขานุการคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย<br />

วันที่………/………/………<br />

(ลงชื่อ)............................…..………………..<br />

(...................……............….……..…)<br />

ประธานคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย<br />

วันที่………/………/………


มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

53<br />

แนวทางในการจัดท ารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์<br />

FM วจ.-08<br />

ก. ส่วนประกอบตอนต้น<br />

1. หน้าปก<br />

2. หน้าปกใน<br />

3. ค าน า<br />

4. กิตติกรรมประกาศ<br />

5. บทคัดย่อภาษาไทย<br />

6. บทคัดย่อภาษาอังกฤษ<br />

7. สารบัญ<br />

8. สารบัญตาราง<br />

9. สารบัญภาพประกอบ<br />

10. ค าอธิบายสัญลักษณ์และค าย่อที่ใช้ในการวิจัย<br />

ข. ส่วนประกอบเนื้อเรื่อง<br />

บทที่ 1 บทน า ประกอบด้วย<br />

1. ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา<br />

2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย<br />

3. ค าถามการวิจัย<br />

4. สมมุติฐานการวิจัย<br />

5. ขอบเขตของการวิจัย<br />

6. นิยามศัพท์<br />

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย<br />

1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่วิจัย<br />

2. ทฤษฏีที่รองรับ หรือกรอบความคิดทางทฤษฎี<br />

3. ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่วิจัย<br />

4. สรุป<br />

บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย<br />

1. รูปแบบการวิจัย หรือแบบแผนการวิจัย<br />

2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง<br />

3. ขั้นตอนการด าเนินงานวิจัย<br />

4. เครื่องมือการวิจัย<br />

5. การรวบรวมข้อมูล<br />

6. การวิเคราะห์ข้อมูล


บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล<br />

น าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามปัญหาการวิจัย<br />

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ<br />

1. สรุปการด าเนินงานวิจัย<br />

2. สรุปผลการวิจัย<br />

3. อภิปรายผล<br />

4. ข้อเสนอแนะ<br />

ค. ส่วนประกอบตอนท้าย<br />

1. หน้าบอกตอน<br />

2. บรรณานุกรม<br />

3. ภาคผนวก<br />

4. อภิธานศัพท์<br />

5. ประวัติย่อผู้วิจัย<br />

54


มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

หัวข้อวิจัย :<br />

ผู้วิจัย :<br />

หน่วยงาน :<br />

ปีที่พิมพ์ :<br />

55<br />

รูปแบบการจัดท าบทคัดย่อ<br />

FM วจ.-09<br />

บทคัดย่อ<br />

ค าส าคัญ : (บอกค าส าคัญ ประมาณไม่เกิน 5 ค า เพื่อให้ผู้อ่านใช้เป็นค าต้นส าหรับการค้นคว้าด้วยเครื่อง<br />

คอมพิวเตอร์)<br />

หมายเหตุ<br />

บทคัดย่อไม่ควรเกิน 2 หน้า กระดาษพิมพ์ (A4)


56<br />

Research Title :<br />

Name of Researcher :<br />

Name of Institution :<br />

Year of Publication :<br />

ABSTRACT<br />

Keywords<br />

: (Identify not more than 5 keywords that will serve as descriptors for computer<br />

search.)


มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

57<br />

FM วจ.-10<br />

แบบประเมินงานวิจัย<br />

ชื่อเรื่อง ...........................................................………………………............................................…...<br />

...........................................................………………………............................................…...<br />

...........................................................………………………............................................…...<br />

ชื่อผู้วิจัย ...........................................................………………………............................................…...<br />

...........................................................………………………............................................…...<br />

...........................................................………………………............................................…...<br />

รายการ<br />

ดีมาก<br />

ดี<br />

ปานกลาง<br />

อ่อน<br />

อ่อนมาก<br />

1. ความเหมาะสมของชื่อเรื่อง<br />

1.1 ความตรงประเด็นกับปัญหาที่ท าการวิจัย<br />

1.2 ความครอบคลุมประเด็นของปัญหาการวิจัย<br />

1.3 ความสะดวกในการสื่อสาร (ความชัดเจนกะทัดรัดและการ<br />

ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย)<br />

2. ความเป็นมาของปัญหา<br />

2.1 ความถี่ถ้วนของการวิเคราะห์ข้อเท็จจริง<br />

2.2 ความชัดเจนของความสอดคล้องระหว่างปัญหาและข้อเท็จจริง<br />

2.3 ความสมเหตุสมผลระหว่างตัวแปรที่ศึกษา<br />

2.4 ความเหมาะสมในการก าหนดขอบเขตของปัญหา<br />

2.5 คุณค่าของผลการวิจัยในเชิงทฤษฎีและ / หรือเชิงปฏิบัติ<br />

3. จุดมุ่งหมายของการวิจัย<br />

3.1 ความครอบคลุมในประเด็นการตอบปัญหา<br />

3.2 ความเฉพาะเจาะจง<br />

3.3 ความชัดเจนในการใช้ภาษาและเสนอประเด็น<br />

4. สมมุติฐานของงานวิจัย (ถ้ามี)<br />

4.1 ความตรงต่อประเด็นที่ปัญหาหรือจุดมุ่งหมาย<br />

4.2 ความเฉพาะเจาะจง<br />

4.3 ความชัดเจน<br />

4.4 การแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปร<br />

4.5 การใช้ทฤษฎีและหลักการก าหนดสมมุติฐาน<br />

4.6 ความสามารถที่จะตรวจสอบหรือทดสอบ


58<br />

รายการ<br />

ดีมาก<br />

ดี<br />

ปานกลาง<br />

อ่อน<br />

อ่อนมาก<br />

5. นิยามศัพท์เฉพาะ<br />

5.1 ความเหมาะสมกับเรื่องที่วิจัย<br />

5.2 ความเฉพาะเจาะจง<br />

5.3 ความเป็นที่ยอมรับของสาขาวิชา<br />

5.4 ความครบถ้วนของค าศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย<br />

6. ขอบเขตของงานวิจัย<br />

6.1 ความชัดเจนและความเหมาะสมกับเรื่องที่วิจัย<br />

6.2 ความครอบคลุมต่อจุดมุ่งหมายของการวิจัย<br />

6.3 ความเป็นไปได้ของขอบเขตการวิจัย<br />

7. ข้อจ ากัดของการวิจัย<br />

7.1 ความชัดเจนและความเหมาะสมกับเรื่องที่วิจัย<br />

7.2 ความสมเหตุสมผลของการก าหนดข้อจ ากัด<br />

8. ข้อตกลงเบื้องต้นของการวิจัย<br />

8.1 ความชัดเจนและความเหมาะสมกับเรื่องที่วิจัย<br />

8.2 ความตรงต่อประเด็นต่อเรื่องที่วิจัย<br />

8.3 ความสมเหตุสมผลในหลักวิชาการ<br />

9. เอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง<br />

9.1 ความตรงประเด็นต่อเรื่องที่วิจัย<br />

9.2 ความครอบคลุมต่อปัญหาที่ศึกษา<br />

9.3 ความถูกต้องของเนื้อหาของวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง<br />

9.4 ความสามารถเรียบเรียงได้อย่างสมเหตุสมผล<br />

9.5 ความกระทัดรัดและแสดงแนวโน้มแห่งสาเหตุแห่งการน าไปตั้ง<br />

สมมุติฐาน<br />

10. วิธีด าเนินการวิจัย<br />

10.1 ความเหมาะสมของแบบวิจัย (Design)<br />

10.2 ความชัดเจนในการอธิบายวิธีด าเนินการวิจัย<br />

10.3 ความเหมาะสมของการก าหนดกลุ่มประชากรและการสุ่มตัวอย่าง<br />

10.4 ความเหมาะสมของการควบคุมตัวแปร<br />

10.5 ความเหมาะสมและคุณสมบัติของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย<br />

10.6 การถูกต้องในการเก็บรวบรวมข้อมูล<br />

10.7 การควบคุมคุณภาพของข้อมูลการตรวจสอบ


59<br />

รายการ<br />

ดีมาก<br />

ดี<br />

ปานกลาง<br />

อ่อน<br />

อ่อนมาก<br />

11. การวิเคราะห์ข้อมูล<br />

11.1 ความเหมาะสมในการจัดแบ่งตัวแปรเพื่อวิเคราะห์<br />

11.2 ความเหมาะสมของการเลือกใช้สถิติวิเคราะห์<br />

11.3 ความละเอียดในการวิเคราะห์ข้อมูล<br />

11.4 ความเป็นล าดับขั้นตอนของการวิเคราะห์ข้อมูล<br />

12. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล<br />

12.1 ล าดับขั้นของการเสนอผลการวิเคราะห์<br />

12.2 การเสนอผลมีความสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายและสมมุติฐาน<br />

12.3 ความชัดเจนและความเหมาะสมในการใช้ตารางรูปภาพ หรือแผนภูมิ<br />

12.4 การเสนอผลการทดสอบนัยส าคัญทางสถิติ และทางความหมาย<br />

13. การสรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ<br />

13.1 ความชัดเจน กระทัดรัดของผลการสรุป<br />

13.2 ความเฉพาะเจาะจงในการชี้ให้เห็นประเด็นหลักของการวิจัยอย่าง<br />

ครบถ้วน<br />

13.3 การแสดงเหตุผล ความสัมพันธ์เชิงทฤษฎีกับข้อค้นพบได้สอดคล้อง<br />

กัน<br />

13.4 ความเหมาะสมในการเลือกประเด็นอภิปราย<br />

13.5 การเสนอแนะที่อยู่ในขอบเขตของข้อค้นพบ<br />

14. รูปแบบของการเขียนรายงานการวิจัย<br />

14.1 ความชัดเจนและความครบถ้วนในการเสนอรายงานการวิจัย<br />

14.2 การจัดระบบและรูปแบบของการเสนอรายงานการวิจัย<br />

14.3 ความสะดวกและความชัดเจนในการสื่อความหมาย<br />

15. แหล่งค้นคว้าและหนังสืออ้างอิง<br />

15.1 ความครบถ้วนของแหล่งค้นคว้า<br />

15.2 ความถูกต้องในการเขียนเชิงอรรถและบรรณานุกรม<br />

16. ความสอดคล้องของการวิจัยทั้งฉบับ<br />

16.1 ความสอดคล้องของทุกบท ทุกตอน<br />

16.2 ความเป็นระบบที่สามารถตรวจสอบได้ทั้งฉบับ<br />

17. ประโยชน์ที่ได้รับจากงานวิจัย<br />

17.1 ผลกระทบที่มีต่อสาขาวิชาการ<br />

17.2 ประโยชน์ที่จะน าไปใช้และประยุกต์ใช้<br />

17.3 ความคุ้มทุนของการวิจัย


ข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………<br />

…………………………………………………………………………………………………………<br />

…………………………………………………………………………………………………………<br />

…………………………………………………………………………………………………………<br />

60<br />

โดยสรุปแล้วงานวิจัยเรื่องนี้มีความคิดเห็นอย่างไร<br />

ยอมรับได้โดยไม่ต้องแก้ไข / เพิ่มเติม<br />

ยอมรับได้โดยมีการแก้ไข / เพิ่มเติมตามข้อเสนอแนะ<br />

ยังไม่เป็นที่ยอมรับ<br />

ลงชื่อ<br />

วันที่<br />

…………………………………………<br />

(………………………………………)<br />

ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือที่ปรึกษางานวิจัย<br />

………..…. / ………..…. / …………...<br />

ลงชื่อ<br />

วันที่<br />

…………………………………………<br />

(………………………………………)<br />

ผช.เลขานุการคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย<br />

………..…. / ………..…. / …………...<br />

ลงชื่อ<br />

วันที่<br />

…………………………………………<br />

(………………………………………)<br />

เลขานุการคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย<br />

………..…. / ………..…. / …………...<br />

ลงชื่อ<br />

วันที่<br />

…………………………………………<br />

(………………………………………)<br />

ประธานคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย<br />

………..…. / ………..…. / …………...


มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

61<br />

แบบน าส่งรายงานการวิจัย<br />

FM วจ.-11<br />

จาก ................................................................ วันที่ …………………………………....<br />

เรียน ................................................................<br />

เรื่อง ................................................................<br />

ด้วยข้าพเจ้า (นาย, นาง, นางสาว) …………………………………………..……......…………..<br />

ต าแหน่ง ……………………………. คณะ / ส านักงาน / ศูนย์ ………………………………….....………….<br />

ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ปีการศึกษา …………. ท าการวิจัย เรื่อง ……………………………..…....………<br />

…………………………………………………………………………………………………………......……<br />

………………………………………………………………………………………………………......………<br />

ระยะเวลาในการท าวิจัย ตั้งแต่เดือน ……...……..….…… พ.ศ. ….……. ถึงเดือน ……...…….…..........……<br />

พ.ศ. ….….…. รวม ………… ปี …………... เดือน<br />

บัดนี้ ได้ด าเนินการวิจัยเสร็จสิ้นสมบูรณ์แล้ว และขอส่งเล่มรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ตรงตาม<br />

แบบที่ก าหนด จ านวน 12 เล่ม บทคัดย่อภาษาไทย จ านวน 20 ชุด บทคัดย่อภาษาอังกฤษ จ านวน 20 ชุด<br />

ลงชื่อ<br />

วันที่<br />

…………………………………………<br />

(………………………………………)<br />

หัวหน้าโครงการวิจัย<br />

………..…. / ………..…. / …………...<br />

สถานที่ติดต่อกลับ<br />

ที่อยู่ …………………………………………………………………………………………………………..<br />

………………………………………………………………………...………………………………………<br />

……………………………………………………………………...…………………………………………<br />

โทรศัพท์ ………………………………………………………………..……………………………………..


มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

บัญชีรายชื่องานวิจัย วิทยานิพนธ์ ต ารา เอกสารและบทความทางวิชาการ<br />

คณะ/ส านัก/ส านักงาน/ศูนย์............................................ ภาควิชา ............................................<br />

62<br />

FM วจ.-12<br />

ล าดับ ชื่อ-สกุล ชื่องานวิจัย<br />

(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)<br />

ชื่อวิทยานิพนธ์<br />

(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)<br />

ชื่อต ารา ชื่อบทความ/เอกสารทางวิชาการ<br />

(โปรดระบุชื่อวารสารที่ลงพิมพ์)<br />

ปีที่พิมพ์


63<br />

ส่วนที่ 3<br />

แนวทางการจัดท ารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์


64<br />

แนวทางการจัดท ารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์<br />

เมื่อผู้วิจัยด าเนินการวิจัยเสร็จแล้ว จะต้องเสนอรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ต่อส านักวิจัยในการ<br />

จัดท ารายงานการวิจัยดังกล่าว ผู้วิจัยจะต้องพิจารณาจัดท าตามแนวทางที่ส านักวิจัยก าหนดไว้เป็นกรอบใน<br />

การจัดท า โดยรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์นี้ มีส่วนประกอบ 3 ส่วน แต่ละส่วนมีองค์ประกอบเป็น<br />

รายละเอียดปลีกย่อย ดังต่อไปนี้<br />

1. ส่วนประกอบตอนต้น<br />

คือ ส่วนของรายงานที่เป็นด้านหน้าก่อนที่จะถึงเนื้อเรื่องของรายงาน มีส่วนประกอบย่อย ดังนี้<br />

1) หน้าปก (cover) ควรพิมพ์ด้วยกระดาษแข็ง หรือกระดาษหนาเป็นพิเศษ<br />

2) หน้าปกใน (title page) มีข้อความเหมือนหน้าปก แต่พิมพ์ด้วยกระดาษธรรมดา<br />

เหมือนหน้าอื่นๆ<br />

3) ค าน า (preface) เป็นหน้าซึ่งผู้วิจัย หรือหัวหน้าสถานศึกษาเขียนแนะน ารายงานการวิจัยเรื่องนี้<br />

อาจกล่าวถึงวัตถุประสงค์และแรงจูงใจ ที่ท าให้ผู้วิจัยท างานวิจัยเรื่องนี้<br />

4) กิตติกรรมประกาศ (acknowledgement) เป็นหน้าซึ่งผู้วิจัยเขียนแสดงความขอบคุณต่อบุคคล<br />

หรือหน่วยงานที่มีส่วนช่วยเหลือในการท างานวิจัยเรื่องนี้<br />

5) บทคัดย่อภาษาไทย สรุปย่องานวิจัยเป็นภาษาไทย<br />

6) บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (abstract) สรุปย่องานวิจัยเป็นภาษาอังกฤษ<br />

7) สารบัญ (table of contents) เสนอรายการหัวข้อส าคัญของรายงานการวิจัยพร้อมทั้งบอกหน้าที่<br />

ปรากฏ เพื่อความสะดวกในการค้นหา<br />

8) สารบัญตาราง (list of tables) เสนอรายการตารางต่างๆ ที่มีในรายงานการวิจัยพร้อมทั้งบอกหน้า<br />

9) สารบัญภาพประกอบ (list of figures) ในกรณีที่รายงานการวิจัยเล่มนั้น มีการเสนอข้อมูลเป็น<br />

แผนภูมิ แผนผัง กราฟ หรือภาพประกอบ และมีจ านวนมากจนสมควรที่จะท าสารบัญภาพประกอบ เพื่อให้<br />

สะดวกในการค้นหา<br />

10) ค าอภิบายสัญลักษณ์ และค าย่อที่ใช้ในการวิจัย (list of abbreviations) ก าหนดให้มีในกรณีที่<br />

รายงานการวิจัยเล่มนั้น มีการใช้สัญลักษณ์หรือค าย่อ ซึ่งอาจไม่เป็นที่คุ้ยเคยส าหรับผู้อ่าน


65<br />

2. ส่วนประกอบเนื้อเรื่อง<br />

ส่วนประกอบที่เป็นเนื้อเรื่องของรายงานการวิจัย ประกอบด้วยเนื้อหา ซึ่งแยกเป็นบทต่างๆ<br />

รายงานการวิจัยโดยทั่วไป มักจะมีเนื้อหาแบ่งออกเป็น 5 บท ยกเว้นรายงานการวิจัยบางประเภท เช่น<br />

รายงานการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ รายงานการวิจัยทางมานุษยวิทยา หรือแม้แต่รายงานการวิจัยทาง<br />

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีบางแขวง ดังนั้น ในการก าหนดบทต่างๆ จึงอนุโลมตามความประสงค์ของ<br />

ผู้วิจัยและผู้ทรงคุณวุฒิของงานวิจัยเรื่องนั้น รายละเอียดของบทต่างๆ ทั้ง 5 บท มีดังนี้<br />

2.1 บทที่ 1 บทน า<br />

เป็นบทที่กล่าวน าเพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจความเป็นมา วัตถุประสงค์ และขอบเขตของงานวิจัย<br />

เรื่องนั้น มักประกอบด้วยหัวข้อย่อย ดังต่อไปนี้<br />

1) ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา กล่าวถึง ความเป็นมาของเรื่องที่วิจัยและเหตุผลที่<br />

ต้องท างานวิจัยเรื่องนี้<br />

2) วัตถุประสงค์ของการวิจัย กล่าวถึง วัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยอาจจะระบุเป็นข้อๆ ให้<br />

ครอบคลุม<br />

3) ค าถามการวิจัย เนื่องจากการวิจัยเป็นการแสวงหาค าตอบให้แก่ค าถาม หรือปัญหาการวิจัย<br />

ดังนั้น จึงควรระบุค าถามการวิจัยให้ชัดเจน โดยเขียนเป็นข้อๆ ทุกค าถามที่ต้องการหาค าตอบ ค าถามการ<br />

วิจัยนี้ บางทีเรียกว่า ปัญหาย่อยของการวิจัย มีความจ าเป็นมากโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ส าหรับการวิจัยเชิง<br />

พรรณนา<br />

4) สมมุติฐานการวิจัย ในกรณีที่ค าถามการวิจัยนั้นๆ ต้องมีการตั้งสมมุติฐานการวิจัย ให้ระบุ<br />

สมมุติฐานการวิจัย โดยระบุเป็นข้อๆ แต่ละข้อให้มีข้อความของสมมุติฐานที่ต้องทดสอบเพียงประเด็นเดียว<br />

5) ขอบเขตของการวิจัย คือ การก าหนดขอบเขตของการวิจัย โดยทั่วไปมักจะก าหนดโดย<br />

กล่าวถึงประชากรหรือกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาของการวิจัย และระยะเวลาของการวิจัย (การวิจัยบางเรื่องอาจ<br />

ก าหนดตัวแปรที่เกี่ยวข้องไว้ ณ ที่นี้ด้วย)<br />

6) นิยามศัพท์ คือ การให้ค าจ ากัดความ ศัพท์ส าคัญ หรือตัวแปรที่เกี่ยวข้องในงานวิจัยเรื่อง<br />

นั้น ควรให้ค านิยามเฉพาะค าศัพท์ หรือตัวแปรที่จ าเป็นจะต้องนิยามเท่านั้น โดยพิจารณาตามความ<br />

เหมาะสม


2.2 บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง<br />

เป็นบทที่ผู้วิจัยน าเสนอผลการค้นคว้าเกี่ยวกับปัญหา หรือเรื่องที่วิจัย ทั้งนี้ เพื่อเป็นการแสดง<br />

ให้ผู้อ่านเห็นว่า ผู้วิจัยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่ท าวิจัยนั้นเป็นอย่างดี และการท าวิจัยเรื่องนี้ ไม่ได้เป็น<br />

การวิจัยซ้ าซ้อนกับงานวิจัยของผู้อื่นที่ท ามาก่อนแล้ว ในการเขียนบทที่ 2 ผู้วิจัยอาจก าหนดหัวข้อย่อย<br />

แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับลักษณะของเนื้อหาและตัวแปรที่เกี่ยวข้อง แต่โดยทั่วไปแล้ว บทที่ 2 ของ<br />

รายงานการวิจัย มักจะประกอบด้วยหัวข้อย่อย ดังต่อไปนี้<br />

1) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่วิจัย ในการน าเสนอความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่วิจัย ผู้วิจัย<br />

อาจก าหนดหัวข้อย่อยตามลักษณะและขอบเขตของเรื่องที่วิจัย ซึ่งอาจแตกต่างกันออกไป แต่โดยทั่วไปแล้ว<br />

มักประกอบด้วยหัวข้อย่อย เช่น ความหมาย ความส าคัญ หลักการ หรือ ทฤษฎีพื้นฐาน ประเภท ประโยชน์<br />

แนวปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ ฯลฯ ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์หลักของการน าเสนอ คือ เพื่อท าความกระจ่าง<br />

กับผู้อ่าน เกี่ยวกับเรื่องที่วิจัยแต่ควรเขียนให้กระชับ และน าเสนอเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องจริงๆ มิฉะนั้นจะ<br />

เป็นการลอกต ารามาเสนอ<br />

2) ทฤษฎีที่รองรับ หรือกรอบแนวคิดทางทฤษฎี เป็นการเสนอกรอบแนวคิดทางทฤษฎีที่<br />

รองรับปัญหาการวิจัย ซึ่งอาจน าเสนอในลักษณะของแบบจ าลอง (model) ของความสัมพันธ์ของตัวแปรที่<br />

เกี่ยวข้องในปัญหาการวิจัยนั้น ข้อควรระวังในการน าเสนอ คือ ควรพิจารณาคัดเลือกทฤ ษฎี หรือ<br />

แบบจ าลองที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัยโดยตรง และแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรที่เกี่ยวข้องส าหรับการ<br />

วิจัยเรื่องนั้น<br />

3) ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการเสนอผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่วิจัย ซึ่งมีผู้วิจัยไว้<br />

แล้ว ควรเสนอทั้งผลการวิจัยทั้งที่ท าในต่างประเทศและภายในประเทศ และควรมีความสมบูรณ์และเป็น<br />

ปัจจุบันให้มากที่สุดเท่าที่จะท าได้<br />

4) สรุป เป็นการสรุปสาระส าคัญทั้งหมด ของบทที่ 2 แล้วกล่าวโยงมาถึงปัญหาการวิจัยเรื่อง<br />

นั้น โดยอาจเสนอสมมุติฐานการวิจัยไว้ด้วยก็ได้<br />

2.3 บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย<br />

เป็นบทที่กล่าวถึงรายละเอียดของระเบียบวิธีการวิจัย หรือการด าเนินงานวิจัย เพื่อให้ผู้อ่านได้<br />

ทราบถึงระเบียบวิธีวิจัย ตลอดจนขั้นตอนการด าเนินงานวิจัยตั้งแต่ต้นจนจบ การก าหนดหัวข้อย่อยและ<br />

เนื้อหาของบทนี้ อาจจะแตกต่างกันไปตามประเภทของการวิจัย แต่โดยทั่วไปแล้ว บทที่ 3 ควรประกอบด้วย<br />

หัวข้อย่อย ดังต่อไปนี้<br />

1) รูปแบบการวิจัย หรือ แบบแผนการวิจัย บอกให้ผู้อ่านทราบว่า งานวิจัยเรื่องนี้เป็นงานวิจัย<br />

ประเภทใด เช่น งานวิจัยเชิงพรรณนา งานวิจัยเชิงคุณภาพ หรืองานวิจัยเชิงทดลอง ถ้าเป็นงานวิจัยเชิง<br />

ทดลอง ควรบอกแบบแผนการทดลองไว้ด้วย<br />

2) ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง บอกทั้งประชากรและกลุ่มตัวอย่างส าหรับงานวิจัยเรื่องนั้น<br />

โดยแยกกล่าวอย่างละย่อหน้า แล้วบอกวิธีที่ใช้ในการเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วย อาจมีการน าเสนอข้อมูล<br />

รายละเอียดของกลุ่มตัวอย่างในตารางประกอบให้ด้วย<br />

66


3) ขั้นตอนการด าเนินงานวิจัย บอกขั้นตอนการด าเนินงานวิจัย ตามแบบแผนการวิจัยที่<br />

ก าหนดไว้ โดยเฉพาะขั้นตอนส าคัญๆ ทั้งนี้ อาจเขียนเป็นข้อๆ แสดงขั้นตอนให้ชัดเจน<br />

4) เครื่องมือการวิจัย กล่าวถึง เครื่องมือทุกอย่างที่ใช้ในการวิจัย ถ้าเป็นการวิจัยเชิงทดลอง<br />

จะมีทั้งเครื่องมือทดลอง และเครื่องรวบรวมข้อมูล ถ้าเป็นการวิจัยเชิงพรรณนาจะมีเฉพาะเครื่องมือรวบรวม<br />

ข้อมูล ซึ่งในการกล่าวถึงเครื่องมือแต่ละอย่าง จะต้องด าเนินการ ดังนี้<br />

- พรรณนาโดยย่อถึงลักษณะของเครื่องมือนั้น พร้อมทั้งแสดงตัวอย่างของเครื่องมือ<br />

นั้นในภาคผนวก<br />

- บรรยายวิธีการสร้างและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ พร้อมทั้งรายงานดัชนี<br />

คุณภาพของเครื่องมือ เช่น ค่าความตรง ค่าความเที่ยง ค่าความยาก และค่าอ านาจจ าแนก<br />

- ถ้าเครื่องมือที่ใช้ เป็นเครื่องมือที่ผู้อื่นสร้างไว้แล้ว ให้รายงานดัชนีคุณภาพของ<br />

เครื่องมือไว้ด้วยเช่นกัน<br />

5) การรวบรวมข้อมูล บอกวิธีการรวบรวมข้อมูล โดยเขียนบอกขั้นตอนและระยะเวลาที่ใช้<br />

ในการรวบรวมข้อมูลการวิจัย<br />

6) การวิเคราะห์ข้อมูล บอกวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมทั้งวิธีการทางสถิติที่ใช้ในการ<br />

วิเคราะห์ข้อมูล<br />

2.4 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล<br />

เป็นบทที่เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อแสวงหาค าตอบ แก่ ค าถาม หรือปัญหาการวิจัย ผู้วิจัย<br />

จะต้องเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล โดยเรียงล าดับตามล าดับของค าถามการวิจัยและสมมุติฐานการวิจัยที่<br />

ต้องทดสอบ ในงานวิจัยบางเรื่องอาจเริ่มต้นด้วยการน าเสนอรายละเอียดของข้อมูลกลุ่มตัวอย่างก่อน แล้ว<br />

จึงเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบค าถามการวิจัย<br />

2.5 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ<br />

เป็นบทสุดท้ายของรายงานการวิจัย มักจะประกอบด้วยหัวข้อย่อย ดังต่อไปนี้<br />

1) สรุปการด าเนินงานวิจัย เป็นการสรุปการด าเนินงานวิจัย โดยน าสาระส าคัญจากบทที่ 1<br />

และบทที่ 3 มาสรุป และเสนอไว้ตามหัวข้อส าคัญๆ ของบทที่ 1 และบทที่ 3 ควรสรุป ย่อๆ เป็นข้อๆ ไม่<br />

เขียนรายละเอียดปลีกย่อย<br />

2) สรุปผลการวิจัย เป็นการสรุปผลการวิจัย ซึ่งได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลในบทที่ 4 โดย<br />

น าเสนอเป็นข้อๆ<br />

3) อภิปรายผล เป็นการอภิปรายถึงผลการวิจัยที่ได้รับว่าผลการวิจัยนั้นๆ หมายความว่า<br />

อย่างไร โดยอาจอภิปรายให้สัมพันธ์กับผลการวิจัยที่มีผู้ท าไว้ก่อนแล้ว หรือสัมพันธ์กับนโยบาย หรือการ<br />

ปฏิบัติในเรื่องนั้นๆ แล้วแต่กรณี การอภิปรายผลในบทที่ 5 มักจะเกี่ยวข้องกับการทบทวนวรรณกรรมที่<br />

เสนอในบทที่ 2<br />

67


4) ข้อเสนอแนะ เป็นข้อเสนอแนะของผู้วิจัย มักจะแบ่งเป็น 2 หัวข้อย่อย คือ ข้อเสนอแนะ<br />

เพื่อน าผลการวิจัยไปใช้ และข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป ควรเสนอเป็นข้อๆ<br />

3. ส่วนประกอบตอนท้าย<br />

เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากเนื้อเรื่องของรายงานการวิจัย ประกอบด้วยส่วนประกอบย่อยดังต่อไปนี้<br />

1) หน้าบอกตอน (half-title) คือ หน้าซึ่งท าหน้าที่แบ่งตอนของรายงานการวิจัย เพื่อบอกให้<br />

ทราบว่าตอนต่อไปจะเป็นอะไร มักใช้คั่นระหว่างเนื้อเรื่องกับบรรณานุกรมและระหว่างบรรณานุกรมกับ<br />

ภาคผนวก ในกรณีที่มีภาคผนวกตอน เช่น ภาคผนวก ก. และภาคผนวก ข. ก็จะมีหน้าบอกตอนคั่นไว้<br />

(โปรดดูตัวอย่างหน้าบอกตอนในภาคผนวก ก. หรือในเอกสารเล่มนี้)<br />

2) บรรณานุกรม (bibliography) คือ รายการวัสดุที่น ามาอ้างอิง ซึ่งอาจประกอบด้วย หนังสือ<br />

บทความ วารสาร วิทยานิพนธ์ และสื่ออื่นๆ ที่ผู้วิจัยได้ค้นคว้าในการท ารายงานการวิจั ยเรื่องนั้น<br />

บรรณานุกรมจะต้องน าเสนอโดยการจัดเรียงตามล าดับอักษรชื่อผู้แต่งถ้ามีรายการทั้งเอกสารภาษาไทยและ<br />

เอกสารภาษาอังกฤษ ให้แยกรายการ โดยจัดให้เอกสารภาษาไทยขึ้นก่อน ตามด้วยเอกสารภาษาอังกฤษ<br />

3) ภาคผนวก (appendix) คือ ส่วนที่ให้ข้อมูลเพิ่มเติมในงานวิจัย แต่ไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของเนื้อเรื่อง เป็นส่วนที่น ามาเพิ่มในตอนท้าย เพื่อช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจแจ่มแจ้งยิ่งขึ้น ภาคผนวกจะมีหรือไม่<br />

มีก็ได้ แล้วแต่ความจ าเป็น ถ้ามีต้องจัดไว้ในหน้าต่อไปจากบรรณานุกรม สิ่งที่เสนอในภาคผนวกมักเป็น<br />

รายละเอียดเพิ่มเติมของรายงานการวิจัย ซึ่งไม่เหมาะสมที่จะน าเสนอในเนื้อเรื่อง เช่น ตัวอย่าง รายชื่อ<br />

ผู้เชี่ยวชาญ หรือค าอธิบายรายละเอียดบางอย่าง<br />

4) อภิธานศัพท์ (glossary) คือ รายการอธิบายความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่ใช้ในรายงานการ<br />

วิจัย ซึ่งผู้วิจัยได้รวบรวมเอาไว้ อภิธานศัพท์จะมีก็ต่อเมื่อมีความจ าเป็นที่จะต้องอธิบายความหมายของศัพท์<br />

ต่างๆ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายแจ่มแจ้งยิ่งขึ้น<br />

5) ประวัติย่อผู้วิจัย (vista) อยู่ท้ายสุดของรายงานการวิจัย ประวัติย่อของผู้วิจัยให้ระบุ<br />

รายละเอียดต่างๆ ดังนี้<br />

- ชื่อและชื่อสกุล (ให้ระบุว่าเป็น นาย นางสาว นาง หรือยศทางทหารหรือต ารวจด้วย )<br />

- วัน เดือน และปีเกิด<br />

- สถานที่เกิด (ให้บอกอ าเภอ และจังหวัดที่เกิด)<br />

- สถานที่อยู่ปัจจุบัน (ให้ระบุที่อยู่ที่สามารถติดต่อทางไปรษณีย์ได้)<br />

- ต าแหน่งหน้าที่การงานปัจจุบัน (ถ้ามี เช่น อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผู้อ านวยการ<br />

โรงเรียน หัวหน้ากองการประถมศึกษาอ าเภอ เป็นต้น)<br />

- ประวัติการศึกษา (ให้ระบุปีที่ส าเร็จการศึกษา วุฒิที่ได้รับ และสถาบันที่ส าเร็จการศึกษา<br />

ตั้งแต่ระดับการศึกษาสามัญสูงสุด จนถึงปัจจุบัน)<br />

(โปรดดูตัวอย่างการพิมพ์ประวัติย่อผู้วิจัย ในภาคผนวก ก.)<br />

68


69<br />

ส่วนที่ 4<br />

รูปแบบการเขียนอ้างอิง อัญพจน์ และบรรณานุกรม


70<br />

รูปแบบการเขียนอ้างอิง อัญพจน์และบรรณานุกรม<br />

การเขียนอ้างอิง<br />

ระบบการอ้างอิงในการเขียนรายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ หรือบทความทางวิชาการซึ่ง<br />

เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีหลายระบบตามมาตรฐานของแต่ละสาขาวิชา เช่น การอ้างอิงแบบ<br />

APA (The American Psychological Association) และ Harvard เป็นมาตรฐานการอ้างอิงที่ยอมรับกัน<br />

อย่างกว้างขวางทางสังคมศาสตร์, การอ้างอิงแบบ MLA (The Modern Language Association, U. of<br />

Chicago) และ Turabian เป็นมาตรฐานการอ้างอิงที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางทางมนุษยศาสตร์ ส่วน<br />

ทางด้านวิทยาศาสตร์กายภาพและวิทยาศาสตร์ชีวภาพนั้นมีรูปแบบการอ้างอิงที่เป็นมาตรฐานของแต่ละ<br />

สาขาวิชาอยู่หลากหลายรูปแบบ เช่น IEE, Nature, Science ฯลฯ โดยทั่วไประบบอ้างอิงในเนื้อหาที่นิยมใช้<br />

กันทั่วไป มี 3 ระบบ คือ 1) ระบบการอ้างอิงแบบนาม-ปี (หรือ Harvard System) 2) ระบบการอ้างอิงแบบ<br />

ตัวเลข และ 3) ระบบอ้างอิงแบบเชิงอรรถ ส าหรับมหาวิทยาลัยศรีปทุม ก าหนดให้ใช้ระบบการอ้างอิงแบบ<br />

นาม-ปี (Author-Data-System) โดยแทรกบนเนื้อหา<br />

ระบบอ้างอิงแบบนาม-ปี (Author-Data-System)<br />

ส่วนประกอบของรายการอ้างอิงแบบนาม-ปี มีส่วนประกอบที่ส าคัญ 3 ส่วน คือ<br />

1. ผู้แต่ง/ผู้ผลิต/ผู้ให้ข้อมูล<br />

2. ปีที่พิมพ์/ปีที่ผลิต/ปีที่ปรากฏข้อมูล หรือปีที่เข้าถึงข้อมูล<br />

(กรณีเป็นข้อมูลจาก WWW และไม่ปรากฏปีที่ผลิต/ปีเผยแพร่ข้อมูล)<br />

3. เลขหน้าที่ใช้ในการอ้างอิง<br />

(ชื่อผู้แต่ง, ปีที่พิมพ์: เลขหน้า)<br />

หมายเหตุ เครื่องหมา ย “” ในที่นี้แสดงถึงการเว้นระยะ ในการพิมพ์ไม่ต้องใส่เครื่องหมายลงไป<br />

1. การเขียนรายการอ้างอิงต้องเขียนด้วยภาษาเดียวกับต้นฉบับที่ใช้อ้างอิง เช่น หากเอกสารที่ใช้<br />

เป็นเอกสารที่แปลเป็นภาษาไทยชื่อผู้เขียนดั้งเดิมแม้จะเป็นชาวต่างชาติจะต้องเขียนด้วยภาษาไทยด้วย<br />

วิธีการเทียบค าศัพท์ (Transliteration) ชื่อนั้นตามวิธีการของราชบัณฑิตยสถาน<br />

2. ส าหรับข้อมูลทางบรรณานุกรมอื่น ๆ ของทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดที่ใช้อ้างอิง เช่น ชื่อ<br />

เรื่อง สถานที่พิมพ์ ส านักพิมพ์ ฯลฯ จะต้องน าไปรวบรวมเขียนเป็นบรรณานุกรมข้างท้ายบทความ<br />

3. กรณีเป็นเอกสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอนุโลมไม่ต้องใส่เลขหน้า


หลักเกณฑ์การเขียนรายการอ้างอิง<br />

ในการเขียนรายการอ้างอิงจากเอกสารหนึ่งเรื่อง มีหลักเกณฑ์และตัวอย่างการเขียน ดังต่อไปนี้<br />

1. หลักเกณฑ์และตัวอย่างการเขียนชื่อผู้แต่งในเนื้อหารายงานวิจัย<br />

• ถ้าเป็นชาวต่างประเทศใช้นามสกุลเท่านั้น ถ้าเป็นชาวไทยให้ใส่ชื่อก่อนแล้วตามด้วย<br />

นามสกุลถึงแม้เขียนเอกสารเป็นภาษาต่างประเทศก็ตาม เพราะถือเป็นแบบที่สากลยอมรับแล้วว่าประเทศ<br />

ไทยใช้เช่นนี้ (ปิยากร หวังมหาพร, 2535: 18)<br />

(Jensen, 1991: 8)<br />

71<br />

• กรณีผู้แต่งมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์<br />

(ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช, 2528: 17)<br />

(พระยาภูมีเสวิน, 2511: 53)<br />

(พระราชวิสุทธิโสภณ, 2517: 70-72)<br />

• กรณีผู้แต่งมียศทางทหาร ต ารวจ หรือต าแหน่งทางวิชาการ เช่น ศาสตราจารย์<br />

หรือ ค าเรียกทางวิชาชีพ เช่น นายแพทย์ เภสัชกร ไม่ต้องใส่ยศ ต าแหน่งทางวิชาการหรือค าเรียกทาง<br />

วิชาชีพนั้นๆ เช่น (จรัส สุวรรณเวลา, 2538: 29)<br />

(วสิษฐ์ เดชกุญชร, 2522: 82-83)<br />

• ผู้แต่งใช้นามแฝง<br />

(หยก บูรพา, 2520: 29-30)<br />

(Twin, 1962: 15-20)<br />

2. การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่งคนเดียว<br />

ถ้าอ้างอิงเอกสารหรืองานนั้นทั้งงานโดยรวม ให้ระบุชื่อผู้แต่งและปีพิมพ์แทรกในข้อความใน<br />

ต าแหน่งที่เหมาะสม กล่าวคือ ถ้าระบุชื่อผู้แต่งในเนื้อความให้อ้างปีพิมพ์ไว้ในวงเล็บ (ตัวอย่าง 1) หรือให้<br />

ระบุทั้งชื่อผู้แต่งและปีพิมพ์ของเอกสารนั้นในวงเล็บ (ตัวอย่าง 2)<br />

ตัวอย่าง 1<br />

สุจิตรา บรูมินเหนทร์ (2509) ศึกษาว่า ในภาษาไทยมีค าในหมวดใดบ้าง และค าอะไรบ้างที่<br />

น ามาใช้เป็นค าซ้ าได้ ผลการศึกษาพบว่าค าทุกหมวด.............................................................................<br />

Landsteiner (1936) described the happen concept whereby conjugation of small……………..<br />

ตัวอย่างที่ 2<br />

....ในขณะที่การใช้ผลการวิจัยทางสังคมศาสตร์ส่วนใหญ่อยู่ในวงแคบ จ ากัดเฉพาะในกลุ่มสาขาของ<br />

ตนเองเท่านั้น (จรรยา<br />

ในย่อหน้าหนึ่ง<br />

สุวรรณทัต,<br />

ๆ<br />

2520)<br />

เมื่ออ้างถึงงานนั้นซ้ าอีกครั้งหนึ่ง ไม่ต้องระบุปีพิมพ์ในการอ้างอิงต่อมา<br />

ได้ ถ้างานนั้นเพิ่งถูกอ้างและไม่สับสนกับงานอื่น ....Previous work on the group living talapoins (ตัวอย่าง (Keverne, 3) 1979), demonstrated that....................


ในย่อหน้าหนึ่งๆ เมื่ออ้างถึงงานนั้นซ้ าอีกครั้งหนึ่ง ไม่ต้องระบุปีพิมพ์ในการอ้างครั้ง<br />

ต่อมาได้ ถ้างานนั้นเพิ่งถูกอ้างและไม่สับสนกับงานอื่น (ตัวอย่างที่ 3)<br />

ตัวอย่าง 3<br />

72<br />

ธีระพันธ์ เหลืองทองค า (1979) ศึกษาซ้ าที่ใช้เป็นค าวิเศษณ์ และค าคุณศัพท์ ในภาษาถิ่นอีสาน<br />

พบว่าสระหลัง (ทั้งสระปากห่อและปากไม่ห่อ) แสดงให้เห็นขนาดใหญ่กว่าหรือค่าสูงกว่า ประคองนิมมาน<br />

เหมินทร์ (2519) อธิบายความสัมพันธ์ของความหมาย และเสียงสระในค าขยายในภาษาอีสานใช้เสียงสระ....<br />

ธีระพันธ์ เหลืองทองค า และ ประคอง นิมมานเหมินทร์ พบว่า เสียงสระในภาษาไทยถิ่นอีสานมี<br />

ความสัมพันธ์โดยตรงกับการใช้ความหมายในเชิงขนาดของ......................................................<br />

In a recent study of group living talapoins, Keverne (1979) demonstrated that…. Keverne also<br />

found…………………………………………………………………………….………………..<br />

การระบุชื่อผู้เขียนที่เป็นชาวต่างประเทศ สามารถท าได้ 2 วิธี<br />

ตัวอย่าง 4<br />

1) ให้ระบุชื่อภาษาต่างประเทศในเนื้อความ และระบุปีพิมพ์ในวงเล็บ (ตัวอย่าง 4)<br />

2) ให้ระบุชื่อเป็นภาษาไทยในเนื้อความก่อน และวงเล็บชื่อภาษาต่างประเทศและปีพิมพ์<br />

(ตัวอย่าง 5)<br />

Read (1972 a: 15-17) ได้อธิบายถึงล าดับขั้นในการเตรียมท ารายงานดังนี้…………...….……………<br />

ตัวอย่าง 5<br />

แมคโดนัฟ (McDonough, 1984: 111) ให้ความเห็นว่า “หลักสูตรการเรียนการสอนภาษาที่มีลักษณะ<br />

เจาะจง เป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะบรรลุหลักการของการศึกษาที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อ”<br />

อ้างอิงด้วย เช่น<br />

ถ้าอ้างอิงเอกสารเรื่องเดียว เขียนโดยผู้แต่งคนเดียว แต่มีหลายเล่มจบให้ระบุหมายเลขของเล่มที่<br />

(พระบริหารเทพธานี, 2496, เล่ม 3)<br />

(Willmarth, 1980, vol.3)


3. การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่ง 2 คน<br />

เมื่อเอกสารที่อ้างถึงมีผู้แต่ง 2 คน ให้ระบุชื่อผู้แต่งทั้ง 2 คน ทุกครั้งที่มีการอ้างโดยใช้ค า<br />

และ หรือ and เชื่อมชื่อผู้แต่ง (ตัวอย่าง 6)<br />

ตัวอย่าง 6<br />

Schlachter และ Thompson (1974) ศึกษาวิธีวิจัยที่ใช้ในวิทยานิพนธ์บรรณารักษศาสตร์และ<br />

พบว่า…………………………………………………………………………...…..………………………<br />

73<br />

จากการวิเคราะห์วิธีวิจัยที่ใช้วิทยานิพนธ์บรรณารักษ์ศาสตร์พบว่า วิธีวิจัยส ารวจมีผู้นิยมใช้กัน<br />

แพร่หลายและคงจะเป็นที่นิยมใช้ต่อไป (Schlachter และ Thompson, 1974)……………………………..<br />

In some studies the theoretical constructs and based on assumption and premises about the<br />

information transfer process, which derives from the theoretical formulation of Shannon and Weaver<br />

(1949)…………………………………………………………………………………………………………………….........................<br />

4. การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่ง 3 คน<br />

ให้ระบุชื่อผู้แต่งทุกคน (ตัวอย่าง 7) หากมีการอ้างอิงถึงครั้งต่อไป ให้ระบุเฉพาะชื่อผู้แต่ง<br />

คนแรก ตามด้วยค าว่า และคณะ หรือ และคนอื่น ๆ ส าหรับเอกสารภาษาไทย ส่วนเอกสารภาษาอังกฤษให้<br />

ตามด้วย et al. หรือ and other (ตัวอย่าง 8)<br />

ตัวอย่าง 7<br />

สาคิตณ์ จันทโนทก, นภาพร ณ เชียงใหม่ และกวี วงศ์พุฒ (2527: 121-135) ได้กล่าวถึงปัญหาการ<br />

วางแผนงบประมาณว่า………………………………………………………………………………<br />

The qualifications needed to be able work at a professional level in the information industry are<br />

……………………………………………………(Carph, Dundee, and Smith, 1999: 25)<br />

ตัวอย่าง 8<br />

……………………………….. (Carph, et al., 1999: 50) ……………………………………………..


ข้อยกเว้น ถ้าเอกสารสองเรื่องที่อ้างครั้งต่อมาเมื่อเขียนย่อโดยใช้ et al. แล้วท าให้รายการที่<br />

อ้างปรากฏคล้ายกัน เช่น Bradley, Ramirez, and Soo (1973)….<br />

Bradley, Soo, and Brown (1983)……<br />

ถ้าเขียนย่อ จะเป็น Bradley et al. (1983) เหมือนกันในกรณีเช่นนี้เพื่อไม่ให้ผู้อ่านสับสนให้เขียน<br />

ชื่อผู้แต่งทุกคน<br />

5. การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่งมากกว่า 3 คน<br />

ในการอ้างถึงทุกครั้งให้ระบุเฉพาะชื่อผู้แต่งคนแรก ตามด้วยค า และคณะ หรือ และคนอื่นๆ<br />

ส าหรับเอกสารภาษาไทย ส่วนเอกสารภาษาอังกฤษใช้ค าว่า et al. หรือ and other<br />

ข้อยกเว้น ถ้าเอกสารสองเรื่องที่อ้างเมื่อเขียนย่อแล้วท าให้รายการที่อ้างปรากฏคล้ายกัน ในกรณีนี้<br />

เมื่ออ้างถึงเอกสารเหล่านั้นในเนื้อความ ให้พยายามระบุผู้แต่งคนต่อมาเรื่อยๆ จนถึงผู้แต่งที่ซ้ ากัน เช่น<br />

Takac, Schaefer, Malonry, Bryant, Cron, and Wang (1982) และ<br />

Takac, Schaefer, Bryant, Wood, Maloney, and Cron (1982)<br />

ในข้อความการอ้างอิงจะปรากฏ ดังนี้<br />

Takac, Schaefer, Malonry et al. (1982) และ<br />

Takac, Schaefer, Bryant et al. (1982)<br />

6. การอ้างอิงเอกสารที่มีผู้แต่งเป็นสถาบัน<br />

หากเอกสารที่อ้างอิงสถาบันเป็นผู้แต่งแทรกในเนื้อความในระบบนาม-ปี ให้ระบุชื่อผู้แต่งที่<br />

เป็นสถาบัน โดยเขียนชื่อเต็มในการอ้างครั้งแรก และถ้ามีชื่อย่อที่เป็นทางการก็ให้ระบุชื่อย่อนั้นในวงเล็บ<br />

ใหญ่ [ ] ไว้ด้วย กรณีนี้ในการอ้างอิงต่อมาให้ใช้ชื่อย่อนั้นด้วย ถ้าไม่มีชื่อย่อ การอ้างครั้งต่อๆ มาให้ระบุชื่อ<br />

สถาบันเต็มทุกครั้ง เช่น<br />

การอ้างครั้งแรก คือ<br />

(องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ [ร.ส.พ.], 2519: 25)<br />

(Asian Institute of Technology [AIT], 1981: 19)<br />

การอ้างครั้งต่อมา<br />

(ร.ส.พ., 2519: 25)<br />

(AIT, 1981: 19)<br />

การอ้างถึงผู้แต่งที่เป็นสถาบัน ต้องพยายามให้ผู้อ่านไม่สับสนระหว่างสถาบันที่อ้างถึงนั้นถึง<br />

สถาบันอื่นๆ ทั้งนี้ ถ้าสถาบันนั้นเป็นหน่วยงานราชการ อย่างน้อยต้องอ้างถึงระดับกรมหรือเทียบเท่าและ<br />

เขียนอ้างระดับสูงลงมาก่อน เช่น<br />

74


(กรมสรรพากร, กองนโยบายและแผน, ฝ่ายเอกสารเผยแพร่และแนวปฏิบัติ, 2542: 90)<br />

(กระทรวงอุตสาหกรรม, 2542: 10-15)<br />

(ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2542: 58)<br />

(ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2542: 10-25)<br />

(Library Association, 1999: 1-2)<br />

(Oxford University Press, 1999: 8-12)<br />

7. การอ้างอิงเอกสารหลายเรื่องโดยผู้แต่งคนเดียวกัน<br />

ในการอ้างเอกสารหลายเรื่องโดยผู้แต่งคนเดียวกัน แต่ปีพิมพ์ต่างกันให้ระบุชื่อผู้แต่งครั้งเดียว<br />

แล้วระบุปีพิมพ์ตามล าดับใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่นระหว่างปีพิมพ์โดยไม่ต้องระบุชื่อผู้แต่งซ้ าอีก เช่น<br />

(ไชยยศ เหมะรัชตะ, 2539: 44-47, 2541: 51-53)<br />

(Frost and Moore, 1998: 17, 1993: 31-32)<br />

แต่ถ้าเอกสารหลายเรื่อง ที่เขียนโดยผู้แต่งคนเดียวกัน แต่ปีพิมพ์ซ้ ากัน ให้ใช้ a b c d ตามหลัง<br />

ปีพิมพ์ ส าหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ และใช้ ก ข ค ง ตามหลัก ปีพิมพ์ ส าหรับเอกสารภาษาไทย เช่น<br />

กมล ทองมาก (2529ก: 18) เสนอแนวคิดไว้ว่า…………………..<br />

75<br />

กมล ทองมาก (2529ข: 44-45) เสนอแนวคิดไว้ว่า……………….<br />

อธิบาย: จากตัวอย่างข้างต้น อธิบายได้ว่า ผู้เขียนรายงานได้อ้างหนังสือ 2 เล่ม คือ การท า<br />

ฟาร์มกุ้ง และ เศรษฐกิจฟาร์มกุ้ง_ ที่แต่งโดย ผู้แต่งคนเดียวกันและพิมพ์ในปีเดียวกัน คือ 2529 เพื่อไม่ให้<br />

เกิดความสับสนในการอ้างอิง ผู้เขียนรายงานได้ใช้ตัวอักษร “ก” และ “ข” ก ากับไว้ที่ปี พ.ศ. โดยได้จัดเรียง<br />

ชื่อเรื่องของหนังสือ ตามล าดับอักษรก่อน ดังนี้<br />

การท าฟาร์มกุ้ง 2529ก<br />

เศรษฐกิจฟาร์มกุ้ง 2529ข<br />

อนึ่งในการเขียนบรรณานุกรมท้ายบทความ ตัวเลข พ.ศ. ก็ยังคงมีอักษรก ากับอยู่เช่นเดิม<br />

8. การอ้างอิงเอกสารหลายเรื่องโดยผู้แต่งหลายคน<br />

การอ้างอิงสรุปมาจากเอกสารหลายเรื่องที่เขียนโดยผู้เขียนหลายคน ให้เรียงชื่อผู้เขียน<br />

ตามล าดับอักษรและใส่เครื่องหมายอัฒภาค (;) คั่นเอกสารแต่ละเรื่อง ดังตัวอย่าง<br />

……….....(กรกช ด ารงนิตย์, 2541: 31-32; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, 2540: 50;<br />

พิมลพร ศิริสกุล และนุชวดี สุทธิศิลป์, 2542: 7-8; อาจหาญ ไชยศรี, 2539ก: 8)……………………….<br />

…………….(Feather and Frank 1999: 145; 1988a: 88-89; Miski, 1990: 5)……………………………


9. การอ้างอิงเอกสารที่ไม่ปรากฏนามผู้เขียน<br />

ให้ใส่ชื่อเรื่อง (Title) ของเอกสารนั้น เช่น ชื่อเรื่องของหนังสือหรือชื่อเรื่องจุลสารหรือชื่อ<br />

บทความในวารสารหรือชื่อหัวข้อข่าวหรือชื่อบทความในหนังสือพิมพ์<br />

ดังตัวอย่าง<br />

ชื่อเรื่องของหนังสือ<br />

76<br />

…………..……….(เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการศึกษา, ม.ป.ป.: 11-12)…………….<br />

…….The Impact of New Technology on Libraries and Information Centers (1982: 16-17)..<br />

ชื่อบทความในวารสาร/หนังสือพิมพ์<br />

(“เปิดมิติธุรกิจขายข้อมูล ความต้องการแห่งยุคสมัย.”, 2534: 39-44)<br />

(‚Information Brokers.‛, n.d.: 15)<br />

10. การอ้างอิงเอกสารที่ไม่ปรากฏชื่อผู้เขียน<br />

แต่มีชื่อบรรณาธิการหรือชื่อผู้รวบรวม ให้ใส่ชื่อบรรณาธิการ (Editor) หรือ ชื่อผู้รวบรวม (Compiler)<br />

ดังตัวอย่าง<br />

…………………………(รุ่งโรจน์ ศรีสุบรรณ, บรรณาธิการ, 2538: 30)………………………..……..<br />

…………………………(ชมเพลิน จันทร์เมืองเพ็ญ, ผู้รวบรวม, 2540: 1-2)…………………….…….<br />

…………………………(Lawrence, ed., 2000: 25)……………………………………………………<br />

…………………………(Gootnick and Kents, eds., 1997: 29-30) ……………………………………<br />

11. การอ้างอิงน ามาจากหนังสือแปล<br />

ให้ระบุชื่อผู้เขียนที่เป็นเจ้าของเรื่องถ้าไม่ทราบจึงใส่ชื่อผู้แปล ดังตัวอย่าง<br />

…………………………เมทซ์ (2540: 11-17) กล่าวถึง……………………………………………….<br />

…………………………(แม็คเมอรี่ย์, เชฟเฟอร์ และเนฟวิลล์, 2542: 101)…………..……………….<br />

…………………………(ยุพเรศ วินัยธร, ผู้แปล, 2530: 15-16)……………………………………….<br />

12. การอ้างอิงเอกสารที่ผู้แต่งใช้นามแฝง<br />

ให้ใช้นามแฝง ตามที่ปรากฏ เช่น<br />

…………………………(สิงห์สนามหลวง, 2539: 122)………………………….…..……………….<br />

…………………………(Dr.Y, 1968: 33-39)…………………………………………………………


77<br />

13. การอ้างอิงเอกสารที่เป็นบทวิจารณ์<br />

ให้ใส่ชื่อผู้วิจารณ์ ตัวอย่าง<br />

…………………………คุณสุภาว์ จุลนาพันธ์ (2530: 28-35) ได้วิจารณ์..…………….…..………….<br />

…………………………(Nicol, 1987: 4-9)…………………………………………………………..<br />

14. การอ้างอิงจากส่วนหนึ่งของหนังสือที่รวมบทความ<br />

ผลงานรวมเรื่องของผู้เขียนหลายคน และมีผู้รับผิดชอบในการรวบรวม หรือท าหน้าที่<br />

บรรณาธิการต่างหาก ซึ่งอาจเป็นผู้หนึ่งที่เขียนบทความบางบทในหนังสือเล่มนั้น หรือเป็นบุคคลอื่นก็<br />

ตาม ในการเขียนรายการอ้างอิงให้ระบุเฉพาะชื่อผู้เขียนบทความ ในกรณีไม่ปรากฏชื่อผู้เขียนให้ใช้ชื่อ<br />

เรื่องแทน ตัวอย่าง<br />

…………………………(ลือชัย จุลสัย, 2528: 78)…………………………….……….…..………….<br />

…………………………(กุณฑลวดี ภาสวงศ์, 2528: 11)…………...…………………………………<br />

…………………………(Rokeach, 1988: 17-20)……….……………………………………………<br />

15. การอ้างอิงจากหนังสือหรือเอกสารที่ไม่ปรากฏปีพิมพ์<br />

…………………………(สุนันท์ จักราวรศุข, ม.ป.ป.: 11)…………………………….……….…….<br />

16. …………………………(Joseph, การอ้างอิงเอกสารอื่น n.d.: 3-15)…………………………………………………………<br />

ผู้เขียนบทความต้องการอ้างข้อความที่ถูกอ้างอิงไว้แล้วในเอกสารนั้นๆ โดยไม่ได้อ่านจาก<br />

งานเขียนนั้นโดยตรงในกรณีเช่นนี้ถือว่าเป็นการอ้างเอกสารที่อ้างถึงในเอกสารอื่น ซึ่งไม่ใช่การอ้างถึง<br />

เอกสารนั้นโดยตรง การเขียนรายการอ้างอิงในกรณีนี้ มีหลักการเขียน ดังนี้<br />

16.1 ให้ระบุนามผู้เขียนของเอกสารทั้งสองรายการ โดยระบุนามผู้เขียนและปีพิมพ์ของ<br />

เอกสารอันดับแรกมาก่อนตามด้วย ค าว่า “อ้างถึงใน” ส าหรับเอกสารภาษาไทย หรือ ‚cited in‛ ส าหรับ<br />

เอกสารภาษาต่างประเทศ แล้วระบุนามผู้เขียนของเอกสารอันดับรองและปีพิมพ์ เช่น<br />

……..ได้มีการศึกษาสหสัมพันธ์ระหว่างความรู้ของบรรณารักษ์ในเรื่องนวกรรมกับระดับของการ<br />

ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ผลการวิจัยพบว่าจ านวนบรรณารักษ์มากกว่าครึ่งหนึ่งรู้สึกตื่นเต้นและต้องการที่<br />

จะเห็นการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในห้องสมุด....(Yaghmai. 1981: 11-20 cited in weeks, 1983: 45-50)……<br />

เอกสารอันดับแรก


16.2 ถ้ากล่าวถึงนามเจ้าของเอกสารอันดับแรกในเนื้อหาอยู่แล้ว ก็ลงแต่ปีพิมพ์และเลข<br />

หน้า (ถ้ามี) ของเอกสารอันดับแรก และรายการอ้างอิงของเอกสารอันดับรองไว้ในวงเล็บ ( ) เช่น<br />

78<br />

ส าหรับ Fine (1983: 10 cited in French, 1985: 19) เชื่อว่าสาเหตุที่แท้จริงของการต่อต้าน<br />

เทคโนโลยีใหม่ๆ คือ ความกลัว (Fear) ซึ่งพอจะจ าแนกประเภทของความกลัวได้ 2 ประเภท คือ<br />

1. กลัวที่จะสูญเสียความเป็นส่วนตัว และสูญเสียอ านาจในการท างาน<br />

2. กลัวว่าคอมพิวเตอร์จะท าลายความสัมพันธ์ของเพื่อนร่วมงานท าให้กลุ่มของตนไม่ใกล้<br />

ชิดสนิทสนมอย่างเดิม<br />

สมเด็จกรมพระยาด ารงราชานุภาพได้ทรงรายงานถึงจ านวนหนังสือไทยที่มีอยู่ในหอพระ<br />

สมุดส าหรับพระนคร ในปี พ.ศ. 2459 ดังนี้คือ ................(2459: 60 อ้างถึงใน แม้นมาส ชวลิต, 2509: 24)<br />

Cohen 16.3 ถ้าเอกสารอันดับรองไม่ได้ระบุปีพิมพ์ (Miller, 1997: 34) Stated……………………………………………………………<br />

และเลขหน้าของเอกสารอันดับแรกให้เขียน<br />

รายการอ้างอิง ดังนี้<br />

………….(พระยาอนุมานราชธน อ้างถึงใน สายจิตต์ เหมินทร์, 2507: 25-26)………………………...<br />

………….(Bradford, cited inn Deutsch, 1943: 43)……………………………………………………<br />

17. การอ้างอิงเอกสารพิเศษและโสตทัศนวัสดุ<br />

เอกสารพิเศษ เช่น ต้นฉบับตัวเขียน รายการวิทยุโทรทัศน์ ปาฐกถา เป็นต้น หรือ<br />

โสตทัศนวัสดุ เช่น สไลด์ ฟิล์มสตริป เทปบันทึกเสียง แผนที่ เป็นต้น ให้ใส่ชื่อผู้แต่ง, ผู้ผลิตหรือชื่อเรื่อง<br />

(กรณีไม่ปรากฎชื่อผู้แต่ง) เว้นหนึ่งระยะตามด้วยปี ตัวอย่าง<br />

………….(ด ารงศักดิ์ ชัยสนิท, 2549)………………………..............................................................<br />

………….(Kellough, 18. การอ้างอิงจากเอกสารสื่อสารระหว่างบุคคล<br />

2006)………………………………………………………………………….<br />

การสื่อสารระหว่างบุคคล อาจเป็น จดหมาย บันทึก การสนทนา การสัมภาษณ์ ฯลฯ ให้<br />

ระบุชื่อที่ผู้เขียนสื่อสารด้วย พร้อมวันที่(ถ้ามี) เช่น<br />

………….(ปิยากร หวังมหาพร, จดหมาย, 1 มกราคม 2551)……………………….................................<br />

………….(Wichai Nakorntap, interview, September 1, 1997)…………………………..….…………..<br />

………….Milton Friedman (personal communication, April 26, 1983………………….…….……….


19. การอ้างอิงจากข้อมูลที่เป็นฐานข้อมูล<br />

หรือในเว็บไซต์วิชาชีพ (Information Database or Professional Web Site) โครงการ<br />

วิชาการออนไลน์ (Online Scholarly Project) ให้ระบุ ชื่อผู้จัดท าเว็บไซต์หากไม่มีให้ระบุชื่อเว็บไซต์<br />

หรือชื่อโครงการหรือฐานข้อมูลแทน และวันเดือนปีที่จัดท าเว็บไซต์หรือวันเดือนปีที่เข้าใช้ข้อมูล<br />

20. บทความวารสารจากเว็บไซต์<br />

หากเหมือนบทความวารสารที่ตีพิมพ์ให้ใส่ชื่อผู้เขียนบทความ (หรือชื่อบทความถ้าไม่มีชื่อ<br />

ผู้เขียน) เดือน, ปีพิมพ์และเลขหน้าเช่นเดียวกับฉบับตีพิมพ์ เช่น<br />

21. บทความจากวารสารออนไลน์ (ที่ไม่มีฉบับตีพิมพ์)<br />

ให้ใส่ชื่อผู้เขียนบทความ (หรือชื่อบทความถ้าไม่มีชื่อผู้เขียน) และปีที่ผลิตหรือจัดท าเช่น<br />

………….(‚Expenditures for Health Care Plans,‛ 1998)………………………………………………<br />

.หมายเหตุ การเขียนรายการอ้างอิงแทรกปนไปในเนื้อหาของข้อมูลจากเว็บไซต์หรือ<br />

ข้อมูลออนไลน์จะใช้หลักเกณฑ์เดียวกันกับการเขียนรายการอ้างอิงเอกสารคือ ชื่อผู้เขียนหรือผู้จัดท าทั้ง<br />

ที่เป็นบุคคลและหน่วยงานกับปีที่ผลิตหรือจัดท าข้อมูลหรือ วัน เดือน ปี ที่เข้าใช้ข้อมูลเป็นส าคัญ ส่วย<br />

รายละเอียดอื่นๆ ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ จะต้องใช้เขียนบรรณานุกรมท้ายบทความหรือเอกสาร<br />

79<br />

ระบบสายอากาศที่ใช้ในตัวดาวเทียมมีอยู่ด้วยกัน 4 แบบ ได้แก่ Wire, Horn, Reflector และ<br />

Array……(สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนนทบุรี, 2 กันยายน 2544)………………………..<br />

………….(Marriott, et al., 2002, February: 902-911)…………………………………………………<br />

………….(Wheelright, 2001, September)…………………………………………………………….


80<br />

หลักการเขียนอัญพจน์ (Direct Quotation)<br />

อัญพจน์ คือ ข้อความหรือค าพูดที่คัดลอกมา ซึ่งข้อความใดที่ผู้เขียนคัดลอกมาโดยตรงจาก<br />

หนังสือหรือสิ่งพิมพ์ใดๆ เพื่อใช้ประกอบการเขียนรายงานผู้เขียนจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเขียนรายการ<br />

อ้างอิงประกอบข้อความนั้นทันทีเพื่อเป็นการบอกถึงแหล่งที่มาของข้อความนั้นๆ และเพื่อเป็นการให้<br />

เกียรติแก่ผู้เป็นเจ้าของความคิด รวมทั้งยังเป็นการเพิ่มความน่าเชื่อถือให้แก่รายงานอีกด้วย การเขียนอัญ<br />

พจน์ในเนื้อหารายงานมีหลักการเขียน ดังนี้<br />

1. กรณีอัญพจน์เป็นความเรียงความยาวไม่เกิน 4 บรรทัด หรือเป็นร้อยกรองความยาวไม่เกิน<br />

3 บรรทัด ให้เขียนหรือพิมพ์ต่อจากข้อความในรายงานได้ โดยไม่ต้องขึ้นบรรทัดใหม่ และต้องใส่<br />

เครื่องหมายอัญประกาศก ากับข้อความเหล่านั้นด้วยหากเป็นร้อยกรองให้ใส่เครื่องหมายทับ (/) ตรงค า<br />

สุดท้ายของข้อความแต่ละบรรทัดและเว้น 1 ระยะก่อนพิมพ์ข้อความต่อไป เช่น<br />

รัชนัย อินทุใส (2538: 3) กล่าวว่า “ดาวเทียมมีช่วงของวงโคจรที่ใหญ่มาก แต่ไม่ได้ใช้ทุกช่วงของวง<br />

โคจรส าหรับการสื่อสาร วงโคจรที่ส าคัญที่ใช้งานกันอยู่จะใช้เวลาในการโคจรรอบหนึ่ง 24 ชั่วโมง ที่ความ<br />

สูง 35,786 กิโลเมตร จากพื้นผิวโลก ณ จุดเส้นศูนย์สูตร เป็นวงโคจรที่ใช้มากที่สุดส าหรับดาวเทียมสื่อสาร<br />

เช่น ดาวเทียม INTELSAT, EUTELSAT, INMARSAT เป็นต้น”<br />

ตัวอย่าง การเขียนอัญพจน์ที่เป็นบทร้อยกรองที่มีความยาวไม่เกิน 3 บรรทัด<br />

The writer frames the poem with a sense of reality: ‚All things within this world are illusion/ everything<br />

is not our self/3But the world.‛ (Elizabeth, 1987: 10-11)…………………………………..<br />

2. กรณีอัญพจน์เป็นความเรียงความยาวเกิน 4 บรรทัด หรือร้อยกรองมีความยาวเกิน 3<br />

บรรทัด<br />

ไม่ต้องใช้เครื่องหมายอัญประกาศ (“.......”) ก ากับข้อความเหล่านั้น แต่ให้พิมพ์ขึ้นบรรทัด<br />

ใหม่ โดยย่อหน้าเข้ามาอีก 10 ระยะตัวพิมพ์ หรือประมาณ 1 นิ้วจากขอบกระดาษด้ายซ้ายมือ ในกรณีที่มี<br />

ย่อหน้าภายในอัญพจน์ก็ให้ย่อหน้าเข้ามาอีก 3 ระยะตัวพิมพ์ ดังตัวอย่าง


ตัวอย่าง การเขียนอัญพจน์ที่เป็นความเรียงที่มีความยาวเกิน 4 บรรทัด<br />

ตัวอย่าง การเขียนอัญพจน์ที่เป็นบทร้อยกรองที่มีความยาวเกิน 3 บรรทัด<br />

ข้อสังเกต: มีการใช้เครื่องหมายอัญประกาศเดี่ยว (‘....’) คร่อมค าว่าอนันตชีพไว้เพราะจาก<br />

ต้นฉบับเดิมจะมีเครื่องหมายอัญประกาศคู่ก ากับค าดังกล่าว<br />

3. เมื่อตัดข้อความที่คัดลอกออกบางส่วน เนื่องจากไม่สัมพันธ์กับเรื่องที่ต้องการอ้างอิง<br />

มีหลักการ ดังนี้<br />

3.1 กรณีข้อความที่ต้องการตัดออกมีความยาวไม่เกิน 1 บรรทัด ให้ใส่จุด 3 จุดไว้ตรง<br />

ส่วนที่ตัดออก<br />

ดังตัวอย่าง<br />

81<br />

การใช้ดาวเทียมสื่อสารในกิจการโทรคมนาคมของประเทศไทยมีจ านวนมากขึ้น โดย<br />

ประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกองค์การ TNTELSAT เมื่อปี พ.ศ. 2509 และเริ่มการสื่อสารผ่านดาวเทียม<br />

ในปี พ.ศ. 2510 ปัจจุบันประเทศไทยใช้ดาวเทียม TELSAT, PALAPA และ ASIASAT ในการใช้<br />

ดาวเทียม ประสิทธิ์ ทีฑพุฒิ (2537: 189) อธิบายว่า<br />

การใช้ดาวเทียมเหล่านี้จะใช้ในกิจการทั้งของราชการและเอกชน ซึ่งการใช้งานเหล่านี้มี<br />

ปริมาณ การใช้เพิ่มขึ้นอย่างมาก คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้มีการท าสัญญาส่งดาวเทียมของประเทศไทย<br />

ขึ้นสู่วงโคจรโดยได้ลงนามในสัญญาเมื่อ 11 กันยายน 2534<br />

เนื่องจากหลักในการท างานดาวเทียม แต่ละดวงเหมือนกัน………………………………<br />

………………...(ข้อความเนื้อหา)…………………………….…………………………………………<br />

มาเร็วเกลอ! แล่นเรือ ไปด้วยข้า<br />

อรุณใหม่ นาฬิกา อ้าปีกหนี<br />

เราจะขึ้น ก้อนเมฆผล็อย ลอยเมฆี<br />

ร้อยสดุดี ‘อนันตชีพ’ พลางรีบไป (สิริวยาส, ผู้แปล, 2542: 174)<br />

“การควบคุมต าแหน่งของดาวเทียมเป็นสิ่งส าคัญเพื่อที่จะให้จานสายอากาศของดาวเทียมซึ่งเป็นชนิดที่<br />

มีบีม (Beam) แคบ ให้ชี้มายังโลกในต าแหน่งที่ถูกต้อง... นอกจากนี้แล้วสนามโน้มถ่วงต่างๆ ซึ่งกระท า<br />

ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง” (ประสิทธิ์ ทีฑพุฒิ, 2537: 25)


3.2 ถ้าต้องการละข้อความหนึ่งย่อหน้า (Paragraph) หรือมากกว่า ให้ใช้จุดไข่ปลา 1<br />

บรรทัด ส่วนข้อความที่คัดลอกต่อมาให้ขึ้นบรรทัดใหม่<br />

ดังตัวอย่าง<br />

หนังสือ สิ่งพิมพ์ โสตทัศนวัสดุ/สื่อ โสตทัศน์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ใดๆ ก็ตามที่ผู้เขียน<br />

บทความได้เขียนอ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อหาของบทความ (ในลักษณะการอ้างอิงแทรกปนไปบนเนื้อหา)<br />

หนังสือฯ เหล่านั้นทุกเล่ม/ชิ้น จะต้องน ามาเขียนเป็นบรรณานุกรมท้ายฉบับของบทความ<br />

การเขียนบรรณานุกรม<br />

บรรณานุกรม คือ รายการเอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ ฐานข้อมูลที่ใช้ประกอบการศึกษา<br />

ค้นคว้า หรือเอกสารอ้างอิง จะอยู่ส่วนท้ายของเนื้อหา บรรณานุกรม มีความส าคัญเพราะแสดงถึง<br />

การศึกษาค้นคว้าของผู้เขียน ว่าความกว้างขวางลึกซึ้งมากน้อยเพียงใด มีความทันสมัยแค่ไหน<br />

นอกจากนี้ ยังเป็นส่วนหนึ่งที่แสดงถึงความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ปรากฏในเอกสารวิชาการนั้นๆ และ<br />

แสดงการเป็นลิขสิทธิ์ด้วย ในที่นี้จะขอแยกกล่าวเป็น 2 หัวข้อ คือ ขั้นตอนการเขียนบรรณานุกรม และ<br />

แบบแผนของบรรณานุกรม<br />

ขั้นตอนการเขียนบรรณานุกรม<br />

1. การเขียนบรรณานุกรมนั้นจะมีรูปแบบและหลักเกณฑ์การเขียนที่แตกต่างกันไปตาม<br />

ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ<br />

2. การเขียนบรรณานุกรมต้องเขียนอย่างถูกต้องตามแบบแผนสากลแล้วจัดเรียงตามล าดับ<br />

อักษรตัวแรกของแหล่งข้อมูล ทั้งนี้มักจะเป็นชื่อผู้แต่ง หรืออาจเป็นชื่อหนังสือ ชื่อบทความบ้างก็ได้<br />

หากไม่ปรากฏผู้แต่ง<br />

82<br />

ท่านพุทธทาสภิกขุ (2530: 18) เสนอแนวคิดในการปลูกฝังเรื่องการไม่ยึดมั่น เพื่อปล่อยวาง<br />

อัตตาหรือยึดถือในความดีและความเป็นแห่งตัวตนของมนุษย์ไว้ว่า<br />

น่าจะมีวัฒนธรรมใหม่ที่ประดิษฐ์ขึ้นมาสั่งสอนลูกเด็กๆ อย่าสอนเขาให้<br />

ยึดมั่นอะไร เป็นตัวกูเป็นของกู มาตั้งแต่อ้อนแต่ออกนัก สอนให้รู้จักว่าควรท าอย่างไร<br />

ในการที่จะไม่มีความทุกข์ในข้อนี้ ควรกินอย่างไร ควรนอนอย่างไร ควรเล่นอย่างไร<br />

………………………………………………………………………………………………<br />

ไปที่ร้านอาหารที่อร่อยที่สุด จะกินจะซื้อให้..ไม่ได้ บอกว่าลูกเอ๋ย<br />

ทั้งหมดนี้เขามีไว้ส าหรับให้เราโง่นะลูกเอ๋ย ไม่มีใครบอกอย่างนี้


อนึ่ง มีข้อควรพิจารณาเพิ่มเติม คือ ในกรณีที่มีสิ่งพิมพ์ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ<br />

ให้แยกบรรณานุกรมออกเป็น 2 ภาษา คือ ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ แล้วจึงจัดเรียงตามล าดับ<br />

อักษรตัวแรกของรายการแรกของบรรณานุกรมแต่ละรายการ<br />

ในการเขียนหรือพิมพ์บรรณานุกรมนั้นจะต้องเริ่มต้นรายการแรก โดยเขียนหรือพิมพ์ชิดขอบกระดาษ<br />

ด้านซ้ายที่เว้นระยะ 1.5 นิ้วไว้แล้ว และหากข้อความยังไม่จบตอน บรรทัดต่อไปให้ย่อหน้าเข้ามา 8<br />

ระยะตัวอักษร โดยเขียนหรือพิมพ์ที่ตัวอักษรที่ 9<br />

การเว้นระยะมีหลักเกณฑ์ ดังนี้<br />

หลังเครื่องหมาย มหัพภาค (. period) เว้น 2 ระยะ<br />

หลังเครื่องหมาย อัญประกาศ (‚___‛ quotation) เว้น 2 ระยะ<br />

หลังเครื่องหมาย จุลภาค (, comma) เว้น 1 ระยะ<br />

หลังเครื่องหมาย อัฒภาค (; semi-colon) เว้น 1 ระยะ<br />

หลังเครื่องหมาย มหัพภาคคู่ (: colons) เว้น 1 ระยะ<br />

**บางสาขาวิชาจะก าหนดให้ปีพิมพ์อยู่ในเครื่องหมาย ( ) ตามระบบการอ้างอิงแบบ APA Style ก็ได้**<br />

83<br />

แบบแผนของบรรณานุกรม มีทั้งหมด 17 รูปแบบ ดังนี้<br />

1. หนังสือ<br />

แบบแผน<br />

ผู้แต่ง.ปีพิมพ์.ชื่อหนังสือ.จ านวนเล่ม(ถ้ามี). ครั้งที่พิมพ์(ถ้ามี). ชื่อชุด<br />

หนังสือและล าดับที่(ถ้ามี). สถานที่พิมพ์: ส านักพิมพ์หรือโรงพิมพ์.<br />

ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การลงรายการบรรณานุกรมหนังสือ<br />

1. เครื่องหมาย “” นี้แสดงถึงการเว้นระยะในการพิมพ์หรือเขียนไม่ต้องใส่เครื่องหมายลงไป<br />

2. หากรายการใดไม่มีก็ไม่ต้องลงรายละเอียดในบรรณานุกรม ให้ลงรายการถัดมาได้เลย<br />

3. การลงรายการผู้แต่ง มีหลักการเขียน คือ ผู้แต่งอาจเป็นบุคคลหรือสถาบันก็ได้<br />

- ถ้าเป็นบุคคลประเภทสามัญชน ให้ตัดค าน าหน้าต่อไปนี้ทิ้งไป คือ<br />

ค าน าหน้านามแสดงเพศ (นาย, นาง, นางสาว) ค าน าหน้านามแสดงคุณวุฒิ (ดร.) ค าน าหน้านามแสดง<br />

อาชีพ (เช่น นายแพทย์) ค าน าหน้านามแสดงยศทางทหาร (เช่น พล.อ.) และค าน าหน้านามแสดง<br />

ต าแหน่งทางวิชาการ (ผศ., รศ., ศ.,)<br />

- ถ้าผู้แต่งเป็นชาวต่างประเทศ ให้เขียนชื่อสกุลขึ้นก่อน คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาคตาม<br />

ด้วยชื่อต้น (First Name) และชื่อกลาง (ถ้ามี)<br />

- ถ้าผู้แต่งมีบรรดาศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์หรือสมณศักดิ์ กลับเอาบรรดาศักดิ์ ฯลฯ ไว้หลัง<br />

ชื่อกับนามสกุล คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,)


- ถ้าผู้แต่งเป็นสถาบัน ให้บันทึกชื่อสถาบันนั้นๆ โดยเรียงล าดับจากหน่วยงานใหญ่ไป<br />

หาหน่วยงานย่อย ในกรณีเป็นหน่วยงานของรัฐบาลอย่างน้อยต้องอ้างถึงระดับกรมหรือเทียบเท่า<br />

ระหว่างชื่อหน่วยงานคั่นด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (.)<br />

4. การลงรายการปีพิมพ์ ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการลงรายการปีพิมพ์ในรายการอ้างอิงแทรก<br />

ปนไปในเนื้อหา<br />

5. การลงรายการชื่อหนังสือ มีหลักการเขียน ดังนี้<br />

- ชื่อหนังสือให้พิมพ์ด้วยตัวหนาและไม่ขีดเส้นใต้<br />

- ชื่อหนังสือที่เป็นภาษาต่างประเทศ ให้ขึ้นต้นอักษรตัวแรกของทุกค าด้วยตัวพิมพ์ใหญ่<br />

ทุกค า ยกเว้นกลุ่มค าประเภท บุพบท (Prepositions) สันธาน (Conjunctions) และค าน าหน้านาม<br />

(Articles) ยกเว้นน าหน้าชื่อเรื่อง หรือน าหน้าชื่อเรื่องรอง(ถ้ามี) และกรณีชื่อเรื่องรอง ให้พิมพ์ตามหลัง<br />

เครื่องหมายมหัพภาคคู่ (:) เช่น The American Revolution, 1775-1783: An Encyclopedia. New<br />

Jersey: A Guide to Its Past and Present.<br />

6. การลงรายการจ านวนเล่ม มีหลักการเขียน ดังนี้<br />

- ลงจ านวนเล่มหรือหมายเลขเล่มของหนังสือ ในกรณีเป็นหนังสือที่มีหลายเล่มจบ<br />

- กรณีใช้เพียงเล่มเดียวให้ระบุหมายเลขเล่มต่อท้ายชื่อหนังสือ หรือชื่อบรรณาธิการ<br />

(กรณีเป็นหนังสือรวมเรื่องที่ต้องการระบุชื่อผู้เขียนเป็นรายการแรก) หรือชื่อผู้แปล (กรณีเป็นหนังสือ<br />

แปลที่มีชื่อผู้แต่งเดิม) คั่นด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (.)<br />

- กรณีใช้เพียงเล่มเดียว และแต่ละเล่มมีชื่อเรื่องประจ าเล่ม ให้เขียนบรรณานุกรมเสมือน<br />

เป็นหนังสือ 1 เล่ม โดยไม่ต้องใส่หมายเลขเล่มใดๆ<br />

- เป็นหนังสือหลายเล่มจบ และใช้อ่านประกอบตั้งแต่ 2 เล่มเป็นต้นไป ในการอ้างอิงให้<br />

ระบุจ านวนเล่มทั้งหมดต่อท้ายชื่อหนังสือ<br />

7. การลงรายการครั้งที่พิมพ์ ให้ลงรายการตั้งแต่การพิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป เช่น พิมพ์ครั้งที่<br />

2, พิมพ์ครั้งที่ 3 เป็นต้น<br />

8. การลงรายการชื่อชุดหนังสือและล าดับที่ กรณีหนังสือชื่อเรื่องนั้นเป็นเล่มหนึ่งในหนังสือ<br />

ชุด (A book in a series) และอ้างเพียงเล่มเดียว ในการเขียนบรรณานุกรมให้เขียนชื่อเรื่องของหนังสือ<br />

เล่มที่อ้างถึงในส่วนชื่อหนังสือ และระบุชื่อเรื่องของชุดและหมายเลขชุด ต่อท้ายจากรายการชื่อหนังสือ<br />

ชื่อบรรณาธิการ(ถ้ามี) หรือชื่อผู้แปล(ถ้ามี) หรือจ านวนเล่ม(ถ้ามี) หรือครั้งที่พิมพ์(ถ้ามี) เช่น<br />

ชุดส่งเสริมการท่องเที่ยว. เล่ม 2.<br />

84<br />

Approaches to Teaching World Literature. 47.<br />

Twayne’s World Authors Series. 679.


9. การลงรายการสถานที่พิมพ์และส านักพิมพ์<br />

- สถานที่พิมพ์ (Place of publication) หมายถึง ชื่อเมือง หรือจังหวัด ถ้าชื่อเมืองไม่เป็นที่<br />

รู้จักแพร่หลาย หรืออาจท าให้สับสนกับเมืองอื่น ให้ระบุชื่อย่อของรัฐ หรือประเทศที่ส านักพิมพ์นั้น<br />

ตั้งอยู่ก ากับไว้ด้วยจากนั้นตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาคคู่ (:) โดยไม่ต้องเว้นระยะ เช่น<br />

New York:<br />

Reston, VA:<br />

Princeton, NJ:<br />

- ถ้าในเอกสาร ส านักพิมพ์ (Publisher) ตั้งอยู่ในเมืองมากกว่า 1 เมือง ให้เลือกเมืองแรก<br />

- ถ้าในเอกสารปรากฏส านักพิมพ์มากกว่า 1 แห่ง ให้ระบุชื่อส านักพิมพ์ทุกแห่ง โดยใช้<br />

เครื่องหมายอัฒภาค (;) คั่นระหว่างส านักพิมพ์แต่ละแห่ง เช่น<br />

London: Benn; New York: Barnes.<br />

- ให้ใส่ชื่อเฉพาะของส านักพิมพ์ โดยตัดค าขยายชื่อเฉพาะ เช่น ส านักพิมพ์, ห.จ.ก.,<br />

บริษัท, Publisher, Co., Co.Ltd. หรือ Inc. เช่น<br />

ดอกหญ้า.<br />

McGraw-Hill.<br />

University of Tokyo Press.<br />

- ถ้าไม่ปรากฏชื่อส านักพิมพ์ แต่มีโรงพิมพ์ให้ลงรายการด้วยโรงพิมพ์ เช่น โรงพิมพ์ ส.<br />

ธรรมภักดี เป็นต้น<br />

- ถ้าไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ หรือส านักพิมพ์ และโรงพิมพ์ให้ระบุ ม.ป.ท. หรือ n.p. ซึ่ง<br />

ย่อมาจาก ค าเต็มว่า ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ หรือส านักพิมพ์ และ no place of publication หรือ no<br />

publisher แทนในรายการสถานที่พิมพ์ หรือส านักพิมพ์แล้วแต่กรณี<br />

ตัวอย่าง หนังสือที่เขียนโดยผู้แต่งคนเดียว<br />

ศุภกิจ ไชยวิรัตน์. 2542. ประเพณีผีตาโขน: การละเล่นพื้นบ้านของไทย. 10 เล่ม. ถึงปัจจุบัน.<br />

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์นวการพิมพ์.<br />

สุภาพรรณ ณ บางช้าง. 2535. ขนบธรรมเนียมประเพณี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:<br />

สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

Herren, R.V. 1994. The Science of Animal Agriculture. Albany, NY: Delmar.<br />

85


86<br />

ตัวอย่าง หนังสือที่เขียนโดยผู้แต่ง 2 คน<br />

ปัจจัย บุนนาค และสมคิด แก้วสนธิ. 2529. จุล-เศรษฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

Makay, John J., and Fetzer, Ronald C. 1985. Business communication Skills: Principle and<br />

Practice. 2 nd ed. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.<br />

ตัวอย่าง หนังสือที่เขียนโดยผู้แต่ง 3 คน<br />

สาคิตณ์ จันทโนทก, นภาพร ณ เชียงใหม่ และกวี วงศ์พรม. 2537. การวางแผนงบประมาณ.<br />

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เอเซีย.<br />

Cutlip, Scott M., Center, Allen H., and Broom, Glen M. 1995. Effective Public Relations. 6 th ed.<br />

Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.<br />

ตัวอย่าง หนังสือที่เขียนโดยผู้แต่งมากกว่า 3 คนขึ้นไป<br />

ด ารงศักดิ์ ชัยสนิท และคณะ. 2539. การวิจัยตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ข้าวฟ่าง.<br />

Huseman, Richard C., et al. 1990. Business Communication. Chicago: The Dryden Press.<br />

ตัวอย่าง หนังสือที่ผู้แต่งเป็นสถาบัน<br />

กรมสรรพากร. กองนโยบายและแผน. ฝ่ายเอกสารเผยแพร่และแนวปฏิบัติ. 2542. รายงานประจ าปี<br />

2542. กรุงเทพมหานคร: กรมสรรพากร<br />

สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย. 2538. ศัพท์บัญญัติการตลาดอังกฤษ-ไทย. กรุงเทพมหานคร:<br />

ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

ตัวอย่าง หนังสือที่เขียนโดยผู้แต่งที่มีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ และสมณศักดิ์<br />

ประดิษฐ์มนูธรรม, หลวง. 2517. เค้าโครงเศรษฐกิจ. กรุงเทพมหานคร: สังคมการพิมพ์.<br />

วิจิตรวาทการ, หลวง. 2598-2501. ศาสนาสากลเปรียบเทียบ ศาสนา ลักธิ และปรัชญาต่างๆ ทั่วโลก. 5<br />

เล่ม. พิมพ์ครั้งที่ 2. พระนคร: โรงพิมพ์ ส. ธรรมภักดี.


87<br />

ตัวอย่าง หนังสือที่ไม่ปรากฏผู้แต่ง ให้ลงชื่อเรื่องได้เลย<br />

สมเด็จพระปิยมหาราชกับนักเขียนฝรั่งเศส. ม.ป.ป. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิเอกชนพัฒนาภูมิภาค.<br />

Thailand Executives. 1985. Bangkok: Tawanna Holdings.<br />

ตัวอย่าง หนังสือที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง แต่มีชื่อบรรณาธิการ (Editor) หรือผู้รวบรวม<br />

(Compiler)<br />

สมจิตร พรมเดช, บรรณาธิการ. 2538. เศรษฐกิจภาคเหนือประเทศไทยปัจจุบันและอนาคต. พิมพ์ครั้งที่<br />

7. กรุงเทพมหานคร: ศรีสมบัติการพิมพ์.<br />

Gootnick, David E., ed. 1984. The Standard Handbook of Business Communication. New York:<br />

The Free Press.<br />

ตัวอย่าง หนังสือหลายเล่มจบ หนังสือของผู้แต่งคนเดียวหรือหลายคน ชื่อเรื่องเดียวกัน แต่มีหลายเล่ม<br />

จบกรณีที่อ้างมากกว่า 2 เล่ม ในการเขียนบรรณานุกรมให้ระบุจ านวนเล่มทั้งหมดไว้หลังชื่อหนังสือ แต่<br />

ถ้าหากอ้างเพียงเล่มใดเล่มหนึ่ง ในการเขียนบรรณานุกรมให้ระบุเฉพาะเล่มที่อ้างต่อจากชื่อหนังสือ<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

เติมศักดิ์ กฤษณามระ และคนอื่นๆ. 2526. หลักการบัญชีขั้นต้น. 2 เล่ม. พิมพ์ครั้งที่ 2.<br />

กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.<br />

เติมศักดิ์ กฤษณามระ และคนอื่นๆ. 2526. หลักการบัญชีขั้นต้น. เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 2.<br />

กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.<br />

Fletcher, Ronald. 1981. Handbook of Marketing. 2 vols. 2 nd ed. New York: McGraw-Hill.<br />

Fletcher, Ronald. 1981. Handbook of Marketing. Vol 1. 2 nd ed. New York: McGraw-Hill.<br />

2. หนังสือแปล มี 2 กรณี คือ<br />

2.1 หนังสือแปลที่มีชื่อผู้แต่งเดิมปรากฏ<br />

แบบแผน ผู้แต่ง.ปีพิมพ์.ชื่อหนังสือหรือชื่อเรื่อง.แปลโดย.ชื่อผู้แปล.ครั้งที่พิมพ์.<br />

สถานที่พิมพ์. ส านักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์.


88<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

แน้ช, จอร์ช: วอลดอร์พ, แดน; และไรซ์, โรเบิร์ต อี. 2518. มหาวิทยาลัยกับชุมชนเมือง. แปลโดย<br />

อัปสร ทรัยอิน และคนอื่นๆ. กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์แพร่พิทยา.<br />

รีส, อัล. 2527. กลยุทธ์การสร้างภาพพจน์. แปลโดย ก้องเกียรติ โอภาสวงการ. กรุงเทพมหานคร:<br />

ซีเอ็ดยูเคชั่น.<br />

Grimal, Pierre. 1986. Love in Ancient Rome. Translated by Arthur Train, Jr. Norman:<br />

University of Oklahoma Press.<br />

2.2 หนังสือแปลที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่งเดิม แต่มีชื่อผู้แปล ให้ลงรายการผู้แต่งด้วยชื่อผู้แปล<br />

แล้วระบุค าว่า ผู้แปล หรือ tr. หรือ tr. หรือ trs. (ย่อมาจากค าเต็มว่า Translator หรือ Translators)<br />

ตามหลังชื่อผู้แปล โดยใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่น<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

ศิระ โอภาสพงษ์, ผู้แปล. 2542. สุดยอดต านานธุรกิจสะท้านฟ้า. กรุงเทพมหานคร: เอ อาร์ บิซิเนสเพรส.<br />

Coulson, Jessie, tr. 1964. Crime and Punishment. New York: Norton.<br />

3. หนังสือที่พิมพ์ในโอกาสพิเศษ เช่น หนังสืออนุสรณ์งานศพ งานวันสถาปนาหรืออื่นๆ ที่ถือ<br />

เป็นเอกสารอ้างอิงที่ส าคัญ ให้ลงรายการเหมือนหนังสือธรรมดา โดยเพิ่มเติมรายละเอียดของหนังสือ<br />

ดังกล่าวไว้ในวงเล็บท้ายรายการ<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

กัลยานุกูล, พระครู. 2525. “ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต).” ใน อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ<br />

นายจ าเนียร บุญพละ, หน้า 1-95. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ส านักเลขาธิการ<br />

4. บทความหรือบทหนึ่งในหนังสือ<br />

การเขียนบรรณานุกรมในลักษณะดังกล่าว มีดังนี้<br />

แบบแผน ผู้เขียนบทความ.ปีพิมพ์. “ชื่อบทความ.”ในชื่อบรรณาธิการ(ถ้ามี),<br />

ชื่อหนังสือ, เลขหน้า.สถานที่พิมพ์: ส านักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์.<br />

สถานที่พิมพ์. ส านักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์.


89<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

ชัยพร วิชชาวุธ. 2518. “การสอนในระดับอุดมศึกษา.” ใน การสอนและการวัดผลการศึกษา, หน้า 1-30.<br />

พระนคร: ฝ่ายวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

ชวินทร์ ธัมมนันท์กุล. 2541. “การรับรู้และการตัดสินใจ.” ใน มันทนี ยมจินดา (บรรณาธิการ),<br />

มนุษย์กับธรรมชาติ, หน้า 12-36. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ฝ่ายวิชาการ<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

Weiten, Wayne. 1995. ‚Personality: Theory, Research, and Assessment.‛ In Psychology: Themes<br />

and Variations, pp. 471-513. 3 rd ed. Pacific Grove, CA: Brooks/Cole.<br />

5. รายงานการประชุม/สัมมนาทางวิชาการ<br />

มีวิธีการเขียน 3 แบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะการจัดท าและการใช้รายงานการประชุม<br />

ประกอบ การเขียนรายงาน กล่าวคือ<br />

1. ในการอ้างอิง หรือการอ่านประกอบการเรียบเรียงเนื้อหาของรายงาน ผู้เขียนใช้ข้อมูล<br />

จากรายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการทั้งเล่ม ในกรณีนี้ให้เขียนบรรณานุกรมในลักษณะเดียวกับ<br />

หนังสือ และเพิ่มรายละเอียดที่เกี่ยวข้องที่จะเป็นการระบุให้ทราบว่าเป็นรายงานการประชุมสัมมนาทาง<br />

วิชาการ (กรณีชื่อเรื่องไม่บ่งบอก แต่ถ้าชื่อเรื่องบ่งบอก รายละเอียดส่วนนี้ก็ไม่จ าเป็นต้องมี)<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

Freed, Barbara F., ed. 1991. Foreign Language Acquisition Research and the Classroom.<br />

Proceeding of Consortium for Language Teaching and Learning Conference, October 1989,<br />

University of Pennsylvania. Lexington: Heath.<br />

Hall, Kira, Meacham, Michael, and Shapiro, Richard, eds. 1989. Proceedings of the Fifteenth<br />

Annual Meeting of the Berkeley Linguistics Society, February 18-20, 1989: General<br />

Session and General Session and Para session on theoretical Issues in Language<br />

Reconstruction. Berkeley: Berkeley Linguistic Society.<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

2. กรณีการอ้างอิงใช้เพียงบางบท ให้ลงรายการในลักษณะเดียวกับบทความในหนังสือ<br />

สมทรวง จันทร์นิต. 2538. “การสืบค้นสารนิเทศออนไลน์.” ใน รายงานการสัมมนาเรื่อง การค้นคืน<br />

สารนิเทศ ในยุคโลกาภิวัฒน์, หน้า 15-40. กรุงเทพมหานคร: สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ.


Paitoon Sinlarat. 1995. ‚Success and Failure of Faculty Development in Thai University.‛ In<br />

Somwang Pitiyanawat, et al. (eds.), Preparing Teachers for the World’s Children: An<br />

Era of Transmission, Proceedings of International Conference, Bangkok, 1992, pp. 217-<br />

233. Bangkok: UNICEF.<br />

3. รายงานการประชุมสัมมนาวิชาการ มีการพิมพ์เผยแพร่สม่ าเสมอเป็นประจ าทุกปี ให้<br />

เขียนบรรณานุกรมในลักษณะเดียวกับบทความในวารสาร<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

Thumin, F.J., Craddick, R.A., and Barclay, A. G. 1973. ‚Meaning and Compatibility of a Proposed<br />

Corporate Name and Symbol.‛ Proceedings of the 81th Annual Convention of the<br />

American Psychological Association 8: 835-836.<br />

6. บทความในวารสาร<br />

90<br />

แบบแผน<br />

ผู้เขียนบทความ.ปีพิมพ์. “ชื่อบทความ.” ชื่อวารสารปีที่หรือเล่มที่,<br />

ฉบับที่: เลขหน้า.<br />

สถานที่พิมพ์. ส านักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์.<br />

ข้อสังเกต ถ้าไม่มีชื่อผู้เขียนบทความ ให้ลงชื่อบทความเป็นรายการแรกแทนชื่อผู้เขียน<br />

บทความ โดยล าดับ ดังนี้<br />

“ชื่อบทความ.” ปีพิมพ์.ชื่อวารสารปีที่หรือเล่มที่, ฉบับที่: เลขหน้า.<br />

การลงรายการชื่อวารสาร<br />

1. ใช้ตามที่ปรากฏในหน้าปกในของวารสาร<br />

2. เขียนชื่อเต็ม โดยใช้ตัวใหญ่ตัวแรกทุกตัว หรือในกรณีที่ใช้ชื่อย่อต้องเป็นชื่อย่อที่<br />

นักวิชาการในสาขาวิชานั้นยอมรับ เช่น Journal ใช้ตัวย่อ J เป็นต้น<br />

3. ชื่อวารสารพิมพ์ตัวหนา แล้วไม่ต้องขีดเส้น<br />

4. หลังชื่อวารสารไม่มีเครื่องหมายใดๆ<br />

5. การลงรายการปีที่หรือเล่มที่ (Volume)<br />

5.1 วารสารที่มีทั้งปีที่หรือเล่มที่ และฉบับที่ (Number) ให้ระบุให้ครบถ้วน<br />

5.2 วารสารที่ไม่มีปีที่หรือเล่มที่ มีแต่ฉบับที่ให้ใช้ “ฉบับที่” หรือ “No.” เช่น ฉบับที่ 4<br />

หรือ No.7 เป็นต้น


5.3 กรณีที่วารสารไม่มีปีที่หรือเล่มที่และฉบับที่ แต่มีเดือนและปีพิมพ์ ให้ใช้ชื่อเดือน<br />

ตามหลังปีพิมพ์ (กรณีเป็นวารสารภาษาอังกฤษ)<br />

6. การลงรายการเลขหน้า<br />

6.1 ระบุหน้าที่บทความนั้นตีพิมพ์ โดยไม่ต้องมีค าว่า “หน้า”<br />

6.2 ถ้าบทความพิมพ์ต่อในหน้าอื่นของวารสารฉบับเดียวกันให้ระบุเลขหน้าที่ปรากฏ<br />

ทั้งหมด โดยใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่น<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. 2518. “ข้อสังเกตเกี่ยวกับการศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของไทย.” วารสาร<br />

มนุษยศาสตร์ ฉบับที่ 2: 35-40.<br />

“เปิดมิติธุรกิจขายข้อมูล ความต้องการแห่งยุคสมัย.” 2534. คลังสมอง ฉบับที่ 96: 39-66.<br />

Brown, Bruce, and Brown, Marge. 2000. ‚Customize Your Browser.‛ PC Magazine 19, 4: 115-120.<br />

Garder, H. 1981, December, ‚Do Babies Sing a Universal Song.‛ Psychology Today: 70-76<br />

7. บทความหรือข่าวในหนังสือพิมพ์<br />

91<br />

แบบแผน<br />

ชื่อผู้เขียนบทความ.วัน เดือน ปี. “ชื่อบทความหรือชื่อข่าว.” ชื่อหนังสือพิมพ์:<br />

เลขหน้า.<br />

ข้อสังเกต ในกรณีที่ไม่ปรากฏชื่อผู้เขียนบทความ ให้ลงรายการแรกด้วยชื่อบทความ/ชื่อข่าว<br />

ล าดับ ดังนี้<br />

“ชื่อบทความหรือข่าว.” วัน เดือน ปี. ชื่อหนังสือพิมพ์: เลขหน้า.<br />

การลงรายการ วัน เดือน ปี<br />

1. ถ้าเป็นหนังสือพิมพ์ภาษาไทยให้ลง วัน เดือน ปี เช่น 3 ธันวาคม 2540<br />

2. ถ้าเป็นหนังสือพิมพ์ภาษาต่างประเทศ ให้ลง ปี, เดือน วัน เช่น 2004, July 3.<br />

การลงรายการเลขหน้า<br />

1. ให้ระบุหมายเลขหน้า โดยไม่ต้องใส่ค าว่าหน้าลงไป<br />

2. กรณีเป็นหนังสือพิมพ์รายวัน ที่มีการแบ่งเนื้อหาเป็นส่วน/ตอน (Section) โดยแต่ละ<br />

ส่วนจะแยกหน้าออกจากกันโดยเด็ดขาด ไม่ได้เรียงเลขหน้าตั้งแต่ต้นจนจบ ในการแบ่งนั้นจะแบ่งเป็น<br />

ส่วน A, B, C, และ D และในแต่ละส่วนก็จะมีเลขหน้าของตนเอง เช่น A1, B1, C5 หรือ D3 ในการลง<br />

รายการเลขหน้าให้เขียนตามที่ปรากฏ


3. กรณีบทความเริ่มที่หน้า 1 หรือหน้าอื่นใดก็ตาม แล้วมีเนื้อหาต่อข้ามไปหน้าอื่น เช่น<br />

เริ่มที่หน้า 1 และต่อที่หน้า 16 ให้เขียนเฉพาะหน้าแรกที่ปรากฏบทความนั้นตามด้วยเครื่องหมายบวก<br />

(+) เช่น 1+. หรือ A1+. เป็นต้น<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

“ผ่าแผนบุกดาวอังคาร ความลับจักรวาล.” 26 มิถุนายน 2543. มติชน: 7.<br />

อัครพงศ์ ผ่องสุวรรณ. 22-25 มิถุนายน 2543. “ระบบอินเทอร์เน็ต 2000 มิติใหม่แห่งเทคโนโลยีและ<br />

บริการ.”<br />

ประชาชาติ ธุรกิจ: 26-27.<br />

‚The Decade of the Spy.‛ 1994, March 7. Newsweek: 26-27.<br />

Kadri, Francoise. 2000, June 24, ‚Banks Join up to Trade Bounds Online.‛ Bangkok Post: B3.<br />

Siriporn Chanjindamanee. 2000, July 21. ‚SET Decision Called Bid to Decentralise.‛ Nation: B1+.<br />

8. บทความในสารานุกรม<br />

การเขียนบรรณานุกรมบทความในสารานุกรมจะคล้ายกับการเขียนบรรณานุกรมบทความ<br />

ในวารสารยกเว้นไม่มีการลงรายการฉบับที่และในกรณีที่สารานุกรมชื่อเรื่องนั้นมีเล่มเดียวจบก็ไม่ต้อง<br />

ลงรายการเล่มที่และให้เขียนเครื่องหมายและเลขหน้าต่อจากรายการชื่อสารานุกรมได้เลย<br />

92<br />

แบบแผน<br />

ชื่อผู้เขียนบทความ.ปีพิมพ์. “ชื่อบทความ.” ชื่อสารานุกรมเลขที่: เลขหน้า.<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

เจริญ อินทรเกษตร. 2515-2516. “ฐานันดร.” สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน 11: 6912-6930.<br />

“องค์การสหประชาชาติและองค์การในเครือ.” 2539. สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนโดยพระราชประสงค์<br />

ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 21: 293-321.<br />

Kaplan, L. 1975. ‚Library Cooperation in the United States.‛ Encyclopedia of Library and<br />

Information Science 15: 241-244.<br />

Zuk, William. 1989. ‚Bridge.‛ Encyclopedia Americana 4: 522-537.


93<br />

9. บทวิจารณ์หนังสือในวารสาร<br />

แบบแผน<br />

ผู้เขียนบทวิจารณ์.ปีพิมพ์.วิจารณ์เรื่องชื่อหนังสือที่วิจารณ์.โดย<br />

ชื่อผู้แต่งหนังสือ.ชื่อวารสารปีที่หรือเล่มที่, ฉบับที่: เลขหน้า.<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

วัชรียา โตสงวน และชูศรี มณีพฤกษ์. 2527. วิจารณ์เรื่อง แนววิวัฒนาการของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์,<br />

โดย โกวิท โปษยานนท์. วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ 2, 4: 198-206.<br />

Broxis, Peter. 1999. Review of Health on the Internet, by Denis Anthony. Journal of<br />

Librarianship and Information Science 31, 9: 181-182.<br />

10. วิทยานิพนธ์<br />

แบบแผน<br />

ผู้เขียนวิทยานิพนธ์.ปีพิมพ์. “ชื่อวิทยานิพนธ์.” ระดับวิทยานิพนธ์ชื่อสาขาวิชา<br />

หรือภาควิชาคณะชื่อมหาวิทยาลัย.<br />

ข้อสังเกต การลงรายการระดับวิทยานิพนธ์<br />

1. ถ้าเป็นวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท ให้ใช้ค าว่า “วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต<br />

หรือ Master’s Thesis” หรือชื่อเรียกอย่างอื่นตามที่สถาบันการศึกษาใช้<br />

2. ถ้าเป็นวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ให้ใช้ค าว่า “วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต<br />

หรือ Doctoral dissertation”<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

เบ็ญจรัช เวชวิรัช. 2541. “การศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อมูลค่าการให้สินเชื่อเพื่อการส่งออก และ<br />

น าเข้าของสถาบันการเงินไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาเศรษฐศาสตร์<br />

บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

Ubonrat Klinhowhan. 1999. ‚Monetary Transmission Mechanism in Thailand.‛ Master’s Thesis,<br />

Faculty of Economics, Graduate School, Thammasat University.<br />

11. จุลสาร และเอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์ การเขียนบรรณานุกรมใช้แบบเดียวกับหนังสือ และให้<br />

วงเล็บค าว่าอัดส าเนา หรือพิมพ์ดีด หรือเอกสารไม่ตีพิมพ์ แล้วแต่กรณีพิมพ์ไว้ท้ายสุดของรายการ


94<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

กรมแรงงาน. 2517. แนะแนวอาชีพบรรณารักษ์. กรุงเทพมหานคร: กรมแรงงาน. (อัดส าเนา).<br />

ศิริชัย สาครรัตนกุล. 2536. ธนาคารเพื่อการส่งออกและน าเข้าในต่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท.<br />

(อัดส าเนา).<br />

12. การสัมภาษณ์ การเขียนบรรณานุกรมการสัมภาษณ์ มีวิธีการเขียน 2 แบบ คือ<br />

1. ผู้เขียนรายงานเป็นผู้สัมภาษณ์ด้วยตนเอง<br />

แบบแผน<br />

ผู้ให้สัมภาษณ์.วัน เดือน ปี(ที่สัมภาษณ์). ต าแหน่ง(ถ้ามี). สัมภาษณ์.<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

ปัจจัย บุนนาค. 10 กันยายน 2530. อธิการบดีมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. สัมภาษณ์.<br />

แม้นมาส ชวลิต, คุณหญิง. 11 มีนาคม 2537. นายกสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย. สัมภาษณ์.<br />

Jantarangs Jaturong. 1998, June 7. Chief, Monetary and Exchange Affairs Section, Economic<br />

Research Department, Bank of Thailand. Interview.<br />

2. การเขียนบรรณานุกรมการสัมภาษณ์ที่ได้จากสื่อสิ่งพิมพ์ ให้ระบุชื่อผู้ให้สัมภาษณ์<br />

ก่อน ตามด้วยวัน เดือน ปี ของเอกสารที่ตีพิมพ์การสัมภาษณ์นั้น ชื่อผู้สัมภาษณ์ (กรณีเป็นบุคคลที่มี<br />

ชื่อเสียง) พร้อมต าแหน่ง(ถ้ามี) และชื่อเรื่องของการสัมภาษณ์ใส่ไว้ภายในเครื่องหมายอัญประกาศ ถ้า<br />

ไม่มีชื่อเรื่องให้ใส่ว่าสัมภาษณ์ หรือ Interview และท้ายสุดเป็นรายละเอียดทางบรรณานุกรมของ<br />

เอกสารหรือวารสารหรือหนังสือพิมพ์ที่ตีพิมพ์บทสัมภาษณ์นั้นๆ<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

สุภาวดี บุญสันติสุข. 2538. สัมภาษณ์โดย อนุชิต ศิมะโรดม. “วิธีการโฆษณาเพื่อขยายตลาดด้าน<br />

อสังหาริมทรัพย์.” วารสารนักบริหาร 17, 8: 10-15.<br />

Gordimer, Nadine. 1991, October 10. Interview. New York Times. Late ed.: C25.<br />

William, K. 1997, October 1. Interview with Simon Buck. ‚The Internet of Thailand.‛ Times: 7-9.<br />

13. เอกสารที่อ้างถึงในเอกสารอื่น<br />

การเขียนบรรณานุกรมเอกสารที่ผู้เขียนไม่ได้เคยอ่านเอกสารเรื่องนั้นจากตัวเล่ม(เรียกว่า<br />

เอกสารอันดับแรก) แต่อ่านจากเอกสารอื่น (เรียกว่าเอกสารอันดับรอง) ที่มีการกล่าวถึงเนื้อหาหรือ<br />

แนวคิดของเอกสารอันดับแรกไว้ และผู้เขียนได้ท าการอ้างอิงแนวคิดต่างๆ เหล่านั้นไว้ การเขียน<br />

บรรณานุกรมเอกสารที่อ้างถึงในเอกสารอื่นนี้


95<br />

แบบแผน<br />

รายละเอียดทางบรรณานุกรมของเอกสารอันดับแรก.อ้างถึงในรายละเอียดทาง<br />

บรรณานุกรมของเอกสารอันดับรอง.<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

ข้อสังเกต กรณีเป็นเอกสารภาษาต่างประเทศ ค าว่า “อ้างถึงใน” ใช้เป็น ‚Cited in‛<br />

เรืองศรี กฤษมาตร. 2540. ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการวัยรุ่น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:<br />

โรงพิมพ์นวการพิมพ์. อ้างถึงใน สมศรี อิงคนุช. 2542. จิตวิทยาวัยรุ่น. กรุงเทพมหานคร: ดวง<br />

กมล.<br />

วิรัช อภิรัตนกุล. 2527. “ผลิตภัณฑ์ใหม่กับการยอมรับของผู้บริโภค.” กลยุทธ์การตลาด 3, 4: 32-34.<br />

อ้างถึงใน ธานินทร์ กูมาโล่ห์. 2528. “ทัศนคติและพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคที่มีต่อ<br />

ผลิตภัณฑ์ที่มีเครื่องหมาย มาตรฐานการค้า.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชา<br />

บริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

Weihrich, Heinz, and Koontz, Harold. 1993. Management: A Global Perspective. 10 th ed. New<br />

York: McGraw-Hill. Cited in Charles W.L. Hill and Gareth R. Jones. 1998. Strategic<br />

Management: An Integrated Approach. Boston: Houghton Mifflin.<br />

14. เอกสารพิเศษ การเขียนบรรณานุกรมเอกสารพิเศษต่างๆ เช่น ต้นฉบับตัวเขียนจดหมาย<br />

การบรรยาย อนุทิน เป็นต้น<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

ประเวศ วะสี. 29 มีนาคม 2538. จุดประกายการสร้างสรรค์ปัญญา. โรงแรมอิมพิเรียลควีนส์ปาร์ค.<br />

การอภิปราย.<br />

พรชัย พัชรินทร์รัตนะชัย. 28 กุมภาพันธ์ 2538. ไขจักรวาลสู่จิตมนุษย์. หอประชุมเล็ก<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. การบรรยาย.<br />

Lennon, John. 1945-1950. Diary.


15. โสตทัศนวัสดุ การเขียนบรรณานุกรมโสตทัศนวัสดุต่างๆ เช่น สไลด์ เทปบันทึกเสียง เทป<br />

บันทึกภาพ ฟิล์ม(ภาพยนตร์) ฟิล์มสตริป แผนที่ แผนภูมิ<br />

96<br />

แบบแผน<br />

ชื่อผู้จัดท า. (หน้าที่รับผิดชอบ-ถ้ามี). ปีที่เผยแพร่.ชื่อเรื่อง[ลักษณะ<br />

ของโสตทัศนวัสดุ]. สถานที่ผลิต: หน่วยงานที่เผยแพร่.<br />

ข้อสังเกต หน้าที่รับผิดชอบ ถ้ามีจึงระบุ เช่น เป็นผู้ผลิต (Producer) ผู้ก ากับ (Director)<br />

ผู้บรรยาย (Speaker) เป็นต้น<br />

ลักษณะของสื่อโสตทัศน์ ให้ใช้ดังนี้<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

ภาษาไทย<br />

[สไลด์]<br />

[เทปบันทึกเสียง]<br />

[เทปบันทึกภาพ]<br />

[ฟิล์ม]<br />

[ฟิล์มสตริป]<br />

ภาษาอังกฤษ<br />

[Slides]<br />

[Audiocassette]<br />

[Videocassette]<br />

[Film]<br />

[Filmstrip]<br />

[แผนที่] [Map]<br />

[แผนภูมิ]<br />

[แผนภาพ]<br />

[รายการวิทยุ]<br />

[รายการโทรทัศน์]<br />

[Chart]<br />

[Diagram]<br />

[Radio Program]<br />

[Television Program]<br />

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. ส านักงานนครราชสีมา. ม.ป.ป. แผนที่จังหวัดนครราชสีมา [แผนที่].<br />

นครราชสีมา: ส านักงานนครราชสีมา การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.<br />

เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง. (ผู้ด าเนินรายการ). 20 กุมภาพันธ์ 2543. ตามหาแก่นธรรม: นิพพาน [รายการ<br />

โทรทัศน์].<br />

กรุงเทพมหานคร: สถานีโทรทัศน์ช่อง 9.<br />

โจเซฟ, ไฮเดนเบิร์ก. 2539. ท่องอียิปต์ [ฟิล์ม]. 35 มม., สี, 45 นาที. กรุงเทพมหานคร: หน้าต่างโลก.<br />

ถนอมวงศ์ ล้ ายอดมรรคผล. (ผู้บรรยาย). 2538. การพัฒนานิสัยรักการอ่าน [เทปบันทึกภาพ]. 28 นาที.<br />

นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.


สมควร ชื่นจิตต์. 2540. ภาษาอังกฤษส าหรับเลขานุการ [เทปบันทึกเสียง]. 90 นาที. กรุงเทพมหานคร:<br />

โพสท์บุ๊คส์.<br />

Breyer, Pamela, and Stempleski, Susan. 1992. Hello-America: A Video English Course Unit 4<br />

[Videocassette]. 60 min., col., sd. Danbury, CT: Grolier.<br />

Crystal, L. (Executive Producer). 1993, October 11. The MacNeil/Lehrer News Hour<br />

[Television Program]. New York and Washington, DC: Public Broadcasting Service.<br />

Mihalyi, Louis J. 1975. Lanscape of Zambia [Slides]. Col., 20 fr. Santa Barbara, CA: Visual<br />

Education. Sattellite Imagemap of the World [Map]. 1999. London: Derling Kindersley.<br />

Sinclair, Barbara. (Speaker). 1996. Activate Your English: Pre-intermediate Class<br />

[Audiocassette]. 60 min. Cambridge: Cambridge University Press.<br />

97<br />

16. สื่ออิเล็กทรอนิกส์<br />

เป็นการเขียนบรรณานุกรมข้อมูลที่อยู่ในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์โดยในที่นี้จะอธิบายเฉพาะ<br />

บางสื่อ ได้แก่ ซีดีรอม (CD-ROM) แผ่นดิสก์ (Diskette) เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) และฐานข้อมูล<br />

ออนไลน์ (Online Databases) ซึ่งหมายถึงรวมข้อมูลจากเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ด้วย<br />

การเขียนบรรณานุกรมของสื่อดังกล่าวข้างต้น มีแบบแผนและหลักเกณฑ์การลงรายการ<br />

แตกต่างไปตามวิธีการอ้างถึงข้อมูลในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และประเภทของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ดังนี้<br />

1. การเขียนบรรณานุกรมข้อมูลที่อยู่ในสื่อประเภทซีดีรอม แผ่นดิสก์ และเทปแม่เหล็ก<br />

โดยข้อมูลดังกล่าวมีลักษณะเช่นเดียวกับหนังสือ เพียงแต่จัดท าในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ให้ลง<br />

รายการคล้ายกับหนังสือ แต่ระบุประเภทของสื่อต่อท้ายจากชื่อเรื่อง (คือ ชื่อเรื่องของแฟ้มข้อมูล)<br />

แบบแผน<br />

ชื่อผู้รับผิดชอบหลัก.ปีที่จัดท า.ชื่อเรื่องของแฟ้มข้อมูล[ประเภทของ<br />

สื่ออิเล็กทรอนิกส์]. ครั้งที่พิมพ์/เวอร์ชั่น(ถ้ามี). สถานที่ผลิต:<br />

ชื่อส านักพิมพ์ผู้ผลิต.<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

คลาร์ก, จอห์น. 2541. การเขียนโปรแกรมวินโดวส์ด้วยไมโครซอฟต์วิชัวล์เบสิก 6.0<br />

ภาคปฏิบัติ [ซีดีรอม]. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.<br />

พิภพ ลลิตาภรณ์. 2542. การจัดหาท าเลที่ตั้งและการวางผังโรงงานด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์<br />

[แผ่นดิสก์]. กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).


Dye, Charles. 1999. Oracle Distributed System [Diskette]. Beijng: O’Reilly. English Poetry<br />

Full-Text Database [Magnetic tape]. 1993. Cambridge: Chadwick.<br />

2. กรณีอ้างอิงข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่งในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งรวบรวมข้อมูลจากหลายๆ<br />

แหล่งในการลงรายการให้เขียนบรรณานุกรมแบบบทความในหนังสือหรือบทความในวารสาร หรือ<br />

หนังสือพิมพ์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของสิ่งพิมพ์ที่อ้างถึง โดยระบุประเภทของสื่ออิเล็กทรอนิกส์<br />

ต่อท้ายชื่อเรื่องของแฟ้มข้อมูล หรือชื่อเรื่องของสื่อนั้นๆ<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

‚Bronte, Emiley.‛ 1992. Discovering Authors [CD-ROM]. Vers. 1.0. Detroit: United states.<br />

Department of State 1993. ‚Industrial Outlook for Petroleum and Natural Gas.‛ National<br />

Trade Data Bank [CD-ROM]. United States: Department of Commerce, United States.<br />

17. แหล่งสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต<br />

17.1 กรณีบทความจากวารสารออนไลน์/วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Journal)<br />

17.1.1 หากมีทั้งฉบับที่เป็นวารสารอิเล็กทรอนิกส์และฉบับตีพิมพ์<br />

98<br />

แบบแผน<br />

ผู้เขียนบทความ.ปีที่เผยแพร่. “ชื่อบทความ.” [ฉบับอิเล็กทรอนิกส์].<br />

ชื่อวารวาร,ฉบับที่: เลขหน้า.<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

Marriott, L.K., Hauss-Wegzyniak, B., and Benton, R.S. (2002). ‚Long-Term Estrogen Theraphy<br />

Worsens the Behavioral and Neuropathological Cosequences of Chronic Brain<br />

Inflammation.‛ [Electronic version]. Behavioral neuroscience, 116: 902-911.<br />

17.1.2 หากมีแต่ฉบับอิเล็กทรอนิกส์อย่างเดียว<br />

แบบแผน<br />

ผู้เขียนบทความ. ปีที่เผยแพร่. “ชื่อบทความ.” ชื่อวารสาร.ปีที่หรือเล่มที่.ฉบับที่<br />

สืบค้นเมื่อวันที่ เดือน ปี, จากแหล่งที่อยู่บนอินเตอร์เน็ต<br />

ข้อสังเกต ในการเขียนบรรณานุกรมบทความจากวารสารอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อจบข้อความบรรทัดสุดท้าย<br />

ของรายการบรรณานุกรมแต่ละรายการไม่ต้องใส่เครื่องหมายมหัพภาค (.)


99<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

Indick, W. (2002). ‚Gender Differences in moral Judgement: Is Non-Consequential<br />

Reasoning a Factor?‛ Current Research in Social Psychology, 5, 2 Retrieved November<br />

11, 2002, from http://www.uiowa.edu/~grpproc/crisp/crisp5.2.html<br />

1.7.2 หนังสือออนไลน์<br />

แบบแผน<br />

ผู้เขียนบทความ. (ปีพิมพ์). ชื่อหนังสือ.วันที่สืบค้น, ชื่อแหล่งสารสนเทศ:<br />

ที่อยู่บนอินเตอร์เน็ต<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

Buxhoeveden, S. (n.d.) The Life and tragedy of Alexandra Feodorvna, empress of Russia.<br />

Retrieved January 15, 2002, from the Russian History Web site:<br />

http://www.alexanderpalace.org<br />

17.3 หนังสือพิมพ์ออนไลน์<br />

แบบแผน<br />

ผู้เขียนบทความ. (วันที่ เดือน ปี). “ชื่อบทความ”. ชื่อหนังสือพิมพ์<br />

สืบค้นเมื่อวันที่ เดือน ปี, จากแหล่งที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

Rodriguez, C. (2001, January 9). ‚Amid dispute, plight of illegal workers revisited.‛<br />

Boston Globe. Retrieved January 10, 2002, from<br />

http://www.boston.com/dailyglobe2/010/nation/Amid_dispute_plight_of_illegal_workers_revisited+.shtml


100<br />

การใช้ค าย่อ<br />

ค าย่อที่เป็นที่ยอมรับในการเขียนรายการอ้างอิง มีตัวอย่างดังต่อไปนี้<br />

ค าย่อ ค าเต็ม ความหมาย หมายเหตุ<br />

comp. compiler ผู้รวบรวม พหูพจน์ใช้ comps.<br />

ed. editor, บรรณาธิการ, พหูพจน์ใช้ eds.<br />

edited by ผู้จัดพิมพ์, จัดพิมพ์โดย<br />

enl. ed. enlarged edition ฉบับพิมพ์ใหม่ มีการเพิ่มเติม<br />

rev. ed. revised edition ฉบับพิมพ์ใหม่ มีการแก้ไข<br />

2 nd ed. second edition พิมพ์ครั้งที่ 2<br />

3 rd ed. third edition พิมพ์ครั้งที่ 3<br />

et al. et alii และคนอื่นๆ (and others)<br />

ibid ibidem เรื่องเดียวกัน (in the same place)<br />

n.d. no date ไม่ปรากฏปีพิมพ์ ภาษาไทยใช้ ม.ป.ป.<br />

n.p. no place ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ ภาษาไทยใช้ ม.ป.ท.<br />

no. number ฉบับที่<br />

p. page หน้า (หลายหน้า) พหูพจน์ใช้ pp.<br />

r.p.m. Revolution per<br />

minute<br />

รอบต่อนาที<br />

หมายถึงความเร็วของ<br />

แผ่นเสียงที่หมุนไป<br />

tr. translator ผู้แปล พหูพจน์ใช้<br />

trs. Translated by แปลโดย


101<br />

ค าย่อ ค าเต็ม ความหมาย หมายเหตุ<br />

vol. Volume เล่มที่ (เช่น vol. 4)<br />

vols. Volumes จ านวนเล่ม (เช่น 4 vols.)<br />

************************ ส านักวิจัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม ************************


102<br />

ส่วนที่ 5<br />

รูปแบบการพิมพ์บทคัดย่อ


103<br />

รูปแบบการพิมพ์บทคัดย่อ<br />

บทคัดย่อ เป็นองค์ประกอบส าคัญอย่างหนึ่งของส่วนประกอบตอนต้นของรายงานการวิจัย<br />

มหาวิทยาลัยศรีปทุมได้ก าหนดรูปแบบการพิมพ์บทคัดย่อส าหรับรายงานการวิจัย ดังต่อไปนี้<br />

1) บทคัดย่อ ต้องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยน าเสนอบทคัดย่อภาษาไทย<br />

ก่อน แล้วตามด้วยบทคัดย่อภาษาอังกฤษ<br />

2) หน้าบทคัดย่อ ต้องพิมพ์ส่วนหัวตามหัวข้อที่ก าหนด ซึ่งประกอบด้วย<br />

- หัวข้อวิจัย (Research Title)<br />

- ผู้วิจัย (Name of Research)<br />

- หน่วยงาน (Name of Institution)<br />

- ปีที่พิมพ์ (Year of Publication)<br />

3) ความยาวของบทคัดย่อ ไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ A4 แต่ในกรณีที่รายงานการ<br />

วิจัยฉบับนี้ มีความยาวมาก อนุโลมให้บทคัดย่อมีความยาวเกินกว่า 1 หน้ากระดาษ A4 ได้ แต่ต้องไม่เกิน<br />

2 หน้ากระดาษ A4<br />

4) การเขียนบทคัดย่อ ควรให้มี 3 ย่อหน้าหลัก คือ<br />

- ย่อหน้าที่หนึ่ง กล่าวถึง วัตถุประสงค์ของการวิจัย<br />

- ย่อหน้าที่สอง กล่าวถึง ระเบียบวิธีวิจัย<br />

- ย่อหน้าที่สาม กล่าวถึง ผลการวิจัย<br />

5) การเสนอผลการวิจัยในบทคัดย่อ อาจเสนอเป็นข้อๆ ในแบบความเรียงต่อเนื่องกัน<br />

ไป หรืออาจเสนอแบบขึ้นย่อหน้าใหม่ในแต่ละหัวข้อก็ได้<br />

6) ค าส าคัญส าหรับบทคัดย่อ ในบทคัดย่อต้องมีค าส าคัญ ซึ่งไม่ควรเกิน 5 ค า โดยค า<br />

ส าคัญนี้ จะท าหน้าที่เป็นค าค้น ส าหรับการค้นคว้าด้วยคอมพิวเตอร์<br />

(โปรดดูตัวอย่างบทคัดย่อในภาคผนวก ก.)


104<br />

ส่วนที่ 6<br />

ข้อแนะน าในการพิมพ์รายงานวิจัย


105<br />

ข้อแนะน าในการพิมพ์รายงานวิจัย<br />

1. ข้อแนะน าทั่วไป<br />

รายงานวิจัยที่ดี คือ มีความชัดเจนและถูกต้องตามรูปแบบที่ก าหนด ซึ่งรายงานนั้นจะต้องพิมพ์<br />

ตลอดทั้งฉบับ โดยมีรูปแบบดังต่อไปนี้<br />

1) กระดาษที่ใช้ในการพิมพ์ ให้ใช้กระดาษคุณภาพดี สีขาว ขนาดมาตรฐาน 8.5 x 10.5 หรือ<br />

11 นิ้ว (กระดาษ A4) 70-80<br />

2) กระดาษแบบ เพื่อช่วยให้การเว้นระยะจากริมกระดาษตรงแนวสม่ าเสมอ ควรจะท า<br />

“กระดาษแบบ” ขนาด 8.5 x 10.5 หรือ 11 นิ้ว (ดูตัวอย่างกระดาษแบบ) โดยวิธีนี้ เราสามารถวางหัวเรื่อง<br />

ตรงกลางได้โดยง่าย การย่อหน้าจะอยู่ในแนวเดียวกัน และจะได้กะให้บรรทัดสุดท้ายของการอ้างอิงอยู่<br />

ห่างจากริมกระดาษล่างเป็นระยะหนึ่งนิ้ว ถ้าไม่มีการอ้างอิงก็ให้บรรทัดสุดท้ายอยู่ในระยะนี้เช่นเดียวกัน<br />

และควรจะวางกระดาษแบบไว้ใต้กระดาษที่เราจะเขียน เพื่อช่วยให้มองเห็นระยะต่างๆ ตามที่กะไว้<br />

3) รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ไม่ควรมีการขีด ฆ่า ขูด ลบ และไม่ควรมีการพิมพ์ซ้ าบนตัว<br />

เดิม ตลอดจนพิมพ์จก หรือพิมพ์เพิ่มเติมใต้หรือเหนือบรรทัด ถ้าจ าเป็นต้องแก้ไขเล็กน้อย ควรใช้หมึกด า<br />

แก้อย่างประณีตไม่ควรแก้ด้วยดินสอ การอัดส าเนาควรระวังให้หน้ากระดาษสะอาด<br />

4) การขีดเส้นคู่ ควรจะห่างกันประมาณ 1 มิลลิเมตร<br />

5) การเลือกผู้พิมพ์รายงานการวิจัย ผู้วิจัยจะต้องรับผิดชอบในการเลือกผู้พิมพ์ที่ช านาญใน<br />

เรื่องการพิมพ์เป็นอย่างดีด้วย<br />

6) การใช้กระดาษในการพิมพ์รายงานการวิจัย ควรใช้กระดาษหน้าเดียวเท่านั้น<br />

7) การกั้นหน้ากระดาษ ควรเว้นระยะ ดังนี้<br />

- ขอบกระดาษด้านบน ควรเว้นที่ว่างระหว่างขอบกระดาษไว้ประมาณ 1.5 นิ้ว<br />

- ขอบกระดาษด้านขวา ควรเว้นที่ว่างระหว่างขอบกระดาษไว้ประมาณ 1 นิ้ว และวาง<br />

หมายเลขก ากับหน้าห่างจากริมกระดาษส่วนบน 1 นิ้ว โดยจะต้องวางไว้ในแนวเดียวกันกับขอบขวา ที่<br />

ว่างขอบกระดาษนี้ ควรจะเว้นเท่าๆ กันตลอดไปทุกหน้า นอกจากจะมีการบ่งไว้ว่าควรจะเป็นอย่างอื่น<br />

- ขอบกระดาษด้านซ้าย ควรเว้นที่ว่างระหว่างขอบกระดาษไว้ประมาณ 1.5 นิ้ว<br />

- ขอบกระดาษด้านล่าง ควรเว้นที่ว่างระหว่างขอบกระดาษไว้ประมาณ 1 นิ้ว<br />

8) บรรทัดแรกของเนื้อเรื่องในแต่ละหน้า ควรเริ่มที่บรรทัดแรกของกระดาษที่มีบรรทัด หรือ<br />

ช่วงบรรทัดพิมพ์เดี่ยวที่ 9 จากบนสุดขอบกระดาษ เว้นแต่จะมีการบ่งไว้ให้เป็นอย่างอื่น<br />

9) กรณีที่หน้ากิตติกรรมประกาศ สารบัญตาราง หรือสารบัญภาพประกอบมีขนาดสั้น อาจจะ<br />

เว้นขอบกระดาษให้กว้างกว่าธรรมดาได้ เพื่อให้เนื้อความในหน้านั้นดูได้สัดส่วนกับหน้ากระดาษ


10) การย่อหน้า ขอย่อหน้าหนึ่งๆ นั้น ให้เว้นระยะเจ็ดช่วงตัวอักษรพิมพ์จากขอบที่เว้นไว้แล้ว<br />

11) การให้หมายเลขหน้าในส่วนประกอบตอนต้น<br />

- รายงานการวิจัยภาษาอังกฤษ ให้ใช้เลขโรมัน<br />

- รายงานการวิจัยภาษาไทย ให้ใช้ตัวอักษร ก ข ค<br />

12) การให้หมายเลขหน้าในหน้าที่ส าคัญๆ เช่น หน้าชื่อเรื่อง หน้าแรกสารบัญ และหน้าแรกของ<br />

บท ไม่ต้องใช้หมายเลขหรืออักษรก ากับหน้า<br />

13) การนับจ านวนหน้า ให้นับรวมถึงหน้าที่ไม่ได้ใช้เลข หรืออักษรก ากับหน้าดังกล่าวแล้วด้วย<br />

14) การลงหมายเลขก ากับหน้า ให้เริ่มตั้งแต่บทแรกของรายงานการวิจัยเป็นล าดับไปจนตลอด<br />

ทั้งหน้าบรรณานุกรม ภาคผนวก และดรรชนีด้วย (ถ้ามี)<br />

15) การพิมพ์ตามความยาวของกระดาษ ให้คงใส่หมายเลขไว้ในต าแหน่งเดียวกับหน้าอื่นๆ<br />

ตามปกติ เพื่อว่าเมื่อรวมเย็บเป็นเล่มแล้ว หมายเลขหน้าจะอยู่ตรงกันทั้งเล่ม<br />

16) ข้างหลังตัวเลขที่ก ากับหน้า ไม่ต้องมีเครื่องหมายใดๆ<br />

17) หน้าบอกตอน ให้ใช้หน้าบอกตอนน าหน้าบรรณานุกรม ภาคผนวก อภิธานศัพท์ และ<br />

ดรรชนี<br />

18) ค าว่า “ตอนที่” หรือ “บรรณานุกรม” หรือ “ภาคผนวก” หรือ “ดรรชนี” ให้เขียนเว้นห่าง<br />

จากริมกระดาษลงมาเป็นระยะ 13 ช่วงบรรทัดพิมพ์คู่<br />

19) ควรมีเลขก ากับบทต่างๆ ของรายงานวิจัย<br />

20) ค าว่า “บทที่” และตัวเลขบอก ควรจะวางไว้ตอนกลางส่วนบนสุดของหน้ากระดาษ ส าหรับ<br />

รายงานภาษาอังกฤษ ชื่อเรื่องควรจะพิมพ์ด้วยตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ และพิมพ์ไว้ตรงกลางหน้ากระดาษ<br />

เว้นระยะให้ห่างจากค าว่า “บทที่” สองช่วงบรรทัดพิมพ์คู่<br />

21) หัวข้อกลางหน้ากระดาษของรายงานการวิจัย (ยกเว้นชื่อและตาราง และภาพประกอบ ซึ่งมี<br />

ความยาวมากกว่า 52 ตัวอักษร ผู้วิจัยควรจะพิมพ์เป็นรูปหน้าจั่วกลับ)<br />

22) ถ้าหัวกลางกระดาษมีความยาวเกินกว่าหนึ่งบรรทัด ผู้เขียนจะต้องแบ่งข้อความให้เหมาะ<br />

ด้วยเหตุผลและกระบวนความคิด และต้องให้ถูกต้องตามไวยากรณ์ของภาษาด้วย ตัวอย่างเช่น<br />

106<br />

การศึกษาความสัมพันธ์และเปรียบเทียบความเกรงใจ การรักษาหน้าที่<br />

และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ระหว่างนักเรียนไทยเชื้อสายไทย<br />

กับนักเรียนไทยเชื้อสายจีนในกรุงเทพมหานคร<br />

และจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

The Better I Teach, the Better<br />

My Students Will Do on<br />

My Examinations


23) ข้อความใต้ “ชื่อบท” และหัวข้อใหญ่ที่อยู่บนสุดของกระดาษ ควรจะเว้นระยะสองช่วง<br />

บรรทัดพิมพ์คู่<br />

24) ถ้าหัวข้อใหญ่ไม่อยู่ในส่วนบนหน้ากระดาษ (อาจจะอยู่ตอนกลางหรือตอนล่างของ<br />

หน้ากระดาษ) เวลาพิมพ์ควรจะเว้นสองช่วงบรรทัดพิมพ์คู่ ให้ห่างจากข้อความตอนบน<br />

25) หัวข้อใหญ่ในแต่ละบท ในบรรณานุกรมหรือในภาคผนวก ควรจะอยู่ตรงกลาง<br />

หน้ากระดาษ<br />

26) ถ้าจะขึ้นหัวข้อใหญ่อีก แต่มีที่ว่างส าหรับเนื้อหาได้ไม่เกินหนึ่งบรรทัด ควรจะขึ้นหัวข้อ<br />

ใหญ่นั้นในหน้าถัดไป<br />

27) การแบ่งหัวข้อ ให้ใช้หัวข้อกลางกระดาษเป็นหัวข้อใหญ่ และหัวข้อชิดขอบกระดาษเป็น<br />

หัวข้อรอง ส่วนหัวข้อย่อยลงไปอีก ส าหรับข้อความขยายหัวข้อรองนั้นให้ขึ้นบรรทัดใหม่ ส่วนข้อความ<br />

ขยายหัวข้อย่อยให้พิมพ์ต่อไปในบรรทัดเดียวกัน โดยเว้นวรรคเสียก่อน หัวข้อทุกประเภทนั้นให้ขัดเส้น<br />

ใต้ด้วย<br />

28) การจ าแนกหัวข้อในรายงานการวิจัย ก าหนดให้ใช้ 2 แบบ ดังนี้<br />

แบบที่ 1 การใช้ตัวเลขและเครื่องหมายมหัพภาค (.) ก ากับ ตัวอย่างเช่น<br />

107<br />

- แบบที่ 2 การใช้ตัวเลขและตัวอักษร ตัวอย่างเช่น<br />

-<br />

1. ......................................................................................................................................<br />

1.1 ................................................................................................................................<br />

1.2 ................................................................................................................................<br />

1.2.1 …………………………….……………………………………………….<br />

1.2.2 …………………………….……………………………………………….<br />

2. ......................................................................................................................................<br />

2.1 ................................................................................................................................<br />

2.1.1 …………………………….……………………………………………….<br />

1. ......................................................................................................................................<br />

ก. ..................................................................................................................................<br />

ข. ..................................................................................................................................<br />

1) …………………………….………………………………………………..…<br />

2) …………………………….………………………………………………..…<br />

ก) ......................................................................................................................<br />

ข) …….………………………..……………………………………………...<br />

2. .......................................................................................................................................


ทั้งนี้ ให้เลือกใช้แบบใดแบบหนึ่งเพียงแบบเดียวในรายงานวิจัยหนึ่งๆ<br />

29) การพิมพ์หัวข้อรองและหัวข้อย่อย ควรพิมพ์หัวข้อรองและหัวข้อย่อยให้ห่างสองช่วง<br />

บรรทัดพิมพ์คู่ จากบรรทัดท้ายสุดของย่อหน้าก่อนนั้น ถ้าเป็นหัวข้อย่อยต้องพิมพ์อยู่ในระดับเดียวกับย่อ<br />

หน้าธรรมดาและขีดเส้นใต้<br />

30) ส าหรับวัสดุอ้างอิงภาษาอังกฤษ ที่จะใช้ในเนื้อเรื่อง ตัวอักษรตัวแรกของค าทุกค าต้องขึ้น<br />

ด้วยตัวใหญ่<br />

31) ตัวอักษรหรือตัวเลขในตาราง ควรพิมพ์ไว้ให้อ่านได้สะดวก ทั้งในกรณีที่ใช้หน้ากระดาษ<br />

ธรรมดาหรือใช้หน้ากระดาษตามยาว<br />

32) ถ้ามีสมการหรือสูตรที่ซับซ้อนและกินเนื้อที่มากๆ ควรยกลงมาไว้กลางหน้ากระดาษ และ<br />

เว้นระยะให้ห่างจากข้อความข้างบนกับข้างล่างสองช่วงบรรทัดพิมพ์คู่<br />

2. การพิมพ์ส่วนประกอบของรายงานการวิจัย<br />

2.1 หน้าปกใน (Title page)<br />

เป็นหน้าแรกถัดจากปกนอก ที่หน้าปกในจะมีข้อความทุกอย่างเหมือนที่เขียนไว้ที่ปกนอก<br />

ของรายงานการวิจัย คือ มีชื่อมหาวิทยาลัยศรีปทุม ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย ชื่อผู้วิจัยและข้อความแสดง<br />

การได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยศรีปทุม ตามที่ก าหนดไว้ในแบบสัญญาขอรับทุนอุดหนุน<br />

งานวิจัย (FM วจ.-02) ส าหรับปกนอกส านักวิจัยจะเป็นผู้ท าปกนอกและเย็บเล่มให้ ภายหลังรายงานวิจัย<br />

ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการพัฒนางานวิจัยแล้ว ส าหรับหน้าปกใน ควรพิมพ์ดังนี้<br />

1) หน้าปกในควรพิมพ์ด้วยตัวหนังสือที่ชัดเจนอ่านง่าย ในการวางหน้ากระดาษในเว้น<br />

หน้ากระดาษทางซ้ายมือและขวามือระระเท่ากันทุกบรรทัด กระแบ่งหน้ากระดาษออกเป็นสามส่วนจาก<br />

บนมาล่าง วางชื่อเรื่องไว้ในส่วนที่หนึ่ง วางชื่อผู้วิจัยไว้กลางหน้ากระดาษ ส่วนข้อความแสดงการได้รับ<br />

ทุนสนับสนุนนั้น ให้วางไว้ในส่วนที่สามของหน้ากระดาษ<br />

2) ชื่อภาษาอังกฤษ ต้องพิมพ์ด้วยตัวอักษรพิมพ์ใหญ่<br />

3) หากชื่อเรื่องมีตัวอักษรเกินกว่า 52 ตัว ควรจะจัดให้เป็นรูปหน้าจั่วกลับ<br />

4) ชื่อผู้วิจัยไม่ต้องใช้ค าน าชื่อ นาย นาง นางสาว แต่ถ้ามียศของ ร.ต. หรือ ร.อ. ให้ใช้ยศ<br />

รวมทั้งชื่อสังกัด เช่น ร.น. เป็นต้น ถ้าผู้วิจัยมีหลายคน เช่น ห้าคน ควรเขียนชื่อละบรรทัด ถ้าจัดท าทั้ง<br />

คณะ ควรใช้ชื่อคณะเป็นผู้วิจัย<br />

5) ข้อความในส่วนที่สาม ให้บรรทัดสุดท้ายของข้อความ ห่างจากขอบล่างของกระดาษ<br />

หนึ่งนิ้ว โดยในส่วนนี้ ใช้ข้อความว่า<br />

108<br />

งานวิจัยนี้ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

ปีการศึกษา 25....


(ดูตัวอย่างการพิมพ์หน้าปกใน ในภาคผนวก ก.)<br />

2.2 หน้ากิตติกรรมประกาศ และค าน า (Acknowledgement)<br />

กิตติกรรมประกาศ เป็นค ากล่าวแสดงความขอบคุณผู้ที่ให้ความช่วยเหลือท าให้รายงานการ<br />

วิจัยนั้นลุล่วงไปด้วยดี<br />

ค าน า หมายถึง สาเหตุที่ท าให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาเรื่องนั้น บางแห่งบอกไว้ด้วยว่าใน<br />

รายงานการวิจัยนั้น ในแต่ละตอนพูดถึงเรื่องอะไร และกล่าวขอบคุณผู้ช่วยเหลือจนรายงานการวิจัย<br />

ส าเร็จ<br />

ส าหรับ หน้ากิตติกรรมประกาศ และค าน า ควรพิมพ์ดังนี้<br />

1) ค า “กิตติกรรมประกาศ” หรือ “ค าน า” ควรวางไว้ตรงกลางหน้ากระดาษตอนบน ส่วน<br />

ข้อความบรรทัดแรกของประกาศคุณูป การหรือค าน า ใ ห้เว้นส องช่วงบรรทัดพิมพ์คู่จาก<br />

กิตติกรรมประกาศ หรือค าน า<br />

2) ให้ใส่ชื่อสกุลของผู้วิจัย ห่างจากบรรทัดสุดท้ายของข้อความกิตติกรรมประกาศ หรือค า<br />

น า ลงมาสองช่วงบรรทัดคู่<br />

2.3 สารบัญ สารบัญตาราง และสารบัญภาพประกอบ<br />

สารบัญ (Table of Contents) เป็นหน้าบัญชีบทต่างๆ โดยในหน้าสารบัญจะมีบทและตอน<br />

ต่างๆ เรียงตามล าดับที่ปรากฏในรายงานการวิจัย เพื่อช่วยให้ความสะดวกในการค้นและอ่านเรื่องนั้นๆ<br />

สารบัญตาราง (List of Tables) เป็นหน้าที่แสดงชื่อของตารางทุกตาราง เรียงตามล าดับที่<br />

ปรากฏในรายงานการวิจัย โดยสารบัญตารางจะแยกออกต่างหากจากสารบัญ เป็นหน้าซึ่งต่อจากหน้า<br />

สารบัญ<br />

สารบัญภาพประกอบ (List of Figures) เป็นหน้าต่อจากสารบัญตาราง โดยในหน้านี้จะ<br />

แสดงชื่อภาพประกอบทั้งหมดตามล าดับ รวมทั้งภาพประกอบในภาคผนวกด้วย<br />

ส าหรับสารบัญ สารบัญตาราง และสารบัญภาพประกอบ ควรพิมพ์ดังนี้<br />

1) ค าว่า “สารบัญ” “สารบัญตาราง” และ “สารบัญภารพประกอบ” ให้วางไว้ตรงกลาง<br />

หน้ากระดาษตอนบน<br />

2) หัวข้อที่ปรากฏในสารบัญ จะต้องตรงกับหัวข้อที่ปรากฏในตอนต่างๆ ของส่วนเนื้อ<br />

เรื่องรายงานการวิจัยทุกถ้อยค า และแสดงเลขก ากับหน้าแรกของบทนั้นไว้ในด้านขวามือด้วย ถ้ามีหัวข้อ<br />

มากต้องใช้สองหน้า ก็เขียนหรือพิมพ์ต่อในหน้าต่อไป โดยใช้ค าว่า “บทที่” และค า “หน้า” ในหน้าใหม่<br />

เหมือนหน้าแรก<br />

3) ค าว่า “บทที่” “ตาราง” หรือ “ภาพประกอบ” (แล้วแต่กรณี) จะต้องวางตรงแนวกับ<br />

ขอบซ้ายเว้นระยะให้ห่างจากหัวเรื่องสองช่วงบรรทัดพิมพ์คู่ ส่วนค า “หน้า” ให้พิมพ์ไว้ตรงกับแนวขอบ<br />

ด้านขวามือ<br />

109


4) ในการพิมพ์รายการใต้ค า “บทที่” ตาราง หรือ “ภาพประกอบ” ให้ห่างลงมาสองช่วง<br />

บรรทัดพิมพ์คู่<br />

5) หน้าต่างๆ ในส่วนประกอบตอนต้น ไม่ต้อใส่ไว้ในสารบัญ<br />

6) ตัวเลขก ากับบท ตาราง หรือภาพประกอบ ไม่ต้องมีเครื่องหมายมหัพภาคตามหลัง<br />

ตัวเลขนั้น ให้พิมพ์ห่างจากขอบซ้ายสองช่วงตัวอักษร หลังตัวเลขนั้นให้เว้นระยะสองช่วงพิมพ์ แล้วจึง<br />

เขียนหรือพิมพ์ชื่อบท ตาราง หรือภาพประกอบนั้นๆ<br />

7) ในสารบัญนี้ จะต้องระบุหน้าบรรณานุกรม ภาคผนวก และดรรชนี (ถ้ามี) ตามล าดับแต่<br />

ไม่ควรมีข้อย่อยมากเกินควร<br />

8) ในหน้าสารบัญ ควรมีจุดไข่ปลา เริ่มจากที่สุดของชื่อบทหรือชื่อหัวข้อไปยังตัวเลขที่<br />

บอกหน้า และตัวเลขที่บอกหน้านี้ จะต้องวางให้อยู่ในแนวเดียวกันกับอักษรตัวสุดท้ายของค า “หน้า”<br />

ด้วย ไม่ล้ าออกไป (ดูตัวอย่างสารบัญ)<br />

9) จุดไข่ปลาดังกล่าวในข้อก่อน จะต้องอยู่ในระดับเดียวกัน และเริ่มต้นห่างจากอักษรตัว<br />

สุดท้ายของชื่อบท หรือหัวข้อประมาณสองช่วงตัวอักษรพิมพ์<br />

10) ควรเว้นบรรทัดระหว่างชื่อบท โดยเว้นระยะสองช่วงบรรทัดพิมพ์คู่<br />

11) หัวข้อใหญ่ในบทหนึ่งๆ ควรจะย่อหน้าเข้าไปจากอักษรแรกของชื่อบท สองช่วง<br />

ตัวอักษรพิมพ์ ส่วนหัวข้อรองหรือข้อย่อยอื่นๆ ให้ย่อหน้าเข้าไปตามล าดับเช่นเดียวกัน<br />

12) หัวข้อส าคัญๆ ที่ใส่ไว้ในสารบัญ ควรจะเว้นให้ห่างกันหนึ่งช่วงบรรทัดพิมพ์คู่ และถ้า<br />

หัวข้อยาวกว่าหนึ่งบรรทัด ให้ย่อหน้าบรรทัดต่อมาเข้าไปสองช่วงตัวอักษรพิมพ์<br />

13) หัวข้อย่อย ไม่ควรจะรวมไว้ในสารบัญ<br />

14) หน้าของบรรณานุกรม ภาคผนวก และดรรชนี ควรจะแจ้งไว้ในสารบัญด้วยโดยใช้<br />

กฎเกณฑ์เช่นเดียวกับชื่อบท<br />

(ดูตัวอย่าง สารบัญ สารบัญตาราง และสารบัญภาพประกอบในภาคผนวก ก.)<br />

110


111<br />

ส่วนที่ 7<br />

จรรยาบรรณนักวิจัยมหาวิทยาลัยศรีปทุม


112<br />

จรรยาบรรณนักวิจัยมหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

จรรยาบรรณนักวิจัย : แนวทางปฏิบัติ<br />

1. นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ<br />

2. นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีที่มีต่อข้อตกลงในการวิจัยต่อหน่วยงานที่สนับสนุนการ<br />

วิจัย และต่อหน่วยงานที่ตนสังกัด<br />

3. นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาที่ท าวิจัย<br />

4. นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัยไม่ว่าจะเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต<br />

5. นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรี และสิทธิของมนุษย์ที่เป็นตัวอย่างในการวิจัย<br />

6. นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิดโดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการท าวิจัย<br />

7. นักวิจัยพึงน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ<br />

8. นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น<br />

9. นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ<br />

**********************************<br />

อานนท์ บุณยะรัตเวช. “จรรยาบรรณนักวิจัย.” ใน โครงการฝึกอบรมเรื่อง "นักวิจัยที่ดีสู่สังคมไทย"<br />

รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2551 โดย ส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ณ โรงแรม<br />

มารวยการ์เด้น.


ภาคผนวก<br />

113<br />

ตัวอย่างการเขียนและพิมพ์รายงานการวิจัย<br />

- ตัวอย่างกระดาษแบบ<br />

- ตัวอย่างหน้าบอกตอน<br />

- ตัวอย่างปกในของรายงานวิจัยที่มีผู้วิจัยคนเดียว<br />

- ตัวอย่างปกในของรายงานวิจัยที่มีผู้วิจัยหลายคน<br />

- ตัวอย่างสารบัญ<br />

- ตัวอย่างสารบัญตาราง<br />

- ตัวอย่างสารบัญตารางภาพประกอบ<br />

- ตัวอย่างบทคัดย่อภาษาไทย<br />

- ตัวอย่างบทคัดย่อภาษาอังกฤษ<br />

- ตัวอย่างประวัติย่อผู้วิจัย


114<br />

ตัวอย่างกระดาษแบบ<br />

1.5 นิ้ว<br />

เลขก ากับหน้า<br />

1 นิ้ว<br />

1.5 นิ้ว 1 นิ้ว<br />

1 นิ้ว


115<br />

ตัวอย่างบอกตอน<br />

บรรณานุกรม


116<br />

ตัวอย่างปกในของรายงานการวิจัยที่มีผู้วิจัยคนเดียว<br />

รายงานการวิจัย<br />

เรื่อง<br />

การพัฒนาการออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหวโดยใช้หลักการ<br />

ให้โครงสร้างมีความเสียหายคงที่<br />

DEVELOPMENT OF SEISMIC RESISTANT DESIGN FOR UILDINGS<br />

BASED ON THE CONSTANT-DAMAGE CONCEPT<br />

ไพบูลย์ ปัญญาคะโป<br />

งานวิจัยนี้ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

ปีการศึกษา 2552


117<br />

ตัวอย่างปกในของรายงานการวิจัยที่มีผู้วิจัยหลายคน<br />

รายงานการวิจัย<br />

เรื่อง<br />

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสัมฤทธิผลทางการศึกษาของนักศึกษา<br />

มหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

FACTORS AFFECTING EDUCATIONAL ACHIEVEMENT OF<br />

SRIPATUM UNIVERSITY STUDENTS<br />

นิ่มนวล ศรีจาด<br />

ธาตรี นนทศักดิ์<br />

สุนันท์ อยู่คงดี<br />

งานวิจัยนี้ ได้รับทุนอุดหนุดการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีปทุม<br />

ปีการศึกษา 2552


118<br />

ตัวอย่างสารบัญ<br />

สารบัญ<br />

บทที่ หน้า<br />

1 บทน า................................................................................................................... 1<br />

ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา……………………………….…. 1<br />

วัตถุประสงค์ของการวิจัย............................................................................. 5<br />

ค าถามการวิจัย............................................................................................. 5<br />

สมมุติฐานการวิจัย....................................................................................... 7<br />

ขอบเขตของการวิจัย.................................................................................... 8<br />

นิยามศัพท์.................................................................................................... 9<br />

2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง.......................................................................................... 11<br />

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักสูตร.................................................................. 11<br />

กรอบความคิดทางทฤษฏี............................................................................. 50<br />

ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง.................................................................................. 53<br />

สรุป............................................................................................................. 62<br />

3 ระเบียบวิธีวิจัย..................................................................................................... 64<br />

รูปแบบการวิจัย............................................................................................ 64<br />

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง.......................................................................... 66<br />

ขั้นตอนการด าเนินงานวิจัย.......................................................................... 68<br />

เครื่องมือการวิจัย......................................................................................... 69<br />

การรวบรวมข้อมูล....................................................................................... 76<br />

การวิเคราะห์ข้อมูล...................................................................................... 77<br />

4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล.......................................................................................... 79<br />

ผลการประเมินหลักสูตรด้านพุทธพิสัย....................................................... 79<br />

ผลการประเมินหลักสูตรด้านจิตพิสัย........................................................... 89<br />

ผลการประเมินหลักสูตรด้านทักษะพิสัย..................................................... 96<br />

ผลการประเมินโครงสร้างและเอกสารหลักสูตร.......................................... 102


119<br />

สารบัญ (ต่อ)<br />

บทที่ หน้า<br />

5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ......................................................................... 108<br />

สรุปผลการวิจัย......................................………………………………… 110<br />

อภิปรายผล................................................................................................. 114<br />

ข้อเสนอแนะ.............................................................................................. 119<br />

บรรณานุกรม .................................................................................................... 121<br />

ภาคผนวก ......................................................................................................... 127<br />

ภาคผนวก ก. รายชื่อโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง................................................. 128<br />

ภาคผนวก ข. ตัวอย่างเครื่องมือการวิจัย..................................................... 129<br />

ภาคผนวก ค. รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ............................................................... 134<br />

ประวัติย่อผู้วิจัย .................................................................................................. 135


120<br />

ตัวอย่างสารบัญตาราง<br />

สารบัญตาราง<br />

ตาราง<br />

หน้า<br />

1 ลักษณะของการประเมินหลักสูตร โดยใช้รูปแบบการประเมินแบบซิป.................. 32<br />

2 แนวทางการประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษสื่อสาร<br />

ธุรกิจ พุทธศักราช 2532 ของมหาวิทยาลัยศรีปทุม............................................ 46<br />

3 จ านวนประชากรและกลุ่มตัวอย่าง จ าแนกตามสถานภาพ...................................... 51<br />

4 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จ าแนกตามจ านวนและร้อยละของผู้ตอบ<br />

แบบสอบถาม.................................................................................................... 60<br />

5 ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของอาจารย์ นักศึกษา และ<br />

บัณฑิตที่มีต่อวัตถุประสงค์ของหลักสูตร.......................................................... 61<br />

6 ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของอาจารย์ นักศึกษา และ<br />

บัณฑิตที่มีต่อโครงสร้างวิชาของหลักสูตร........................................................ 64<br />

7 ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของอาจารย์ นักศึกษา และ<br />

บัณฑิตที่มีต่อเนื้อหาวิชาของหลักสูตร.............................................................. 67<br />

8 ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของอาจารย์ นักศึกษา และ<br />

บัณฑิตที่มีต่อคุณลักษณะอาจารย์...................................................................... 72<br />

9 ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของอาจารย์ นักศึกษา และ<br />

บัณฑิตที่มีต่อวัสดุการเรียน ต าราเรียน และสถานที่เรียน.................................. 75<br />

10 ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของอาจารย์ นักศึกษา และ<br />

บัณฑิตที่มีต่อกระบวนการเรียนการสอน......................................................... 78<br />

11 ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของอาจารย์ นักศึกษา และ<br />

บัณฑิตที่มีต่อการวัดและประเมินผล................................................................ 82<br />

12 ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของอาจารย์ นักศึกษา และ<br />

บัณฑิตที่มีต่อการบริหารหลักสูตร................................................................... 86<br />

13 ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของอาจารย์ นักศึกษา และ<br />

และบัณฑิตที่มีต่อประสิทธิภาพของบัณฑิต ทางด้านความรู้............................ 89<br />

14 ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของอาจารย์ นักศึกษา และ<br />

และบัณฑิตที่มีต่อประสิทธิภาพของบัณฑิต ทางด้านทักษะ............................. 92


121<br />

สารบัญตาราง (ต่อ)<br />

ตาราง<br />

หน้า<br />

15 ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต<br />

และบัณฑิตที่มีต่อประสิทธิภาพของบัณฑิต ทางด้านเจตคติ............................. 94<br />

16 ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต<br />

และบัณฑิตที่มีต่อประสิทธิภาพของบัณฑิต ทางด้านเจตคติ…………………. 96<br />

17 ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นทั่วไปของอาจารย์ นักศึกษา และบัณฑิตเกี่ยวกับ<br />

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร จากแบบสอบถามปลายเปิด……………………... 98


122<br />

ตัวอย่างสารบัญภาพประกอบ<br />

สารบัญภาพประกอบ<br />

ภาพประกอบ<br />

หน้า<br />

1 รูปแบบการประเมินหลักสูตรของไทเลอร์.............................................................. 22<br />

2 รูปแบบการประเมินหลักสูตรของแฮมมอนด์......................................................... 24<br />

3 รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสคริเวน............................................................ 26<br />

4 รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสเตก................................................................. 27<br />

5 รูปแบบการประเมินหลักสูตรของไพรวัส............................................................. 29<br />

6 รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสตัฟเฟิลบีม..................................................... 31


123<br />

ตัวอย่างบทคัดย่อภาษาไทย<br />

หัวข้อวิจัย<br />

ผู้วิจัย<br />

หน่วยงาน<br />

ปีที่พิมพ์<br />

: ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของผู้เยาว์ในบริษัทจ ากัด<br />

: นางสาวปิยะธิดา อุปพงษ์ และ นายสังคม ฮอหรินทร์<br />

: มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี<br />

: พ.ศ. 2542<br />

บทคัดย่อ<br />

การศึกษาเรื่อง “ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของผู้เยาว์ในบริษัทจ ากัด” มี<br />

วัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงกฎหมายเกี่ยวกับความสามารถของผู้เยาว์ ลักษณะทั่วไปของบริษัทจ ากัด<br />

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และปัญหาข้อกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของผู้เยาว์ในบริษัทจ ากัด<br />

โดยศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายของต่างประเทศ เพื่อให้เกิดความชัดเจนและมีความเข้าใจมากขึ้น<br />

เนื่องจากมีปัญหาข้อกฎหมายหลายประเด็นที่ยังมีข้อบกพร่องควรได้รับการปรับปรุงแก้ไข จากการศึกษา<br />

พบว่า มีประเด็นข้อกฎหมายบางประการที่กฎหมายไม่ได้ก าหนดให้ชัดเจน ได้แก่ ปัญหาความไม่<br />

เหมาะสมเกี่ยวกับอายุของผู้เยาว์ที่สามารถเป็น ผู้เริ่มก่อการบริษัทได้ และปัญหาความไม่เหมาะสมเกี่ยวกับ<br />

อายุของผู้เยาว์ที่สามารถเป็นกรรมการบริษัทได้ ซึ่งหากได้มีการบัญญัติเพิ่มเติมหรือแก้ไขปรับปรุงให้<br />

ชัดเจนยิ่งขึ้น ก็จะเป็นการคุ้มครองป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นแก่ผู้เยาว์และบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องได้ดี<br />

ยิ่งขึ้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้ ควรมีการแก้ไขปรับปรุงและเพิ่มเติมดังนี้<br />

1. ควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายเพ่งพาณิชย์ โดยก าหนดคุณสมบัติของผู้<br />

เริ่มก่อการบริษัทให้ชัดเจนว่า ผู้เริ่มก่อการบริษัทต้องเป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้วเท่านั้น<br />

2. ควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายเพ่งและพาณิชย์ โดยก าหนดคุณสมบัติ<br />

ของกรรมการบริษัทให้ชัดเจนว่ากรรมการบริษัทต้องเป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้วเท่านั้น<br />

ค าส าคัญ : กฎหมายแพ่งพาณิชย์ บริษัทจ ากัด ผู้เยาว์


124<br />

ตัวอย่างบทคัดย่อภาษาอังกฤษ<br />

Research Title<br />

Name of Researchers<br />

Name of Institution<br />

Year of Publication<br />

: Legal Problems Concerning the Conduct of Business by Minors in the<br />

Limited Liability Companies<br />

: Miss. Piyathida Uppapong and Mr. Sungkom Horharin<br />

: Sripatum University, Chonburi Campus<br />

: B.E. 2542<br />

ABSTRACT<br />

This study of ‚Legal Problems Concerning the Conduct of Business by Minors in the<br />

Limited Liability Companies‛ was conducted with the objective to gain insights on laws concerning the<br />

capacity of minors to conduct juristic and business transactions, the general features of the limited<br />

liability company, related laws, and various legal problems concerning the conduct of business by<br />

minors in the limited liability companies. The research methodology employed was the documentary<br />

research in which the researcher investigated both Thai and foreign laws in order to make comparison<br />

and gain clearer understanding of the problem, since there were many legal issues that needed to be<br />

clarified or amended.<br />

The study revealed many legal issues that were not clearly addressed, namely, the<br />

problem on improper age of minors who could establish a company, and the problem on improper age<br />

of minors who could be members of the board of a company. Had the law on these problems been<br />

amended or clarified, minors and related persons would be better protected from legal damages.<br />

Recommendations for revision and amendment concerning the above problems were given as follows:<br />

1. There should be amendments of the Civil and Commercial Code on age qualification<br />

of minors as founders of a company. The minimum age allowable for company founders should not be<br />

lower than the minimum legal age for juristic transaction.<br />

2. There should be amendments of the Civil and Commercial Code on age qualification<br />

of minors as board members of a company. The minimum age allowable for company board members<br />

should not be lower than the minimum legal age for business transaction.<br />

Keywords : Civil and Commercial Code, Limited liability company, Minors


125<br />

ตัวอย่างประวัติย่อผู้วิจัย<br />

ประวัติย่อผู้วิจัย<br />

ชื่อ นายสมศักดิ์ รักศรีปทุม<br />

วัน เดือน ปีเกิด วันที่ 15 ตุลาคม 2496<br />

สถานที่เกิด อ าเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี<br />

สถานที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 52 ถนนแจ้งวัฒนะ อ าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120<br />

ต าแหน่งหน้าที่การงานปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ<br />

สถานที่ท างานปัจจุบัน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตบางเขน<br />

ประวัติการศึกษา<br />

พ.ศ. 2518 อ.บ. จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

พ.ศ. 2522 อ.ม. จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!