05.11.2014 Views

07-fonts

07-fonts

07-fonts

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

่<br />

่<br />

7/22/2010<br />

ความเปนมาของตัวอักษร<br />

ที่มาของภาษาและตัวอักษรตางๆ<br />

ทมาของภาษาและตวอกษรตางๆ<br />

ภาษา<br />

คือเสียงหรือกริยาอาการซึ่งทําความเขาใจกันได คอเสยงหรอกรยาอาการซงทาความเขาใจกนได คําพดหรือถอยคํา คาพูดหรอถอยคา<br />

ที่ใชพูดจากัน<br />

ศรรวริศา เมฆไพบูลย<br />

713 ชั้น 7<br />

san@tu.ac.th<br />

sanwarisam@hotmail.com<br />

ภาษาพูด<br />

เกิดจากการเลียนเสียงธรรมชาติ การแสดงออกของเสียงที่เกิดความ<br />

ความรูสึกหรืออารมณของคน หรือการตกลงระหวางบุคคลที่จะให<br />

ความหมายแกเสียงหนึ่งๆ<br />

สิ่งที่สื่อสารควบคูกับภาษาพูดก็คือภาษาเขียน<br />

ตัวอักษรหรือตัวหนังสือ<br />

คือสัญลักษณของภาษาเขียน คอสญลกษณของภาษาเขยน ซึ่งมีวิวัฒนาการมาเปนลําดับ<br />

ซงมววฒนาการมาเปนลาดบ<br />

‐ Pictograph, picture writing หนังสือเขียนตามภาพ<br />

‐ Ideograph, ideographic writing หนังสือเขียนเปนเครื่องหมายแทน<br />

ความหมายตางๆ<br />

‐ Syllabary, syllabic writing หนังสือเขียนตามเสียงพูด<br />

‐ Alphabet หนังสือเขียนแทนรากฐานของเสียงแตละ<br />

เสียง เสยง ซึ่งตองผสมกันเปนคําอาน<br />

ซงตองผสมกนเปนคาอาน<br />

• ตัวหนังสือเขียนตามภาพ pictograph, picture writing<br />

จําลองจากธรรมชาติ จาลองจากธรรมชาต เรียกวาอักษรภาพ เรยกวาอกษรภาพ<br />

– คนเรนเดียรทางเหนือของยุโรปรูจักทําเครื่องมือหินจากกระดูกสัตว และมี<br />

การสลัก (engraving) เครื่องหมายสลักเปนรองๆไวบนเครื่องมือหิน ซึ่งคง<br />

เปนเครื่องชวยจําหรือมีความหมายอยางใดอยางหนึ่ง ตอมา จึงมีการสลัก<br />

ภาพนูนต่ํา (bas relief) และพัฒนาเปนการแกะสลักรูปโดยสมบูรณ<br />

(sculpture) เปนคนกลุมแรกที่มีการเขียนภาพตามผนังถ้ําที่ตนอาศัย<br />

– ภาพเขียนสีในยุโรปที่ใชถานและสีบางชนิด เริ ่มจากวาดอวัยวะของสัตว<br />

เปนสวนๆ (เชน หัว ขา) บนหิน ตอมาจึงพัฒนาเปนการวาดภาพสัตวที่มี<br />

อากัปกิริยาตางๆ เชน วัววิ่ง ชางกําลังกินอาหาร กวางชนกัน ซึ่งเปนการเลา<br />

เหตุการณ<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 1


7/22/2010<br />

• ตัวหนังสือเขียนตามภาพ pictograph, picture writing<br />

– ตอมา จึงเปนภาพอวัยวะของคน (มือ เทา หนา) กอนจะเปนภาพคนเต็มตัว<br />

แลวจึงเปนคนทํากิริยาตางๆ เชน วิ่ง เดิน นอน แลวคอยพัฒนาเปนคนปนกับ<br />

สัตว เชน คนกําลังลาสัตว กําลังเฉลิมฉลอง เปนตน<br />

– นอกจากฝาผนังซึ่งเปนหินแลว ยังมีการเขียนบนวัตถุตางๆ เชน เครื่องใชไม<br />

สอย มีการใชเครืองหมายตางๆเปนเครืองชวยจํา ื่ ่ื<br />

ํ เชน ชาวเปรูใชเชือกสีตางๆ ปใ ื ี <br />

ผูกเปนปมเพื่อเปนเครื่องหมายแสดงเรื่องราวแทนการบันทึก<br />

• ตัวหนังสือเขียนเปนเครื่องหมายแทนความหมายตางๆ<br />

ideograph, ideographic writing<br />

เมื่อความรูสึกนึกคิดของมนุษยเติบโตกวางขวางขึ้น ไมอาจใชอักษร<br />

ภาพแทนความรูสึกนึกคิดไดหมด จึงตองคิดเครื่องหมายเปนสัญลักษณ<br />

– อักษรคูนิฟอรม cuneiform ในเมโสโปเตเมีย (cuneus = ลิ่ม, formus =<br />

รูป) ซึ่งมีลักษณะเปนรูปลิ่ม ซึ่งชาวสุเมเรียถายทอดใหชาวบาบิโลเนีย และ<br />

อัสซีเรีย ี ี ซึงอาศัยอยู ่ึ<br />

ในแถบลุมนําไทกริส-ยูเฟรติสตามลําดับ<br />

้ํ ิ ิ ํ ั<br />

(ราว 4,000 -1,200 ปกอนคริสตศักราช) ภาษานี้มีการใชงานมา<br />

เรื่อยๆ กอนจะลดความนิยมลงเมื่อชนชาติเหลานั้นเสื่อมอํานาจ<br />

และตายไปในที่สุดราว 6 ปกอนคริสตศักราช<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 2


7/22/2010<br />

• ตัวหนังสือเขียนเปนเครื่องหมายแทนความหมายตางๆ<br />

ideograph, ideographic writing<br />

– อักษรเฮียโรกลิฟก hieroglypic ของอียิปต (heiros = holy, glyphein = carve)<br />

เปนการแกะสลักบนผนังศาสนสถาน หลุมศพ เครื่องปนดินเผา มีอายุเกาแกพอๆกับ<br />

อักษรรูปลิ่มในเมโสโปเตเมีย พัฒนาจากอักษรภาพ<br />

– คิดคนปาปรัส papyrus โดยใชหญาชนิดหนึ่งมาทุบใหแบน ตากแหง<br />

ทาแปงเปยกประกบทับกันเปนวัสดุรองเขียน กอนจะคิดเอาปลองหญามาทําปากกา<br />

จิ้มหมึกซึ่งทําดวยถานปนผสมแปงเปยก<br />

จมหมกซงทาดวยถานปนผสมแปงเปยก<br />

– ตัวหนังสือวิวัฒนาการจาก hieroglyphic > hieratic > demotic<br />

จากการเขียนบนลงลางและขวาไปซายเปนการเขียนในแนวนอน แมวาบางตัวจะมี<br />

ลักษณะแทนรากฐานของเสียงที่ตองผสมกันเปนคําถึงจะอานได แตมีความผสม<br />

ปนเปทั้ง pictograph, ideograph, phonetic จึงไมจัดอยูในหมวดตัวอักษรแทน<br />

รากฐานของเสียง<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 3


7/22/2010<br />

• ตัวหนังสือเขียนเปนเครื่องหมายแทนความหมายตางๆ<br />

ideograph, ideographic writing<br />

– อักษรจีน เริ่มตนเมื่อราว 3,000 ปกอนคริสตศักราช โดยแกะสลักบนหิน กระดูก ไม<br />

และแผนโลหะ กอนจะเขียนบนไมไผซึ่งหางายและมีอยูมากในจีน และเมื่อคิดคน<br />

หมึกจากเขมาไฟ พูกันจากขนสัตว ผาไหมและกระดาษได ตัวหนังสือจีนจึงมีการ<br />

เขียนที่มีเสนหนักเบาเปนศิลปะอยางหนึ่ง โดยจะเขียนจากบนลงลางและขวาไปซาย<br />

– พัฒนาจาก pictograph คอยๆแปลงเปน ideograph เปนการเขียนเลียนแบบของ<br />

จริง จรง (Hsiang Hsing) การคิดเครื่องหมายขึ้นแทนสิ่งที่วาดไมได การคดเครองหมายขนแทนสงทวาดไมได (Chih Shih) การผสม<br />

ตัวหนังสือหลายตัวเปนคําใหม (Hui‐i) การสรางความหมายตรงขามของคําดวยการ<br />

พลิกสลับคําเดิม (Chuan Chu) เปนตน โดยจะเขียนจากบนลงลาง และขวามาซาย<br />

เปนตน<br />

ตนไม ปา ปาทึบ<br />

พระอาทิตย พระจันทร แสงสวาง<br />

• ตัวหนังสือเขียนเปนเครื่องหมายแทนความหมายตางๆ<br />

ideograph, ideographic writing<br />

— ลักษณะของ ideograph มีประโยชนสําหรับประเทศจีนที่มีความกวางใหญและมี<br />

ประชากรจํานวนมากในแงที่ชวยใหภาษาเขียนมีความหมายเดียวกัน เขาใจกันได<br />

แมวาจะมีการออกสําเนียงคนละอยาง<br />

— นอกจากนี้ ยังมีตัวอักษรของกลุมชนอื่นๆ เชน ชนโบราณในอินเดีย ชนพื้นเมือง<br />

ในหมูเกาะกลางแปซิฟก ชนชาวแอซเทกและมายาในอเมริกาใต เปนตน เพียงแตยัง<br />

ไมมีการไขความหมายไดกระจางวาหมายถึงอะไรและอานออกไดวาอยางไร<br />

บน<br />

ลาง<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 4


ึ<br />

7/22/2010<br />

• ตัวหนังสือเขียนตามเสียงพูดเปนคํา syllabary, syllabic writing<br />

เปนการใชเครื่องหมายแทนเสียง เปนการใชเครองหมายแทนเสยง เมออานออกมาเปนเสยง<br />

เมื่ออานออกมาเปนเสียง<br />

ก็เขาใจความหมายไดเลย<br />

– ตัวอักษรของซีเรีย หรือพวกไบโบลสในยุคสําริด (pseudo‐heiroglyphic script) ที่<br />

อียิปตยืมไปเมื่อ 2,200 ปกอนคริสตศักราช<br />

– ตัวอักษรของชาวเกาะไซปรัสกลางทะเลเมดิเตอรเรเนียน (Cypriote syllabary) เมื่อ<br />

ราว 600-300 ปกอนคริสตศักราช<br />

– ตัวอักษรภาษาญีปุนทีคิดขึนใหมในราวศตวรรษทีเกา ี่ี่ ึ้ ี่ เปนอักษรคะนะ (kana)<br />

ซึ่งประกอบดวยคาตาคะนะ สําหรับเขียนชื่อบุคคลตางประเทศ คิดโดยคิบิ เสนาบดี<br />

ในศตวรรษที่แปด และฮิราคะนะ เปนอักษรกํากับไวยากรณสวนใหญที่พระสงฆ<br />

โคโบไดชิ คิดเมื่อตนศตวรรษที่เกา<br />

– รวมถึงตัวอักษรของชนพื้นเมืองในอเมริกา ชนเผาวาอิและเมนเดในแอฟริกา เปนตน<br />

japanese<br />

cree<br />

cherokee<br />

• ตัวหนังสือเขียนแทนรากฐานของเสียง alphabet<br />

ตองนํามาผสมกันอานออกเสียงเปนคําที่มีความหมาย<br />

ตองนามาผสมกนอานออกเสยงเปนคาทมความหมาย<br />

– อักษรฟนีเชียน ซึ่งมีพยัญชนะ 19 ตัว และไมมีสระ ชาวฟนีเชียน<br />

(Phoenician, Cannaanite) เปนกลุมพอคาทางเรือในทะเลเมดิเตอรเรเนียน<br />

(อิสราเอล) เคยเปนเมืองขึ้นของอียิปต อัสซีเรียและบาบิโลเนีย การเดินทาง<br />

คาขายในดินแดนตางๆทําใหไดรับอิทธิพลและวัฒนธรรมจากหลายแหลง<br />

และปรับปรุงสรางตัวหนังสือของตัวเองเพื่อบันทึกเรื่องราวการคา โดยคํานึงถึง<br />

ความสะดวกมากกวาความสวยงาม จึงมีลักษณะ ี ั<br />

ของการแปลงตัวหนังสือของชาติตางๆที่ขอยืมมา<br />

ถือเปนตนแบบของภาษาตางๆซึ่งไดแตกแขนง<br />

ออกไปในสมัยตอมา<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 5


7/22/2010<br />

• ตัวหนังสือเขียนแทนรากฐานของเสียง alphabet<br />

– อักษรกรีก อกษรกรก ราว 800 ปกอน ปกอน ค.ศ. ชาวกรีกรงเรืองขึ้นเจริญในทะเลเมดิเตอร<br />

ชาวกรกรุงเรองขนเจรญในทะเลเมดเตอร-<br />

เรเนียนหลังอารยธรรมอียิปตเสื่อมลง และรับอักษรฟนีเชียนมาดัดแปลงให<br />

สวยงามเปนเหลี่ยม คิดสระขึ้นผสมพยัญชนะ ทําใหอานออกเสียงไดชัดเจน<br />

– ยุคแรกมีลักษณะการเขียนจากซายไปขวาบรรทัดหนึ่งและขวาไปซายบรรทัด<br />

หนึ่งสลับกันแบบรอยไถ boustrophedon และเมื่อกลับบรรทัด ตัวอักษรก็จะ<br />

กลับขางกันดวย<br />

• ตัวหนังสือเขียนแทนรากฐานของเสียง alphabet<br />

– ตอมาเมื่อ ตอมาเมอ 600 ปกอน ปกอน ค.ศ. กรีกเปลี่ยนวิธีเขียนมาเปนซายไปขวาทางเดียว<br />

กรกเปลยนวธเขยนมาเปนซายไปขวาทางเดยว<br />

และเขียนเปนแถวๆ<br />

– อักษรกรีกเขียนโดยไมเวนชองวางระหวางคํา และมีเฉพาะตัวใหญ capital<br />

letter ไมมีตัวเล็ก lowercase letter<br />

– ในระยะแรกเปนการเขียนเพื่อจารึกเรื่องราวสําคัญบนแผนหินและปาปรัสที่สั่ง<br />

จากอียิปต รวมทั้งการเขียนชั่วคราวโดยใชเหล็กแหลมเขียนบนขี้ผึ้งเคลือบ<br />

แผนไมที่เรียกวา waxtablet เมื<br />

่อตองการเขียนใหมก็นําไปลนไฟใหขี้ผึ้งละลาย ้ ้<br />

• ตัวหนังสือเขียนแทนรากฐานของเสียง alphabet<br />

– อกษรโรมน ั ั ชาวโรมันเจริญขึนหลังจากอารยธรรมกรีกเสือมลง ั ิ ้ึ<br />

ั ี ่ื<br />

โดยโรมันยึดโ ั ึ<br />

ครองกรีกและรับวัฒนธรรมกรีกไปใชและเผยแพรออกไปกวางขวาง รวมทั้ง<br />

อักษรกรีกที่นํามาดัดแปลงใหมีลักษณะโคงมนและมีเสนหนาบางขึ้น<br />

(เนื่องจากการใชปากกาขนนกตัดปลายแบนจิ้มหมึกเขียนบนแผนหนังโดยทํา<br />

มุมเอียงกับเสนบรรทัด 30 องศา) ใสกนก serif ใหตัวหนังสือ และเพิ่มเติม<br />

ตัวหนังสือบางตัวขึ้นดวย ตวหนงสอบางตวขนดวย ถือเปนตนกําเนิดของตัวอักษรฝรั่ง<br />

ถอเปนตนกาเนดของตวอกษรฝรง<br />

– ราวป ค.ศ. 867 บาทหลวงอังกฤษชื่อ Alcuin ไดดัดแปลงสรางรูปตัวหนังสือที่<br />

เปนตัวเล็กหรือ lowercase letter ขึ้น<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 6


7/22/2010<br />

• ตัวหนังสือเขียนแทนรากฐานของเสียง alphabet<br />

– อักษรอินเดีย อกษรอนเดย เปนตนกําเนิดอักษรของชาติตางๆในเอเชียหลายชาติ เปนตนกาเนดอกษรของชาตตางๆในเอเชยหลายชาต เรมจาก เริ่มจาก<br />

อักษรภาพของพวกทมิฬ ซึ่งมีความเจริญแถบลุมน้ําสินธิเมื่อ 3,000-2,000<br />

ปกอน ค.ศ.<br />

– ราว 2,000-1,000 ปกอน ค.ศ. ชนเผาอารยันขับไลทมิฬที่อยูในอินเดียเดิม<br />

ออกไปแลว ไดคิดอักษรพราหมี ซึ่งรับแบบอยางจากอักษรฟนีเชียนมาใชเมื่อ<br />

ราว 500-600 ปกอน ค.ศ. โดยเปนตัวหนังสือที่เขียนแทนรากฐานของเสียง มี<br />

ลักษณะการเขียนจากซายไปขวาและบนลงลาง ี เขาใจวานาจะรับแบบอยาง<br />

ั <br />

มาจากอักษรฟนีเชียน เนื่องจากอินเดียโบราณมีหลายอาณาจักร มีภาษา<br />

หลายภาษา จึงมีรูปตัวหนังสือหลายแบบ แตไมแพรหลายจนกระทั่งเลย<br />

พุทธกาลแลวหลายรอยป อินเดียเหนือมีอักษรแบบเหลี่ยมเรียกวาอักษร<br />

เทวนาครี สวนอินเดียใตเขียนตัวมนกลม เรียกวาอักษรคฤนถ<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 7


7/22/2010<br />

• ตัวหนังสือเขียนแทนรากฐานของเสียง alphabet<br />

– อักษรไทยมาจากอินเดีย อกษรไทยมาจากอนเดย มีการพบอักษรอินเดียบนศิลาจารึกในไทย มการพบอกษรอนเดยบนศลาจารกในไทย พมา พมา เขมร<br />

โดยที่เกาแกที่สุดคือศิลาจารึก “เย ธฺมมา” ที่พระปฐมเจดีย จารึกเมื่อราวป พ.ศ.<br />

1,100-1,200 ถือเปนแมบทอักษรของขอมและมอญซึ่งเปนชาติเกาแกในสุวรรณภูมิ<br />

– ขอมดัดแปลงอักษรอินเดียใตที่มีลักษณะกลมมนใหเปนเหลี่ยมขึ้นสําหรับสลักบน<br />

หิน เพิ่มขนาด “หนามเตย” หรือเสนบนตัวอักษรใหใหญขึ้น ดูวิจิตรงดงามกวาเดิม<br />

– คนไทยซึ่งอพยพจากจีนมาอยูในแถบลุมน้ํายม ซึ่งติดกับมอญ ไมมีตัวหนังสือของ<br />

ตนเอง จึงรับหนังสือมอญมาใชกอน จงรบหนงสอมอญมาใชกอน ดูจากอกษรไทยบางกลุม ดจากอักษรไทยบางกลม (ลื้อ (ลอ ผไทย ผูไทย อาหม) ที่มี ทม<br />

ลักษณะคลายอักษรมอญ<br />

– ราวป พ.ศ. 1500 ขอมแผอิทธิพลถึงเมืองเชลียง (สุโขทัย) คนไทยจึงนาจะไดรับ<br />

ตัวหนังสือราชการของขอม (ขอมหวัด) ไปใช<br />

• ตัวหนังสือเขียนแทนรากฐานของเสียง alphabet<br />

– ป พ.ศ. 1800 พอขุนศรอนทราทตยประกาศอสรภาพจากขอม ี ิ ิ ป ศ ิส และตอมา <br />

ในสมัยพอขุนรามคําแหง ทรงมีพระราชประสงคใหคนไทยเลิกประพฤติ<br />

ตามขนบธรรมเนียมขอมและเลิกใชภาษาขอมในราชการ จึงทรงประดิษฐ<br />

อักษรไทยขึ้นตามศิลาจารึกเมื่อป พ.ศ. 1828 โดยดัดแปลงจากอักษรขอมหวัด<br />

เชน เปลี่ยนรูปอักษรที่ยุงยากใหงายขึ้น ยายสระมาไวบรรทัดเดียวกับ<br />

พยัญชนะ และคิดวรรณยุกตขึ้นเพื่อใหออกเสียงสูงต่ําในภาษาไทยได (คํา<br />

มอญและขอมไมมวรรณยุกต) ี ) จนสมยพระยาลไท ั ิไ จงไดยายสระกลบไปไว<br />

ึ ั ไปไ <br />

ขางบนและขางลางพยัญชนะตามแบบขอมอีก จนสมัยพระนารายณมหาราช<br />

การศึกษาภาษาไทยเจริญกาวหนาและมีการปรับตัวอักษรใหงายขึ้น มีรูปแบบ<br />

เกือบเหมือนปจจุบัน<br />

• ปจจัยที่กอใหเกิดรูปตัวหนังสือ<br />

– ความนึกคิดของมนษย<br />

ความนกคดของมนุษย<br />

– ภาษาพูด เปนตนแบบที่พัฒนาใหเกิดภาษาเขียนขึ้นรองรับภาษาพูด<br />

– วัตถุที่ใชเขียน เชน การใชเหล็กแหลมขูดขีด การใชไมจิ้ม การใชพูกัน การใช<br />

ปากกาขนนก ปากกาหมึกซึม และปากกาลูกลื่น รวมถึงวัตถุรองรับ เชน หิน<br />

ไม กระดาน ใบลาน กระดาษ สงผลใหรูปตัวหนังสือตางกัน<br />

– ความเร็วในการเขียน ความเรวในการเขยน ทําใหตัวหนังสือมีวิวัฒนาการงายขึ้น ทาใหตวหนงสอมววฒนาการงายขน เชน เชน ภาษาอยปต ภาษาอียิปต<br />

พัฒนาตัวฮีราติกเปนเดโมติก หรือการพัฒนาตัวใหญเปนตัวเล็ก<br />

– สุนทรียะทางศิลปะของกลุมคนแตละกลุมสงผลตอการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ<br />

ตัวอักษรได<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 8


7/22/2010<br />

Typography<br />

วิวัฒนาการของแบบอักษรพิมพ<br />

เริ่มจากการออกแบบรูปอักษรขึ้น เพื่อสื่อ<br />

ความคิดใหแพรหลายเมื่อการพิมพพัฒนาขึ้น<br />

มีการหลอตัวพิมพขึ้นใช โดยเริ่มจากการ<br />

ดัดแปลงจากแบบลายมือเขียนกอน<br />

การใชอักษรเปนสื่อการถายทอดขอความผานสิ่งพิมพที่ดําเนินมาในอดีต<br />

ไดพัฒนาและวิวัฒนขึ้นตามลําดับ อุปกรณและเทคโนโลยีในการจัดการตัวอักษร<br />

ที<br />

่ทําหนาที่ถายทอดสารหรือขอความจึงตองพัฒนาขึ้นดวย ่ ้ ตั้งแตการออกแบบตัวอักษร<br />

การคิดเครื่องเรียงพิมพที่ใชวิธีการเรียงพิมพตัวอักษรดวยตัวตะกั่วหรือตัวหลอ<br />

จนมาถึงการประดิษฐเครื่องเรียงพิมพดวยคอมพิวเตอร<br />

แบบอักษรที่ใชในงานพิมพพัฒนามาเปนลําดับและมีแนวโนมจะพัฒนาตอไปในอนาคต<br />

สวนตางๆของอักษรโรมัน<br />

apex<br />

A W<br />

EKY<br />

bdhl<br />

arm<br />

ascender<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 9


้<br />

7/22/2010<br />

bar<br />

A H f<br />

K R<br />

F t<br />

stem<br />

leg<br />

cross stroke<br />

Q<br />

tail<br />

V M G<br />

pgyj n<br />

loop<br />

vertex<br />

ear<br />

descender<br />

shoulder<br />

spur<br />

ลักษณะและรูปแบบของตัวอักษรภาษาอังกฤษ (โรมัน)<br />

ที่ใชกันอยูในปจจุบันมีวิวัฒนาการมายาวนานหลายศตวรรษ<br />

จึงเกิดแบบอักษรมากมาย แตสามารถจัดเปนกลุมได 7 แบบ<br />

Old Styles Serif ตัวอักษร<br />

มีปลายที่มุมและคอนขางมน<br />

มีเสนหนาและบางในตัวเดียวกัน<br />

แตความหนาบางไมตางกันมาก<br />

กนกมีลักษณะมนทู เกิดจากการ<br />

เลียนแบบการเขียนดวยปากกา<br />

ขนนกบนกระดาษ เชน Times<br />

Roman, Caslon เปนตน ใช<br />

พิมพหนังสือทั่วไป<br />

Transitional ตัวอักษร<br />

มีปลายเปนมุมแหลม ความ<br />

แตกตางระหวางเสนหนาและ<br />

บางเห็นชัดขึ้น โดยเสนบาง<br />

จะเล็กและคมกวา กนกมีมุม<br />

แหลม เกิดเมื่อแมแบบหลอ<br />

ตัวพิมพทําไดละเอียดขึ้น เชน<br />

Baskerville, Century,<br />

Caledonia เปนตน<br />

Modern Serif ปลายของ<br />

ตัวอักษรจะเปนเสนบางตรง ไมมี<br />

มุม ความแตกตางระหวางสวน<br />

หนาและบางเห็นชัด เกิดเมื่อ<br />

เทคนิคการทําแมทองแดงและ<br />

กระดาษพัฒนา กนกมีลักษณะ<br />

บาง เชน Bodoni Didot<br />

เปนตน<br />

Square Serif / Slab Serif<br />

ตัวอักษรและปลายของตัวอักษรหนา<br />

เทากันเปนรูปเหลี่ยม มีมุมหรือไมมี<br />

มุมก็ได เกิดจากการเลียนแบบการ<br />

เขียนดวยปากกาหมึกซึมซึ่งไมมีเสน<br />

หนาบาง กนกมีลักษณะเปนเหลี่ยม<br />

(ตัวพิมพดีด) เชน Rockwell,<br />

Clarendon เปนตน<br />

Sans Serif หรือ Block letter<br />

หรือ Contemporary ตัวอักษรไม<br />

มีปลาย ไมมีหัว เสนอักษรหนาหรือบาง<br />

เทากันทั ้งหมด เปนผลจากการเขียนดวย<br />

ปากกาโลหะ เชน Gothic, Futura,<br />

Helvetica เปนตน<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 10


7/22/2010<br />

Script/Cursive ตัวอักษร<br />

ลายมือ มีทั้งตัวบรรจง ตัวบรรจงแกม<br />

หวัด ตัวหวัด นิยมใชเปนหัวขอหรือ<br />

ชือเรืองมากกวาเนือเรือง<br />

Graphic ตัวอักษรเหมือนการวาด<br />

มากกวาการเขียน เชน Old English,<br />

Wedding Text ใชในงานพิธี งาน<br />

์ ์ ี ื ี<br />

Decorative, Display<br />

ตัวอักษรที่มีลักษณะพิเศษ หรือ<br />

ตัวอักษรเลนหาง เชน เปนตัว<br />

ี <br />

ื่ื่ ื้ ื่ ศักดิสิทธิ เชน พิธีแตงงานหรือพิธีศาสนา การตูน แฟนซี เจาะขาว เปนตน<br />

Polyglot ตัวอักษร<br />

ภาษาตางประเทศโดยเฉพาะ<br />

ซึ่งอาจมีลักษณะการออกแบบ<br />

แตกตางจากตัวอักษรโรมัน<br />

Pi, Symbol, Logo,<br />

Ornament & Image<br />

ตัวอักษรที่เปนสัญลักษณ อักขระ<br />

พิเศษ หรือรูปภาพ<br />

ตัวอักษรประดิษฐแบงเปนสี่แบบ คือ ตัวบรรจง ตัวบรรจงแกมหวัด ตัวหวัด ตัวประดิษฐ<br />

ตัวอยาง<br />

แบบอักษร<br />

Old Style Serif: Carslon Garamond Plantin<br />

Transitional: Baskerville Bell Perpetua<br />

Mondern Serif: Bodoni Fenice Mondern No. 20<br />

Square Serif: Serifa Egyptian Lubalin Graph<br />

Sans Serif: Gill Sans Futura Helvetica<br />

Modified Sans Serif: Albertus Souvernir Gothic Optima<br />

Connecting Scripts: Brush Script Commercial Script English Script<br />

Mon‐Connecting Scripts: Phyllis Zapf Chancery Van Dijk<br />

Typeface Family Ties<br />

ครอบครัวตัวพิมพ โดยสวนใหญแลว ครอบครัวตัวพิมพจะมีอยางนอยสี่<br />

ชีวิต คือตัวเนื้อธรรมดา ตัวหนา ตัวเอน และตัวหนาเอน<br />

แตนักออกแบบสามารถออกแบบใหหลากหลายไดอีก<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 11


่<br />

7/22/2010<br />

capital line<br />

ascender line<br />

mean line<br />

ascender ตัวอักษร<br />

ที่มีสวนยื่นขึ้นมาจาก<br />

เสนความสูง x-height<br />

Cap height<br />

ความสูงของตัวนํา<br />

ตัวนํา ํ UPPER CASE, capitals, CAPS<br />

นิยมใชเปนหัวขอหรือชื่อเรื่อง โดยใชเปนตัวนําทั้งหมด<br />

หรือตัวนําเฉพาะตัวแรกของคํา เชน<br />

LET’S GO TO THE SEA<br />

Let’s Go To The Sea<br />

ตัวตาม LOWER CASE, l.c.<br />

ขอความหรือเนื้อเรื่อง ใชเปนตัวตามทั้งหมด<br />

ยกเวนตัวแรกของคําขึ้นตกประโยค<br />

เสนสมมติที่เปนฐานวางตัวอักษร<br />

base line<br />

descender<br />

descender line<br />

ตัวอักษรที่มี<br />

สวนยื่นลงมา<br />

จากเสนความ<br />

สูง x-height<br />

โครงสรางตัวอักษรภาษาอังกฤษมีสามระดับ<br />

- ระดับบนสุด อยูที่ระดับ เสนชานบน ascender line<br />

เปนระดับที่สวนหางของตัวตามยื่นขึ้นไปสุดพอดี<br />

ตัวตามลักษณะนี้เรียกวา ตวตามลกษณะนเรยกวา ascender เชนตัว เชนตว b k h t<br />

- ระดับกลาง คือตัวตามที่มีความสูงไมเกินเสนความสูงตัว x<br />

เรียกวา x‐height ไดแก a c m n o<br />

- ระดับลางสุด อยูที่ระดับ เสนชานลาง descender line<br />

ซึ่งปลายหางของตัวตามยื่นไปแตะ<br />

ตัว ascender เชน p g y เปนตน<br />

x‐height<br />

ตัวอักษรทีมี<br />

ั ี่ ี<br />

ความสูขเทากับ<br />

ความสูงของ<br />

ตัว x<br />

ภาษาไทยเรียก<br />

ระยะความสูง บ.<br />

หรือ “สูง บ”<br />

Depth of Face<br />

ลําตัวอักษร<br />

ascender line<br />

mean line<br />

base line<br />

descender line<br />

type size<br />

ความลึกหรือ<br />

ความสูงรวมของ<br />

ตัวอักษร วัดจาก<br />

เสนสูงสุดถึงเสน<br />

ต่ําสด ตาสุด มีหนวย มหนวย<br />

เปน point<br />

key size<br />

ความสูงเฉลี่ย<br />

ที่คํานวณจาก<br />

ความสูงของ<br />

ตัวใหญ (caps)<br />

SANS serif<br />

ในบรรดาแบบอักษรจํานวนมาก<br />

ที่มีใชอยูในปจจุบัน สามารถจัด<br />

เปนกลุมกวางๆไดสองกลุมคือ<br />

serif และ sans serif<br />

serif คือแบบอักษรที่มีปลายหางสั้นๆ<br />

ปดหัวปดทาย สวนแบบอักษรที่ไมมี<br />

ขีดเล็กๆเรียกวา sans serif<br />

sans มาจากคําภาษาฝรั่งเศส แปลวา ไมมี<br />

stress<br />

serif<br />

Roman ตัวธรรมดา * italic ตัวเอน<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 12


7/22/2010<br />

อักษรไทยและแบบตัวพิมพไทย<br />

โครงสรางและรูปลักษณะของอักษรไทย<br />

• ตวอกษรไทยม ั ั ี 44 ตว ั หลายตวมลกษณะคลายกน ั ี ั ั (คูสบสน สั ส เชน ข-ช,<br />

ค-ศ, ล-ส, ด-ต)<br />

• ตัวอักษรไทยมี 4 ระดับ มีรูปสระอยูรอบทิศทาง (บน ลาง หนา หลัง)<br />

– ระดับบนสุดเปนระดับวรรณยุกต เอก โท ตรี จัตวา การันต และไมไตคู<br />

– ระดับที่สองเปนระดับพยัญชนะที่มีหางบน สระบน และสระที่มีหางบน<br />

เชน ช ซ ป ฝ ฟ ศ ส ฬ ฮ โ ไ ใ อิ ิ อี ี<br />

– ระดับที่สามเปนระดับพยัญชนะที่เสมอบรรทัด เชน ก ข ค บ อะ อา<br />

– ระดับที่สี่เปนระดับพยัญชนะที่มีหางลางและสระลาง เชน ญ ฐ ฏ ฎ อุ อู<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 13


7/22/2010<br />

โครงสรางและรูปลักษณะของอักษรไทย<br />

• อักษรไทยวิวัฒนาการจากการจารึกบนแผนหินและเขียนบนใบลาน อกษรไทยววฒนาการจากการจารกบนแผนหนและเขยนบนใบลาน เสนอักษรจึงมี เสนอกษรจงม<br />

ความหนาสม่ําเสมอ ไมมีหนักเบา ความแตกตางเห็นไดจากหัวตัวอักษร<br />

• พยัญชนะที่ไมมีหัว คือ ก ธ ที่เหลือมีหัวทั้งหมด<br />

• บางสวนมีหัวอักษรหันออก (บน กลาง ลาง) เชน น ฉ ภ<br />

• บางสวนมีหัวหันเขา (บน กลาง ลาง) เชน ผ อ ถ<br />

• บางสวนมีหัวคว่ํา บางสวนมหวควา (ซาย (ซาย ขวา) เชน เชน ค จ<br />

• บางสวนมีหัวหงายขึ้น เชน ด<br />

• บางสวนที่มีหัวหยัก เชน ฆ ฑ<br />

• บางสวนหลังหยัก เชน ต ฅ<br />

• บางสวนหัวขมวด เชน ข ช เปนตน<br />

โครงสรางและรูปลักษณะของอักษรไทย<br />

• ถาแบงรปอักษรไทยตามความกวางและแคบของตัวอักษร ถาแบงรูปอกษรไทยตามความกวางและแคบของตวอกษร จะแบงไดสลกษณะ<br />

จะแบงไดสี่ลักษณะ<br />

• ตัวธรรมดา เชน ก ค ฉ ผ<br />

• ตัวแคบ เชน ข ง จ ธ ร<br />

• ตัวกวาง เชน ฌ ญ ฒ ณ<br />

• ตัวบาง เชน เ ใ ไ<br />

โครงสรางและรูปลักษณะของอักษรไทย<br />

• พยัญชนะ พยญชนะ ก-ฮ<br />

3 ตัวที่หางล้ําเลยเสนฐานบน: ตวทหางลาเลยเสนฐานบน: ป, ฝ, ฟ<br />

6 ตัวที่มีหางเฉียง: ช, ซ, ส, ศ, ฬ, ฮ<br />

2 ตัวที่หางยาวต่ํากวาเสนฐานลาง: ฎ, ฏ<br />

2 ตัวที่มีเชิงใตเสนฐานลาง: ญ ฐ<br />

31 ตัว มีสวนสูงเต็มชองพยัญชนะพอดี<br />

พยัญชนะไทยแบงไดเปน 8 กลุมตามอักขรวิธีไทย<br />

• กลุม 1 พยญชนะทมสวนสูงของอกขระจากเสนฐานลางถงเสนฐานบน<br />

ั ี่ ีส ส ั ส ึ ส<br />

ก ถ ภ ณ ฒ บ ษ พ ฬ น ม ท ห ฆ ฑ ข ฃ ช ซ ง ค ฅ ด ต ฒ ย ผ ธ ร ว จ<br />

ฉ อ ฮ ล ส และ ฉ ณ น ที่มีขมวดหลังหลบ<br />

• กลุม 2 พยัญชนะที่มีหางบนตรง คือสวนของเสนหลังลากเลยเสนฐาน<br />

บนขึ้นไปโดยปลายหางสูงไมเกินเสนวรรณยุกต ไดแก ป ฝ ฟ<br />

• กลุม 3 พยญชนะทมขมวดหลง ั ี่ ี ั ไดแก น ณ ฉ โดยการขมวดหลงมสอง ั ีส<br />

แบบคือขมวดหลังตรงและขมวดหลังหลบ<br />

น ณ ฉ / น ณ ฉ<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 14


7/22/2010<br />

• กลุม 4 พยัญชนะที่มีหางลางขมวดตวัด: ฎ และพยัญชนะที่มีหางลาง<br />

หยักขมวดตวัด: หยกขมวดตวด: ฏ<br />

• กลุม 5 พยัญชนะที่มีเชิง คือมีสวนรองอยูใตลําตัวหลักของอักขระใน<br />

ระดับชวงสระลาง: ฐ ญ<br />

• กลุม 6 อักขระเหนือพยัญชนะ ตองปรากฏรวมกับพยัญชนะ: สระ อิ อี<br />

อึ อื ไมหันอากาศ ไมไตคู ยามักการ และนิคหิต<br />

- ยามักการ/ยามักการ (- ๎) มีลักษณะคลายเลข 3 กลับดาน ใชเติมเหนือพยัญชนะเพื่อบอกวาพยัญชนะ<br />

ใดเปนอักษรนําหรืออักษรควบกล้ํา โดยเติมที่พยัญชนะตัวแรกเทานั้น เชน ส๎วากฺขาโต (สะ-หวาก-ขา-โต)<br />

พ๎ราห๎มณ (พราม-มะ-นะ) ปจจุบันไมนิยมใชแลว แตยังพบไดในหนังสือสวดมนต ตําราเรียนเกาๆ หรือ<br />

การทับศัพทภาษาตางประเทศเปนภาษาไทยของบางสํานักพิมพ<br />

- หยาดน้ําคาง (- ํ) มีลักษณะเปนวงกลมเล็กๆ ใชประสมสระ อึ และ อํา ในการเขียนภาษาบาลี สันสกฤต<br />

และเขมรดวยอักษรไทย นิคหิตจะใชเติมเหนือพยัญชนะแทนเสียง ง และ ม<br />

• กลุม 7 อักขระที่อยูเหนือพยัญชนะและเหนืออักขระในกลุม 6 ไดแก<br />

วรรณยกตสี่รปและเครื่องหมายทันฑฆาต วรรณยุกตสรูปและเครองหมายทนฑฆาต (หากไมมีสระในกลม (หากไมมสระในกลุม 6<br />

อักขระชุดนี้จะอยูระดับเดียวกับอักขระในกลุม 6)<br />

• กลุม 8 อักขระที่อยูใตพยัญชนะ ตองปรากฏรวมกับพยัญชนะเสมอ:<br />

สระอุ อู และเครื่องหมายพินทุ<br />

พินทุ (- ฺ) ลักษณะคลายจุด เติมใตพยัญชนะเพื่อใชระบุอักษรนําหรืออักษรควบกล้ําในการเขียนคําอาน<br />

ภาษาไทย เชน สุเหรา อานวา สุ-เหฺรา, ปรากฏ อานวา ปฺรา-กด หรือในการเขียนภาษาบาลีและสันสกฤต<br />

ดวยอักษรไทย พินทุจะอยูที่พยัญชนะสะกดของคํา เชน ธมฺมา (ทัม-มา) อฺชลี (อัน-ชะ-ลี) และอักษรนํา<br />

หรืออักษรควบกล้ํา เชน สฺวากฺขาโต (สะ-หวาก-ขา-โต) เชตฺวา (เช-ตะ-วา)<br />

จะงอย<br />

ตน<br />

ขมวดหนา<br />

ก ข ษ<br />

หัวสองชั้น<br />

ฆ ฐ<br />

ฌ<br />

กิ่ง หลังโคง<br />

หัวขมวด<br />

หัวออกบน<br />

ปลาย<br />

ฐ<br />

หัวหยัก เสนดิ่งหลัง<br />

หัวคว่ําซาย<br />

เชิง ขมวดใน<br />

เสนเอียงลง<br />

ไส<br />

หัวออก<br />

ป พ ต<br />

เสนหางบน ทะแยงหนา ทะแยงหลัง หลังหยัก<br />

น ฤ<br />

ฮ<br />

เสนราบ<br />

เสนเอียงขึ้น<br />

ขมวดหลัง (หลบ)<br />

ฤเสนหางลาง<br />

หัวเขาลาง<br />

หัวหงายซาย<br />

ขมวดหางบน<br />

หัวเขากลาง<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 15


7/22/2010<br />

วิวัฒนาการของแบบตัวพิมพไทย<br />

• แบบตัวพิมพไทยทีเปนตัวเนือแบงเปนกลุมใหญๆตามลักษณะการ<br />

ิ ี่ ั ้ื<br />

ั<br />

ออกแบบรูปตัวหนังสือไดสามกลุม<br />

– ตัวเหลี่ยมหรือแบบบลัดเล ซึ่งตั้งเปนเกียรติ<br />

แกหมดบรัดเลยผูดําเนินการหลอตัวพิมพไทย<br />

เปนครั้งแรกในเมืองไทยและหลอตัวพิมพ<br />

เหลี่ยมออกมา ตัวเหลี่ยมมีลักษณะเสมอกัน<br />

ทั้งตัว ไมมีเสนหนาบาง ตัวหนังสือเลียนแบบ<br />

การคัดลายมือบรรจง เสนนอกดานบน<br />

หักเปนเหลี่ยมเปนมุม<br />

– ตัวธรรมดาหรือแบบมงกุฎ<br />

เพื่อถวายพระเกียรติแด<br />

เพอถวายพระเกยรตแด<br />

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว<br />

รัชกาลที่สี่ ในฐานะที่ทรงเปนคน<br />

ไทยคนแรกที่ดําเนินกิจการโรง<br />

พิมพ สั่งซื้อแทนพิมพหิน และสง<br />

ขาราชการไปศึกษาวิชาการพิมพ<br />

ในยุโรป ตัวพิมพนี้ไมมีเสนหนา<br />

บาง สม่ําเสมอกันตลอดตัว เปน<br />

เสนเล็กคม คลายตัวเหลี่ยม แต<br />

เสนนอกดานบนเปนเสนโคง<br />

– ตัวฝรั่งเศสหรือแบบอุโฆษ<br />

เปนตัวพิมพที่โรงพิมพอัสสัมชัญ<br />

เปนตวพมพทโรงพมพอสสมชญ<br />

นําเขามาใชเปนครั้งแรกโดยสั่งแม<br />

ทองแดงจากฝรั่งเศส นํามาพิมพ<br />

หนังสืออุโฆษ ซึ่งเปนวารสารของ<br />

โรงเรียนอัสสัมชัญเปนครั้งแรก<br />

ตัวพิมพมีลักษณะเสนหนาบาง<br />

ตัวหนังสือหนากวาตัวเหลี่ยมและ<br />

ตัวธรรมดา เลียนแบบการเขียน<br />

หนังสือดวยปากกาโลหะจิ้มหมึก<br />

บนกระดาษ<br />

นอกจากนี้ ยังมีตัวอักษรลักษณะอื่นๆ เชน<br />

– ตัวพิมพดีด ตวพมพดด โดยเอ็ดวิน โดยเอดวน ฮนเตอร ฮันเตอร ตวพมพดด ตัวพิมพดีด โดยเฉพาะระยะแรก มลกษณะตางจาก มีลักษณะตางจาก<br />

ตัวพิมพธรรมดา คือ ขนาดตัวอักษรเทากันหมด (fix‐width/monospace font) ไมวา<br />

จะเปนตัวอักษรแคบ บาง หรือกวาง เนื่องจากหลักการกดแปนอักษรทําใหตัวออกแบบ<br />

(บีบหรือขยาย) ทุกตัวใหเทากัน และการใสวรรณยุกตจะดูโดดหรือลอยขึ้นไปเพราะตอง<br />

เวนที่ไวสําหรับรับสระบน ตัวพิมพดีดจึงไมสวยเหมือนตัวพิมพ<br />

– ตัวพิมพไม Display Type เปนไมแกะตัวอักษรพิมพประดิษฐ ซึ่งพิมพหนังสือในชวง<br />

สงครามโลกครั้งที่สอง<br />

สงครามโลกครงทสอง<br />

– ตัวพิมพโมโนไทป ใชเครื่องจักรเรียงพิมพโดยคนพิมพใชคียบอรด<br />

– ตัวพิมพเรียงดวยแสง Photo Composing Machine ใชระบบการถายตัวหนังสือ<br />

ลงบนแผนฟลม เปนตัวพิมพยุคใหมที่แพรหลายมากขึ้นในการทําสิ่งพิมพ<br />

– ตัวพิมพคอมพิวตกราฟก Compugraphic Type ใชในธุรกิจการพิมพยุคใหม<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 16


7/22/2010<br />

โดยสรุป<br />

• เดิมมีการศึกษาคนควากันนอย เดมมการศกษาคนควากนนอย การออกแบบไมเปนไปตามหลกวชา<br />

การออกแบบไมเปนไปตามหลักวิชา<br />

แลวแตโรงหลอใดคิดจะดัดแปลงตัวพิมพใดใหสวยงามตามชอบใจ<br />

• ป พ.ศ. 2515 ศูนยพัฒนาหนังสือโตเกียวลงทุนออกแบบตัวพิมพไทยและ<br />

จัดทําแมทองแดงขึ้นโดยรวมมือกับกระทรวงศึกษาธิการ และใหชื่อตัวพิมพ<br />

วา UNESCODT1 ถือเปนตัวพิมพไทยแบบแรกที่มีการกําหนดชื่อเปนทางการ<br />

• ในชวงสิบปหลัง เริ่มมีการพัฒนาปรับปรุงตัวพิมพไทยมากขึ้น มีขนาด<br />

กะทดรด ั ั สวยงามและอานงาย ซึ่ ซงชวยใหการทาหนงสอประหยดขนได<br />

ช ํ ั สื ั ึ้ <br />

• ถาแบงตัวพิมพตามรูปตัวหนังสือ (เสน) จะแบงไดสองแบบคือรูปเสนเสมอ<br />

กันและรูปเสนหนาเสนบาง<br />

โครงสรางแบบอักษรไทยมีสี่ระดับ<br />

โดยเสนชานบนจะสูงเหนือระดับสูงสุดของ<br />

พยัญชนะขึ้นไป (ซึ่งเปนสวนบนสุดของ<br />

ระดับวรรณยุกต) ระดับความสูงวัดจากเสนนั้น<br />

ลงมาถึงเสนชานลาง ซึ่งเปนสวนลางสุดของ<br />

ระดับพยัญชนะทีมีหางลางหรือสวนลางสุด<br />

ั ี่ ี ื <br />

ของระดับสระลาง ดังนั้น ในขนาดพอยตที่เทากัน<br />

อักษรภาษาไทยจะเล็กกวาอักษรภาษาอังกฤษ<br />

ความกวางของตัวพิมพ<br />

Character width<br />

ที่วางหนาและหลังตัวอักษรที่จําเปนตองมี<br />

เพื่อไมใหรูปอักษรที่ปรากฏเมื่อพิมพดูทับซอน<br />

หรือชิดกับตัวอื่นมากเกินไป<br />

ระยะหนาตัวอักษร ระยะหนาตวอกษร + ความกวางตัวอักษร ความกวางตวอกษร + ระยะหลังตัวอักษร ระยะหลงตวอกษร<br />

เสนกรอบ<br />

หลัง เสนชาน<br />

หนา<br />

เสนกรอบ<br />

เสนชาน หนา<br />

หลัง<br />

เสนชานบน<br />

เสนวรรณยุกต<br />

เสนสระบน<br />

เสนฐานบน เสนฐานบน<br />

เสนฐานลาง<br />

เสนสระลาง<br />

เสนชานลาง<br />

ความกวางตัวอักษร<br />

ชั้นวรรณยุกตบน<br />

ชั้นสระบน, วรรณยุกตปกติ<br />

ชั้นพยัญชนะ<br />

ชั้นสระลาง<br />

ขนาดตัวพิมพ<br />

ความกวางตัวอักษร<br />

ความกวางตัวพิมพ<br />

ขนาดตัวอักษร<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 17


้<br />

7/22/2010<br />

ชองไฟ<br />

Kerning<br />

ตัวอักษรบางคูเมื่ออยูขางกันไมสามารถใชชองไฟมาตรฐานได<br />

เพราะมีระยะหางที่ทําใหดูหลวมกวาปกติ เชน TA, AV, VA<br />

ในภาษาอังกฤษ ในภาษาองกฤษ ซึ่งตองปรับระยะคอักษรใหแคบลง<br />

ซงตองปรบระยะคูอกษรใหแคบลง<br />

สวนภาษาไทยจะมีปญหาอยูสามตัว คือ ใ, ไ. ใ<br />

ซึ่งตองปรับใหหางขึ้นเพื่อไมใหดูชิดมากเกินไปจนดูอึดอัด<br />

น้ําหนักของตัวอักษร แตละแบบไมเทากัน<br />

ขนาดและหนวยวัด<br />

มาตรฐานสากลที่กําหนดขนาดความสูงของแบบอักษร<br />

เรียกวาพอยต point และไพกา pica<br />

หมายถึงพื้นที่ความกวางของตัวหนังสือ<br />

1 พอยต ประมาณ 1/72 = 0.01389 นิว<br />

12 พอยต = 1 ไพกา = 0.16667 นิ้ว<br />

72 พอยต = 6 ไพกา = 1 นิ้ว<br />

ปจจุบัน สํานักพิมพตางๆใชแบบอักษร<br />

ซึ่งมีขนาดเล็กที่สุด 8 พอยต ใหญที่สุด 72 พอยต<br />

มาตรวัดชวงตัวอักษรพิมพ<br />

Pica‐em มาตรฐานของตัวหนังสือซึ่งมีความสูง 12 พอยต<br />

และความกวางเทากัน คือเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส<br />

Pica‐en ความกวางของฐานเทากับครึ่งหนึ่งของความสูง<br />

ซึ่งเปน<br />

12 * 12 = 1 Pica‐em (Mutton)<br />

12 * 6 = 1 Pica‐en (Nut)<br />

8 12 24 48<br />

• ปญหาที่เกิดจากแบบตัวพิมพไทย<br />

– วรรณยุกตลอย วรรณยุกตและทันฑ ั – สระบนไมหลบหางบน เชน สระอิ ิ<br />

ฆาตอยูตําแหนงเหนือสระบน อี เมื่ออยูรวมกับพยัญชนะกลุม<br />

แมจะไมมีสระบนอยูดวย<br />

3 (ป ฝ ฟ)<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 18


7/22/2010<br />

• ปญหาที่เกิดจากแบบตัวพิมพไทย<br />

– สระลางไมหลบหางลางเมืออยู<br />

ื่ – ตาแหนงสระบนเยืองซายหรือ<br />

ํ ื้ ื<br />

รวมกับพยัญชนะกลุม 4 (ฎ ฏ) ขวามากเกินไป<br />

• ปญหาที่เกิดจากแบบตัวพิมพไทย<br />

– ชองไฟระหวางอักขระไมเหมาะสม<br />

ั ไ – การเหลือมซอนกันของวรรณยุกต<br />

ื่ ั <br />

ดูหางจนทําใหผูอานนึกวาเปน กับสระลาง<br />

ชองวาง<br />

216 ‐ printing technology ‐ <strong>fonts</strong> / san 19

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!