12.10.2014 Views

การฟื้นฟูสุขภาพด้วยหลักสุขภาพองค์รวม 8 อ. ณ ชุ - มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

การฟื้นฟูสุขภาพด้วยหลักสุขภาพองค์รวม 8 อ. ณ ชุ - มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

การฟื้นฟูสุขภาพด้วยหลักสุขภาพองค์รวม 8 อ. ณ ชุ - มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ั<br />

้<br />

ั<br />

<strong>การฟื้นฟูสุขภาพด้วยหลักสุขภาพ<strong>อ</strong>งค์รวม</strong> 8 <strong>อ</strong>.<br />

<strong>ณ</strong> <strong>ชุ</strong>มชนศีรษะ<strong>อ</strong>โศก<br />

Holistic Health-care Program of Srisa Asoke<br />

<strong>อ</strong>ุนเ<strong>อ</strong>ื้<strong>อ</strong> ่ สงห์คํา ิ<br />

สาขาพัฒนบูร<strong>ณ</strong>าการศาสตร์ ค<strong>ณ</strong>ะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัย<strong>อ</strong>ุบลราชธานี<br />

บทคัดย<strong>อ</strong>่<br />

บทความนี ้นําเสน<strong>อ</strong>เกี ่ยวกับ สารพิษต่างๆ ที ่สะสมภายในร่างกาย ที ่จะเกิดขึ ้นจาก<br />

ภายในร่างกาย และสิ่งแวดล้<strong>อ</strong>ม ชนิดข<strong>อ</strong>งสารพิษ ได้แก่ <strong>อ</strong>นุมูล<strong>อ</strong>ิสระ(free radicals)<br />

โคเลสเต<strong>อ</strong>ร<strong>อ</strong>ลไม่ดี LDL : Low Density Lipoprotein) ไขมันไตรกลีเซ<strong>อ</strong>โรด์ (Triglyceride)<br />

นํ ้าตาลในเลื<strong>อ</strong>ดที ่มีปริมา<strong>ณ</strong>สูง (High blood sugar levels) และภาวะที ่เคร่งเครียดทางจิตใจ<br />

เป็นต้น สารพิษเหล่านี ้ เมื ่<strong>อ</strong>สะสมในร่างกายจํานวนมาก และไม่ได้ถูกกําจัด<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กไป จะเป็น<br />

ปจจัยที ่เสี ่ยงต่<strong>อ</strong>โรคภัยไข้เจ็บนานาประการ<br />

การป<strong>อ</strong>งกัน การรักษาและ การบรรเทา<strong>อ</strong>าการข<strong>อ</strong>งโรคที ่เกิดจากการสะสมสารพิษ<br />

ตามกระแสความนิยมข<strong>อ</strong>งประชาชนทั่วไปในปจจุบัน จะใช้กระบวนการ ที ่เรียกว่า การล้างพิษ<br />

(Detoxification) หรื<strong>อ</strong>การดีท็<strong>อ</strong>กซ์ (Detox) ในกระบวนการทางธรรมชาติบําบัด การล้างพิษมี<br />

หลายวิธี เช่น การกินเพื ่<strong>อ</strong>ล้างพิษ การ<strong>อ</strong>ดเพื ่<strong>อ</strong>ล้างพิษ การฝึกสมาธิล้างพิษในใจ และการ<br />

สวนล้างลําไส้เพื ่<strong>อ</strong>ล้างพิษ<br />

โครงการ<strong>อ</strong>บรมการฟื ้นฟูสุขภาพ ซึ ่ง<strong>ชุ</strong>มชนศีรษะ<strong>อ</strong>โศกดําเนินการ<strong>อ</strong>ยู ่ เรียกว่า “การ<br />

ฟื ้นฟูสุขภาพด้วยหลักสุขภาพ<strong>อ</strong>งค์รวม 8 <strong>อ</strong>." หลักการสร้างเสริมสุขภาพ<strong>อ</strong>งค์รวม 8 <strong>อ</strong>. ได้แก่<br />

1. <strong>อ</strong>ิทธิบาท 4 2. <strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์ 3. <strong>อ</strong>าหาร 4. <strong>อ</strong>ากาศ 5. <strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกาย 6. เ<strong>อ</strong>นกาย 7. เ<strong>อ</strong>า<br />

พิษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ก 8. <strong>อ</strong>าชีพ การ<strong>อ</strong>บรมตล<strong>อ</strong>ดระยะเวลา 5 วัน เป็นการเ<strong>อ</strong>าพิษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กจากร่างกายและจิตใจ<br />

เป็นจุดเริ่มต้นเพื ่<strong>อ</strong>เรียนรู้และทําความเข้าใจสุขภาพข<strong>อ</strong>งตัวเ<strong>อ</strong>ง และเป็นแนวทางที ่นําไปสู ่การ<br />

สร้างสุขภาพตามความหมายใหม่ข<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>งค์การ<strong>อ</strong>นามัยโลก ซึ ่งได้นิยาม สุขภาพว่า หมายถึง<br />

การมีสุขภาพดี<strong>อ</strong>ย่างยั่งยืน สมดุล และมีความเป็นพลวัตทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมและจิต<br />

วิญญา<strong>ณ</strong><br />

คําสําคัญ : 8 <strong>อ</strong>. สุขภาพ<strong>อ</strong>งค์รวม สุขภาพ


่<br />

ั<br />

่<br />

ั<br />

ั<br />

Abstract<br />

Health, as defined by the World Health Organization, requires a healthy and<br />

sustainable balance of the physical, psychological, social, and spiritual areas. The<br />

Asoke group, a Buddhist, vegetarian commune, has developed a holistic training<br />

program for domestic healthcare called the Eight Elements of Holistic Health (EEHH).<br />

The components of this program are Itthibath 4 (satisfaction, diligence, attentiveness,<br />

and examination), attitude, diet, exercise, breathing, relaxation, detoxification, and<br />

vocation. The program involves a five day process of releasing accumulated toxins in<br />

both the body and the mind. In addition to the physical cleansing, the participant<br />

listens to lectures that reinforce the importance of on-going healthcare.<br />

Keywords : Eight Elements: Holistic health: Health<br />

1. บทนํา<br />

การประกาศใช้แผนพัฒนาประเทศฉบับที ่ 1 เมื ่<strong>อ</strong> พ.ศ. 2503 ทําให้ประเทศไทย<br />

เปลี ่ยนแปลงไปมาก มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ<strong>อ</strong>ย่างรวดเร็ว ทรัพยากรธรรมชาติถูกใช้ไป<br />

<strong>อ</strong>ย่างฟุมเฟื<strong>อ</strong>ย ข<strong>ณ</strong>ะเดียวกันวิถีชีวิตข<strong>อ</strong>งคนก็เปลี ่ยนแปลงตามไปด้วย ก่<strong>อ</strong>นหน้านั้นพลเมื<strong>อ</strong>ง<br />

ข<strong>อ</strong>งประเทศมีความเป็น<strong>อ</strong>ยู ่<strong>อ</strong>ย่างสุขสบายตาม<strong>อ</strong>ัตภาพเพราะประเทศชาติมีทรัพยากร<strong>อ</strong>ุดม<br />

สมบูร<strong>ณ</strong>์ เช่น ปาไม้ แหล่งนํ ้า แร่ธาตุ <strong>อ</strong>ยู่ในสภาพที ่เรียกว่า “ในนํ ้ามีปลา ในนามีข้าว” ปญหา<br />

สังคม มีไม่มาก ผู้คนมีความผูกพัน เ<strong>อ</strong>ื ้<strong>อ</strong><strong>อ</strong>าทรต่<strong>อ</strong>กัน แต่หลังจากประเทศพัฒนาเข้าสู ่สังคม<br />

สมัยใหม่ การเปลี ่ยนแปลงเกิดขึ ้นแทบทุกด้าน (ธรรมรักษ์ การพิศิษฏ์ ,2545)<br />

การพัฒนาที ่เน้นความเจริญทางวัตถุ และการเพิ่มรายได้ข<strong>อ</strong>งประชาชาติทําให้<br />

เศรษฐกิจในประเทศขยายตัว<strong>อ</strong>ย่างรวดเร็ว บริการพื ้นฐานด้านเศรษฐกิจและสังคมกระจายไป<br />

ทั่วประเทศ การคมนาคมและบริการขนส่งเชื ่<strong>อ</strong>มต่<strong>อ</strong>กัน<strong>อ</strong>ย่างทั่วถึง ประชาชนได้รับการศึกษา<br />

มากขึ ้น การพัฒนาด้านสาธาร<strong>ณ</strong>สุขได้รับความสําเร็จซึ ่งทําให้<strong>อ</strong>ายุขัยโดยเฉลี ่ยข<strong>อ</strong>งคนไทย<br />

สูงขึ ้น แต่การมุ่งเน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการแข่งขันเพื ่<strong>อ</strong>สร้างความมั่งคั่งในด้าน<br />

รายได้ กลับทําให้สังคมไทยมีความเป็นวัตถุนิยมมากขึ ้น ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เป็น<br />

ระบบเศรษฐกิจที ่ต<strong>อ</strong>บสน<strong>อ</strong>งความต้<strong>อ</strong>งการข<strong>อ</strong>งมนุษย์ได้ แต่ด้วยกระบวนการขับเคลื ่<strong>อ</strong>นที ่<strong>อ</strong>าศัย<br />

การแสวงหากําไร ภายใต้กลไกตลาดและการแข่งขันเสรี ได้ส่งผลต่<strong>อ</strong>สังคมให้เกิดปญหาความ<br />

เหลื ่<strong>อ</strong>มลํ ้าทางสังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้<strong>อ</strong>มเสื่<strong>อ</strong>มและทรุดโทรมลงไปเป็น<br />

ลําดับ ปญหาความเสื ่<strong>อ</strong>มโทรมข<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>ากาศ ปริมา<strong>ณ</strong>ฝุนละ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ง ่ รวมทั้งมลภาวะทางเสียง


ั<br />

ั<br />

่<br />

้<br />

ั<br />

่<br />

ส่งผลกระทบต่<strong>อ</strong>คุ<strong>ณ</strong>ภาพชีวิตข<strong>อ</strong>งคนไทย<strong>อ</strong>ย่างกว้างขวาง และขยายผลสู ่วิกฤตที ่บ่<strong>อ</strong>นทําลาย<br />

ความผาสุกข<strong>อ</strong>งสังคม<br />

การพัฒนาที ่ไม่ได้คํานึงถึงผลกระทบและขาดการจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติ<br />

รวมทั้งม<strong>อ</strong>งข้ามการพัฒนาคุ<strong>ณ</strong>ค่าข<strong>อ</strong>งความเป็นคน ละเลยต่<strong>อ</strong>ภูมิปญญาและความเป็นไทย ได้<br />

ก่<strong>อ</strong>ให้เกิดปญหาด้านพฤติกรรมข<strong>อ</strong>งคนในสังคม คื<strong>อ</strong> การย่<strong>อ</strong>หย่<strong>อ</strong>นในศีลธรรม จริยธรรม<br />

ระเบียบ วินัย และการเ<strong>อ</strong>ารัดเ<strong>อ</strong>าเปรียบ เหล่านี ้ ส่งผลให้วิถีชีวิตและค่านิยมดั้งเดิมที ่ดีงามข<strong>อ</strong>ง<br />

คนไทยเริ่มจางหายไปพร้<strong>อ</strong>มๆ กับการล่มสลายข<strong>อ</strong>งสถาบันคร<strong>อ</strong>บครัว <strong>ชุ</strong>มชน และวัฒนธรรม<br />

ข<strong>อ</strong>งท้<strong>อ</strong>งถิ่น การเจ็บปวยข<strong>อ</strong>งคนไทยเปลี ่ยนแปลงไปสู ่โรคสมัยใหม่ (Modern diseases) เช่น<br />

โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง (ก<strong>อ</strong>งสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ<br />

กระทรวงสาธาร<strong>ณ</strong>สุข, 2552) การบาดเจ็บล้มตายจาก<strong>อ</strong>ุบัติเหตุและ<strong>อ</strong>ุบัติภัยที ่มีแนวโน้มเพิ่มขึ ้น<br />

รวมทั้งโรคสมัยใหม่<strong>อ</strong>ีกโรคหนึ ่งซึ ่งเรียกว่า โรคพร่<strong>อ</strong>งทางจิตวิญญา<strong>ณ</strong> (spiritual deficiency)<br />

(ประเวศ วะสี, 2552) ได้ส่งผลกระทบ<strong>อ</strong>ย่างรุนแรงต่<strong>อ</strong>สภาพความเป็น<strong>อ</strong>ยู ่และวัฒนธรรมข<strong>อ</strong>ง<br />

คนไทยซึ ่งเคยเป็นวัฒนธรรมแห่งความเ<strong>อ</strong>ื ้<strong>อ</strong><strong>อ</strong>าทร มีการพึ ่งพา<strong>อ</strong>าศัยกัน มีความกตัญญู เชื ่<strong>อ</strong>ฟงั<br />

ผู้ใหญ่ ฯลฯ ได้แปรเปลี ่ยนไปสู ่ความห่างไกลจากญาติพี ่น้<strong>อ</strong>ง พ่<strong>อ</strong>แม่ และต้<strong>อ</strong>งพึ ่งพาตัวเ<strong>อ</strong>ง และ<br />

ใช้ชีวิตแบบตัวใครตัวมัน<br />

ในภาวะปจจุบัน สุขภาพข<strong>อ</strong>งคนไทย<strong>อ</strong>ยู ่ในขั้นที ่น่าวิตก ทั้งภัยจากโรคร้าย<br />

สิ่งแวดล้<strong>อ</strong>มที ่เป็นพิษ การบริโภคสิ่งที ่ไม่เหมาะสมเช่นเหล้า บุหรี ่และสารเสพย์ติด รวมถึง<br />

พฤติกรรมที ่ทําลายสุขภาพ เช่น ขาดการ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกาย ขาดการพักผ่<strong>อ</strong>น สะสมความเครียด<br />

ทํางานเกินกําลัง พฤติกรรมไม่เหมาะสมที ่เกิดขึ ้นเป็นประจําเหล่านี ้สามารถก่<strong>อ</strong>ให้เกิดโรค ที<br />

เกี ่ยวข้<strong>อ</strong>งกับวิถีชีวิตมากมาย เช่นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคภูมิคุ้มกันบกพร่<strong>อ</strong>ง<br />

โรคหัวใจ โรค<strong>อ</strong>้วน เป็นต้น<br />

2. สารพษ ิ (Toxin) คื<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ะไร<br />

สารพิษ คื<strong>อ</strong>สารที ่ก่<strong>อ</strong>ให้เกิดโทษหรื<strong>อ</strong>มีพิษต่<strong>อ</strong>ร่างกาย เป็นสิ่งที ่ร่างกายไม่ต้<strong>อ</strong>งการ มี<br />

2 จําพวก ได้แก่ จําพวก ที ่ 1 พิษที ่ร่างกายสร้างขึ ้นเ<strong>อ</strong>ง ดังนี<br />

- กระบวนการเผาผลาญสาร<strong>อ</strong>าหารภายในร่างกาย มี<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจนเป็นตัวช่วย จะเกิด<br />

<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจนที ่มีประจุลบ (O2) ซึ ่ง เรียกว่า<strong>อ</strong>นุมูล<strong>อ</strong>ิสระ (free radicals)<br />

- ปฏิ กิริยาเมตาโบลิ ซึม ( Metabolism) ในเซลล์ ทั่วร่ างกาย เช่ น<br />

คาร์บ<strong>อ</strong>นได<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กไซด์ (CO2) ที ่ร่างกายต้<strong>อ</strong>งขับทิ ้ง<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กทางลมหายใจ จากการย่<strong>อ</strong>ยสลายโปรตีน<br />

หรื<strong>อ</strong> จากผลข<strong>อ</strong>งภาวะท้<strong>อ</strong>งผูก <strong>อ</strong>าหารไม่ย่<strong>อ</strong>ย การขาด<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจน เป็นต้น


้<br />

- สภาพทางจิตใจและ<strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์ในแง่ลบข<strong>อ</strong>งบุคคล เช่น ความโกรธ ความกลัว ความ<br />

เกลียด ความเครียด ฯลฯ<br />

จําพวก ที ่ 2 พิษที ่ร่างกายได้รับเข้าไปทั้งจากการหายใจ การกิน การสัมผัส และ<br />

สิ่งแวดล้<strong>อ</strong>ม เช่น<br />

- มลภาวะใน<strong>อ</strong>ากาศ ได้แก่ ไ<strong>อ</strong>เสียจากรถยนต์ ควันพิษจากโรงงาน<br />

- สารปนเปื ้<strong>อ</strong>นใน<strong>อ</strong>าหาร ได้แก่ สี กลิ่น รสสังเคราะห์ สารกันบูด สารกันเชื ้<strong>อ</strong>รา<br />

ฯลฯ ซึ ่งมักจะมาจาก<strong>อ</strong>าหารจากโรงงาน<strong>อ</strong>ุตสาหกรรม หรื<strong>อ</strong>ที ่เรียกว่ากลุ่ม<strong>อ</strong>าหารขยะ ผักผลไม้<br />

ที ่เปื ้<strong>อ</strong>นยาฆ่าแมลง สารพิษที ่เกิดจากการใช้นํ ้ามันท<strong>อ</strong>ดซํ ้า<br />

- สารเคมีในบ้านเรื<strong>อ</strong>น เช่น นํ ้ายาเคมีต่างๆ ที่ใช้ในการทําความสะ<strong>อ</strong>าดห้<strong>อ</strong>งนํ<br />

พื ้นบ้าน สารซักล้าง ยาฆ่าแมลง ฯลฯ<br />

- <strong>อ</strong>ื ่นๆ เช่น ยารักษาโรค (ลลิตา ธีระสิริ, 2548)<br />

ตัว<strong>อ</strong>ย่างสารพิษที ่เกิดขึ ้นภายในร่างกาย ได้แก่<br />

1. <strong>อ</strong>นุมูล<strong>อ</strong>ิสระ (free radicals) เป็นสารพิษที ่ทําลายสมดุลข<strong>อ</strong>งร่างกาย เพราะเป็น<br />

สารซึ ่งมีโมเลกุลที ่มี<strong>อ</strong>ิเลคตร<strong>อ</strong>นพร่<strong>อ</strong>ง ซึ ่งจะไปแย่ง<strong>อ</strong>ิเลคตร<strong>อ</strong>นจากโมเลกุลตัว<strong>อ</strong>ื ่นเพื ่<strong>อ</strong>ทําให้<br />

ตัวเ<strong>อ</strong>งมี<strong>อ</strong>ิเลคตร<strong>อ</strong>นเต็ม <strong>อ</strong>ิเลคตร<strong>อ</strong>นที ่ถูกแย่งก็จะไปแย่งตัว<strong>อ</strong>ื ่นมา<strong>อ</strong>ีกทีหนึ ่ง ซึ ่งเป็นปฏิกิริยา<br />

ลูกโซ่ต่<strong>อ</strong>เนื ่<strong>อ</strong>งกันไปไม่สิ ้นสุด <strong>อ</strong>นุมูล<strong>อ</strong>ิสระเหล่านี ้เมื ่<strong>อ</strong>เข้าสู ่ร่างกาย จะทําให้เซลล์ข<strong>อ</strong>งร่างกาย<br />

เสื ่<strong>อ</strong>มเร็วกว่าปกติ เนื ่<strong>อ</strong>งจากข<strong>ณ</strong>ะที ่<strong>อ</strong>ิเลคตร<strong>อ</strong>นวิ่ง<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กหาคู ่ก็จะไปชนกับโมเลกุลข<strong>อ</strong>งสารต่างๆ<br />

ในเซลล์ ทําให้เกิดประจุไฟฟาและพุ่งตรงไปทําลายเซลล์<br />

้ เยื ่<strong>อ</strong>หุ้มเซลล์ DNA เนื ้<strong>อ</strong>เยื ่<strong>อ</strong>ต่างๆ<br />

ในร่างกายตล<strong>อ</strong>ดเวลา (บรรจบ <strong>ชุ</strong><strong>ณ</strong>หสวัสดิกุล, 2547)<br />

2. โคเลสเต<strong>อ</strong>ร<strong>อ</strong>ลไม่ดี ชนิด LDL (Low Density Lipoprotein) เป็นไขมันที ่สะสมบน<br />

ผนังเส้นเลื<strong>อ</strong>ดมีผลทําให้ผนังเส้นเลื<strong>อ</strong>ดหนา แข็ง และเกิดเป็นก้<strong>อ</strong>น<strong>อ</strong>ุดตัน หากมีการสะสมเป็น<br />

ระยะเวลานานจะทําให้เกิดภาวะเส้นเลื<strong>อ</strong>ดแข็งตัว ทําให้หล<strong>อ</strong>ดเลื<strong>อ</strong>ดตีบตันและในที ่สุดเกิด<br />

โรคหัวใจได้ (รีดเด<strong>อ</strong>ร์ส ไดเจสท์, 2550)<br />

3. ไขมันไตรกลีเซ<strong>อ</strong>ไรด์ (Triglyceride) เป็นไขมันชนิด<strong>อ</strong>ิ่มตัวที ่เกิดจากการบริโภค<br />

คาร์โบไฮเดรต จากแปง ้ นํ ้าตาล และการดื ่มสุรามาก จนร่างกายใช้ไม่หมด ร่างกายจะเปลี ่ยน<br />

นํ ้าตาลเป็นไขมันไตรกลีเซ<strong>อ</strong>ร์ไรด์ พ<strong>อ</strong>กพูน<strong>อ</strong>ยู่ตามลําตัว ถ้ามีปริมา<strong>ณ</strong>ไตรกลีเซ<strong>อ</strong>ไรด์สูงมากๆ<br />

จะเป็นต้นเหตุให้เลื<strong>อ</strong>ดข้น หนืด และหล<strong>อ</strong>ดเลื<strong>อ</strong>ดเกิด<strong>อ</strong>ุดตันได้ง่าย (สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์<br />

, 2550)<br />

4. ระดับนํ ้าตาลในเลื<strong>อ</strong>ดสูง (High blood sugar levels) เนื ่<strong>อ</strong>งจากความผิดปกติข<strong>อ</strong>ง<br />

ต่<strong>อ</strong>มไร้ท่<strong>อ</strong>ที ่ตับ<strong>อ</strong>่<strong>อ</strong>น ซึ ่งทําหน้าที ่ผลิตฮ<strong>อ</strong>ร์โมน<strong>อ</strong>ินซูลิน (Insulin) ได้ไม่ดี ทําให้มีจํานวน<br />

<strong>อ</strong>ินซูลินน้<strong>อ</strong>ย จึงเป็นเหตุให้นํ ้าตาลเหลื<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ยู่ในกระแสเลื<strong>อ</strong>ดมาก นํ ้าตาลจะถูกขับถ่าย<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมา


ั<br />

ั<br />

่<br />

ในปสสาวะ ั ทําให้ปสสาวะมีรสหวาน ั จึงเรียกโรคนี ้ว่า เบาหวาน (Diabetes) หากระดับนํ ้าตา<br />

ในเลื<strong>อ</strong>ดสูงติดต่<strong>อ</strong>กันนานๆ จะมี<strong>อ</strong>าการคลื ่นไส้ <strong>อ</strong>าเจียน หายใจลําบาก ห<strong>อ</strong>บ ซึม หมดสติ และ<br />

<strong>อ</strong>าจถึงตายได้ (พันธิตร์ มะลิสุวรร<strong>ณ</strong>, 2552)<br />

5. ภาวะทางด้านจิตใจที ่เคร่งเครียดเกินไปเมื ่<strong>อ</strong>ต้<strong>อ</strong>งเผชิญกับสถานการ<strong>ณ</strong>์ที ่ไม่<br />

สามารถจัดการได้ ทําให้มีผลต่<strong>อ</strong>ระบบประสาท และทําให้ร่างกายหลั่งฮ<strong>อ</strong>ร์โมนแ<strong>อ</strong>ดรีนาลิน<br />

(Adrenaline) และฮ<strong>อ</strong>ร์โมนค<strong>อ</strong>ร์ติโซน (Cortisol) ซึ ่งเป็นสารพิษ เป็นสาเหตุเกี ่ยวข้<strong>อ</strong>งกับการ<br />

เกิดโรคหล<strong>อ</strong>ดเลื<strong>อ</strong>ดหัวใจได้ ภาวะจิตใจที ่สร้างความเครียดแก่ร่างกาย ได้แก่ ภาวะซึมเศร้า<br />

(Depression) ความกังวล (anxiety) ความโกรธเกลียด พยาบาท (anger and hostility)<br />

(พงษ์ศักดิ์ น้<strong>อ</strong>ยพยัคฆ์ , 2550)<br />

ตามปกติ ถ้าร่างกายมีข<strong>อ</strong>งเสียและมีสารพิษสะสมในปริมา<strong>ณ</strong>ที ่เป็น<strong>อ</strong>ันตรายถึงขั้นที<br />

จะก่<strong>อ</strong>ให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ ร่างกายก็จะส่งสัญญา<strong>ณ</strong>เตื<strong>อ</strong>น<br />

สัญญา<strong>ณ</strong>เตื<strong>อ</strong>นเมื่<strong>อ</strong>มีการสะสมสารพษในปรมา<strong>ณ</strong>มาก ิ ิ<br />

- ร่างกาย<strong>อ</strong>่<strong>อ</strong>นเพลียเรื ้<strong>อ</strong>รังและเหนื ่<strong>อ</strong>ยง่าย ไม่ค่<strong>อ</strong>ยมีแรง เซื ่<strong>อ</strong>งซึม หดหู ่ใจ ไม่<br />

กระปรี ้กระเปร่า<br />

- มี<strong>อ</strong>าการข<strong>อ</strong>งโรคภูมิแพ้ มักแพ้<strong>อ</strong>ะไรง่าย เช่น แพ้กลิ่น แพ้<strong>อ</strong>ากาศบ่<strong>อ</strong>ยๆ ฯลฯ<br />

- มีภูมิต้านทานเชื ้<strong>อ</strong>โรคตํ ่า ทําให้ไม่สบายหรื<strong>อ</strong>เป็นหวัดได้ง่าย<br />

- ปวดศีรษะ มึนงงบ่<strong>อ</strong>ยๆ หรื<strong>อ</strong><strong>อ</strong>าจปวดถึงขั้นเป็นไมเกรน<br />

- มีสิวและผดผื ่นขึ ้น<br />

- น<strong>อ</strong>นหลับยาก หรื<strong>อ</strong>รู้สึกว่าน<strong>อ</strong>นไม่พ<strong>อ</strong><br />

- มีกลิ่นปาก หรื<strong>อ</strong>มีแผลในช่<strong>อ</strong>งปาก<br />

- จุกเสียด แน่นท้<strong>อ</strong>ง ปวดท้<strong>อ</strong>งเป็นประจํา เนื ่<strong>อ</strong>งจากระบบการย่<strong>อ</strong>ย<strong>อ</strong>าหารมีปญหา<br />

- ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น<br />

- ระบบขับถ่ายมีปญหา ท้<strong>อ</strong>งผูกเป็นประจํา หรื<strong>อ</strong>ท้<strong>อ</strong>งเสียง่าย เป็นริดสีดวงทวาร<br />

- <strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์แปรปรวนง่าย ประสาทตึงเครียด<br />

- มักปวดเมื ่<strong>อ</strong>ยตามกล้ามเนื ้<strong>อ</strong>หรื<strong>อ</strong>ข้<strong>อ</strong>ต่<strong>อ</strong>ต่างๆ เช่น ปวดหลัง เมื ่<strong>อ</strong>ยล้า<br />

- ปวดตามไขข้<strong>อ</strong><br />

- <strong>อ</strong>าการ<strong>อ</strong>ื ่นๆ น<strong>อ</strong>กจากที ่กล่าวมาข้างต้น (กานต์รวี ท<strong>อ</strong>งพูล, 2546)<br />

สารพิษปริมา<strong>ณ</strong>มากเมื ่<strong>อ</strong>สะสมในร่างกายเป็นเวลานานหลายปี จะรบกวนการทํางาน<br />

ข<strong>อ</strong>งระบบ<strong>อ</strong>วัยวะต่างๆ และส่งผลให้ความสมดุลตามธรรมชาติข<strong>อ</strong>งร่างกายผิดไป ทําให้เกิด<br />

ความบกพร่<strong>อ</strong>งข<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>วัยวะต่างๆ ทําลายเนื ้<strong>อ</strong>เยื ่<strong>อ</strong> หรื<strong>อ</strong><strong>อ</strong>าจไปเปลี ่ยนแปลงข้<strong>อ</strong>มูลทางพันธุกรรม


ั<br />

้<br />

่<br />

์<br />

่<br />

ภายในเซลล์ และเป็นปจจัยที ่เสี ่ยงต่<strong>อ</strong>การเกิดโรค ต่างๆ <strong>อ</strong>าการแสดงข<strong>อ</strong>งโรคจากสาเหตุข<strong>อ</strong>ง<br />

สารพิษสะสมในร่างกายได้แก่โรคดังต่<strong>อ</strong>ไปนี<br />

1. <strong>อ</strong>าการ<strong>อ</strong>่<strong>อ</strong>นเพลียเรื ้<strong>อ</strong>รัง มี<strong>อ</strong>าการคื<strong>อ</strong> <strong>อ</strong>่<strong>อ</strong>นเพลียโดยไม่ทราบสาเหตุ ไม่มีเรี ่ยวแรง<br />

ไม่กระปรี ้กระเปร่า เบื ่<strong>อ</strong><strong>อ</strong>าหาร นํ ้าหนักลด เป็นต้น <strong>อ</strong>าการเหล่านี้เกิดขึ้นเพราะมีความผิด<br />

ปกติในกระบวนการกําจัดข<strong>อ</strong>งเสีย<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กจากร่างกาย<br />

2. โรคเสื ่<strong>อ</strong>มเรื ้<strong>อ</strong>รัง เนื ่<strong>อ</strong>งจากร่างกายไม่สามารถกําจัดสารพิษได้หมด ทําให้พิษมีผล<br />

ต่<strong>อ</strong>ร่างกาย กลายเป็นโรคเสื ่<strong>อ</strong>มเรื ้<strong>อ</strong>รัง เช่น ในผู้ปวยโรคพาร์กินสัน โรค<strong>อ</strong>ัลไซเม<strong>อ</strong>ร์ โรครูมา<br />

ต<strong>อ</strong>ยด์ ในกร<strong>ณ</strong>ีนี ้หากมี<strong>อ</strong>าการข<strong>อ</strong>งโรคในระยะเริ่มต้น การล้างพิษจะช่วยได้<br />

3. โรคที ่เกี ่ยวข้<strong>อ</strong>งกับฮ<strong>อ</strong>ร์โมน สารพิษที ่เป็นมลภาวะร<strong>อ</strong>บตัว ในนํ ้า <strong>อ</strong>ากาศ และใ<br />

<strong>อ</strong>าหาร เช่น สารดีดีที (DDT) เพนตาคล<strong>อ</strong>โรฟีน<strong>อ</strong>ล(Pentachlorophenol) และ เฮกซาคล<strong>อ</strong>โร<br />

เบนซีน(Hexachlorobenzene) แนฟทาลีน(Naphthalene) จะรบกวนการทํางานข<strong>อ</strong>งฮ<strong>อ</strong>ร์โมน<br />

เพศชาย และดีลดริน (Dieldrin) จะรบกวนการทํางานข<strong>อ</strong>งฮ<strong>อ</strong>ร์โมนเพศหญิง<br />

4. <strong>อ</strong>าการทางประสาท การสัมผัสสารเคมีที ่มีฤทธิเป็นตัวทําละลาย เช่น เบนซิน<br />

ทินเน<strong>อ</strong>ร์ จะทําให้มี<strong>อ</strong>าการทางประสาท และ<strong>อ</strong>าการทางจิต และทําให้ตับ<strong>อ</strong>่<strong>อ</strong>น<strong>อ</strong>ักเสบได้ด้วย<br />

5. กลุ่ม<strong>อ</strong>าการกิลเบิร์ต เป็นโรคทางพันธุกรรม เพราะขาดเ<strong>อ</strong>นไซม์ในกระบวนการ<br />

กําจัดสารพิษ จึงมี<strong>อ</strong>าการผิดปกติข<strong>อ</strong>งร่างกาย เช่น ตัวเหลื<strong>อ</strong>ง ปวดศีรษะ มีขนมากในผู้หญิง มี<br />

เต้านมโตในผู้ชาย เป็นต้น (ปาริชาติ สักกะทํานุ, 2545)<br />

<strong>อ</strong>ย่างไรก็ตาม โรคที ่กล่าวไว้ข้างต้นนี ้ไม่สามารถรักษาได้โดยการขับพิษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กจาก<br />

ร่างกายแต่เพียง<strong>อ</strong>ย่างเดียว การล้างพิษเป็นทางเลื<strong>อ</strong>ก<strong>อ</strong>ีกทางหนึ ่งซึ ่ง<strong>อ</strong>าจจะช่วยบรรเทา<strong>อ</strong>าการ<br />

ข<strong>อ</strong>งโรคเหล่านี ้ได้<br />

3. ดีท็<strong>อ</strong>กซ์ (Detoxification)<br />

ดีท็<strong>อ</strong>กซ์ (Detox) ย่<strong>อ</strong>มาจากคําในภาษา<strong>อ</strong>ังกฤษ Detoxification หมายถึง วิธีการ<br />

หรื<strong>อ</strong>กระบวนการทําความสะ<strong>อ</strong>าดและขจัดสิ่งสกปรก ข<strong>อ</strong>งเสีย กาก<strong>อ</strong>าหาร รวมทั้งสารพิษที<br />

ตกค้างใน<strong>อ</strong>วัยวะต่างๆ ข<strong>อ</strong>งร่างกาย ให้น้<strong>อ</strong>ยลงหรื<strong>อ</strong>หมดไป (พริตตี ้ เค, 2552) นิยมเรียกสั้นๆ<br />

ว่าการล้างพิษหรื<strong>อ</strong>การกําจัดพิษ ตามปกติร่างกายจะสามารถขับข<strong>อ</strong>งเสียต่าง ๆ <strong>อ</strong><strong>อ</strong>กได้เ<strong>อ</strong>ง<br />

โดยวิธีธรรมชาติ ซึ ่งมี<strong>อ</strong>วัยวะที ่ทําหน้าที ่ขับข<strong>อ</strong>งเสียโดยเฉพาะเช่น ลําไส้ใหญ่ ตับ ถุงนํ ้าดี<br />

ไต ต่<strong>อ</strong>มนํ ้าเหลื<strong>อ</strong>ง ป<strong>อ</strong>ดและผิวหนัง <strong>อ</strong>วัยวะแต่ละ<strong>อ</strong>ย่าง มีวิธีการขับข<strong>อ</strong>งเสีย<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กจากร่างกา<br />

แตกต่างกัน ดังนี ้


ั<br />

ิ<br />

ิ<br />

้<br />

่<br />

ั<br />

่<br />

3.1 การขับสารพษทางลมหายใจ ิ<br />

การหายใจเข้า เป็นกระบวนการเ<strong>อ</strong>า<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจนจาก<strong>อ</strong>ากาศเข้าสู ่ร่างกาย และขับ<br />

สารพิษที ่เกิดจากกระบวนการเมตาโบลิซึม (Metabolism) ในร่างกาย คื<strong>อ</strong>ก๊าซ<br />

คาร์บ<strong>อ</strong>นได<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กไซด์ (CO2) <strong>อ</strong><strong>อ</strong>กไปทิ ้งภายน<strong>อ</strong>กเมื ่<strong>อ</strong>หายใจ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ก น<strong>อ</strong>กจากนี ้แล้วร่างกาย<br />

สามารถขับสารพิษที ่เป็นก๊าซหรื<strong>อ</strong>สารระเหย<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กจากป<strong>อ</strong>ดหรื<strong>อ</strong>ทางลมหายใจ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กได้ด้วย เช่น<br />

ก๊าซแ<strong>อ</strong>มโมเนีย (NH3) ซึ ่งเป็นสารประก<strong>อ</strong>บไนโตรเจนที ่ค้างในเลื<strong>อ</strong>ด การขับสารพิษทางลม<br />

หายใจจะมีประสิทธิภาพเมื ่<strong>อ</strong>มีการสูดหายใจเข้าและ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กได้เต็มที<br />

3.2 การขับสารพษทางไต<br />

ไต มีหน้าที ่ขับนํ ้าและเกลื<strong>อ</strong>แร่ที่ล้นเกิน<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กทิ้งในรูปปสสาวะ ข<strong>อ</strong>งเสียที่ถูกขับ<br />

<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กทางไต ได้แก่ สารประก<strong>อ</strong>บไนโตรเจน (BUN) (blood urea nitrogen) ครี<strong>อ</strong>ะตินีน (Cr)<br />

เกลื<strong>อ</strong>ที ่ล้นเกิน และสารพิษที ่สามารถละลายนํ ้าได้ การเร่งการขับสารพิษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กทางไตสามารถ<br />

ทําได้ โดยการดื ่มนํ ้าให้มากขึ ้นกว่าปกติ เพราะนํ ้าจะเป็นตัวทาละลายที<br />

ํ ่ดี<br />

3.3 การขับสารพษทาง<strong>อ</strong>ุจจาระ<br />

<strong>อ</strong>าหารที ่รับประทาน เมื ่<strong>อ</strong>ผ่านการย่<strong>อ</strong>ยและถูกดูดซึมในกระเพาะ<strong>อ</strong>าหารและลําไส้เล็ก<br />

แล้ว จะเหลื<strong>อ</strong>เป็นกาก<strong>อ</strong>าหาร และผ่านไปสู ่ลําไส้ใหญ่ภายใน 6-8 ชั่วโมง กาก<strong>อ</strong>าหารจะต้<strong>อ</strong>งถูก<br />

ขับ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กจากลําไส้ภายใน 24 ชั่วโมง หากในแต่ละวัน<strong>อ</strong>าหารที ่รับประทานมีสารเส้นใยเพียงพ<strong>อ</strong><br />

ซึ ่งมีปริมา<strong>ณ</strong> 20 กรัม <strong>อ</strong>ุจจาระก็จะไม่คั่งค้าง<strong>อ</strong>ยู ่ในร่างกายให้เกิดสารพิษ แต่ถ้า<strong>อ</strong>าหารที ่กินเข้า<br />

ไปมีสารเส้นใยไม่เพียงพ<strong>อ</strong> เมื ่<strong>อ</strong>ลําไส้ใหญ่ดูดเ<strong>อ</strong>านํ ้า<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กจากกาก<strong>อ</strong>าหารแล้ว จะเหลื<strong>อ</strong>สิ่งที<br />

เป็นก้<strong>อ</strong>นเหนียว มีลักษ<strong>ณ</strong>ะแข็ง ยากต่<strong>อ</strong>การขับทิ ้ง บางครั้งจะเป็นคราบตะกรันข<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>ุจจาระติด<br />

กับผนังลําไส้ใหญ่ ซึ ่งเป็น<strong>อ</strong>าหารข<strong>อ</strong>งแบคทีเรียตัวร้าย เช่น <strong>อ</strong>ีโคไล (Escherichia)<br />

คล<strong>อ</strong>สตริเดียม (Clostridium) และซูโดโมแนส(Pseudomonas) สารเหล่านี ้ จะสร้างสารเสีย<br />

<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมาในรูปข<strong>อ</strong>งสารที ่มีกลิ่นเหม็นและ<strong>อ</strong>าจก่<strong>อ</strong>ให้เกิดโรคมะเร็งได้<br />

การขับสารพิษทาง<strong>อ</strong>ุจจาระ ทําได้โดยมีวิธีดังต่<strong>อ</strong>ไปนี<br />

1) กิน<strong>อ</strong>าหารที ่มีเส้นใยเพียงพ<strong>อ</strong><br />

2) ดื ่มนํ ้ามากๆ จะทําให้ร่างกายไม่ขาดนํ ้า<br />

3) เคลื ่<strong>อ</strong>นไหวร่างกาย<strong>อ</strong>ย่างเพียงพ<strong>อ</strong> เมื ่<strong>อ</strong>ร่างกายได้เคลื ่<strong>อ</strong>นไหวลําไส้ก็จะ<br />

เคลื ่<strong>อ</strong>นไหวไปด้วย<br />

4) ฟงสัญญา<strong>ณ</strong>เตื<strong>อ</strong>นข<strong>อ</strong>งร่างกาย เมื ่<strong>อ</strong>รู้สึกปวด<strong>อ</strong>ุจจาระหรื<strong>อ</strong>เมื ่<strong>อ</strong>ตื ่นน<strong>อ</strong>น ควร<br />

จัดการขับถ่าย


ิ<br />

่<br />

ิ<br />

ิ<br />

้<br />

3.4 การขับสารพษทางผวหนัง ิ ิ<br />

ผิวหนังถื<strong>อ</strong>เป็น<strong>อ</strong>วัยวะที ่ใหญ่ที ่สุดในร่างกาย หน้าที ่ข<strong>อ</strong>งผิวหนังคื<strong>อ</strong>ปกป<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>วัยวะ<br />

ภายในและกล้ามเนื ้<strong>อ</strong> น<strong>อ</strong>กจากนั้น ผิวหนังมีหน้าที ่ควบคุม<strong>อ</strong>ุ<strong>ณ</strong>หภูมิข<strong>อ</strong>งร่างกาย หาก<strong>อ</strong>ุ<strong>ณ</strong>หภูมิ<br />

ภายในร่างกายสูงขึ ้น ผิวหนังจะระบายความร้<strong>อ</strong>น<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กทางรูเปิดข<strong>อ</strong>งต่<strong>อ</strong>มเหงื ่<strong>อ</strong> ขับหยดเหงื ่<strong>อ</strong><br />

พร้<strong>อ</strong>มกับความร้<strong>อ</strong>น<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กไปน<strong>อ</strong>กร่างกาย ทําให้<strong>อ</strong>ุ<strong>ณ</strong>หภูมิร่างกายเย็นลง น<strong>อ</strong>กจากนั้นเหงื ่<strong>อ</strong>ยังนํา<br />

สารพิษที ่<strong>อ</strong>ยู ่ในร่างกาย<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กไปด้วย สารพิษนั้นได้แก่ ยูเรีย (Urea) ซึ ่งเป็นข<strong>อ</strong>งเสียชนิดเดียวกับ<br />

สิ่งที ่ไตขับ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กน<strong>อ</strong>กร่างกายพร้<strong>อ</strong>มด้วยสารเสียที ่เกิดจากกระบวนการเมตาโบลิซึม<br />

(Metabolism)ในร่างกาย บางครั้งเมื ่<strong>อ</strong>ร่างกายมีสารพิษคั่งค้าง<strong>อ</strong>ยู ่มากก็จะมีกลิ่นตัวแรง<br />

การขับสารพิษทางผิวหนังกระทําได้โดยการกระตุ้นการขับเหงื ่<strong>อ</strong> การกระตุ้นการ<br />

ขับเหงื ่<strong>อ</strong>สามารถทําได้หลายวิธี เช่น<br />

1) <strong>อ</strong>บความร้<strong>อ</strong>น <strong>อ</strong>บสมุนไพร <strong>อ</strong>บซาวน่า แช่นํ ้าร้<strong>อ</strong>น <strong>อ</strong>าบแดด เมื่<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ุ<strong>ณ</strong>หภูมิร่างกาย<br />

สูงขึ ้น ร่างกายจะสั่งให้เลื<strong>อ</strong>ดไปเลี ้ยงผิวหนังมากขึ ้น เ<strong>อ</strong>านํ ้าจากเลื<strong>อ</strong>ดไปกลั่นเป็น เหงื ่<strong>อ</strong>เพื ่<strong>อ</strong><br />

ระบายเ<strong>อ</strong>าความร้<strong>อ</strong>น<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ก สารพิษที ่ถูกกําจัด<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กทางเหงื ่<strong>อ</strong>ก็จะ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กไปน<strong>อ</strong>กร่างกายได้มากขึ ้น<br />

2) กินสมุนไพรช่วยขับเหงื ่<strong>อ</strong><br />

3.5 การขับสารพษทางต<strong>อ</strong>มนํ้ามันที่ผวหนัง<br />

ผิวหนังมีรูเปิดข<strong>อ</strong>งต่<strong>อ</strong>มนํ ้ามันใต้ผิวหนัง รูเปิด<strong>อ</strong>ยู่ร่วมกับรูขุมขน นํ้ามันที ่<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมา<br />

ทางผิวหนังจะกลายเป็นคราบเหงื ่<strong>อ</strong>ไคลที ่สกปรก เซลล์ที ่ตายแล้วจะถูกขับ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กน<strong>อ</strong>กร่างกาย<br />

ตามรูขุมขนนี ้ การกระตุ้นการขับสารพิษทางต่<strong>อ</strong>มนํ ้ามันที่ผิวหนังสามารถทําได้ด้วยการ<br />

ถูผิวหนังด้วยสารเส้นใยธรรมชาติ เช่น ใยบวบ ผ้าขนหนู ฯลฯ<br />

3.6 การกระตุ ้นการไหลเวียนข<strong>อ</strong>งนํ้าเหลื<strong>อ</strong>ง<br />

นํ ้าเหลื<strong>อ</strong>งเป็นข<strong>อ</strong>งเหลวใส สีค่<strong>อ</strong>นข้างเหลื<strong>อ</strong>ง แทรก<strong>อ</strong>ยู่ร<strong>อ</strong>บเซลล์ร่างกายทุกเซลล์<br />

หน้าที ่ข<strong>อ</strong>งนํ ้าเหลื<strong>อ</strong>ง คื<strong>อ</strong> เป็นตัวกลางในการพา<strong>อ</strong>าหารไปหล่<strong>อ</strong>เลี ้ยงเซลล์ร่างกาย หากในเซลล์<br />

มีปฏิกิริยาเคมีที ่เกิดสารพิษ เซลล์จะปล่<strong>อ</strong>ยข<strong>อ</strong>งเสียและสารพิษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมาในนํ ้าเหลื<strong>อ</strong>ง นํ ้าเหลื<strong>อ</strong>ง<br />

รวบรวมสิ่งปฏิกูลที ่ร่างกายไม่ต้<strong>อ</strong>งการเข้าสู ่หัวใจ จากนั้นหัวใจจะกระจายสารพิษไปให้<strong>อ</strong>วัยวะ<br />

ขับข<strong>อ</strong>งเสียต่างๆ เพื ่<strong>อ</strong>ช่วยกันลําเลียง<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กไปทิ ้งน<strong>อ</strong>กร่างกาย<br />

การช่วยขับข<strong>อ</strong>งเสีย<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กทางนํ ้าเหลื<strong>อ</strong>งกระทําโดยวิธีการกระตุ้นการไหลข<strong>อ</strong>งนํ้าเหลื<strong>อ</strong>ง<br />

โดยใช้แรงกดรีดนํ ้าเหลื<strong>อ</strong>งจากปลายมื<strong>อ</strong> ปลายเท้า ให้ไหลขึ ้นไปสู ่ด้านบนข<strong>อ</strong>งร่างกาย<br />

3.7 การกระตุ ้นการขับสารพษข<strong>อ</strong>งตับ<br />

หน้าที ่สําคัญข<strong>อ</strong>งตับ คื<strong>อ</strong> การดึงเ<strong>อ</strong>าสารพิษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กจากเลื<strong>อ</strong>ด ทําหน้าที ่ปลดพิษ ทําให้<br />

สารพิษละลายนํ ้าได้มากขึ ้น แล้วส่งไปให้<strong>อ</strong>วัยวะขับข<strong>อ</strong>งเสีย<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กน<strong>อ</strong>กร่างกาย เช่น ไต ท่<strong>อ</strong>นํ ้าดี<br />

แล้วส่ง<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กไปตามลําไส้ในที ่สุด การขับข<strong>อ</strong>งเสีย<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กทางตับเพื ่<strong>อ</strong>ให้ระบบข<strong>อ</strong>งร่างกายสะ<strong>อ</strong>าดขึ ้น


ิ<br />

ั<br />

ทําได้ด้วยวิธีกระตุ้นให้ตับทํางานได้มากขึ ้น โดยวิธีการสวนล้างลําไส้ด้วยกาแฟ (ลลิตา ธีระสิริ,<br />

2548)<br />

4. พฤตกรรมและความเข้าใจความหมายข<strong>อ</strong>งการดีท็<strong>อ</strong>กซ์<br />

ิ (Detox) ในปัจจุบัน<br />

ดีท็<strong>อ</strong>กซ์ (Detox) ตามความหมายที ่ใช้ในในปจจุบัน ั หมายถึง การสวนล้างลําไส้<br />

ด้วยนํ ้ากาแฟ นํ้าสะ<strong>อ</strong>าด หรื<strong>อ</strong>นํ ้าสมุนไพร โดยเหตุที ่เชื ่<strong>อ</strong>กันว่า <strong>อ</strong>วัยวะภายในร่างกาย<br />

โดยเฉพาะ<strong>อ</strong>ย่างยิ่ง<strong>อ</strong>วัยวะในระบบย่<strong>อ</strong>ย<strong>อ</strong>าหารและระบบขับถ่าย เป็นที ่เริ่มต้นข<strong>อ</strong>งปญหา<br />

สุขภาพ เพราะสารพิษที ่ปะปนมากับ<strong>อ</strong>าหารถูกนําเข้าสู ่ร่างกายในปริมา<strong>ณ</strong>ที ่มากเกิน สารพิษ<br />

เหล่านี ้ได้แก่ สารทดแทนนํ ้าตาล สารเติมแต่งสี สารเพิ่มรสชาติข<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>าหาร คล<strong>อ</strong>รีนใน<br />

นํ ้าดื ่ม คาเฟ<strong>อ</strong>ีน บุหรี ่ สุรา เป็นต้น จึงมีความจําเป็นที ่ร่างกายจะต้<strong>อ</strong>งขับสารเหล่านี ้<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กโดยเร็ว<br />

สัญญา<strong>ณ</strong>เตื<strong>อ</strong>นที่บงบ<strong>อ</strong>กวาจะต้<strong>อ</strong>งทําดีท็<strong>อ</strong>กซ์<br />

่ ่<br />

(สวนล้างลําไส้)<br />

1) ท้<strong>อ</strong>งผูกบ่<strong>อ</strong>ย หรื<strong>อ</strong>ถ่ายเหลวแต่ไม่ใช่ท้<strong>อ</strong>งเสีย<br />

2) ถ่ายผิดปกติ ถ่ายไม่เป็นเวลา<br />

3) ลําไส้แปรปรวน ท้<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>ืดง่าย<br />

4 )น<strong>อ</strong>นหลับยาก<br />

5) <strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์เปลี ่ยนแปลงง่าย หงุดหงิด<br />

วธีดีท็<strong>อ</strong>กซ์ หรื<strong>อ</strong> สวนล้างลําไส้ด้วยกาแฟ<br />

1) ต้มกาแฟบริสุทธิ ์ 2 ช้<strong>อ</strong>นโต๊ะ กับนํ ้าธรรมดา 1 ลิตรจนเดื<strong>อ</strong>ด แล้วทิ ้งไว้ให้<br />

<strong>อ</strong>ุ<strong>ณ</strong>หภูมิลดลงเท่ากับ<strong>อ</strong>ุ<strong>ณ</strong>หภูมิข<strong>อ</strong>งร่างกาย<br />

2) ปิดวาวส์ที ่ปลายท่<strong>อ</strong>ขวดดีท๊<strong>อ</strong>กซ์ แล้วนํานํ ้ากาแฟที ่<strong>อ</strong>ุ่นพ<strong>อ</strong>ดีใส่ขวดดีท๊<strong>อ</strong>กซ์<br />

3) แขวนขวดดีท็<strong>อ</strong>กซ์ไว้ด้านปลายเท้าให้สูงจากพื ้นประมา<strong>ณ</strong> 120 ซม. (ถ้าแขวน<br />

สูงเกินไปความดันนํ ้าจะมากทําให้นํ ้าไหลเร็ว <strong>อ</strong>าจกลั้นไม่<strong>อ</strong>ยู ่ ถ้าแขวนตํ ่าเกินไปนํ ้าจะไหลช้า)<br />

4) เปิดวาวส์เพื ่<strong>อ</strong>ไล่<strong>อ</strong>ากาศ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กจากสายยาง โดยให้นํ ้ากาแฟจํานวนเล็กน้<strong>อ</strong>ย<br />

ไหลผ่านสายยาง แล้วปิดวาวส์ หลังจากนั้นให้ทาเจลหล่<strong>อ</strong>ลื ่นที ่ปลายท่<strong>อ</strong>ประมา<strong>ณ</strong> 2 นิ ้ว<br />

5) น<strong>อ</strong>นตะแคงขวา (สะโพกด้านขวาลงพื ้น) เหยียดขาขวาให้ตรง เ<strong>อ</strong>าขาซ้ายก่าย<br />

บนขาขวาเหมื<strong>อ</strong>นท่าก<strong>อ</strong>ดหม<strong>อ</strong>นข้าง<br />

6) ส<strong>อ</strong>ดปลายท่<strong>อ</strong>ที ่หล่<strong>อ</strong>ลื ่นด้วยเจลเรียบร้<strong>อ</strong>ยแล้วเข้าทางทวารหนัก ลึกประมา<strong>ณ</strong><br />

2 นิ ้ว เปิดวาวส์ให้นํ ้ากาแฟไหลเข้าจนหมดขวด ปิดวาวส์ แล้วดึงท่<strong>อ</strong><strong>อ</strong><strong>อ</strong>กจากทวารหนัก


่<br />

ั<br />

ิ<br />

ิ<br />

้<br />

7) น<strong>อ</strong>นหงาย เหยียดขาตรง ใช้มื<strong>อ</strong>นวดท้<strong>อ</strong>งวนจากขวาไปซ้าย (ใต้ชายโครง<br />

เหนื<strong>อ</strong>บริเว<strong>ณ</strong>สะดื<strong>อ</strong>) กลั้นไว้นานประมา<strong>ณ</strong> 5-10 นาที แล้วลุกขึ ้นถ่ายโดยไม่ต้<strong>อ</strong>งเบ่ง (<strong>อ</strong>ารีย์<br />

วชิรมโน, 2551)<br />

รูปที่ 1 ตัว<strong>อ</strong>ย่างท่าน<strong>อ</strong>นตะแคงในการทําดีท็<strong>อ</strong>กซ์<br />

5. วธีการล้างพษโดยธรรมชาตบําบัด<br />

ิ ิ ิ<br />

วิธีการล้างพิษแบบธรรมชาติบําบัด มีหลายวิธีการ ดังนี<br />

1) การกนเพื่<strong>อ</strong>ล้างพษ ิ ได้แก่การเลื<strong>อ</strong>กรับประทาน<strong>อ</strong>าหารที ่มีประโยชน์ กิน<br />

<strong>อ</strong>าหารให้ครบ 5 หมู ่ โดยไม่เลื<strong>อ</strong>กกินเนื ้<strong>อ</strong>สัตว์ แปง ้ นํ ้าตาล มากจนเกินไป และไม่กิน <strong>อ</strong>าหาร<br />

ที ่มีสารปนเปื ้<strong>อ</strong>นหรื<strong>อ</strong>ยาฆ่าแมลง<br />

2) การ<strong>อ</strong>ดเพื่<strong>อ</strong>ล้างพษ การ<strong>อ</strong>ดเป็นสัญชาตญา<strong>ณ</strong>ข<strong>อ</strong>งคนและสัตว์ เมื ่<strong>อ</strong>เกิด<br />

<strong>อ</strong>าการเจ็บปวย คนหรื<strong>อ</strong>สัตว์จะไม่<strong>อ</strong>ยากกิน<strong>อ</strong>าหาร ฮิปโปเครตีส (Hippocrates) บิดาทาง<br />

การแพทย์แผนปจจุบัน ได้<strong>อ</strong>ธิบายว่า “การ<strong>อ</strong>ด” เป็นการลดการทํางานข<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>วัยวะภายใน<br />

กระเพาะ<strong>อ</strong>าหารไม่ต้<strong>อ</strong>งย่<strong>อ</strong>ย<strong>อ</strong>าหาร ลําไส้เล็กไม่ต้<strong>อ</strong>งดูดซึม <strong>อ</strong>วัยวะภายใน<strong>อ</strong>ื ่นๆ จะทํางาน<br />

น้<strong>อ</strong>ยลง ร่างกายได้พักและได้ซ่<strong>อ</strong>มแซมส่วนที ่บกพร่<strong>อ</strong>ง สารพิษที ่มี<strong>อ</strong>ยู ่ในร่างกายจะสลาย<br />

<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมาจากเซลล์และถูกกําจัดทิ ้งไป ร่างกายสะ<strong>อ</strong>าดขึ ้น สุขภาพจะดีขึ ้น<br />

3) การฝึกสมาธเพื่<strong>อ</strong>ล้างพษ ิ ิ ผู้ที ่ฝึกสมาธิได้ระดับหนึ ่ง ร่างกายจะหลั่งสาร<br />

เ<strong>อ</strong>็นด<strong>อ</strong>ร์ฟิน (Endorphine) หรื<strong>อ</strong>สารแห่งความสุข<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมา เมื ่<strong>อ</strong>ร่างกายสงบ มีสมาธิ หัวใจจะเต้น<br />

ช้าลง ลมหายใจจะยาวขึ ้น เมื ่<strong>อ</strong>ควบคุมลมหายใจได้ ป<strong>อ</strong>ดจะขยายตัว ร่างกายจะสามารถรับ<br />

<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจนได้มากขึ ้น เกิดกระบวนการเผาผลาญไขมัน ลดการ<strong>อ</strong>ักเสบในระบบภูมิคุ้มกัน <strong>อ</strong>นึ ่ง<br />

จิตที ่เป็นสมาธิจะช่วยยกระดับจิตให้สูงขึ ้น


้<br />

่<br />

์<br />

ั<br />

้<br />

4) การสวนลําไส้เพื่<strong>อ</strong>ล้างพษ ิ ปจจุบันผู้คนส่วนใหญ่จะกิน<strong>อ</strong>าหารที ่สะสมสารพิษ<br />

มากขึ ้น เช่น <strong>อ</strong>าหารที ่ขัดสี <strong>อ</strong>าหารที ่มีกากใยน้<strong>อ</strong>ย เนื ้<strong>อ</strong>สัตว์ ไขมัน ขนมเค้ก ไ<strong>อ</strong>ศกรีม<br />

นํ ้า<strong>อ</strong>ัดลม <strong>อ</strong>าหาร เหล่านี ้ไม่มีเส้นใยที ่จะช่วยการขับถ่าย จึงหมักหมม<strong>อ</strong>ยู ่ในลําไส้เป็นเวลา<br />

หลายวัน เชื ้<strong>อ</strong>แบคทีเรียจะก่<strong>อ</strong>ให้เกิดการบูดเน่าในลําไส้ เมื ่<strong>อ</strong>ผนังลําไส้ดูดซึมนํ ้าเพื ่<strong>อ</strong>ให้<strong>อ</strong>ุจจาร<br />

เป็นก้<strong>อ</strong>น จึงดูดซึมสารเสียเข้าไปด้วย ส่งผลให้ลําไส้ทํางานไม่ดีเพิ่มสารพิษให้ร่างกาย และ<br />

กลายเป็นจุดเริ่มต้นข<strong>อ</strong>งความเจ็บปวย<br />

วธีการทําความสะ<strong>อ</strong>าดลําไส้<br />

ิ มี 2 รูปแบบ คื<strong>อ</strong><br />

(1) การสวนลําไส้ใหญ่ระดับบนด้วยนํ ้า<strong>อ</strong>ุ่น คื<strong>อ</strong>การใช้นํ ้า<strong>อ</strong>ุ่น 5 แกลล<strong>อ</strong>น ทําความสะ<strong>อ</strong>าด<br />

ตล<strong>อ</strong>ดลําไส้ เพื ่<strong>อ</strong>ล้าง<strong>อ</strong>ุจจาระที ่ตกค้างและเมื<strong>อ</strong>กที ่เป็น<strong>อ</strong>าหารบูดเน่าซึ ่งเกาะ<strong>อ</strong>ยู ่ตามผนังลําไส้<br />

(2) การสวนล้างลําไส้ใหญ่ระดับกลางด้วยกาแฟ วิธีนี ้ทําได้ง่ายและสามารถทํา<br />

เ<strong>อ</strong>งที ่บ้านได้ ประโยชน์ที ่สําคัญคื<strong>อ</strong> ฤทธิกาแฟจะซึมเข้าทางผนังลําไส้เส้นเลื<strong>อ</strong>ดและตับ จะช่วย<br />

ให้ตับทําหน้าที ่กร<strong>อ</strong>งข<strong>อ</strong>งเสียให้ร่างกายทํางานได้ดีขึ ้น<br />

ประโยชน์จากการล้างพษ ิ<br />

จากเ<strong>อ</strong>กสารและประสบการ<strong>ณ</strong>์ที ่เกิดขึ ้นกับผู้มาเข้ารับการล้างพิษที ่<strong>ชุ</strong>มชนศีรษะ<strong>อ</strong>โศก<br />

ประโยชน์ข<strong>อ</strong>งการล้างพิษสามารถประมวลผลจากการสัมภาษ<strong>ณ</strong>์ผู้ที ่ผ่านการล้างพิษที ่<strong>ชุ</strong>มชน<br />

ศีรษะ<strong>อ</strong>โศก ได้ดังนี<br />

1) ผิวพรร<strong>ณ</strong>นุ่มนวล เปล่งปลั่งขึ ้น<br />

2) หลับง่ายขึ ้นและหลับสบาย<br />

3) จิตใจผ่<strong>อ</strong>นคลาย ไม่รู้สึกตึงเครียด<br />

4) นํ ้าหนักลดลง<br />

5) ช่วยบรรเทา<strong>อ</strong>าการท้<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>ืด ท้<strong>อ</strong>งเฟ<strong>อ</strong><br />

6) <strong>อ</strong>าการบวมลดลง<br />

7) ภูมิต้านทานโรคแข็งแรงขึ ้น<br />

8) บรรเทา<strong>อ</strong>าการข<strong>อ</strong>งโรคที ่เป็น<strong>อ</strong>ยู ่ให้ทุเลา<br />

9) สภาพจิตใจดีขึ ้น<br />

10) กระตุ้นความคิด และความจํา<br />

11) มีสมาธินานขึ ้น<br />

12) ร่างกายสดชื ่น มีเรี ่ยวแรง และกระปรี ้กระเปร่า<br />

13) ริ ้วร<strong>อ</strong>ยแห่งวัย เกิดช้าลง<br />

14) ม<strong>อ</strong>งโลกในด้านบวกขึ ้น


ั<br />

ั<br />

่<br />

์<br />

่<br />

6. การสร้างสุขภาพตามหลักสุขภาพ<strong>อ</strong>งค์รวม 8 <strong>อ</strong>.<br />

การสร้างเสริมสุขภาพด้วยหลักสุขภาพ<strong>อ</strong>งค์รวม 8 <strong>อ</strong>. เป็นแนวความคิดข<strong>อ</strong>งสม<strong>ณ</strong>ะ<br />

โพธิรักษ์ (ผู้นํากลุ่มปฏิบัติธรรมชาว<strong>อ</strong>โศก) ได้พัฒนาเรื ่<strong>อ</strong>งสุขภาพโดยนําหลักธรรมะมาเป็น<br />

แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพ โดยเริ่มต้นเมื ่<strong>อ</strong>ปี 2546 สม<strong>ณ</strong>ะโพธิรักษ์ มีความเห็นว่า<br />

สุขภาพข<strong>อ</strong>งคนในปจจุบันถูกม<strong>อ</strong>มเมา และเ<strong>อ</strong>าสารพิษมาใส่ร่างกายมากจนสุขภาพกายและ<br />

สุขภาพจิตเสีย สม<strong>ณ</strong>ะโพธิรักษ์จึงได้ริเริ่มทํางานเรื ่<strong>อ</strong>งสุขภาพโดยเรียกว่า “สุขภาพบุญนิยม”<br />

การทํางานสุขภาพบุญนิยมเป็นงานสร้างบุญ เพราะต้<strong>อ</strong>งทํางานด้วยความบริสุทธิใจ มีความ<br />

เกื ้<strong>อ</strong>กูลช่วยเหลื<strong>อ</strong>เพื ่<strong>อ</strong>นมนุษย์โดยไม่ได้เ<strong>อ</strong>าเงินเป็นหลัก แต่คํานึงถึงชีวิต ความเจ็บปวย และ<br />

จิตใจข<strong>อ</strong>งคนไข้เป็นสําคัญ<br />

สุขภาพ<strong>อ</strong>งค์รวม 8 <strong>อ</strong>. ประก<strong>อ</strong>บด้วย <strong>อ</strong>ิทธิบาท 4 <strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์ <strong>อ</strong>าหาร <strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกาย<br />

เ<strong>อ</strong>าพิษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ก <strong>อ</strong>ากาศ เ<strong>อ</strong>นกาย และ<strong>อ</strong>าชีพ<br />

1) <strong>อ</strong>ทธบาท ิ ิ 4 (Itthibath 4) คื<strong>อ</strong>การสร้างแรงบันดาลใจเพื ่<strong>อ</strong>เพิ่มพลังให้ตัวเ<strong>อ</strong>ง<br />

(Empowerment) ความสําเร็จจะเกิดขึ ้นได้เมื ่<strong>อ</strong>มี<strong>อ</strong>งค์ประก<strong>อ</strong>บทั้ง 4 ด้านที ่มีความสมดุลและ<br />

เหมาะสม ซึ ่งทางศาสนาพุทธเรียกว่า <strong>อ</strong>ิทธิบาท 4 ได้แก่ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา<br />

ฉันทะ (Satisfaction) คื<strong>อ</strong>ความยินดี พ<strong>อ</strong>ใจ สนใจ เห็นความสําคัญ ถ้าไม่มีความ<br />

ยินดีจะทํา<strong>อ</strong>ะไรก็ไม่มีความสําเร็จเพราะจิตใจถูกบีบบังคับและมีความกดดัน<br />

วิริยะ (Diligence) เป็นความพากเพียร ลงมื<strong>อ</strong>กระทําในสิ่งที ่มีความตั้งใจไว้<strong>อ</strong>ย่าง<br />

สมํ ่าเสม<strong>อ</strong><br />

จิตตะ (Attentiveness) ความเ<strong>อ</strong>าใจใส่ มี<strong>อ</strong>ุตสาหะ จิตโถมไปในเปาหมาย ้<br />

วิมังสา (Examination) การตรวจส<strong>อ</strong>บ วินิจฉัยใคร่ครวญความถูกต้<strong>อ</strong>งหรื<strong>อ</strong>ไม่<br />

ถูกต้<strong>อ</strong>ง<br />

<strong>อ</strong>ิทธิบาท 4 เป็นหลักธรรมทางศาสนาพุทธที ่นําพาสู ่ความสําเร็จ ผู้ต้<strong>อ</strong>งการจะมี<br />

สุขภาพดีแต่ไม่มี<strong>อ</strong>ิทธิบาทที ่จะศึกษาเรียนรู้และปรับปรุงความเคยชินข<strong>อ</strong>งตัวเ<strong>อ</strong>ง ความต้<strong>อ</strong>งการ<br />

เหล่านั้นก็ไม่บรรลุผล (สม<strong>ณ</strong>ะโพธิรักษ์, 2547)<br />

2) <strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์ (Attitude) เป็นปจจัยสําคัญที ่มี<strong>อ</strong>ิทธิพลต่<strong>อ</strong>สุขภาพและส่งผลต่<strong>อ</strong>การ<br />

ดําเนินชีวิตข<strong>อ</strong>งคนในปจจุบัน ั การต้<strong>อ</strong>งเผชิญกับปญหามากมายร<strong>อ</strong>บตัวที<br />

ั เกินความสามารถใน<br />

การปรับตัวข<strong>อ</strong>งร่างกายได้ จะมีผลให้เกิดความแปรปรวนทางด้าน<strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์ เกิดความทุกข์ใจ<br />

เครียด ซึมเศร้า เสียใจ หงุดหงิด รําคาญ วิตกกังวล ห่<strong>อ</strong>เหี ่ยว หดหู ่ น้<strong>อ</strong>ยใจ แค้นใจ โกรธ<br />

ผูกใจเจ็บ พยาบาท ฯลฯ ล้วนเป็น<strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์ในด้านลบที ่ทําให้สุขภาพทรุดโทรม และเจ็บไข้ได้<br />

ปวย ่ เมื ่<strong>อ</strong>สะสมเป็นระยะเวลายาวนานจะเป็นต้นเหตุข<strong>อ</strong>งโรคแห่งความเสื ่<strong>อ</strong>มทั้งหลาย <strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์<br />

มีผลต่<strong>อ</strong>สุขภาพดังนี ้


ั<br />

ั<br />

ิ<br />

้<br />

ั<br />

(1) <strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์โกรธ จะส่งผลต่<strong>อ</strong>ร่างกายที ่บริเว<strong>ณ</strong> ตับ และถุงนํ ้าดีมากกว่า<strong>อ</strong>วัยวะ<br />

<strong>อ</strong>ื ่นๆ หากมี<strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์โกรธเป็นประจําตับและถุงนํ ้าดีจะเสื ่<strong>อ</strong>มสภาพเร็วกว่าที่ควรจะเป็น เมื ่<strong>อ</strong><br />

ตับเสื ่<strong>อ</strong>มสุขภาพ<strong>อ</strong>งค์รวมทั้งร่างกายจะเสียสมดุลตามไปด้วย เพราะตับเป็น<strong>อ</strong>วัยวะที ่สําคัญใน<br />

การผลิตเ<strong>อ</strong>็นไซด์สําหรับย่<strong>อ</strong>ย<strong>อ</strong>าหารและทําลายสารพิษ<br />

(2) <strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์เศร้าโศกเสียใจ มีผลต่<strong>อ</strong> ป<strong>อ</strong>ด และลําไส้ใหญ่ หากเศร้าโศกเสียใจ<br />

เป็นประจําจะส่งผลต่<strong>อ</strong>การทํางานข<strong>อ</strong>งป<strong>อ</strong>ดและลําไส้ใหญ่คื<strong>อ</strong>ประสิทธิภาพในการทํางานลดลง<br />

(3) <strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์วิตกกังวล กลุ้มใจ มีผลต่<strong>อ</strong>กระเพาะ<strong>อ</strong>าหารและม้าม เมื ่<strong>อ</strong>มี<strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์<br />

เครียดจะทําให้กรดในกระเพาะ<strong>อ</strong>าหารหลั่ง <strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมามาก ทําให้เป็นแผลในกระเพาะ<strong>อ</strong>าหาร<br />

(4) <strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์กลัว ประหม่า ไม่มั่นใจ มีผลต่<strong>อ</strong>ไตและกระเพาะปสสาวะ คื<strong>อ</strong> ทําให้<br />

ควบคุมปัสสาวะไม่ดีเท่าเดิม ดังมีสํานวนที ่พูดกันว่า “กลัวจนฉี ่ราด” นั่นเพราะการทํางานข<strong>อ</strong>ง<br />

ไตและกระเพาะปสสาวะถูกทําให้ผิดปกติไปจาก<strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์ปกติ<br />

(5) <strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์ดีใจมาก ตื ่นเต้น มีผลต่<strong>อ</strong>หัวใจและลําไส้เล็ก ทําให้ทํางานไม่สมบูร<strong>ณ</strong>์<br />

ดังมีสํานวนที ่พูดกันว่า “ดีใจจนช็<strong>อ</strong>ก” หัวใจ<strong>อ</strong>าจหยุดเต้นได้ฉับพลันถ้าเกิด<strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์ตื ่นเต้นมาก<br />

เกินไป (มานพ ประภาษานนท์, 2551)<br />

จิตใจหรื<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์ที ่เป็นแง่บวก ร่างกายจะหลั่งฮ<strong>อ</strong>ร์โมนตัวดีกลุ่มเ<strong>อ</strong>นโดรฟิน<br />

(Endrophin) มีผลทําให้ร่างกายผ่<strong>อ</strong>นคลาย และระบบโลหิตในร่างกายไหลเวียนคล่<strong>อ</strong>ง<br />

ระบบภูมิคุ้มกันข<strong>อ</strong>งร่างกายแข็งแรง เมื ่<strong>อ</strong>ภูมิคุ้มกันแข็งแรงก็จะคุ้มกันและดูแลระบบ<strong>อ</strong>ื ่นๆ ให้<br />

ทํางานได้<strong>อ</strong>ย่างเป็นปกติ ส่วนจิตใจหรื<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์ที ่เป็นแง่ลบ เช่น <strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์เครียด ส่งผลให้<br />

ภูมิคุ้มกันข<strong>อ</strong>งร่างกาย<strong>อ</strong>่<strong>อ</strong>นแ<strong>อ</strong>ลง<br />

3) <strong>อ</strong>าหาร (Diet) <strong>อ</strong>าหารมีความสัมพันธ์กับร่างกายและมีผลในการกําหนดแบบ<br />

แผนการดําเนินชีวิต การก่<strong>อ</strong>รูปวัฒนธรรมข<strong>อ</strong>งสังคมและบุคคล <strong>อ</strong>าหารที ่ดีย่<strong>อ</strong>มสร้างความสุข<br />

แก่สังคมและบุคคลทั้งในทางกายและทางใจ ดังที ่ฮิปโปเครติส (Hippocrates) ปรมาจารย์ข<strong>อ</strong>ง<br />

วงการแพทย์ปจจุบัน กล่าวไว้เมื ่<strong>อ</strong> 2 พันกว่าปีมาแล้วว่า “เราจะใช้<strong>อ</strong>าหารเป็นยา” (วิจิตร บุ<strong>ณ</strong><br />

ยะโหตระ, 2537) นั่นเป็นหลักใหญ่ข<strong>อ</strong>งการรักษาด้วยวิธีธรรมชาติ และป<strong>อ</strong>งกันไม่ให้มีโรคได้<br />

เป็น<strong>อ</strong>ย่างดี<br />

<strong>อ</strong>าหารที่ก<strong>อ</strong>ให้เกดโทษต<strong>อ</strong>รางกาย<br />

่ ่ ่<br />

(1) <strong>อ</strong>าหารไขมันสูงมีผลต่<strong>อ</strong>หล<strong>อ</strong>ดเลื<strong>อ</strong>ดแดง ทําให้เกิดการเปลี ่ยนแปลง<strong>อ</strong>ย่างถาวร<br />

ข<strong>อ</strong>งหล<strong>อ</strong>ดเลื<strong>อ</strong>ด และเพิ่มโ<strong>อ</strong>กาสเสี ่ยงข<strong>อ</strong>งการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจเฉียบพลัน<br />

ได้ (จินตนา คําชู, 2545.)<br />

(2) เนื ้<strong>อ</strong>สัตว์ เนื ้<strong>อ</strong>สัตว์มีสารเคมีที ่เป็นพิษ เนื ่<strong>อ</strong>งจากสัตว์ที ่มีชีวิตจะผลิตข<strong>อ</strong>งเสีย<br />

<strong>อ</strong>ยู ่ตล<strong>อ</strong>ดเวลา เมื ่<strong>อ</strong>สัตว์ใกล้จะตายเพราะถูกฆ่า จะมีการเปลี ่ยนแปลงทางชีวเคมี<strong>อ</strong>ย่างมาก


สารพิษต่างๆ เช่น ฮ<strong>อ</strong>ร์โมน<strong>อ</strong>ะดรีนาลิน และกรดยูริค ซึ ่งถูกขับ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมาเมื ่<strong>อ</strong>สัตว์เกิดความกลัว<br />

จัด หรื<strong>อ</strong>ได้รับความเจ็บปวด<strong>อ</strong>ย่างรุนแรง จะกระจายไปทั่วร่างข<strong>อ</strong>งสัตว์และตกค้าง<strong>อ</strong>ยู ่ตามเส้น<br />

เลื<strong>อ</strong>ดและเนื ้<strong>อ</strong>เยื ่<strong>อ</strong> ในทันทีที ่สัตว์เสียชีวิต ร่างกายข<strong>อ</strong>งสัตว์จะมีการเปลี ่ยนแปลงสภาพไป<strong>อ</strong>ย่าง<br />

มากมาย โปรตีนในตัวจะจับกันเป็นก้<strong>อ</strong>น พร้<strong>อ</strong>มกับปล่<strong>อ</strong>ยเ<strong>อ</strong>นไซม์ที ่มีพิษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมา ทําให้เนื ้<strong>อ</strong>สัตว์<br />

มีการเน่าเสีย<strong>อ</strong>ย่างรวดเร็ว (ชมรมชีวจิต, 2550.)<br />

(3) เหล้า ผลิตมาจากแ<strong>อ</strong>ลก<strong>อ</strong>ฮ<strong>อ</strong>ล์ชนิดเ<strong>อ</strong>ททาน<strong>อ</strong>ล ไม่มีความจําเป็นต่<strong>อ</strong>ร่างกาย<br />

เพราะไม่มีกระบวนการทางชีวเคมีใดๆ ในร่างกายที ่ต้<strong>อ</strong>งการแ<strong>อ</strong>ลก<strong>อ</strong>ฮ<strong>อ</strong>ส์ไปใช้งาน การดื ่มสุรา<br />

เป็นเหตุที ่ทําให้เกิดโรค และมีผลต่<strong>อ</strong>การทําลาย<strong>อ</strong>วัยวะต่างๆ ข<strong>อ</strong>งร่างกาย เช่น<br />

- สม<strong>อ</strong>งถูกทําลาย ความจําเสื ่<strong>อ</strong>ม น<strong>อ</strong>นไม่หลับ<br />

- หล<strong>อ</strong>ดเลื<strong>อ</strong>ดหัวใจตีบ<br />

- กระเพาะ<strong>อ</strong>าหารและลําไส้<strong>อ</strong>ักเสบ ทําให้มีเลื<strong>อ</strong>ด<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ก และขาดสาร<strong>อ</strong>าหาร<br />

-ตับถูกทําลาย เกิดโรคตับแข็ง ดีซ่าน ท้<strong>อ</strong>งมาน<br />

-ทารกในครรภ์พิการ สม<strong>อ</strong>งผิดปกติ<br />

-การไหลเวียนผิดปกติ มี<strong>อ</strong>าการชาปลายมื<strong>อ</strong> ปลายเท้า หรื<strong>อ</strong>มี<strong>อ</strong>าการบวม<br />

(สถาบันธัญญารักษ์, http://www.thanyarak.go.th/thai/index.)<br />

4) การ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกาย (Exercise) การ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกาย<strong>อ</strong>ย่างถูกต้<strong>อ</strong>งเป็นประจํา<br />

เป็นหนึ ่งในหลายๆ วิธีที ่จะทําให้สุขภาพดีทั้งกายและใจ ผลข<strong>อ</strong>งการ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายต่<strong>อ</strong>การ<br />

ส่งเสริมสุขภาพ คื<strong>อ</strong><br />

(1) ช่วยลดความ<strong>อ</strong>้วน ในข<strong>ณ</strong>ะ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายร่างกายต้<strong>อ</strong>งใช้พลังงานซึ ่งได้มาจาก<br />

การเผาผลาญไขมันที ่สะสมไว้ หากร่างกายใช้พลังงานไปครบ 7,700 แคล<strong>อ</strong>รี ่ นํ ้าหนักตัว<br />

จะลดลงไป 1 กิโลกรัม ซึ ่งไม่จําเป็นต้<strong>อ</strong>งใช้พลังงาน 7,700 แคล<strong>อ</strong>รี ่ในคราวเดียว สามารถสะสม<br />

ทีละเล็กทีละน้<strong>อ</strong>ยได้ การ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายเป็นการลดไขมัน ในข<strong>ณ</strong>ะเดียวกัน ก็เพิ่มกล้ามเนื ้<strong>อ</strong><br />

ด้วย ดังนั้นนํ ้าหนัก<strong>อ</strong>าจลดลงไม่มากนัก เพราะนํ ้าหนักข<strong>อ</strong>งไขมันกลายเป็นนํ้าหนักกล้ามเนื<br />

แทน<br />

(2) กล้ามเนื ้<strong>อ</strong>แข็งแรง การ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกาย<strong>อ</strong>ย่างสมํ ่าเสม<strong>อ</strong> จะทําให้กล้ามเนื ้<strong>อ</strong>แข็งแรง<br />

และช่วยป<strong>อ</strong>งกัน<strong>อ</strong>าการปวดข้<strong>อ</strong><br />

้ ปวดหลัง ปวดเ<strong>อ</strong>ว ฯลฯ เพราะกล้ามเนื ้<strong>อ</strong>แข็งแรงขึ ้น<br />

(3) รูปร่างดีขึ ้น การ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายจะช่วยให้รูปร่างกระชับได้สัดส่วนขึ ้น หาก<br />

ต้<strong>อ</strong>งการลดเฉพาะจุด ก็สามารถลดได้ด้วยการบริหารร่างกาย<br />

(4) <strong>อ</strong>าการข<strong>อ</strong>งโรคต่างๆ ดีขึ ้น การ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายช่วยลดไขมันตัวร้ายในเลื<strong>อ</strong>ด<br />

และช่วยเพิ่ม HDL ซึ ่งเป็นไขมันที ่ดีที ่ช่วยป<strong>อ</strong>งกันโรคหล<strong>อ</strong>ดเลื<strong>อ</strong>ดหัวใจตีบและ<strong>อ</strong>ุดตันได้<br />

้ ถ้า<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ก<br />

กําลังกาย<strong>อ</strong>ย่างถูกต้<strong>อ</strong>งสมํ ่าเสม<strong>อ</strong>ติดต่<strong>อ</strong>กัน 3 เดื<strong>อ</strong>น ชีพจรหรื<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ัตราการเต้นข<strong>อ</strong>งหัวใจจะช้าลง


ั<br />

ั<br />

ช่วยให้หัวใจทํางานเบาขึ ้น การ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายช่วยลดความรุนแรงข<strong>อ</strong>งโรคหรื<strong>อ</strong><strong>อ</strong>าการหลายๆ<br />

<strong>อ</strong>ย่างได้ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง<br />

(5) ช่วยชะล<strong>อ</strong>ความแก่ การ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายเป็นยา<strong>อ</strong>ายุวัฒนะที ่ดี<strong>อ</strong>ย่างหนึ ่ง เพราะ<br />

ช่วยให้ระบบการไหลเวียนเลื<strong>อ</strong>ดและการหลั่งฮ<strong>อ</strong>ร์โมนต่างๆ เป็นปกติ ทําให้ผิวพรร<strong>ณ</strong>สดใส<br />

ช่วยชะล<strong>อ</strong>ความเสื ่<strong>อ</strong>มถ<strong>อ</strong>ยข<strong>อ</strong>งร่างกาย<br />

(6) ระบบขับถ่ายข<strong>อ</strong>งเสียดีขึ ้น การ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายช่วยให้ระบบขับถ่ายดีขึ ้นทุกระบบ<br />

ไม่ว่าจะเป็นทางเหงื ่<strong>อ</strong> ปสสาวะ หรื<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ุจจาระ<br />

(7) สมรรถภาพทางเพศดีขึ ้น การ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายที ่เหมาะสม ไม่หักโหมมากเกินไป<br />

จะช่วยให้กล้ามเนื ้<strong>อ</strong>แข็งแรง ระบบไหลเวียนโลหิตดีขึ ้น การหลั่งฮ<strong>อ</strong>ร์โมนดีขึ ้น จึงทําให้<br />

สมรรถภาพทางเพศดีขึ ้นทั้งชายและหญิง<br />

(8) น<strong>อ</strong>นหลับดี คนที ่เครียด คิดมาก วิตกกังวล น<strong>อ</strong>นไม่หลับ หากได้<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกาย<br />

เป็นประจํา ทําให้หายเครียด ความจําดี และทําให้น<strong>อ</strong>นหลับสนิท<br />

(9) จิตใจเบิกบานแจ่มใส การ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายเป็นการคลายเครียดที ่ดี ทําให้จิตใจร่า<br />

เริง ยิ่งเป็นกีฬาที ่ชื ่นช<strong>อ</strong>บหรื<strong>อ</strong>มีเพื ่<strong>อ</strong>น จะยิ่งสนุกสนานกับการ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกาย (ผู้จัดการ, 2549.)<br />

หลักการ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายเพื่<strong>อ</strong>สุขภาพ ดังนี้<br />

(1) จะต้<strong>อ</strong>งเป็นการ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังที ่ทุกส่วนข<strong>อ</strong>งร่างกายได้เคลื ่<strong>อ</strong>นไหว ยืดหด<br />

(2) จะต้<strong>อ</strong>งค่<strong>อ</strong>ยเป็นค่<strong>อ</strong>ยไป แล้วจึงเพิ่มปริมา<strong>ณ</strong>ทีละน้<strong>อ</strong>ย เพิ่มระยะเวลาให้นานเข้า<br />

และเพิ่มความยากขึ ้นตามลําดับจนร่างกาย<strong>อ</strong>ยู ่ตัว <strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังติดต่<strong>อ</strong>กันได้เป็นระยะเวลา<strong>อ</strong>ย่าง<br />

น้<strong>อ</strong>ย 20-30 นาที หรื<strong>อ</strong>มากกว่านั้นก็ยิ่งดี แต่ระวัง<strong>อ</strong>ย่าให้เกินกําลังข<strong>อ</strong>งตน<br />

(3) จะต้<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังโดยสมํ ่าเสม<strong>อ</strong> <strong>อ</strong>ย่างน้<strong>อ</strong>ยสัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง<br />

(4) ในข<strong>ณ</strong>ะที ่<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลัง<strong>อ</strong>ยู ่นี ้ ห้ามคิดเรื ่<strong>อ</strong>งการงาน ต้<strong>อ</strong>งปล่<strong>อ</strong>ยจิตให้ว่างๆ เฉยๆ<br />

วิธีการนี ้เป็นการพักจิต ทําสมาธิ จะได้ประโยชน์<strong>อ</strong>ย่างมาก (เฉก ธนะสิริ, 2541)<br />

ในบรรดาปจจัยเสี ่ยงต่<strong>อ</strong>การเกิดโรคที ่<strong>อ</strong>งค์การ<strong>อ</strong>นามัยโลกคํานว<strong>ณ</strong>ว่าได้สร้างความ<br />

เสียหายมากมายคร่าชีวิตคนทั่วโลกถึงปีละ 1.9 ล้านคน ก็คื<strong>อ</strong> ขาดการ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกาย<br />

(สํานักงานก<strong>อ</strong>งทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2548) ดังนั้นการสร้างสุขภาพด้วยการ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ก<br />

กําลังกาย จึงเป็น<strong>อ</strong>ีกหนึ ่งวิธีการที ่บุคคลทั่วๆ ไป จะสามารถปฏิบัติเพื ่<strong>อ</strong>ส่งเสริมสุขภาพได้<br />

5) การพักผ<strong>อ</strong>นน<strong>อ</strong>นหลับ ่ (เ<strong>อ</strong>นกาย) (Relaxation)<br />

ประโยชน์ข<strong>อ</strong>งการน<strong>อ</strong>น คื<strong>อ</strong> การได้พักผ่<strong>อ</strong>น เมื ่<strong>อ</strong>ร่างกายหลับสนิทหรื<strong>อ</strong>หลับลึกไปได้<br />

ประมา<strong>ณ</strong> 60-90 นาที ฮ<strong>อ</strong>ร์โมนจากต่<strong>อ</strong>มใต้สม<strong>อ</strong>ง (Pituitary Gland) จะหลั่งเข้ากระแสเลื<strong>อ</strong>ดไป<br />

ยังตับ ตับจะหลั่งสาร ไ<strong>อ</strong>จีเ<strong>อ</strong>ฟ-1 (Insulin Like Growth Factor - 1) <strong>อ</strong><strong>อ</strong>กไปทั่วร่างกาย ทําให้<br />

เซลล์ทั่วร่างกายกระปรี ้กระเปร่า ส่งผลให้ร่างกายแข็งแรงต้านทานโรคและ<strong>อ</strong>ายุยืน ฮ<strong>อ</strong>ร์โมนนี ้


ั<br />

ั<br />

ั<br />

ั<br />

ั<br />

เรียกว่า Growth Hormone หรื<strong>อ</strong> Human Growth Hormone = HGH จําเป็นมากสําหรับทารก<br />

และเด็ก เพราะจะทําให้ระบบพัฒนาการเป็นปกติ ทารกและเด็กจึงจําเป็นต้<strong>อ</strong>งน<strong>อ</strong>นหลับมากๆ<br />

ฮ<strong>อ</strong>ร์โมนนี ้จะหลั่งน้<strong>อ</strong>ยลงและหยุดหลั่งเมื ่<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ายุมากขึ ้น ส่งผลให้<strong>อ</strong>วัยวะทั่วร่างกายเข้าสู ่<strong>อ</strong>าการ<br />

เสื ่<strong>อ</strong>มถ<strong>อ</strong>ย คื<strong>อ</strong> โรคชรา (ธัญญลักษ<strong>ณ</strong>์ เหล็กพิมาย, 2547.)<br />

ผลข<strong>อ</strong>งการน<strong>อ</strong>นหลับไมเพียงพ<strong>อ</strong> ่ สงผลต<strong>อ</strong>ระบบตางๆในรางกาย ่ ่ ่ ่ ดังนี้<br />

(1) ระบบการย่<strong>อ</strong>ย<strong>อ</strong>าหาร มี<strong>อ</strong>าการท้<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>ืด ท้<strong>อ</strong>งเฟ<strong>อ</strong>ง่าย ้ <strong>อ</strong>าหารย่<strong>อ</strong>ยไม่ดี ทําให้<br />

<strong>อ</strong>ุจจาระหยาบ<br />

(2) ระบบปสสาวะ ั ถ้าน<strong>อ</strong>นไม่ดึก ประมา<strong>ณ</strong> 3-4 ทุ่ม พ<strong>อ</strong>ตื ่นเช้าขึ ้นมาจะปสสาวะ<br />

ครั้งเดียว แต่ถ้าน<strong>อ</strong>นดึก ประมา<strong>ณ</strong>ตีหนึ ่ง กลางดึกจะต้<strong>อ</strong>งลุกเข้าห้<strong>อ</strong>งนํ ้าบ่<strong>อ</strong>ยครั้ง เพราะ<br />

กล้ามเนื ้<strong>อ</strong>ข้างในจะบีบคั้นเ<strong>อ</strong>าพลังงาน<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมาใช้จึงต้<strong>อ</strong>งใช้นํ ้ามาก มีผลให้ปสสาวะบ่<strong>อ</strong>ย ั ทํา<br />

ให้เกลื<strong>อ</strong>แร่ที ่<strong>อ</strong>ยู ่ในร่างกายถูกขับ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมาพร้<strong>อ</strong>มกับปสสาวะ ั หากกลั้นปสสาวะจะทําให้ซึมกลับ<br />

เข้าเส้นเลื<strong>อ</strong>ด ทําให้นํ ้าเหลื<strong>อ</strong>งเสีย จากนั้นจะไปประทุที ่ขาหนีบ บางคนไม่กลั้นปสสาวะแต่ดื ่ม<br />

นํ ้าน้<strong>อ</strong>ยทําให้ลําไส้บีบตัวไม่ไหว จะ<strong>อ</strong>่<strong>อ</strong>นเพลีย ทําให้กรดยูเรียเข้มข้น พ<strong>อ</strong>กลั้นปสสาวะบ่<strong>อ</strong>ยๆ<br />

จะทําให้ปสสาวะไม่หมด<br />

(3) ระบบเหงื ่<strong>อ</strong> ถ้าเหงื ่<strong>อ</strong>ไม่<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กจะทําให้ความร้<strong>อ</strong>นภายในร่างกายระบาย<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กไม่ได้<br />

ทําให้<strong>อ</strong>ึด<strong>อ</strong>ัด เป็นโรคผิวหนัง สิว ฝา ้ ฯลฯคนน<strong>อ</strong>นดึกเป็นประจําเหงื ่<strong>อ</strong>จะไม่<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ก เพราะข<strong>อ</strong>ง<br />

เสียจะถูกขับ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กทางปสสาวะแทน ั ทําให้ไตทํางานหนัก<br />

(4) ระบบหายใจ ร่างกายจะใช้<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจนเพื ่<strong>อ</strong>แลกเปลี ่ยนให้เป็นเม็ดเลื<strong>อ</strong>ดแดงซึ ่ง<br />

ต้<strong>อ</strong>งมีความชื ้น ถ้าความชื ้นไม่เพียงพ<strong>อ</strong>ร่างกายจะ<strong>อ</strong>ึด<strong>อ</strong>ัด ถ้าหาก<strong>อ</strong>ากาศแห้งจะเ<strong>อ</strong>าความชื ้นใน<br />

ตัวไปทําให้ป<strong>อ</strong>ดทํางานไม่สะดวก (สํานักงานก<strong>อ</strong>งทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2548.)<br />

สม<strong>อ</strong>งและร่างกายใช้เวลาช่วงน<strong>อ</strong>นหลับในการบํารุงซ่<strong>อ</strong>มแซมส่วนต่างๆ ข<strong>อ</strong>งร่างกาย<br />

ที ่สึกหร<strong>อ</strong> เพื ่<strong>อ</strong>ให้ร่างกายมีประสิทธิภาพที ่ดีในการทํางานวันรุ่งขึ ้น การน<strong>อ</strong>นหลับที ่เพียงพ<strong>อ</strong>จึงมี<br />

ความสําคัญต่<strong>อ</strong>คุ<strong>ณ</strong>ภาพชีวิตที ่ดี<br />

6) การเ<strong>อ</strong>าพษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ก ิ (Detoxification)<br />

สารพิษ (Toxin) คื<strong>อ</strong>สารที ่ก่<strong>อ</strong>ให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีหรื<strong>อ</strong>เกิดการเปลี ่ยนแปลง<br />

สภาพทางเคมีในร่างกายก่<strong>อ</strong>ให้เกิดเป็นพิษขึ ้น ซึ ่งสารพิษส่วนใหญ่จะทําให้เกิดความ<strong>อ</strong>ึด<strong>อ</strong>ัด<br />

รําคาญใจ (กานต์รวี ท<strong>อ</strong>งพูล, 2546) สารพิษแบ่ง<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กได้เป็น 2 ชนิด คื<strong>อ</strong><br />

(1) สารพิษที ่เกิดทางด้านร่างกาย (Body poison) แบ่ง<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กได้เป็น 2 ชนิด<br />

1.1 สารพิษจากภายในร่างกาย (Internal poison) ความไม่สมดุลข<strong>อ</strong>ง<br />

ร่างกายซึ ่งมีส่วนเกี ่ยวเนื ่<strong>อ</strong>งกับพิษภัยภายน<strong>อ</strong>กที ่ร่างกายรับเข้ามา เช่น <strong>อ</strong>าหาร นํ ้า สิ่งเสพติด


ั<br />

้<br />

้<br />

่<br />

่<br />

ก่<strong>อ</strong>ให้เกิดความเป็นกรด เป็นด่างผสมกันในกระเพาะ<strong>อ</strong>าหาร มีผลทําให้ระบบการย่<strong>อ</strong>ย<strong>อ</strong>าหาร<br />

เป็นไปด้วยความลําบาก <strong>อ</strong>าหารไม่ย่<strong>อ</strong>ย เกิดการเหม็นเน่า เกิดกรด แก๊สและลมในกระเพาะ<br />

<strong>อ</strong>าหาร เป็นต้น<br />

1.2 สารพิษที ่เกิดจากภายน<strong>อ</strong>กร่างกาย (External poison) คื<strong>อ</strong> สารพิษที<br />

เกิดจากปจจัยภายน<strong>อ</strong>ก เช่น จุลินทรีย์จําพวกเชื ้<strong>อ</strong>โรคต่างๆ ที ่<strong>อ</strong>ยู ่ร<strong>อ</strong>บตัว แบคทีเรีย ไวรัส เมื ่<strong>อ</strong><br />

เข้าสู ่ร่างกายจะปล่<strong>อ</strong>ยสารพิษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมา ทําให้ร่างกาย<strong>อ</strong>่<strong>อ</strong>นแ<strong>อ</strong>และเกิดการเจ็บไข้ได้ปวยขึ ้นได้<br />

(2)สารพิษที ่เกิดมาจากจิตใจ คื<strong>อ</strong>สารพิษที ่ถูกหลั่ง<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมาจากแรงกดดันใน<br />

ร่างกาย เช่นมาจากแรงบีบคั้นทางสังคม ทําให้เกิดความเครียด ความกลัว ความโกรธ<br />

ความไม่สบายใจ ความกังวลและหวาดวิตกต่างๆนานา โดยเฉพาะความเครียดเป็นสาเหตุ<br />

สําคัญทําให้ต่<strong>อ</strong>ม<strong>อ</strong>ะดรีนาลินหลั่งสารพิษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมา สารพิษส่วนใหญ่จะมีสาร<strong>อ</strong>นินทรีย์เคมี<br />

ปนเปื ้<strong>อ</strong>นโดยรับมาจาก<strong>อ</strong>าหาร ร่วมกับร่างกายมีกรดมากเกินไป จึงเข้าไปทําปฏิกิริยาการเผา<br />

ไหม้กับ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจนเกิดตะก<strong>อ</strong>นตกค้างเผาไหม้ไม่หมดกลายเป็น<strong>อ</strong>นุมูล<strong>อ</strong>ิสระ (กรรัตน์ เปล่งขํา,<br />

2542)<br />

สารพิษที ่สะสมในร่างกายแต่ละวันจะถูกทําลายโดย<strong>อ</strong>วัยวะที ่มีหน้าที ่กําจัดข<strong>อ</strong>ง<br />

เสีย 5 <strong>อ</strong>วัยวะดังนี<br />

(1) ทางผิวหนัง โดยขับข<strong>อ</strong>งเสีย<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กทิ ้งในรูปแบบข<strong>อ</strong>งเหงื ่<strong>อ</strong>ทางรูขุมขน<br />

(2) ระบบลําไส้ ข<strong>อ</strong>งเสียคื<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ุจจาระซึ ่งถูกขับ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กทิ ้งผ่านทางลําไส้ใหญ่<br />

(3) ไต เป็น<strong>อ</strong>วัยวะฟ<strong>อ</strong>กเลื<strong>อ</strong>ดที ่สําคัญ<br />

(4) ตับ เป็น<strong>อ</strong>วัยวะที ่กร<strong>อ</strong>งสารพิษทั้งหมดที ่<strong>อ</strong>ยู ่ในร่างกาย<br />

(5) ป<strong>อ</strong>ด เป็น<strong>อ</strong>วัยวะที ่ขับข<strong>อ</strong>งเสียโดยกระบวนการหายใจ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ก นําก๊าซ<br />

คาร์บ<strong>อ</strong>นได<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กไซด์ และคาร์บ<strong>อ</strong>นม<strong>อ</strong>นน<strong>อ</strong>กไซด์<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กทิ ้ง<br />

การรับสารพิษเข้าไปในร่างกายด้วยปริมา<strong>ณ</strong>ที ่มากเกินไปจะส่งผลกระทบต่<strong>อ</strong>การ<br />

ทํางานข<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>วัยวะภายในทั้งระบบ ดังนั้นเพื ่<strong>อ</strong>เป็นการป<strong>อ</strong>งกัน<strong>อ</strong>ันตรายที ่เกิดจากสารพิษสะสม<br />

ทําให้ต้<strong>อ</strong>งแสวงหาวิธีการจัดการกําจัดสารพิษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กสู ่ภายน<strong>อ</strong>กให้เร็วที ่สุด<br />

7) <strong>อ</strong>ากาศ (Breathing)<br />

1 ใน 5 ข<strong>อ</strong>งแร่ธาตุสําคัญที ่ทําให้ชีวิตดํารง<strong>อ</strong>ยู ่ได้คื<strong>อ</strong> <strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจน ประโยชน์ข<strong>อ</strong>ง<br />

<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจนคื<strong>อ</strong> เป็นแหล่งพลังงานให้กับเซลล์สิ่งมีชีวิต หากพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจําวันไม่<br />

ถูกต้<strong>อ</strong>ง เช่น บริโภค<strong>อ</strong>าหารไม่ถูกต้<strong>อ</strong>ง ดื ่มสุรา <strong>อ</strong>าศัย<strong>อ</strong>ยู ่ในห้<strong>อ</strong>งที ่แ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ัดมีสารพิษและไม่ได้<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ก<br />

กําลังกาย จะส่งผลต่<strong>อ</strong>เซลล์ในร่างกาย คื<strong>อ</strong> จะถูกกีดกันไม่ให้ได้รับ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจน<strong>อ</strong>ย่างเพียงพ<strong>อ</strong>และ<br />

ส่งผลต่<strong>อ</strong>ระบบภูมิคุ้มกันข<strong>อ</strong>งร่างกาย ทําให้ระบบต่างๆ ในร่างกายมีประสิทธิภาพการทํางาน<br />

ลดลง เช่น มีผลกระทบต่<strong>อ</strong>ระบบการย่<strong>อ</strong>ย การผลิตสารเคมีในร่างกาย เพราะ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจนจะถูก


ั<br />

ั<br />

่<br />

ดูดซึมโดยฮีโมโกลบิน (Hemoglobin)เพื ่<strong>อ</strong>เ<strong>อ</strong>าเข้าไปเก็บไว้ในเม็ดเลื<strong>อ</strong>ด แล้วค่<strong>อ</strong>ย ๆ เคลื ่<strong>อ</strong>นย้าย<br />

ไปยังทุก ๆ เซลล์ข<strong>อ</strong>งร่างกาย ภาวะสมดุลทางฟิสิกส์กับเคมีในข<strong>อ</strong>งเหลวที ่<strong>อ</strong>ยู ่ในระดับเซลล์<br />

ข<strong>อ</strong>งร่างกายขึ ้น<strong>อ</strong>ยู ่กับจํานวน<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจนในเม็ดเลื<strong>อ</strong>ดที ่มี<strong>อ</strong>ย่างเพียงพ<strong>อ</strong> หากขาด<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจน จะ<br />

เป็นสาเหตุทําให้ร่างกายเกิด<strong>อ</strong>าการไม่สบาย ไม่กระฉับกระเฉง เมื ่<strong>อ</strong>ยล้า (นูไซด์ ค<strong>อ</strong>เป<strong>อ</strong>ร์เรชั่น)<br />

การหายใจที ่ถูกวิธีจะมีประโยชน์ต่<strong>อ</strong>ร่างกาย เพราะช่วยให้ได้รับ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซิเจน<strong>อ</strong>ย่าง<br />

เพียงพ<strong>อ</strong> ช่วยเพิ่มให้เลื<strong>อ</strong>ดเป็นด่าง มาตรฐานความเป็นกรดเป็นด่างในเลื<strong>อ</strong>ด PH ระหว่าง 7.2 -<br />

7.4<br />

8) การประก<strong>อ</strong>บ<strong>อ</strong>าชีพ (Vocation)<br />

พื ้นฐานสําคัญข<strong>อ</strong>งชีวิตคื<strong>อ</strong> การหาเลี ้ยงตนเ<strong>อ</strong>งและคร<strong>อ</strong>บครัวโดยการทํางาน<strong>อ</strong>ย่างใด<br />

<strong>อ</strong>ย่างหนึ ่งซึ ่งเป็น<strong>อ</strong>าชีพ การเลื<strong>อ</strong>กประก<strong>อ</strong>บ<strong>อ</strong>าชีพที ่ดีในทางพุทธศาสนาเรียกว่า สัมมา<strong>อ</strong>าชีพ<br />

ซึ ่งเป็นการประก<strong>อ</strong>บ<strong>อ</strong>าชีพที ่ไม่เบียดเบียนตัวเ<strong>อ</strong>ง ไม่ทําให้ตัวเ<strong>อ</strong>งเสียสุขภาพ ไม่ทําให้ตัวเ<strong>อ</strong>ง<br />

ตกตํ ่า ไม่เบียดเบียนผู้<strong>อ</strong>ื ่น มีโ<strong>อ</strong>กาสได้พัฒนาตัวเ<strong>อ</strong>ง ไม่ทําลายสิ่งแวดล้<strong>อ</strong>ม (ธรรมทัศน์สมาคม,<br />

2535) สร้างความปล<strong>อ</strong>ดภัยให้แก่ชีวิตตัวเ<strong>อ</strong>งและผู้<strong>อ</strong>ื ่น ไม่เป็นการไปส่งเสริมให้ผู้<strong>อ</strong>ื ่นกระทําผิด<br />

พระพุทธเจ้าบัญญัติ<strong>อ</strong>าชีพที ่ไม่ควรทําเรียกว่า มิจฉาวนิชชา 5 ได้แก่ การค้าขาย<strong>อ</strong>าวุธ<br />

ค้าขายสัตว์ การค้าขายเนื ้<strong>อ</strong>สัตว์ การค้าขายนํ ้าเมา การค้าขายยาพิษ<br />

พระพุทธเจ้าได้ทรงกําหนด <strong>อ</strong>าชีวะไว้ 5 ระดับ เพื ่<strong>อ</strong>ให้พุทธบริษัทได้ใช้ปญญา<br />

พิจาร<strong>ณ</strong>า แยกแยะงานที ่เรียกว่า ไม่ดี ไม่ถูก ไม่ควร และงานที ่ดีกว่า เหมาะควรกว่า โดย<br />

พิจาร<strong>ณ</strong>าข้<strong>อ</strong>มูลจากผลข<strong>อ</strong>งงานว่า จะก่<strong>อ</strong>ความเสียหาย ความทุกข์มากน้<strong>อ</strong>ยเท่าใด การงานที ่ดี<br />

ควรหลีกเลี ่ยงพฤติกรรมดังต่<strong>อ</strong>ไปนี ้ คื<strong>อ</strong> การโกง การล่<strong>อ</strong>ลวง การตลบตะแลง การม<strong>อ</strong>บตน<br />

ในทางที ่ผิด การเ<strong>อ</strong>าลาภต่<strong>อ</strong>ลาภ<br />

7. การสงเสรมสุขภาพที่<strong>ชุ</strong>มชนศีรษะ<strong>อ</strong>โศก<br />

่ ิ<br />

<strong>ชุ</strong>มชนศีรษะ<strong>อ</strong>โศกเป็น<strong>ชุ</strong>มชนทวนกระแสสังคม เกิดจากการรวมตัวข<strong>อ</strong>งกลุ่มคนที ่มี<br />

<strong>อ</strong>ุดมการ<strong>ณ</strong>์ ความศรัทธา ความเชื ่<strong>อ</strong>ที ่คล้ายคลึงกัน มีศรัทธาในคําส<strong>อ</strong>นข<strong>อ</strong>งพุทธศาสนา โดย<br />

<strong>ชุ</strong>มชนใช้หลักพระพุทธศาสนามาเป็นแนวทางปฏิบัติในชีวิตประจําวัน เพื ่<strong>อ</strong>ขัดเกลาและลดละ<br />

กิเลส และมุ่งสู ่จุดหมายสูงสุดในทางพระพุทธศาสนา คื<strong>อ</strong> การหลุดพ้น หรื<strong>อ</strong>นิพพาน สมาชิก<br />

ข<strong>อ</strong>ง<strong>ชุ</strong>มชนมีจิตขวนขวาย หมั่นศึกษาหาความรู้ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม การเมื<strong>อ</strong>ง และ<br />

วัฒนธรรม เพื ่<strong>อ</strong>รู้เท่าทันการเปลี ่ยนแปลงข<strong>อ</strong>งสังคมโลกและเกิดปญญาที ่จะ<strong>อ</strong>ยู ่เหนื<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ิทธิพล<br />

ข<strong>อ</strong>งการเปลี ่ยนแปลง หรื<strong>อ</strong>ไม่ตกเป็นเหยื ่<strong>อ</strong>ข<strong>อ</strong>งระบบต่างๆ เช่น ระบบทุนนิยม และเพื ่<strong>อ</strong>ร่วมกัน<br />

พัฒนาสาธาร<strong>ณ</strong>ูปโภคที ่เป็นความต้<strong>อ</strong>งการพื ้นฐานข<strong>อ</strong>ง<strong>ชุ</strong>มชนในรูปแบบ สาธาร<strong>ณ</strong>โภคีที<br />

เรียกว่า “ระบบบุญนิยม” ชาว<strong>ชุ</strong>มชนศีรษะ<strong>อ</strong>โศกเชื ่<strong>อ</strong>มั่นในระบบวัฒนธรรมบุญนิยมที ่ตน


ั<br />

ั<br />

ั<br />

้<br />

ั<br />

่<br />

ดํารงชีวิต<strong>อ</strong>ยู ่ว่าจะก่<strong>อ</strong>ให้เกิดผลดีต่<strong>อ</strong>จิตวิญญา<strong>ณ</strong> และได้นําปรัชญาเศรษฐกิจพ<strong>อ</strong>เพียงไป<br />

ผสมผสาน บูร<strong>ณ</strong>าการเข้ากับวิถีชีวิตข<strong>อ</strong>งชาว<strong>อ</strong>โศก (<strong>ชุ</strong>มชนวัฒนธรรมศีรษะ<strong>อ</strong>โศก, 2552)<br />

การดูแลสุขภาพ<strong>ชุ</strong>มชนใช้หลักข<strong>อ</strong>งสุขภาพบุญนิยมในรูปแบบการดําเนินชีวิตปกติ<br />

ประจําวัน<strong>อ</strong>ย่างเป็น<strong>อ</strong>งค์รวม คื<strong>อ</strong> เน้นการป<strong>อ</strong>งกันโรคมากกว่าการรักษา เน้นการปรับความ<br />

สมดุลข<strong>อ</strong>งร่างกายและจิตใจ เน้นสิ่งแวดล้<strong>อ</strong>มที ่ดี รับประทาน<strong>อ</strong>าหารที ่สะ<strong>อ</strong>าด <strong>อ</strong>าหารที<br />

ปราศจากสารพิษและพืชผักที ่ปลูกเ<strong>อ</strong>งหรื<strong>อ</strong>ขึ ้นตามธรรมชาติ เน้นการ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายด้วยการ<br />

ทํางาน เน้นการทําจิตใจให้สงบและไม่เครียด ใช้แนวธรรมชาติบําบัดและการแพทย์ทางเลื<strong>อ</strong>ก<br />

ในการดูแลแก้ไขปญหาสุขภาพ พยายามพึ ่งตนเ<strong>อ</strong>งด้วยการใช้ทรัพยากรที ่มีในท้<strong>อ</strong>งถิ่นและใช้<br />

เทคนิควิธีการที ่<strong>ชุ</strong>มชนสามารถดําเนินการเ<strong>อ</strong>งได้<strong>อ</strong>ย่างเรียบง่ายโดยพยายามลดภาระข<strong>อ</strong>งรัฐ<br />

ลดการใช้ยาแผนปจจุบันให้ได้มากที ่สุด แต่ก็ไม่ได้ปฏิเสธการรักษาด้วยการแพทย์แผนปจจุบัน<br />

ถ่ายท<strong>อ</strong>ดวิถีชีวิตการพึ ่งพาตนเ<strong>อ</strong>งสู ่ลูกหลานข<strong>อ</strong>งชาว<strong>ชุ</strong>มชนและคนร<strong>อ</strong>บข้าง รวมทั้งสังคมร<strong>อ</strong>บ<br />

กว้างและผู้ที ่มาสัมผัสกับ<strong>ชุ</strong>มชนแห่งนี ้ (โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และค<strong>ณ</strong>ะ, 2542)<br />

การ<strong>อ</strong>บรม<strong>การฟื้นฟูสุขภาพด้วยหลักสุขภาพ<strong>อ</strong>งค์รวม</strong> 8 <strong>อ</strong>.<br />

การดําเนินโครงการฟื ้นสุขภาพได้เริ่มต้นดําเนินงานมาตั้งแต่ พ.ศ. 2549 และได้<br />

<strong>อ</strong>บรมตามโครงการมา<strong>อ</strong>ย่างต่<strong>อ</strong>เนื ่<strong>อ</strong>งจนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2554) ในกระบวนการ<strong>อ</strong>บรมได้มีการ<br />

พัฒนา<strong>อ</strong>ย่างต่<strong>อ</strong>เนื ่<strong>อ</strong>ง ทั้ง<strong>อ</strong>งค์ความรู้ บุคลากร กระบวนการ<strong>อ</strong>บรม สถานที ่และสิ่งแวดล้<strong>อ</strong>ม<br />

พร้<strong>อ</strong>มทั้งการ<strong>อ</strong>ธิบาย<strong>อ</strong>งค์ความรู้เพื ่<strong>อ</strong>กระตุ้นให้เกิดการสร้างพฤติกรรมใหม่ ซึ ่งเป็นการสร้าง<br />

ความสมดุลข<strong>อ</strong>งชีวิตด้วยการใช้<br />

หลัก 8 <strong>อ</strong>. เป็นวิถีชีวิตประจําวัน การเข้ารับการฟื ้นฟูสุขภาพที ่<strong>ชุ</strong>มชนศีรษะ<strong>อ</strong>โศก นับเป็น<br />

จุดเริ่มต้นเพื ่<strong>อ</strong>พัฒนาสู ่การเปลี ่ยนแปลงพฤติกรรมเพื ่<strong>อ</strong>การสร้างสุขภาพ และปรับสมดุลชีวิต<br />

ด้วยวิธีการล้างพิษ<strong>อ</strong>วัยวะที ่สําคัญ 4 <strong>อ</strong>วัยวะ คื<strong>อ</strong><br />

<strong>อ</strong>วัยวะที ่ 1 การล้างสารพิษจากลําไส้เล็กและลําไส้ใหญ่<br />

<strong>อ</strong>วัยวะที ่ 2 การล้างสารพิษจากตับ<br />

<strong>อ</strong>วัยวะที ่ 3 การล้างสารพิษจากถุงนํ ้าดี<br />

<strong>อ</strong>วัยวะที ่ 4 การล้างสารพิษจากไต<br />

วัตถุประสงค์ข<strong>อ</strong>งโครงการ<br />

1) เพื ่<strong>อ</strong>สร้างความรู้ความเข้าใจและเพิ่มความตระหนักในการให้ความสําคัญในการ<br />

ดูแลและส่งเสริมสุขภาพ<br />

2) เพื ่<strong>อ</strong>ส่งเสริมหลักการสร้างสุขภาพตามหลักสุขภาพ<strong>อ</strong>งค์รวม


ั<br />

่<br />

่<br />

3) เพื ่<strong>อ</strong>เรียนรู้และแลกเปลี ่ยนประสบการ<strong>ณ</strong>์ด้านสุขภาพระหว่างผู้เข้ารับการ<strong>อ</strong>บรม<br />

ด้วยกันและวิทยากรที ่ได้รับเชิญมาบรรยาย<br />

4) เพื ่<strong>อ</strong>สร้างพฤติกรรมการใช้ชีวิตแนวส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักสุขภาพ<strong>อ</strong>งค์รวม<br />

5) เพื ่<strong>อ</strong>ลดความรุนแรงข<strong>อ</strong>งโรคต่างๆด้วยการปลดปล่<strong>อ</strong>ยสารพิษที ่สะสมทั้งทาง<br />

ร่างกายและจิตใจ<br />

คุ<strong>ณ</strong>ลักษ<strong>ณ</strong>ะข<strong>อ</strong>งผู ้เข้ารับการ<strong>อ</strong>บรม<br />

1) ผู้เข้า<strong>อ</strong>บรมจะเป็นบุคลากรภายใน<strong>ชุ</strong>มชนชาว<strong>อ</strong>โศก และเปิดโ<strong>อ</strong>กาสให้แก่<br />

บุคคลภายน<strong>อ</strong>กที ่สนใจการดูแลสุขภาพทั่วไป มีจิตใจพร้<strong>อ</strong>มในการเรียนรู้และต่<strong>อ</strong>สู้กับความไม่<br />

สบายทางร่างกายและจิตใจ ซึ ่งเกิดขึ ้นระหว่างเข้ารับการ<strong>อ</strong>บรม<br />

2) ผู้เข้า<strong>อ</strong>บรมจะต้<strong>อ</strong>งไม่เป็นโรคร้ายแรง ดังต่<strong>อ</strong>ไปนี ้ เช่น โรคหัวใจ โรคไต ความ<br />

ดันสูงหรื<strong>อ</strong>ตํ ่า โรคที่เกี ่ยวกับการติดเชื ้<strong>อ</strong>เช่น วั<strong>ณ</strong>โรค และโรค<strong>อ</strong>ื ่นๆ ที ่ผู้ปวยมี<strong>อ</strong>าการข<strong>อ</strong>งโรค<strong>อ</strong>ยู<br />

ในระยะรุนแรง<br />

3) ผู้เข้ารับการ<strong>อ</strong>บรมเป็นผู้ที ่มีร่างกายแข็งแรงช่วยเหลื<strong>อ</strong>ตัวเ<strong>อ</strong>งได้ และมีจิตใจ<br />

เข้มแข็ง พร้<strong>อ</strong>มในการฝึกฝนและเรียนรู้ในเรื ่<strong>อ</strong>งสุขภาพ ทั้งภาคปฏิบัติและภาคทฤษฏี<br />

4) ผู้เข้ารับการ<strong>อ</strong>บรมต้<strong>อ</strong>งเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ <strong>อ</strong>ย่างต่<strong>อ</strong>เนื ่<strong>อ</strong>ง เช่น เข้าฟงั<br />

วิทยากรบรรยายในประเด็นความรู้ต่างๆ การสร้างจิต<strong>อ</strong>าสาในกิจกรรมระหว่าง<strong>อ</strong>บรม<br />

5) ผู้เข้ารับการ<strong>อ</strong>บรมต้<strong>อ</strong>งให้ความร่วมมื<strong>อ</strong>ปฏิบัติตามโปรแกรมต่างๆ และเชื ่<strong>อ</strong>ฟงั<br />

ผู้ดูแลการ<strong>อ</strong>บรม<strong>อ</strong>ย่างเคร่งครัด แจ้งให้ผู้ดูแลทราบเมื ่<strong>อ</strong>เกิดปญหาในระหว่างการ<strong>อ</strong>บรม<br />

การเตรียมตัวเพื่<strong>อ</strong>เข้ารับการ<strong>อ</strong>บรม<br />

1) การเตรียมร่างกายให้พร้<strong>อ</strong>ม คื<strong>อ</strong> สภาพร่างกายไม่เหนื ่<strong>อ</strong>ยล้า หรื<strong>อ</strong>เจ็บปวย ่<br />

รุนแรง<br />

2) ควรลดปริมา<strong>ณ</strong>การบริโภค<strong>อ</strong>าหารก่<strong>อ</strong>นจะเข้ารับการ<strong>อ</strong>บรมเพื ่<strong>อ</strong>ปรับสภาพร่างกาย<br />

ไม่ให้เกิดการเปลี ่ยนแปลง<strong>อ</strong>ย่างกะทันหันและให้ร่างกายมีเวลาในการปรับสมดุลโดยเฉพาะ<br />

บริเว<strong>ณ</strong>ที ่เกี ่ยวกับช่<strong>อ</strong>งท้<strong>อ</strong>ง<br />

3) ควรงดเว้นการบริโภค<strong>อ</strong>าหารที ่มีสภาพเป็นกรดมาก เช่น เนื ้<strong>อ</strong>สัตว์ <strong>อ</strong>าหารที ่ผ่าน<br />

การท<strong>อ</strong>ด ขนมหวาน <strong>อ</strong>าหารจําพวกหมัก ด<strong>อ</strong>ง เป็นต้น<br />

หมายเหตุ<br />

1) การเปลี ่ยนแปลง<strong>อ</strong>ย่างกะทันหันในเรื ่<strong>อ</strong>งการกิน<strong>อ</strong>าหาร จะทําให้เกิดปฏิกิริยา<br />

ต<strong>อ</strong>บสน<strong>อ</strong>งต่<strong>อ</strong>ร่างกายในทางลบ เช่น จะทําให้เกิดความดันโลหิตสูง ปวดศีรษะ เป็นไข้ เป็นต้น


ั<br />

ั<br />

ตารางที่ 1 ตารางกิจกรรมการ<strong>อ</strong>บรมโครงการฟื ้นฟูสุขภาพด้วยหลักสุขภาพ<br />

<strong>อ</strong>งค์รวม 8 <strong>อ</strong>.<br />

การเตรียมความพร้<strong>อ</strong>ม<br />

เวลา รายละเ<strong>อ</strong>ียด<br />

13.00-16.00 น. เข้าที ่พัก ลงทะเบียน กร<strong>อ</strong>กข้<strong>อ</strong>มูลสุขภาพ วัดความดัน ชั่งนํ ้าหนัก<br />

16.00-17.00 น. รับประทาน<strong>อ</strong>าหาร<br />

17.00-18.00 น. พักผ่<strong>อ</strong>น<br />

18.00-19.00 น. ปฐมนิเทศ<br />

วันที่ 1,2 และ 3<br />

เวลา รายละเ<strong>อ</strong>ียด<br />

04.30-05.00 น. ตื ่นน<strong>อ</strong>น<br />

05.00-06.00 น. <strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายด้วยการเดิน<strong>อ</strong>ย่างน้<strong>อ</strong>ย 20 ร<strong>อ</strong>บสนาม พร้<strong>อ</strong>มกับ<strong>อ</strong>ม<br />

นํ ้ามันมะพร้าวประมา<strong>ณ</strong> 15-20 นาทีแล้วบ้วนทิ ้ง จากนั้นสวนล้าง<br />

ลําไส้ 1 ครั้ง<br />

06.00-06.30 น. ดื ่มนํ ้าข้าวง<strong>อ</strong>กและนํ ้าสมุนไพร 5 แก้ว<br />

06.30-09.00 น. แช่เท้าด้วยนํ ้าสมุนไพร 30 นาที<br />

09.00-09.15 น. ดื ่มสมุนไพรล้างพิษ 1 แก้ว<br />

09.15-12.00 น. การบรรยายภาคทฤษฏี/ ตรวจสุขภาพ และจัดสมดุลสุขภาพ<br />

(รายการปรับเปลี ่ยนตามความเหมาะสม)<br />

12.00-12.15 น. ดื ่มสมุนไพรล้างพิษ 1 แก้ว<br />

13.00-15.00 น. ชมวีดีทัศน์/ฟงบรรยายเกี ่ยวกับสุขภาพ<br />

(รายการปรับเปลี ่ยนตามความเหมาะสม)<br />

15.00-15.15 น. ดื ่มนํ ้าขับพิษ 1 แก้ว<br />

15.15-16.30 น. การสร้างจิต<strong>อ</strong>าสา/ชมวีดีทัศน์/ฟงบรรยายเกี ่ยวกับสุขภาพ<br />

(รายการปรับเปลี ่ยนตามความเหมาะสม)<br />

16.30-18.00 น. พักผ่<strong>อ</strong>นตาม<strong>อ</strong>ัธยาศัย และสวนล้างลําไส้ 1 ครั้ง<br />

18.00-20.00 น. สุขภาวะทางจิตวิญญา<strong>ณ</strong>โดยท่านสม<strong>ณ</strong>ะ


ั<br />

ั<br />

ตารางที่ 1 (ต่<strong>อ</strong>) ตารางกิจกรรมการ<strong>อ</strong>บรมโครงการฟื ้นฟูสุขภาพด้วยหลักสุขภาพ<br />

<strong>อ</strong>งค์รวม 8 <strong>อ</strong>.<br />

เวลา รายละเ<strong>อ</strong>ียด<br />

20.00 น. พักผ่<strong>อ</strong>น<br />

หมายเหตุ ในระหว่างวันควรดื ่มนํ ้าข้าวกล้<strong>อ</strong>งง<strong>อ</strong>ก นํ ้าสมุนไพรชนิดต่างๆที ่จัดไว<br />

ให้ เมื ่<strong>อ</strong>รู้สึกหิว หรื<strong>อ</strong><strong>อ</strong>่<strong>อ</strong>นเพลีย<br />

วันที่ 4<br />

เวลา รายละเ<strong>อ</strong>ียด<br />

04.30-05.00 น. ตื ่นน<strong>อ</strong>น<br />

05.00-06.00 น. <strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายด้วยการเดิน<strong>อ</strong>ย่างน้<strong>อ</strong>ย 20 ร<strong>อ</strong>บสนาม พร้<strong>อ</strong>ม<strong>อ</strong>มนํ ้ามั<br />

มะพร้าว<br />

06.00-06.30 น. ดื ่มนํ ้าข้าวง<strong>อ</strong>ก ดื ่มนํ ้าสมุนไพร 5 แก้ว<br />

06.30-09.00 น. แช่เท้า 30 นาที<br />

09.0010.00 น. พักผ่<strong>อ</strong>นตาม<strong>อ</strong>ัธยาศัย<br />

10.00-12.00 น. ชมวีดีทัศน์/ฟงบรรยายเกี ่ยวกับสุขภาพ<br />

12.00-12.15 น. ดื ่มนํ ้ามะละก<strong>อ</strong>ดิบ 1 แก้ว เพื ่<strong>อ</strong>ช่วยในการขับนิ่ว<br />

13.00-13.15 น. ดื ่มนํ ้ามะพร้าว 1-2 ลูก/นํ ้าสับปะรด/นํ ้าผลไม้<strong>อ</strong>ื ่นๆ ตามฤดูกาล<br />

่<br />

่<br />

16.40-18.00 น. ดื ่มนํ ้าผสมนํ ้าเ<strong>อ</strong>็นไซด์ 2 ช้<strong>อ</strong>นโต๊ะ จากนั้นสวนล้างลําไส้ 2 ร<strong>อ</strong>บ<br />

(จะถ่ายเป็นนํ ้า)<br />

18.00-18.15 น. ดื ่มสารละลายแม็กนีเซียมซัลเฟต (Magnesium Sulfate) (MgSO4)<br />

จํานวน 1 ช้<strong>อ</strong>นชา ครั้งที 1<br />

18.15-20.00 น. พักผ่<strong>อ</strong>นตาม<strong>อ</strong>ัธยาศัย<br />

20.00-20.15 น. ดื ่มสารละลายแม็กนีเซียมซัลเฟต (Magnesium Sulfate) (MgSO4)<br />

จํานวน 1 ช้<strong>อ</strong>นชา ครั้งที 2<br />

18.15-22.00 น. ชมวีดีทัศน์/ฟงบรรยายเกี ่ยวกับสุขภาพ<br />

22.00-22.15 น. ดื ่มนํ ้ามันมะก<strong>อ</strong>กผสมนํ ้ามะนาว 300 ซี.ซี.<br />

22.15 น. พักผ่<strong>อ</strong>นด้วยการน<strong>อ</strong>นตะแคงขวาหรื<strong>อ</strong>น<strong>อ</strong>นหงาย


ตารางที่ 1 (ต่<strong>อ</strong>) ตารางกิจกรรมการ<strong>อ</strong>บรมโครงการฟื ้นฟูสุขภาพด้วยหลักสุขภาพ<br />

<strong>อ</strong>งค์รวม 8 <strong>อ</strong>.<br />

วันที่ 5<br />

เวลา รายละเ<strong>อ</strong>ียด<br />

05.30 ตื ่นน<strong>อ</strong>น<br />

06.00-06.30 <strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายเบา ๆ ตามพละกําลัง พร้<strong>อ</strong>ม<strong>อ</strong>มนํ ้ามันมะพร้าว 15-20<br />

นาที<br />

06.30-07.00 ดื ่มนํ ้าข้าวกล้<strong>อ</strong>งง<strong>อ</strong>ก นํ ้าสมุนไพร 5 แก้ว<br />

07.00-09.00 แช่เท้า 30 นาที<br />

09.00-10.30 พักผ่<strong>อ</strong>น<br />

10.30-11.00 สวนล้างลําไส้ด้วยนํ ้าด่าง<br />

11.00-12.00 รับประทาน<strong>อ</strong>าหารชนิด<strong>อ</strong>่<strong>อ</strong>น ย่<strong>อ</strong>ยง่าย เช่น ผักลวก ผลไม้<br />

วิธีรับประทาน เคี ้ยวให้ละเ<strong>อ</strong>ียด รับประทานช้าๆ ครั้งละน้<strong>อ</strong>ยๆ แต่<br />

บ่<strong>อ</strong>ยๆ<br />

12.00-13.00 สรุปการเข้ารับการ<strong>อ</strong>บรม และแนะนําแนวทางในการปฏิบัติตัวเพื ่<strong>อ</strong><br />

สร้างสมดุล ในการใช้ชีวิตให้มีสุขภาพที ่ยืนยาว<br />

13.00-14.00 ปิดการ<strong>อ</strong>บรม<br />

หมายเหตุ หลังจากจบสิ ้นการ<strong>อ</strong>บรมแล้ว ต้<strong>อ</strong>งไปทําการสวนล้างลําไส้ด้วยกาแฟต<strong>อ</strong>นเช้า และ<br />

นํ ้าเปล่าต<strong>อ</strong>นเย็นติดต่<strong>อ</strong>กัน 7 วัน<br />

<strong>อ</strong>าการข้างเคียงในข<strong>ณ</strong>ะล้างพษ ิ<br />

ในระหว่างการกําจัดสารพิษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กจากร่างกาย เป็นธรรมดาที ่จะพบ<strong>อ</strong>าการข้างเคียง<br />

เกิดขึ ้น <strong>อ</strong>าการข้างเคียงที ่ปรากฏ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กมาให้ตัวเ<strong>อ</strong>งรับรู้ได้นั้นเกิดขึ ้นเนื ่<strong>อ</strong>งจากร่างกายมีการ<br />

เปลี ่ยนแปลงเกิดขึ ้น <strong>อ</strong>าการข้างเคียงที ่มักจะเกิดขึ ้นเป็นประจํา ได้แก่<br />

1) <strong>อ</strong>าการหน้ามืด เป็นลม เนื ่<strong>อ</strong>งจากการเปลี ่ยน<strong>อ</strong>าหาร และถูกควบคุมปริมา<strong>ณ</strong>การ<br />

กิน ย่<strong>อ</strong>มทําให้ระบบต่างๆ ในร่างกายเปลี ่ยนไป เป็น<strong>อ</strong>าการที ่เกิดขึ ้นและเห็นได้ชัดเจนมาก<br />

วธีการแก้ไข ิ พยายาม<strong>อ</strong>ยู ่ในที ่โล่ง <strong>อ</strong>ากาศถ่ายเทดี ดื ่มนํ ้าเกลื<strong>อ</strong>แร่ หรื<strong>อ</strong>นํ ้าผ<br />

ผลไม้ 1 แก้ว จะสามารถบรรเทา<strong>อ</strong>าการได้<br />

2) <strong>อ</strong>าการปวดศีรษะ จะมี<strong>อ</strong>าการมากในช่วง1-3 วันแรก โดยเฉพาะผู้ที ่ดื ่มกาแฟ<br />

เป็นประจําจะปวดศีรษะมาก


่<br />

่<br />

่<br />

้<br />

่<br />

วธีการแก้ไข ิ ให้ใช้ผ้าขนหนู<strong>ชุ</strong>บนํ ้าเย็น เช็ดแล้ววางประคบไว้บนหน้าผากทิ้งไว้<br />

สักครู ่ <strong>อ</strong>าการปวดจะทุเลา และหายในที ่สุด<br />

3) <strong>อ</strong>าการเวียนศีรษะและคลื ่นไส้<br />

วธีการแก้ไข ิ ให้ดื ่มนํ ้าขิงร้<strong>อ</strong>นๆ ล้างหน้าให้รู้สึกสดชื่น น<strong>อ</strong>นพักผ่<strong>อ</strong>นในที่มี<br />

<strong>อ</strong>ากาศถ่ายเท<br />

น<strong>อ</strong>กจาก<strong>อ</strong>าการที ่กล่าวมา 3 <strong>อ</strong>าการนี ้แล้ว ยังจะมี<strong>อ</strong>าการข้างเคียง<strong>อ</strong>ื ่นๆ เกิดขึ ้นด้วย<br />

<strong>อ</strong>าการข้างเคียงต่างๆ ที ่เกิดขึ ้นจะแสดงให้เห็นถึงความเจ็บปวยที ่เคยเกิดขึ<br />

้นใน<strong>อ</strong>ดีต<strong>อ</strong>ย่างใด<br />

<strong>อ</strong>ย่างหนึ ่ง บางโรคจะปรากฏ<strong>อ</strong>าการมากขึ ้นกว่าเดิม เช่น ไมเกรน จะมี<strong>อ</strong>าการปวดศีรษะมาก<br />

กว่าเดิม เมื ่<strong>อ</strong>ร่างกายสามารถปรับระดับความสมดุลได้ <strong>อ</strong>าการข้างเคียงที ่เกิดขึ ้นจะหายไป จะ<br />

เป็นในช่วง 3 วันแรกเท่านั้น จากนั้นร่างกายก็จะเริ่มเป็นปกติ (<strong>ชุ</strong>มชนศีรษะ<strong>อ</strong>โศก, 2550)<br />

8. บทสรุป<br />

การล้างพิษด้วยวิธีการต่างๆที ่กล่าวไว้เบื ้<strong>อ</strong>งต้น เป็นวิธีทางธรรมชาติบําบัด ที ่ได้รับ<br />

การสนับสนุนและปฏิบัติมานานหลายร้<strong>อ</strong>ยปี ได้รับความนิยมในคริสตวรรษที ่ 19 นิยมกันมา<br />

นานในสหรัฐและยุโรป เนื ่<strong>อ</strong>งจากพฤติกรรมการรับประทาน<strong>อ</strong>าหารส่วนใหญ่จะเน้นประเภท<br />

เนื ้<strong>อ</strong>สัตว์ การล้างพิษได้เผยแพร่เข้ามาในประเทศไทยภายหลังการเปลี ่ยนแปลงโครงสร้างการ<br />

พัฒนาประเทศสู ่วิถีชีวิตสมัยใหม่ตามการพัฒนา<strong>อ</strong>ย่างประเทศ<strong>อ</strong>ุตสาหกรรม โดยรับเ<strong>อ</strong>า<br />

วัฒนธรรมการบริโภคแบบชาวตะวันตก ผลจากการเปลี ่ยนแปลงดังกล่าวทําให้สุขภาพข<strong>อ</strong>งคน<br />

ไทยเจ็บปวยด้วยโรคที ่เกี ่ยวข้<strong>อ</strong>งกับพฤติกรรมมากขึ<br />

้น ปรากฏการ<strong>ณ</strong>์ความเจ็บปวยที ่เปลี ่ยนไป<br />

ทําให้คนบางกลุ่มต้<strong>อ</strong>งแสวงหาทาง<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กเพื ่<strong>อ</strong>รักษาสุขภาพและป<strong>อ</strong>งกันโรค การล้างพิษเป็น<strong>อ</strong>ีก<br />

หนึ ่งทางเลื<strong>อ</strong>กที ่ได้รับความนิยมเป็น<strong>อ</strong>ย่างมากในกลุ่มคนผู้รักสุขภาพ แม้จะมีบางคนที ่ไม่ช<strong>อ</strong>บ<br />

หรื<strong>อ</strong>ม<strong>อ</strong>งว่าการล้างพิษก่<strong>อ</strong>ให้เกิดผลเสียหายต่<strong>อ</strong>ร่างกาย แต่ในกลุ่มข<strong>อ</strong>งผู้รักสุขภาพกลับม<strong>อ</strong>งว่า<br />

การล้างพิษ เป็นการดูแลสุขภาพด้วยตนเ<strong>อ</strong>ง เป็นการแพทย์ทางเลื<strong>อ</strong>กที ่ช่วยส่งเสริมสุขภาพได้<br />

ที ่ผ่านมาเรื ่<strong>อ</strong>งข<strong>อ</strong>งสุขภาพเป็นระบบตั้งรับ ผู้คนส่วนใหญ่ให้ความสนใจเรื ่<strong>อ</strong>งสุขภาพ<br />

เสีย (ill health) โดยให้ความสนใจเรื ่<strong>อ</strong>งสุขภาพดี (good health) น้<strong>อ</strong>ยมาก ทรัพยากรทั้ง<br />

ภาครัฐและเ<strong>อ</strong>กชนถูกทุ่มไปในการสร้างโรงพยาบาล แต่ใช้น้<strong>อ</strong>ยมากในการสร้างสุขภาพดี ทํา<br />

ให้ระบบสุขภาพไทยเป็นระบบตั้งรับ คื<strong>อ</strong>ร<strong>อ</strong>ให้เจ็บปวยแล้วค่<strong>อ</strong>ยมารักษา การส่งเสริมสุขภาพ<br />

ที ่<strong>ชุ</strong>มชนศีรษะ<strong>อ</strong>โศก เป็นมิติใหม่ในการทํางานสาธาร<strong>ณ</strong>ะสุข ที ่ส<strong>อ</strong>ดคล้<strong>อ</strong>งกับแผนพัฒนาสุขภาพ<br />

แห่งชาติ ฉบับที ่ 10 ซึ ่งต้<strong>อ</strong>งการให้ประชาชนมีสุขภาพดี และมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพ<br />

โดยส่งเสริมให้<strong>ชุ</strong>มชนมีการพัฒนาศักยภาพการพึ ่งตนเ<strong>อ</strong>งในด้านสุขภาพ การสร้างทางเลื<strong>อ</strong>ก<br />

เพื ่<strong>อ</strong>จัดการปญหาทางสุขภาพที<br />

ั ่หลากหลาย เช่น การนําภูมิปญญาทางแพทย์แผนไ<br />

ั ทย


ั<br />

ั<br />

การแพทย์พื ้นบ้าน พร้<strong>อ</strong>มกับเปิดรับแนวการรักษาทางเลื<strong>อ</strong>กจากหลายประเทศ มาประยุกต์ให้<br />

ส<strong>อ</strong>ดคล้<strong>อ</strong>งกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตคนไทย ส่งเสริม<strong>ชุ</strong>มชนให้เข้มแข็งและพึ ่งตนเ<strong>อ</strong>งในการดูแล<br />

สุขภาพ การสนับสนุนนโยบายกระทรวงสาธาร<strong>ณ</strong>สุขเรื ่<strong>อ</strong>งการส่งเสริมสุขภาพ ซึ ่ง<strong>ชุ</strong>มชนได้<br />

<strong>อ</strong>บรมการสร้างสุขภาพด้วยหลักข<strong>อ</strong>งสุขภาพ<strong>อ</strong>งค์รวม 8 <strong>อ</strong>.ประก<strong>อ</strong>บด้วย <strong>อ</strong>ิทธิบาท 4 <strong>อ</strong>ารม<strong>ณ</strong>์<br />

<strong>อ</strong>าหาร <strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกาย การพักผ่<strong>อ</strong>นน<strong>อ</strong>นหลับ (เ<strong>อ</strong>นกาย) เ<strong>อ</strong>าพิษ<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ก <strong>อ</strong>ากาศ และ<strong>อ</strong>าชีพ<br />

ชาว<strong>ชุ</strong>มชนศีรษะ<strong>อ</strong>โศกและผู้ที ่มาเข้ารับการฟื ้นฟูสุขภาพที ่<strong>ชุ</strong>มชนศีรษะ<strong>อ</strong>โศก ได้นําหลักสุขภาพ<br />

<strong>อ</strong>งค์รวม 8 <strong>อ</strong>. ไปปฏิบัติเพื ่<strong>อ</strong>บรรลุสู ่เป้าหมายข<strong>อ</strong>งคําว่าสุขภาพดี ตามความหมายข<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>งค์การ<br />

<strong>อ</strong>นามัยโลก คื<strong>อ</strong>การสร้างชีวิตให้มีสุขภาวะ<strong>อ</strong>ย่างยั่งยืน สมดุล ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคม และ<br />

จิตวิญญา<strong>ณ</strong> (ปญญา ั )<br />

การส่งเสริมสุขภาพในสังคมปจจุบัน เป็นปญหาที ่ต้<strong>อ</strong>งม<strong>อ</strong>งมิติสุขภาพให้เป็น<strong>อ</strong>งค์<br />

รวม สุขภาพคื<strong>อ</strong>ความเป็น<strong>อ</strong>งค์รวม เป็นเรื ่<strong>อ</strong>งข<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>งค์ประก<strong>อ</strong>บทุกส่วนที ่เกี ่ยวข้<strong>อ</strong>งกับชีวิตทั้ง<br />

เรื ่<strong>อ</strong>งเศรษฐกิจ จิตใจ คร<strong>อ</strong>บครัว <strong>ชุ</strong>มชน สังคม วัฒนธรรม การเมื<strong>อ</strong>ง สิ่งแวดล้<strong>อ</strong>ม<br />

การศึกษา ฯลฯ การส่งเสริมสุขภาพต้<strong>อ</strong>งทําแบบบูร<strong>ณ</strong>าการพร้<strong>อ</strong>มกันทุกส่วน ประชาชนต้<strong>อ</strong>ง<br />

พร้<strong>อ</strong>มที ่จะปรับเปลี ่ยนพฤติกรรมและความคิด เพื ่<strong>อ</strong>นําไปสู ่การสร้างความสมดุลข<strong>อ</strong>งชีวิต และ<br />

ความมีสุขภาวะที ่สมบูร<strong>ณ</strong>์<br />

เ<strong>อ</strong>กสาร<strong>อ</strong>้าง<strong>อ</strong>ง ิ<br />

กรรัตน์ เปล่งขํา. 2542. ทฤษฏีการบําบัดมะเร็งข<strong>อ</strong>งนายแพทย์แม็กซ์ เก<strong>อ</strong>ร์สัน<br />

(Max Gerson). กรุงเทพฯ: ฟา<strong>อ</strong>ภัย ้ .<br />

ก<strong>อ</strong>งสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธาร<strong>ณ</strong>สุข. 2552.<br />

แนวทางการพัฒนาหมูบ้านปรับเปลี่ยนพฤตกรรมลดโรคมะเร็ง ่ ิ ความ ดัน<br />

หัวใจและหล<strong>อ</strong>ดเลื<strong>อ</strong>ด. กรุงเทพฯ: สุขุมวิทมีเดีย มาร์เก็ตติ ้ง.<br />

กานต์รวี ท<strong>อ</strong>งพูล. 2546. ล้างพษ ิ . กรุงเทพฯ: สายธุรกิจ.<br />

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และค<strong>ณ</strong>ะ .พลวัตรสุขภาพกับการพึ่งตนเ<strong>อ</strong>ง. งานวิจัยทุน<strong>อ</strong>ุดหนุน<br />

จากสํานักงานค<strong>ณ</strong>ะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ ประจําปี 2542 และ 2543.<br />

จินตนา คําชู. 2545. ภัยร้ายข<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong>าหารไขมันสูง. http://www.school.net.th/.<br />

1 ตุลาคม 2550.<br />

เฉก ธนะสิริ. 2541. การเพมประสทธภาพข<strong>อ</strong>งชีวต<br />

ิ่ิ ิ ิ . กรุงเทพฯ: ป. สัมพันธ์พา<strong>ณ</strong>ิชย์.<br />

ชมรมชีวจิต. มะเร็งกับการกน ิ เนื้<strong>อ</strong>สัตว์. http://www.geocities.com/. 1 ตุลาคม 2550<br />

<strong>ชุ</strong>มชนวัฒนธรรมศีรษะ<strong>อ</strong>โศก. 2552. วถีวัฒนธรรมบุญนยมสูความสําเร็จ ิ ิ ่ ความเข้มแข็ง<br />

ความยั่งยืน ข<strong>อ</strong>งศีรษะ<strong>อ</strong>โศก


์<br />

ิ<br />

ิ<br />

ิ<br />

ิ<br />

ิ<br />

.____. 2550. เ<strong>อ</strong>กสารโครงการฟื้นฟูและสงเสรมสุขภาพ ่ ิ ด้วยหลักสุขภาพ<strong>อ</strong>งค์รวม 8 <strong>อ</strong>.<br />

<strong>ณ</strong> <strong>ชุ</strong>มชนศีรษะ<strong>อ</strong>โศก.<br />

ธรรมทัศน์สมาคม. 2535. หัวใจย<strong>อ</strong>ดนักธรรมและข<strong>อ</strong>งดีจากพระไตรปฎก. กรุงเทพฯ:<br />

ฟา<strong>อ</strong>ภัย ้ .<br />

ธรรมรักษ์ การพิศิษฏ์. 2545. แผนพัฒนาประเทศ, สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน.<br />

กรุงเทพฯ: รุ่งศิลปการพิมพ์ ์ .<br />

ธัญญลักษ<strong>ณ</strong>์ เหล็กพิมาย. 2547. การน<strong>อ</strong>นหลับกับสุขภาพ. สํานัก<br />

บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา.<br />

http://www.uniserv.buu.ac.th/forum2/topic.asp?TOPIC_ID=659 .<br />

1 ตุลาคม 2550.<br />

นูไซด์ ค<strong>อ</strong>เป<strong>อ</strong>ร์เรชั่น.2545. ประโยชน์ข<strong>อ</strong>ง<strong>อ</strong><strong>อ</strong>กซเจน ิ .<br />

http://www.gmwebsite.com/Website/index.<br />

13 พฤษภาคม 2551.<br />

ผู้จัดการ. 2549. ความเสียหายที่เกดขึ้นกับคนน<strong>อ</strong>นดึก<br />

ิ .<br />

http//www.samunpai.com/. 1 ตุลาคม 2550.<br />

บรรจบ <strong>ชุ</strong><strong>ณ</strong>หสวัสดิกุล. 2547. ล้างพษรักษาโรค <strong>อ</strong>ดเพื่<strong>อ</strong>สุขภาพ.<br />

กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์รวมทรรศน์.<br />

ประเวศ วะสี.2552. จตวญญา<strong>ณ</strong>ในสังคมไทย<br />

ิ ิ .<br />

http://www.dhamma4u.com./. 30 ธันวาคม 2553.<br />

ปาริชาติ สักกะทํานุ. 2545. ทฤษฏีใหม ่ ดีท็<strong>อ</strong>กซ์และเปดปดยีน ิ ิ<br />

เพื่<strong>อ</strong><strong>อ</strong>ายุยืนยาว. กรุงเทพฯ: รวมทรรศน์.<br />

พงษ์ศักดิ น้<strong>อ</strong>ยพยัคฆ์ . 2550. Detox solutions 14 แผนล้างพษ<br />

เพื่<strong>อ</strong>ชีวตสุขภาพดี. กรุงเทพฯ: ซีเ<strong>อ</strong>็ดยูเคชั่น.<br />

พริตตี ้ เค. 2552. ล้างพษเพื่<strong>อ</strong>สุขภาพ ิ . กรุงเทพฯ: ไพลินบุ๊คเน็ต.<br />

พันธิตร์ มะลิสุวรร<strong>ณ</strong>. 2552. เบาหวาน รู ้ทันป้ <strong>อ</strong>งกันได้. กรุงเทพฯ: <strong>อ</strong>ิมเมจิมีเดีย.<br />

มานพ ประภาษานนท์. 2551. แข็งแรง<strong>อ</strong>ายุเกน ิ 100 ด้วยวธี<br />

รักษาสุขภาพแบบ<strong>อ</strong>งค์รวม. นนทบุรี: ชบา<br />

พับลิชชิ่งเวิร์กส์.<br />

รีดเด<strong>อ</strong>ร์ส ไดเจสท์. 2550. ลดค<strong>อ</strong>เลสเต<strong>อ</strong>ร<strong>อ</strong>ลใน 12 สัปดาห์.<br />

กรุงเทพฯ: รีดเด<strong>อ</strong>ร์ส ไดเจสท์.


ิ<br />

ิ<br />

่<br />

ลลิตา ธีระสิริ. 2548. ล้างพษ ิ 10 วัน ตํารับบัลวี. กรุงเทพฯ: รวมทรรศน์.<br />

วิจิตร บุ<strong>ณ</strong>ยะโหตระ. 2537. <strong>อ</strong>าหาร<strong>อ</strong>ายุวัฒนะ. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.<br />

สถาบันธัญญารักษ์. 2548. ฤทธข<strong>อ</strong>งสุราต<strong>อ</strong>สุขภาพและผลกระทบจากการดื่มสุรา<br />

์ ่ .<br />

http://www.thanyarak.go.th/thai/index. 15 กุมภาพันธ์ 2554.<br />

สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์. 2550. โรคร้ายแหงการพ<strong>อ</strong>กพูนสะสม. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.<br />

สม<strong>ณ</strong>ะโพธิรักษ์. 2547. <strong>อ</strong>ทธบาท ิ ิ 4. กรุงเทพฯ: ฟา<strong>อ</strong>ภัย ้ .<br />

สํานักงานก<strong>อ</strong>งทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. 2548. <strong>อ</strong><strong>อ</strong>กกําลังกายเป็นยาวเศษ ิ .<br />

กรุงเทพฯ : หม<strong>อ</strong>ชาวบ้าน.<br />

สํานักงานก<strong>อ</strong>งทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.2554. โทษข<strong>อ</strong>ง การน<strong>อ</strong>นดึก.<br />

http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/20529.<br />

วันที ่ 17 กุมภาพันธ์ 2554.<br />

<strong>อ</strong>ารีย์ วชิรมโน. 2551. รู ้วธีดีท็<strong>อ</strong>กซ์ . กรุงเทพฯ: ฟา ้ <strong>อ</strong>ภัย.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!