19.11.2014 Views

การพัฒนาเครื่องอัดกระดาษ - คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

การพัฒนาเครื่องอัดกระดาษ - คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

การพัฒนาเครื่องอัดกระดาษ - คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม ปที่ 11 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2554 - มกราคม 2555<br />

การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเครื่องอัดกระดาษ<br />

และการทํากระดาษจากพืชหอม : กรณีศึกษาเตยหอม และตะไครหอม<br />

Develop and Find Out the Efficiency of the Original Paper Presser and<br />

Aromatic Plant Paper Production : A Case Study of Aromatic Pandun<br />

(Panduna odorus Ridi.) and Citronella Grass (Cymbopogon nardus Rendel.)<br />

2<br />

ศศิธร จารุสมบัติ1<br />

พิศุทธุ ศิริพันธุ และ ศราวุธ อินทรเทศ 3<br />

Sasithorn Jarusombuti 1 , Pisut Siripant 2 and Sarawut Intorrathed 3<br />

1 ผูชวยศาสตราจารย 2,3 อาจารย<br />

1,3 สาขาวิชาครุศาสตรเกษตร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง<br />

2 ภาควิชาวนผลิตภัณฑ คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

kjsasith@kmitl.ac.th, fforpssp@ku.ac.th and kisarawu@kmitl.ac.th<br />

บทคัดยอ<br />

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค คือ พัฒนาและหาประสิทธิภาพของเครื่องอัดกระดาษตนแบบ และทดลองทํากระดาษ และ<br />

ผลิตภัณฑกระดาษจากเตยหอมและตะไครหอม ใชเครื่องอัดกระดาษซึ่งผูวิจัยไดพัฒนาและหาประสิทธิภาพของอุปกรณ<br />

ตนแบบในการอัดกระดาษที่เหมาะสมกับการผลิตกระดาษในระดับครัวเรือนที่มีตนทุนต่ํา งายตอการปฏิบัติงาน และสามารถใช<br />

ในการผลิตกระดาษทําเปนอุตสาหกรรมขนาดยอมภายในครัวเรือนได<br />

เครื่องอัดกระดาษที่พัฒนาขึ้นมาสามารถผลิตกระดาษขนาด 35 x 35 เซนติเมตร โดยใชระบบไฮดรอลิครวมกับความรอน<br />

เขามาชวยได แลวทําการทดสอบประสิทธิภาพในการทํางานโดยการประเมินใน 12 รายการ คือ ขนาดของเครื่อง โครงสราง<br />

โดยรวมของเครื่อง ขนาดอุปกรณที่ใชในการประกอบ การใหความรอน คุณภาพของการใชแรงอัด ความครบถวนของอุปกรณ<br />

ภายในเครื่อง ขั้นตอนและกระบวนการในการทํางานของเครื่อง ความเหมาะสมในการอัดกระดาษตอแผน ระบบความ<br />

ปลอดภัยของเครื่องอัดกระดาษในการปฏิบัติงาน คุณภาพของกระดาษที่อัด ความสะดวกในการปฏิบัติงาน และประสิทธิภาพ<br />

โดยรวม ผลการประเมินประสิทธิภาพอยูในระดับปานกลาง คือ มีประสิทธิภาพพอใชงานได<br />

การทดลองผลิตกระดาษจากเตยหอมและตะไครหอมใหเหมาะสมในการใชงาน โดยมีขั้นตอนคือ รวบรวมเตยหอมและ<br />

ตะไครหอมแลวทําความสะอาด หั่นใหเปนชิ้นเล็ก ๆ ประมาณ 1 เซนติเมตร จากนั้นนํามาเขาเครื่องบด เมื่อไดเสนใยแลวนํามา<br />

กรอง จากนั้นเทลงในแผนกรอง นําเยื่อที่ไดมาตีใหละลายเปนเนื้อเดียวกันในน้ําโดยใชเครื่องตีเยื่อ นําเสนใยที่ไดไปเทลงใน<br />

เครื่องทําแผน จะไดแผนเยื่อเปยกขนาด 35 x 35 เซนติเมตร นําเยื่อเปยกที่ไดมาทําการอัดเย็น เพื่อเปนการไลน้ําออก จากนั้น<br />

นําไปอัดรอนเพื่อใหแหง แผนกระดาษที่ไดมีลักษณะสี กลิ่น ผิวสัมผัส และความยืดหยุนดังนี้ กระดาษจากเตยหอม สีเขียวออน<br />

มีกลิ่นเล็กนอย ผิวสัมผัสเรียบ และมีความยืดหยุนมาก สวนกระดาษที่ไดจากตะไครหอม สีน้ําตาลออน มีกลิ่นเล็กนอย เนื้อ<br />

สัมผัสหยาบ และมีความยืดหยุนนอย เมื่อเปรียบเทียบในดานความหนาแนน ความชื้นและความหนาของกระดาษที่ไดพบวา<br />

กระดาษที่ผลิตจากเตยหอม และ ตะไครหอม มีความหนาแนนไมแตกตางกันมากนัก โดยมีความหนาแนนอยูระหวาง 0.60 -<br />

0.66 กรัมตอตารางเซนติเมตร<br />

40


วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม ปที่ 11 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2554 - มกราคม 2555<br />

ดานความชื้นพบวาภาพรวม กระดาษจากตะไครหอมมีความชื้น (ระหวาง 6.47-6.76 %) มากกวาความชื้นของ<br />

กระดาษจากเตยหอม (ระหวาง 4.90-5.94 %) สวนความหนาของกระดาษที่ทําจากเตยหอมจะมีความหนาอยูที่ประมาณ<br />

ระหวาง 0 .63 - 0.72 มิลลิเมตร และกระดาษที่ทําจากตะไครหอมอยูที่ระหวาง 1.02 – 1.04 มิลลิเมตร โดยกระดาษที่ทําจาก<br />

ตะไครหอมมีความหนามากกวาเตยหอมจากนั้นนํามาทดลองทําผลิตภัณฑตาง ๆ พบวามีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะนําไปทํา โคม<br />

ไฟ ปฏิทินแบบตั้งโตะ หรือหนาปกสมุด เปนตน<br />

คําสําคัญ: การทํากระดาษ เครื่องทํากระดาษ เตยหอม ตะไครหอม<br />

Abstract<br />

The objectives of this study were to: 1) develop and find out the efficiency of the original paper<br />

presser and 2) test the paper presser by the aromatic paper production which made from Pandun<br />

(Panduna odorus Ridi.) and Citronella Grass (Cymbopogon nardus Rendel.) and made paper production<br />

All materials and equipment used in the aroma paper production was appropriated with the production in<br />

a household level due to its low costs. Besides, it could be applied in a cottage industry.<br />

The original paper presser was 35x35 cm. in size and the hydrolic and heat systems were used for the<br />

operation. The following were examined in terms of its efficiency : 1) size of the presser; 2) structure of<br />

the presser; 3) size of assembled equipment; 4) heat provision; 5) pressure quality; 6) completeness of<br />

equipment; 7) steps and process of the aromatic paper operation; 8) appropriateness of aromatic paper<br />

pressing per piece; 9) safety system; 10) quality of the paper presser; 11) convenience in using the paper<br />

presser; and 12) efficiency of the paper presser. It was found that the efficiency of the paper presser was<br />

at a moderate level.<br />

The steps of aromatic paper production were as follows: 1) gather Pandun and Lemon Grass and<br />

clean it; 2) cut it into a piece of 1 cm. in length; 3) grind it by using grinding; 4. obtained fiber in sifted and<br />

mixed with water by using a machine; 5) the fiber is poured into a paper making block with the size of<br />

35x35 cm; 6) do away with water from the fiber piece by cool pressing ; and 7) the fiber piece is dried by<br />

heat pressing, respectively. Obtained pieces of paper has the following characteristics: 1) Pandun paper is<br />

light green and aroma with smooth texture and much flexible; 2) aromatic Citronella Grass it light brown<br />

and aromatic with course texture and little fixable.<br />

With regards to density, moisture, and thickness of the paper, it was found that there was no<br />

difference between the Pandun paper and the aroma Lemon Grass paper. That was, its density ranged<br />

from 0.60 to 0.66 gram per square centimeters. However, the moisture of the aroma Citronella .Grass was<br />

higher than that of the Pandun. The thickness of the screw pine paper ranged from 0.63-0.72 mm.<br />

whereas that of the Citronella Grass paper ranged from 1.02-1.04 mm. It was found that both kinds of the<br />

paper were suitable for making lantern, table calendar, notebook cover, ect.<br />

Keywords : paper production, paper presser, Pandun (Panduna odorus Ridi.), Citronella Grass (Cymbopogon nardus Rendel.)<br />

41


วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม ปที่ 11 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2554 - มกราคม 2555<br />

1. บทนํา<br />

ความตองการของมนุษย ที่นําพืชมาใชประโยชน ไมวา<br />

จะเปนการนํามาผลิตเปนอาหาร เครื่องนุงหม ยารักษาโรค<br />

และที่อยูอาศัยก็ตาม นอกจากนี้ยังสามารถนําพืชมาใช<br />

ประโยชนในดานอื่น ๆ เชน นํามาแปรรูปเปนผลิตภัณฑตาง<br />

ๆ โดยเฉพาะการผลิตกระดาษที่ใชในชีวิตประจําวัน และ<br />

กระดาษที่ใชเปนวัสดุในการตกแตงตาง ๆ หรือนํามาใชงาน<br />

ในรูปแบบอื่น ซึ่งการทํากระดาษเปนไดทั้งอุตสาหกรรม<br />

ขนาดใหญ และอุตสาหกรรมในครัวเรือน ตั้งแตการทํา<br />

กระดาษสาพื้นบาน ไปจนถึงการทํากระดาษบรรจุภัณฑ<br />

กระดาษพิมพเขียว กระดาษชําระและกระดาษชนิดพิเศษ<br />

ตาง ๆ [1]<br />

ประโยชนของพืชที่สามารถนํามาทํากระดาษขางตน<br />

และประกอบกับในปจจุบันมนุษยหันมาสนใจดูแลสุขภาพ<br />

และดําเนินชีวิตประจําวันดวยการใชพรรณพืช และ<br />

ผลิตภัณฑจากพืชในธรรมชาติกันมากขึ้น โดยเฉพาะการ<br />

นํามาใชเปนพืชสมุนไพร ซึ่งมีหลากหลายประเภท เชน การ<br />

ใชกลิ่นหอมของทั้งใบเตยและตะไครหอม มาทําสีผสม<br />

อาหาร มาทําเครื่องดื่มสมุนไพร [2] เมื่อเรานํามาใช<br />

ประโยชนแลว กากสวนเหลือจากการตม การคั้นน้ํานาจะ<br />

สามาร ถนํามาผลิตเป นกร ะดาษที่ให กลิ่นหอมได<br />

เชนเดียวกับการนําปอสาหรือใยสับปะรดมาทํากระดาษ [3]<br />

และกระดาษที่ทําจากใบเตยและตะไครหอมนี้ ก็นาจะ<br />

นําไปใชเปนวัสดุ ในการทําผลิตภัณฑตาง ๆ เพื่อใชในการ<br />

ประดับ ตกแตงใหเกิดความสวยงามตอไปได<br />

นอกจากนี้กรรมวิธีการผลิตกระดาษจําเปนตองใช<br />

เครื่องอัดกระดาษ ซึ่งถานําเขาจากตางประเทศจะมีราคา<br />

แพงและขนาดไมเหมาะสมกับการใชงานในอุตสาหกรรม<br />

ครัวเรือนรวมทั้งกรรมวิธีการผลิตกระดาษโดยทั่วไปที่นิยม<br />

คือ การผลิตกระดาษแบบชอน ซึ่งมีการใชสารเคมีที่มีสาร<br />

ตกคางและการทําลายสิ่งแวดลอม [4]<br />

ดังนั้นคณะผูวิจัยจึงเห็นวาควรทําการพัฒนาและหา<br />

ประสิทธิภาพของอุปกรณเครื่องอัดกระดาษตนแบบในการ<br />

อัดกระดาษ ที่สามารถใชงานไดเปนอยางดี มีตนทุนต่ําและ<br />

สามารถใชในการทําเปนอุตสาหกรรมขนาดยอมภายใน<br />

ครัวเรือน และทดลองทําผลิตภัณฑจากกระดาษเตยหอม<br />

และตะไครหอม ที่ผลิตไดจากเครื่องอัดกระดาษตนแบบนี้<br />

ดวย<br />

2. วัตถุประสงคของการวิจัย<br />

1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเครื่องอัด<br />

กระดาษตนแบบ<br />

2. เพื่อทดลองทํากระดาษและผลิตภัณฑจากกระดาษ<br />

โดยใชกระดาษจากพืชหอมที่ผลิตไดจากเครื่องอัดกระดาษ<br />

ตนแบบ : กรณีศึกษาเตยหอมและตะไครหอม<br />

3. ขอบเขตของปญหา<br />

ใ น ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ ผู วิ จั ย ไ ด พั ฒ น า แ ล ะ ห า<br />

ประสิทธิภาพของอุปกรณตนแบบในการอัดกระดาษที่<br />

เหมาะสม และทดลองทําผลิตภัณฑจากกระดาษพืชหอมที่<br />

ผลิตไดจากเครื่อง<br />

4. ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย<br />

1. ไดอุปกรณตนแบบในการอัดกระดาษที่มี<br />

ประสิทธิภาพในการทํางาน<br />

2. ไดผลิตภัณฑกระดาษจากพืชหอมที่ทําจากเตย<br />

หอม และตะไครหอม<br />

3. เพื่อใชเปนเครื่องมือและวัสดุประกอบการเรียน<br />

การสอน และถายทอดองคความรูใหแกนักศึกษา อีกทั้ง<br />

สามารถเผยแพรใหแกกลุมแมบาน หรือผูที่สนใจตอไป<br />

5. วิธีการวิจัย<br />

การพัฒนา และหาประสิทธิภาพของเครื่องอัดกระดาษ<br />

ตนแบบ เพื่อทดลองผลิตกระดาษจากพืชหอม เชน เตยหอม<br />

และตะไครหอม ผูวิจัยแบงการดําเนินการออกเปนสองสวน<br />

ดังนี้<br />

1. การออกแบบ พัฒนาและหาประสิทธิภาพของ<br />

เครื่องอัดกระดาษตนแบบ ซึ่งเปนเครื่องอัดกระดาษระบบไฮ<br />

ดรอลิคแบบรอน<br />

2. การทดลองผลิตกระดาษ และทดลองทํา<br />

ผลิตภัณฑจากที่ผลิตไดจากเครื่องอัดตนแบบ<br />

42


วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม ปที่ 11 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2554 - มกราคม 2555<br />

การออกแบบ พัฒนา และหาประสิทธิภาพของเครื่อง<br />

อัดกระดาษ<br />

ขั้นตอนและวิธีการดําเนินงานในการพัฒนาเครื่องอัด<br />

กระดาษ สรางใหความกวางของแผนอัดมีขนาด 35 x 35<br />

เซนติเมตร ซึ่งมีขนาดเทากับขนาดของแผนฮีทเตอร โดยได<br />

ศึกษาจากเครื่องอัดกระดาษสําเร็จรูปซึ่งเปนเครื่องที่มีราคา<br />

คอนขางสูงการทําเครื่องอัดกระดาษนี้ ไดทําการยอสวนทั้ง<br />

ในดานของขนาด และลดคาใชจายในเรื่องตนทุนการผลิตให<br />

นอยลง โดยมีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้<br />

1. ศึกษาระบบการทํางานของเครื่องอัดกระดาษ<br />

ตนแบบ โดยศึกษาเครื่องอัดกระดาษของคณะวนศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และศึกษางานวิจัยของ ธง พรม<br />

จินดา และอรุณ หนูสังข [5] เพื่อเปนแนวทางในการ<br />

ออกแบบ และประกอบเครื่องใหมีตนทุนต่ํา และลดขั้นตอน<br />

ของเครื่องที่ผูผลิตตองการ โดยรวบรวมใหทุกขั้นตอนของ<br />

การอัดกระดาษอยูในเครื่องเดียวกัน<br />

2. ออกแบบตัวเครื่องที่จะทําการประกอบ โดยการ<br />

ออกแบบหลาย ๆ รูปแบบ และนํามาพิจารณาขอดี ขอเสีย<br />

ของแตละแบบ แลวทําการประเมินราคา<br />

3. เมื่อไดแบบที่สรุปแลว เตรียมอุปกรณที่ตองใช<br />

ประกอบเครื่องตามแบบ ซึ่งอุปกรณที่สําคัญคือสวน<br />

โครงสรางของเครื่องตองแข็งแรง โดยการใชเหล็กฉาก หนา<br />

5.5 มิลลิเมตร จํานวน 3 ทอนยาว 6 เมตร<br />

4. ทําการตัดเหล็กเปนทอน ๆ ตามแบบที่กําหนดไว<br />

ใหครบตามจํานวน<br />

5. นําเหล็กที่ตัดแลวไปเจาะรูเพื่อยึดติดกัน โดยใช<br />

สวานขนาด 6 หุน และการเจาะตองทําดวยความแมนยํา<br />

เพื่อใหไดโครงสรางที่ถูกตอง และแข็งแรง<br />

6. ทําการประกอบโครงสราง ตามแบบที่วางไว และ<br />

ทําการตรวจสอบ โดยแบบจะมีการเสริมความแข็งแรงดวย<br />

การตอฐานใหมีความยาวประมาณ 1 เมตรและยาวออกจาก<br />

ตัวเครื่องที่กําหนดอีกดานละประมาณ 25 เซนติเมตร เพื่อ<br />

ความแข็งแรง และไมลม ขณะปฏิบัติงานจริง<br />

7. เตรียมอุปกรณใหความรอน คือ ฮีทเตอร ซึ่งตอง<br />

คํานวณคาความรอนที่ใชในการปฏิบัติงานขณะอัดกระดาษ<br />

ใหเรียบรอย โดยปกติความรอนที่ตั้งจะมีอุณหภูมิอยูที่<br />

ประมาณ 220 องศาเซลเซียส ดังนั้นจึงใชฮีทเตอร ที่ให<br />

ความรอนสูงประมาณ 300 องศาเซลเซียส เพื่อเตรียมไวใช<br />

กรณีตองการอัดกระดาษจากวัสดุอื่น ๆ ที่ตองใชความรอน<br />

สูง<br />

8. นําฮีทเตอรที่เตรียมไวมาติดตั้งกับแผนเหล็ก โดย<br />

ใหแผนเหล็กประกบทั้งดานหนา และดานหลังของฮีทเตอร<br />

โดยแผนเหล็กดานหนามีความหนาประมาณ 2-3 มิลลิเมตร<br />

เพื่อใหความรอนจากฮีทเตอรผานมาที่เหล็กรองและเพื่อ<br />

ปองกันไมใหฮีทเตอรไดรับแรงอัดเพียงดานเดียว สําหรับ<br />

เหล็กที่ใชในการประกบดานหลังของฮีทเตอรมีความหนา<br />

ประมาณ 0.9 – 1.0 เซนติเมตร เพื่อรองรับแรงอัดของแม<br />

แรงที่ใชอัด ชวยในการบีบฮีทเตอรใหมีความเรียบและไม<br />

พองตัวขึ้น<br />

9. นําเหล็กที่จะประกบกับฮีทเตอรมาเจาะรู ทั้งหมด<br />

8 รู เพื่อยึดแผนฮีทเตอรใหมีความแข็งแรง หลังจากนั้นนํา<br />

ชุดของฮีทเตอรที่ประกอบเรียบรอยแลว ไปประกอบติดกับ<br />

โครงสรางของเครื่องอัดกระดาษที่ไดประกอบเอาไวแลว<br />

จากนั้น นําสายไฟทองเหลืองที่มีความสามารถในการรับ<br />

กระแสไฟฟาไดสูงมาเชื่อมตอระหวางแผนฮีทเตอรกับแผง<br />

ควบคุม โดยที่แผนฮีทเตอรจะมีสัญลักษณในการตอสายไว<br />

เรียบรอยแลวประกอบแผงควบคุมความรอนใหติดกับเครื่อง<br />

อัดกระดาษ ซึ่งในสวนของแผงควบคุมนี้จะประกอบไปดวย<br />

อุปกรณ 2 สวน คือ แผงควบคุม และปุมปรับอุณหภูมิ แผง<br />

ควบคุมนั้น ทําหนาที่ปรับและกําหนดอุณหภูมิที่ใชในการอัด<br />

กระดาษในแตละครั้ง เพราะการทํางานของเครื่องบางครั้ง<br />

จะตองมีการปรับอุณหภูมิอยูบอย ๆ<br />

10. ประกอบสวนของเครื่องที่ใชเปนเครื่องอัดเย็น<br />

ใหหางจากเครื่องอัดความรอนประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร<br />

โดยใชแผนเหล็กที่มีความหนา 1 เซนติเมตร เปนตัวกั้น<br />

ระหวางเครื่องอัดความรอนและเครื่องอัดเย็น โดยเหล็กแผน<br />

นี้ ติดตั้งบนรางที่ทํารองรับไวใหสามารถดึงเขาดึงออกได<br />

เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน<br />

11. ติดตั้งปมไฮดรอลิค โดยการเจาะในสวนของ<br />

ฐานรองปม ซึ่งเปนสวนที่ตองรับน้ําหนักจากการอัดมากที่สุด<br />

ดังนั้นในสวนของฐานรองจึงตองทําใหมีความแข็งแรงมาก<br />

ที่สุด สําหรับเหล็กที่นํามาใชเปนฐานรองนั้น มีขนาด 1.5<br />

เซนติเมตร เพื่อปองกันไมใหเหล็กรองนี้เกิดการออนตัวขึ้นใน<br />

ขณะที่จําเปนตองใชแรงอัดมาก<br />

12. เชื่อมแผนเหล็กที่จะใชในการอัดใหติดกับตัวปม<br />

เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน โดยเหล็กที่ใชเชื่อมมี<br />

ขนาด 35 x 35 เซนติเมตร เทากับแผนฮีทเตอรใหความรอน<br />

13. ทําการทดลองเครื่อง กอนนําไปใชจริง ซึ่งสวนที่<br />

จําเปนตองทําการทดลองก็คือ การใหความรอนของฮีทเตอร<br />

และปุมควบคุมอุณหภูมิของแผนฮีทเตอร<br />

43


วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม ปที่ 11 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2554 - มกราคม 2555<br />

14. ทําการเปดอุนเครื่องทิ้งไวประมาณ 20 – 30<br />

นาที กอนที่ทําการทดลองหรือกอนการปฏิบัติงานจริง ทั้งนี้<br />

เพื่อใหความรอนแผกระจายไปทั่วแผนเหล็ก และใหอุณหภูมิ<br />

ของเครื่องขึ้นถึงจุดที่เราตองการใชงานกอน เพื่อไมใหเปน<br />

การเสียเวลาในการปฏิบัติงาน<br />

15. หลังจากทดสอบเครื่องเรียบรอยแลว ทําการ<br />

ถอดประกอบสวนตาง ๆ ออก เพื่อทําการฉีดพนสีหรือทาสี<br />

เพื่อปองกันไมใหเกิดสนิม โดยขั้นตอนแรกตองใชกระดาษ<br />

ทรายขัดเหล็กใหสะอาด โดยใชกระดาษทรายเบอร 0 ซึ่ง<br />

เปนกระดาษทรายที่มีความละเอียดที่สุด ขัดเอาสีเกาที่ติดมา<br />

กับเหล็กออกใหหมด<br />

17. ใชสีพนหรือทาใหทั่วทั้งเครื่อง โดยการทาให<br />

เสร็จเรียบรอยไปทีละชิ้นสวน โดยทําการทาทั้งหมด 2 ครั้ง<br />

คือ ทาครั้งที่ 1 เปนการทารองพื้น แลวนําไปตากแดดใหแหง<br />

แลวนํามาทาครั้งที่ 2 ทาสีจริงที่ตองการ จากนั้นนําไปตาก<br />

แดดใหแหง แลวนําชิ้นสวนตาง ๆ มาประกอบใหเรียบรอย<br />

เหมือนเดิม<br />

<strong>การพัฒนาเครื่องอัดกระดาษ</strong><br />

เมื่อสรางเสร็จแลวไดใหผูเชี่ยวชาญดูโครงสรางจาก<br />

สภาพภายนอกเพื่อความเหมาะสมในการใชงาน ปรากฏวา<br />

ผูเชี่ยวชาญไดเสนอแนะใหทําการปรับปรุงพัฒนาในดานตาง<br />

ๆ ดังนี้<br />

1. ใหเพิ่มฉนวนหุมกันความรอนในโครงเหล็กที่ใช<br />

ประกอบเครื่อง เพื่อปองกันอุบัติเหตุจากความรอนในขณะ<br />

ใชงาน<br />

2. ทําการติดตั้งสวิทชเพิ่มเติม เพื่อสามารถทําการ<br />

ควบคุมอุณหภูมิความรอนในการอัดกระดาษไดอยางแมนยํา<br />

ซึ่งมีผลทําใหไดกระดาษอัดที่มีคุณภาพที่สม่ําเสมอ<br />

3. ทําการเสริมเหล็กแผนอัดใหมีความหนาเพิ่มขึ้น<br />

เพื่อปองกันการโกงตัวของแผนอัด<br />

การทดลองเครื่องอัดกระดาษดวยการผลิตกระดาษ<br />

จากพืชหอม<br />

หลังจากไดประกอบเครื่องหลังจและมีการพัฒนาเครื่อง<br />

อัดกระดาษตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญแลว ไดทําการ<br />

ทดสอบเครื่องอัดกระดาษดวยการทดสอบการผลิตกระดาษ<br />

จากพืชหอมคือเตยหอมและตะไครหอม โดยมีการเก็บขอมูล<br />

ตาง ๆ ไดแก เวลาในการผลิตกระดาษในแตละแผน<br />

อุณหภูมิ ขนาดความหนาบางของกระดาษแตละแผน และ<br />

น้ําหนักแหงของกระดาษ นํามาเปรียบเทียบลักษณะตาง ๆ<br />

เชน สี กลิ่น ผิวกระดาษ เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของ<br />

เครื่อง ในเรื่องของการใชความรอน แรงอัดของปม<br />

ระยะเวลาในการอัดกระดาษของแตละแผน ความสะดวก<br />

ของการดําเนินงานในแตละแผน และทําการทดสอบ<br />

โครงสรางวามีความแข็งแรงและสามารถรับแรงอัดไดมาก<br />

นอยเพียงใด เพื่อดูความเหมาะสมในการใชงาน<br />

การประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของเครื่องอัด<br />

กระดาษ<br />

ทําการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของเครื่องอัด<br />

กระดาษ โดยผูเชี่ยวชาญที่มีความรูเกี่ยวกับระบบการ<br />

ประกอบเครื่องและระบบการใหความรอนตาง ๆ มาทําการ<br />

ประเมินเพื่อหาขอบกพรองและปรับปรุงแกไขตอไป เพื่อให<br />

เครื่องสามารถนําไปปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดย<br />

การประเมินมีทั้งหมด 12 รายการดังนี้<br />

1. ขนาดของเครื่อง<br />

2. โครงสรางโดยรวมของเครื่อง<br />

3. ขนาดของอุปกรณที่ใชในการประกอบ<br />

4. การใหความรอน<br />

5. คุณภาพของการใชแรงอัด<br />

6. ความครบถวนของอุปกรณภายในเครื่อง<br />

7. ขั้นตอนและกระบวนการในการทํางานของเครื่อง<br />

8. ความเหมาะสมในการอัดกระดาษตอแผน<br />

9. ระบบความปลอดภัยของเครื่องอัดกระดาษใน<br />

การปฏิบัติงาน<br />

10. คุณภาพของกระดาษที่อัด<br />

10.1 สีของกระดาษ<br />

10.2 ความหนาของกระดาษ<br />

11. ความสะดวกในการปฏิบัติงาน<br />

12. ประสิทธิภาพโดยภาพรวมของเครื่องโดยใช<br />

ระดับการประเมินและเกณฑในการแปลความหมาย ดังนี้<br />

ระดับการประเมิน 3 ระดับคือ<br />

3 = ดี หมายถึง มีประสิทธิภาพ เหมาะสมดีไม<br />

ตองมีการปรับปรุงแกไข<br />

2 = พอใช หมายถึง มีประสิทธิภาพใชงาน<br />

พอใชได<br />

1 = ตองปรับปรุง หมายถึง มีประสิทธิภาพไมดี<br />

ตองปรับปรุงแกไข<br />

44


วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม ปที่ 11 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2554 - มกราคม 2555<br />

วิธีดําเนินการผลิตกระดาษจากพืชหอม : เตยหอม<br />

และตะไครหอม<br />

มีขั้นตอนการผลิตดังนี้<br />

1. การรวบรวมใบพืชคือ เตยหอมและตะไครหอม ที่<br />

นํามาใชในการผลิตกระดาษ ใหไดในปริมาณที่เพียงพอ โดย<br />

ใชเฉพาะสวนของใบเทานั้น<br />

2. นําใบพืชที่รวบรวมได มาทําความสะอาด โดยการ<br />

ลาง และคัดเลือกสิ่งสกปรกออก รวมทั้งใบพืชอื่น ๆ ที่อาจ<br />

ปะปนมาออกใหหมด<br />

3. นําใบพืชที่ลางทําความสะอาดเรียบรอยแลว มา<br />

หั่นใหเปนชิ้นเล็ก ๆ ประมาณ 1 เซนติเมตร หรือเล็กกวานั้น<br />

นําสวนหนึ่งมานึ่ง กอนจากนั้นจึงนําไปปนหรือบดใหละเอียด<br />

โดยใชเครื่องบด (Refiner) ที่มีลักษณะเปนจานบด ซึ่ง<br />

สามารถปรับคาความละเอียดได และยังสามารถปรับไดทั้ง<br />

สองทิศทาง คือตามเข็มนาฬิกาและทวนเข็มนาฬิกา โดยใช<br />

น้ําเปนตัวนําพาวัตถุดิบเขาไปในจานบดเพื่อใหไดเยื่อพืชที่มี<br />

ความละเอียดและทําไดรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เมื่อปอนวัตถุดิบ<br />

ลงไปในเครื่องแลว เครื่องก็ทําการปอนวัตถุดิบเขาไปในจาน<br />

บด จากนั้นเนื้อเยื่อพืชก็จะไหลมาทางดานลางของเครื่อง<br />

4. นําเนื้อเยื่อที่มีลักษณะเปนเสนใยของพืชที่ไดมา<br />

สังเกตดูวา เนื้อเยื่อพืชมีความละเอียดพอหรือยัง ถามีความ<br />

ละเอียดตามตองการแลว ก็นํามาแยกเนื้อเยื่อพืชกับน้ําออก<br />

จากกัน<br />

5. นําเนื้อเยื่อพืชที่ไดนําไปตีเยื่อ โดยใชเครื่องตีเยื่อ<br />

เพื่อไมใหเนื้อเยื่อจับกันเปนกอนและละลายเปนเนื้อเดียวกัน<br />

นําเนื้อเยื่อใสภาชนะใสน้ําลงไปแลวทําการตีใหละเอียด<br />

ขณะที่ตีเนื้อเยื่อ ที่ตองมีการใสน้ําเพราะน้ําจะชวยทําให<br />

เนื้อเยื่อกระจายตัวไดดี แผนจะเรียบ สม่ําเสมอ<br />

6. นําเนื้อเยื่อมาใสลงในแบบ หรือตะแกรงที่มีขนาด<br />

35 x 35 เซนติเมตรตามขนาดของเครื่องอัดกระดาษ ที่มีน้ํา<br />

ใสไวประมาณครึ่งหนึ่งของแบบ จากนั้นเฉลี่ยเนื้อเยื่อโดย<br />

การทําใหเนื้อเยื่อกระจายใหทั่ว และสม่ําเสมอกัน จากนั้น<br />

นําน้ําออกและปลอยทิ้งใหแหง<br />

7. นําเนื้อเยื่อที่แหงแลวจากการเขาแบบ มาทําการ<br />

อัดเย็น โดยนํากระดาษมาไลน้ําออกจากแผน และอัด<br />

กระดาษใหมีความบางลง ซึ่งวิธีการนี้ ชวยลดระยะเวลาใน<br />

กระบวนการผลิตกอนนําไปอัดดวยความรอน ซึ่งวิธีนี้จะได<br />

กระดาษที่แนนและไมแตกเสียหาย หลังจากนําไปอัดดวย<br />

เครื่องอัดกระดาษแบบรอน<br />

8. นํากระดาษที่ไดจากการอัดเย็น มาอัดดวยเครื่อง<br />

อัดความรอน เพื่อใหกระดาษแหงสนิทและมีความเรียบ ซึ่ง<br />

จะใชอุณหภูมิที่ 120 องศาเซลเซียส และควรใชวัสดุเคลือบ<br />

แผนอะลูมิเนียมที่อัดกอน เพื่อปองกันการหัก หรือแตกของ<br />

กระดาษเมื่อแกะออกจากตะแกรง<br />

9. ไดกระดาษจากเตยหอมที่อัดแลว จะมีความหนา<br />

ประมาณ 0.63- 0.72 มิลลิเมตร และกระดาษจากตะไคร<br />

หอมหนาประมาณ 1.02 – 1.04 มิลลิเมตร หรือขึ้นอยูกับ<br />

ปริมาณเนื้อเยื่อพืชที่ใสลงไป จากนั้นนํากระดาษที่ไดไปทํา<br />

การอบอีกครั้งหนึ่งในตูอบ<br />

10. เมื่อไดกระดาษที่อัดเรียบแลว นําไปผึ่งใหแหง ก็<br />

จะไดกระดาษที่มีความสวยงาม และคงทนเหมาะที่จะนําไป<br />

ทําผลิตภัณฑตอไป<br />

การทดลองทําผลิตภัณฑจากกระดาษที่ไดจากพืช<br />

หอม<br />

เมื่อไดกระดาษจากพืชหอมมาแลว เราสามารถนําไปทํา<br />

ประโยชนตาง ๆ ไดมากมาย เพราะกระดาษ ที่ผลิตมานั้น มี<br />

ลักษณะผิวสัมผัสที่เรียบ และกอนที่จะนําไปใชประโยชน<br />

ควรทําใหกระดาษมี ความราบเรียบทั้ง 2 ดานมากยิ่งขึ้น<br />

โดยนํากระดาษมาเคลือบผิวดวยกาวหรือวัสดุเคลือบผิวอื่น<br />

ๆ นําไปผึ่งแดดใหแหงสนิท จากนั้นสามารถนําไปใช<br />

ประโยชนในการผลิตผลิตภัณฑไดหลายดวยกัน ยกตัวอยาง<br />

เชน การนํากระดาษที่ไดไปทําเปนผลิตภัณฑสิ่งประดิษฐตาง<br />

ๆ ไดแกโคมไฟ ปฏิทินตั้งโตะ หรือหนาปกสมุดบันทึก ก็<br />

สามารถทําได มีความสวยงามและยังมีกลิ่นหอมออน ๆ ของ<br />

พืชชนิดนั้นอีกดวย<br />

6. ผลการวิจัย<br />

1.ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเครื่องอัด<br />

กระดาษตนแบบ<br />

เพื่อพัฒนาคุณภาพและหาประสิทธิภาพของเครื่องอัด<br />

กระดาษตนแบบ ดานโครงสรางภายนอก ประเมินโดย<br />

ผูเชี่ยวชาญมีความรูเกี่ยวกับระบบการประกอบเครื่องและ<br />

ระบบการใหความรอนตาง ๆ มาทําการประเมินเพื่อหา<br />

ขอบกพรองและปรับปรุงแกไขตอไป เพื่อใหเครื่องสามารถ<br />

นําไปปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีผูประเมิน คือ<br />

รศ.ทรงกลด จารุสมบัติ หัวหนาภาควิชาวนผลิตภัณฑ<br />

คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

45


วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม ปที่ 11 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2554 - มกราคม 2555<br />

ผลการประเมินอยูระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเทากับ<br />

2.30 เมื่อพิจารณาแตละรายการซึ่งสวนใหญอยูในระดับปาน<br />

กลาง คือมีประสิทธิภาพใชงานพอใชได สวนที่มี<br />

ประสิทธิภาพดี 4 รายการคือ 1) ขนาดของเครื่อง 2) การ<br />

ใหความรอน 3) ความเหมาะสมในการอัดกระดาษตอแผน<br />

4) ระบบความปลอดภัยของเครื่องอัดกระดาษในการ<br />

ปฏิบัติงาน สวนที่เหลือมีประสิทธิภาพที่พอใช คือ 1)<br />

โครงสรางโดยรวมของเครื่อง 2) ขนาดของอุปกรณที่ใชใน<br />

การประกอบ 3) คุณภาพของการใชแรงอัด 4) ความ<br />

ครบถวนของอุปกรณภายในเครื่อง 5) ขั้นตอนและ<br />

กระบวนการในการทํางานของเครื่อง 6) คุณภาพของ<br />

กระดาษที่อัดในเรื่อง สีของกระดาษ 7) ความหนาของ<br />

กระดาษ 8) ความสะดวกในการปฏิบัติงาน และ 9)<br />

ประสิทธิภาพโดยภาพรวมของเครื่อง<br />

วิธีการทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องอัดกระดาษ จาก<br />

การสรางเครื่องอัดกระดาษโดยใชความรอน เพื่อลดตนทุน<br />

ของเครื่องที่จะนํามาใชในการอัดกระดาษ ทําการทดสอบ<br />

โดยใชเยื่อจากเตยหอมและตะไครหอม ที่เขาแบบขนาด 35<br />

x 35 ทําการเก็บขอมูลตาง ๆ ของกระดาษที่ผลิตจากเครื่อง<br />

อัดกระดาษ ดังนี้<br />

1. เปรียบเทียบคุณลักษณะตาง ๆ ที่ได เชน กลิ่น สี<br />

ผิวสัมผัสของกระดาษ<br />

2. เปรียบเทียบความหนาแนน ความชื้น และความ<br />

หนาของกระดาษที่ผลิตเครื่องมือ<br />

ผลการดําเนินงานผลิตกระดาษจากพืชหอม :<br />

กรณีศึกษาเยื่อกระดาษที่ทําจากเตยหอมและตะไครหอม<br />

ทํากระดาษขนาด 35 x 35 เซนติเมตร จากนั้นนํากระดาษที่<br />

ได ไปสังเกต ลักษณะสี ลักษณะกลิ่น ความยืดหยุนและ<br />

บันทึกผล ดังในตารางที่ 1<br />

ตารางที่ 1 คุณสมบัติของกระดาษที่ผลิตจากเตยหอม<br />

คุณสมบัติของกระดาษ<br />

กระดาษที่<br />

ผลิต ลักษณะสี<br />

ลักษณะ<br />

กลิ่น<br />

เตยหอม1 เขียวออน กลิ่นหอม<br />

เล็กนอย<br />

ตะไคร<br />

หอม<br />

สีน้ําตาล<br />

ออน<br />

กลิ่นหอม<br />

เล็กนอย<br />

ลักษณะ<br />

ผิวสัมผัส<br />

เนื้อสัมผัสดี<br />

คอนขาง<br />

เรียบ<br />

เนื้อสัมผัส<br />

หยาบ<br />

ความ<br />

ยืดหยุน<br />

มีความ<br />

ยืดหยุน<br />

มาก<br />

มีความ<br />

ยืดหยุน<br />

นอย<br />

คุณสมบัติของกระดาษที่ผลิตจากเตยหอมลักษณะ<br />

ของสีของกระดาษเตยหอมที่อัดแลวผลดังนี้ ลักษณะจะมีสี<br />

เขียวของใบเตย คือสีเขียวออน<br />

ลักษณะของกลิ่นของกระดาษเตยหอมที่อัดแลว จะมี<br />

กลิ่นของใบเตยเล็กนอย<br />

ลักษณะของผิวสัมผัสของกระดาษเตยหอมที่อัดแลว มี<br />

เนื้อสัมผัสดี คอนขางเรียบ<br />

ลักษณะความยืดหยุนของกระดาษเตยหอมที่อัดแลวผล<br />

จะมีความยืดหยุนมาก เมื่อจับมวนสามารถมวนไดมาก<br />

คุณสมบัติของกระดาษที่ผลิตจากตะไครหอม ผลที่ได<br />

ของกระดาษอัดมีดังนี้<br />

ลักษณะของสีของกระดาษตะไครหอมที่อัดแลวผลดังนี้<br />

ลักษณะจะมีสีเขียวของใบตะไครหอม คือสีน้ําตาลออน<br />

ลักษณะของกลิ่นของกระดาษตะไครหอมหอมที่อัดแลว<br />

จะมีกลิ่นของตะไครเล็กนอย<br />

ลักษณะของผิวสัมผัสของกระดาษตะไครหอมที่อัดแลว<br />

มีเนื้อสัมผัสหยาบ<br />

ลักษณะความยืดหยุนของกระดาษตะไครหอมที่อัดแลว<br />

ผลจะมีความยืดหยุนนอย เมื่อจับมวนสามารถมวนไมไดมาก<br />

46


วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม ปที่ 11 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2554 - มกราคม 2555<br />

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบในดาน ความหนาแนน ความชื้นและความ<br />

หนาของกระดาษที่ได<br />

ชนิด<br />

ของพืช<br />

ครั้งที่<br />

ผลิต<br />

ความ<br />

หนาแนน<br />

(ก. / ซม 3 )<br />

ความชื้น<br />

(%)<br />

ความหนา<br />

(มม.)<br />

เตยหอม<br />

1 0.60 4.90 0.66<br />

2 0.66 5.11 0.72<br />

3 0.60 5.94 0.63<br />

ตะไคร<br />

หอม<br />

1 0.61 6.76 1.02<br />

2 0.60 6.47 1.02<br />

3 0.63 6.63 1.04<br />

รูปที่ 1 เปรียบเทียบกระดาษที่ไดจากตะไครหอม และ<br />

กระดาษที่ไดจากเตยหอม<br />

การเปรียบเทียบ คุณสมบัติของเตยหอมและตะไคร<br />

จากการทดสอบผลิตกระดาษจากเตยหอมและตะไคร<br />

หอมเมื่อดูคุณสมบัติภายนอกที่สังเกตได คือ ลักษณะสี<br />

ลักษณะกลิ่น ลักษณะผิวสัมผัส และความยืดหยุนซึ่งไดผล<br />

ตามที่พบแลวนั้น ยังนํากระดาษที่ผลิตไดมาทดสอบลักษณะ<br />

อื่น ๆ ที่นํามาเปรียบเทียบระหวางกระดาษที่ผลิตจากเตย<br />

หอมและตะไครหอมไดแก ดานความหนาแนน ความชื้นและ<br />

ความหนาของกระดาษที่ได<br />

พบวา ในภาพรวมความหนาแนนของกระดาษที่ผลิต<br />

จากเตยหอม และ ตะไครหอม มีความหนาแนนไมแตกตาง<br />

กันมากนัก โดยกระดาษที่ไดมีความหนาแนนอยูระหวาง<br />

0.60 - 0.66 กรัมตอตารางเซนติเมตร ดานความชื้นจะ<br />

พบวาภาพรวม ความชื้นของกระดาษที่ทําจากตะไครหอม<br />

จะมีความชื้นมากกวากระดาษที่ทําจากเตยหอม ในการผลิต<br />

ครั้งที่ 1 สวนกระดาษที่ผลิตจากตะไครหอมจะมีความชื้น<br />

มากที่สุดคือ 6.76 เปอรเซนต สวนความหนาพบวากระดาษ<br />

ที่ทําจากเตยหอมจะมีความหนาอยูที่ประมาณระหวาง<br />

0.63- 0.72 มิลลิเมตร และกระดาษที่ทําจากตะไครหอมมี<br />

ความหนาอยูที่ระหวาง 1.02 – 1.04 มิลลิเมตร โดย<br />

กระดาษที่ทําจากตะไครหอมมีความหนามากกวากระดาษที่<br />

ทําจากเตยหอม หรือขึ้นอยูกับปริมาณเนื้อเยื่อพืชที่ใสลงไป<br />

47


วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม ปที่ 11 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2554 - มกราคม 2555<br />

การออกแบบพัฒนาและทําผลิตภัณฑจากกระดาษ<br />

พืชหอม<br />

เมื่อไดกระดาษจากพืชหอมมาแลว เราสามารถนําไปทํา<br />

ประโยชนได โดยการนํากระดาษที่ไดไปทําเปนผลิตภัณฑ<br />

เชน โคมไฟ ปฏิทินตั้งโตะ หรือหนาปกสมุดบันทึก ก็สามารถ<br />

ทําได มีความสวยงามและยังมีกลิ่นหอมออน ๆ ของพืชชนิด<br />

นั้นอีกดวย แตมีขอสังเกตคือ เมื่อใชไดระยะหนึ่ง กลิ่นที่มีจะ<br />

คอย ๆ หายไปตามระยะเวลา<br />

รูปที่ 2 เครื่องอัดกระดาษหลังจากปรับปรุงแลว<br />

2. ผลการทดลองทํากระดาษจากเครื่องอัดกระดาษ<br />

ตนแบบ : กรณีศึกษาเตยหอมและตะไครหอม และการ<br />

ออกแบบ พัฒนาและทําผลิตภัณฑจากกระดาษ<br />

ผลจากการทดลองทําผลิตภัณฑกระดาษที่ผลิตไดจาก<br />

เครื่อง ปรากฏวา คุณสมบัติของกระดาษที่ไดมีลักษณะที่<br />

เหมาะสมสามารถนําไปทําผลิตภัณฑตาง ๆ ได เพราะ<br />

กระดาษที่ไดมานั้น จะมีลักษณะผิวสัมผัสที่เรียบ หรือกอนที่<br />

จะนําไปใชประโยชน เพื่อใหกระดาษมีความราบเรียบทั้ง 2<br />

ดานมากยิ่งขึ้น สามารถนํากระดาษมาเคลือบผิวดวยกาว<br />

หรือวัสดุเคลือบผิวอื่น ๆ จากนั้นนําไปผึ่งแดดใหแหงสนิท<br />

จากนั้นสามารถนําไปใชประโยชนไดหลายแนวทางดวยกัน<br />

ยกตัวอยางเชน การนํากระดาษที่ไดไปทําเปนผลิตภัณฑ<br />

สิ่งประดิษฐตาง ๆ ไดแกโคมไฟ ปฏิทินตั้งโตะ หรือหนาปก<br />

สมุดบันทึก ก็สามารถทําได มีความสวยงามและยังมีกลิ่น<br />

หอมออน ๆ ของพืชชนิดนั้นอีกดวย<br />

รูปที่ 3 ตัวอยางผลิตภัณฑตาง ๆ ที่ทําจากกระดาษพืชหอม<br />

7. วิจารณผลการวิจัย<br />

เครื่องอัดกระดาษที่ผลิตขึ้น ไดทําการทดสอบ<br />

ประสิทธิภาพในการทํางานโดยการประเมินใน 12 รายการ<br />

คือ ขนาดของเครื่อง โครงสรางโดยรวมของเครื่อง ขนาด<br />

อุปกรณที่ใชในการประกอบ การใหความรอน คุณภาพของ<br />

การใชแรงอัด ความครบถวนของอุปกรณภายในเครื่อง<br />

ขั้นตอนและกระบวนการในการทํางานของเครื่อง ความ<br />

เหมาะสมในการอัดกระดาษตอแผน ระบบความปลอดภัย<br />

ของเครื่องอัดกระดาษในการปฏิบัติงาน คุณภาพของ<br />

กระดาษที่อัด ความสะดวกในการปฏิบัติงาน และ<br />

ประสิทธิภาพโดยรวม ผลการประเมินประสิทธิภาพอยูใน<br />

ระดับปานกลาง คือ มีประสิทธิภาพพอใชงานได ซึ่ง<br />

สอดคลองกับงานวิจัยของธง พรมจินดา และอรุณ หนูสังข<br />

48


วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม ปที่ 11 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2554 - มกราคม 2555<br />

[5] ที่ไดสรางเครื่องอัดกระดาษตนแบบและเครื่องอัด<br />

กระดาษนี้ยังไดปรับปรุงตามที่ผูเชี่ยวชาญเสนอแนะ ซึ่งจะ<br />

สามารถทําใหการทํางานของเครื่องอัดกระดาษมี<br />

ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น<br />

สําหรับการผลิตกระดาษจากเตยหอมและตะไครหอม<br />

ใหเหมาะสมในการใชงาน กระดาษที่ผลิตไดของเตยหอมจะ<br />

มีผิวสัมผัสที่เรียบและยืดหยุนมากกวากระดาษที่ผลิตจาก<br />

ตะไครหอมสวนกลิ่นของกระดาษที่ไดจะมีกลิ่นของพืชทั้ง<br />

สองชนิดเล็กนอย สวนคุณสมบัติดานสี จะเปลี่ยนแปลง<br />

เล็กนอยโดยสีของกระดาษที่ผลิตจากเตยหอม จะมีสีเขียว<br />

ออน และกระดาษที่ผลิตจากตะไครจะมีสีน้ําตาลออน<br />

สวนคุณสมบัติของเตยหอมและตะไครหอม ในดาน<br />

ความหนาแนน ความชื้นและความหนาของกระดาษที่ได<br />

พบวา ความหนาแนนของกระดาษที่ผลิตจากเตยหอม และ<br />

ตะไครหอม มีความหนาแนนไมแตกตางกันมากนัก ดาน<br />

ความชื้นจะเห็นวา เปอรเซ็นตความชื้นของตะไครหอม จะ<br />

มากกวาเปอรเซ็นตความชื้นของเตยหอม อาจมาจากเสนใย<br />

ของตะไครหอมที่มีขนาดใหญกวา และแข็งกวาจึงทําใหการ<br />

ระบายความชื้นทําไดชา และสงผลตอความหนาที่พบวา<br />

กระดาษที่ผลิตจากตะไครหอมมีความหนามากกวาเตยหอม<br />

ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ลําพูน ยิ่งดี และสําลี บําเหน็จ<br />

[6] และ กาญจนา โสภากุล และสุนันทา หินกอง [7]<br />

กระดาษที่ไดเมื่อนําไปทําผลิตภัณฑ จะไดผลิตภัณฑที่มี<br />

ความสวยงามและยังมีกลิ่นหอมออน ๆ ของพืชชนิดนั้นอีก<br />

ดวย แตเมื่อใชไดระยะหนึ่ง กลิ่นที่มีจะคอย ๆ หายไป<br />

ปญหาและอุปสรรค<br />

1. ปญหาของการหาวัสดุที่นํามาทําคือ ใบเตยหอม<br />

และตะไครหอม ในปริมาณมาก ๆ ซึ่งจะหาไดยากตาม<br />

จํานวนที่ตองการ<br />

2. เนื่องจากเปนการทดลอง ทําใหบางครั้งอุปกรณไม<br />

เพียงพอ เชน ตะแกรง กะละมัง เปนตน<br />

3. การหั่นใบเตยหอม และตะไครหอม ควรหั่นให<br />

ละเอียด เพราะถาหั่นหยาบ กระดาษที่ไดจะหยาบและ<br />

แตกหักงาย<br />

4. ในการทํา ตองคํานวณเวลา และความรอนในการ<br />

อัดใหดีเพราะ ถาใชเวลาหรือความรอนมากเกินไปจะทําให<br />

กระดาษที่อัดเสียหาย ติดตะแกรงรอง<br />

5. ในการเก็บขอมูล ควรทําซ้ําหลาย ๆ ครั้งเพื่อทํา<br />

ใหผลทดลองที่ดี<br />

6. ผลิตภัณฑที่ได เมื่อนําไปใชสีและกลิ่นหอมตาม<br />

ธรรมชาติจะคอย ๆ หายไป<br />

ขอเสนอแนะในการแกไขปญหา<br />

1. ควรมีการเตรียมวัสดุ อุปกรณตาง ๆ ใหพรอม<br />

กอนการปฏิบัติงาน<br />

2. ควรทดลองอัดกระดาษดวย เวลาและอุณหภูมิที่<br />

แนนอนเพราะจะทําใหไดกระดาษที่มีคุณภาพ<br />

3. ควรหาวัสดุเคลือบผิวตะแกรงกอนทําการอัด<br />

กระดาษเพื่อไมใหติดตะแกรง<br />

4. ควรเก็บขอมูล และทําการทดลองมากกวา 1<br />

ครั้งเพื่อใหผลการทดลองแนนอน<br />

5. กระดาษที่ได ควรนําไปเคลือบวัสดุเคลือบผิว<br />

เชนกาว หรือพาราฟน เพื่อใหมีความสวยงาม สีมีความ<br />

ทนทานและสามารถเก็บไดนาน<br />

8. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป<br />

คณะผูวิจัย มีขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไปดังนี้<br />

1. เครื่องอัดกระดาษตนแบบที่ได สามารถใชไดใน<br />

ระดับหนึ่ง แตยังมีขอควรแกไขตาง ๆ ที่ผูเชี่ยวชาญได<br />

เสนอแนะไว ควรที่จะมีการพัฒนาและปรับปรุง เพื่อใหมี<br />

ความคงทน ปลอดภัย สะดวกแกการใชงาน และใชงานได<br />

อยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น<br />

2. กระดาษที่ไดมีลักษณะผิวสัมผัสที่เรียบไมสม่ําเสมอ<br />

เนื่องจากผิวสัมผัสของเตยหอมและตะไครหอมมีความหยาบ<br />

และละเอียดแตกตางกัน ถาหากทดลองเคลือบผิวดวยวัสดุที่<br />

แตกตางกันอาจไดกระดาษที่มีคุณภาพและความคงทน<br />

มากกวานี้ ซึ่งจากการตรวจเอกสารพบวา วัสดุที่นํามาใช<br />

เคลือบผิวมีหลากหลาย เชน กาว พาราฟน พรอพอลิส เปน<br />

ตน<br />

49


วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม ปที่ 11 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2554 - มกราคม 2555<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

งานวิจัยเรื่องนี้ สําเร็จลุลวงไดดวยดีเพราะไดรับความ<br />

กรุณาจากหลายฝาย โดยเฉพาะอยางยิ่ง รศ.ทรงกลด จารุ-<br />

สมบัติ หัวหนาภาควิชาวนผลิตภัณฑ คณะวนศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่กรุณาใหคําแนะนําในขั้นตอน<br />

<strong>การพัฒนาเครื่องอัดกระดาษ</strong>มาโดยตลอด รวมทั้งเจาหนาที่<br />

หองปฏิบัติการภาควิชาวนผลิตภัณฑทุกทาน ที่ใหความ<br />

ชวยเหลือ แนะนํากรรมวิธีการอัดกระดาษ และที่สําคัญ<br />

คณะผูวิจัยขอขอบคุณคณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบัน<br />

เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ที่ใหการ<br />

สนับสนุนงบประมาณทั้งหมด ที่ใชในการทําวิจัยนี้<br />

เอกสารอางอิง<br />

[1] พรทวี พึ่งรัศมี และอรัญ หาญสืบสาย. 2537.<br />

สาระนารูเรื่องกระดาษพิมพ.<br />

กรุงเทพฯ : คณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี<br />

สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา.<br />

[2] สถาบันวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย<br />

(วว.) 2552. ขอมูลไมหอมเมืองไทย<br />

เรื่อง น้ํามันหอมระเหย<br />

คนเมื่อ 25 พฤษภาคม 2552, จาก http :<br />

/www.tistr.or.th/essentialoils/ indexv2. htm<br />

[3] เสาวณีย ฉัตรพัฒนวงศ และคณะ. 2540.<br />

แนวทางการผลิตกระดาษจากเสนใบสับปะรด.<br />

ปญหาพิเศษปริญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิต<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีชนบท คณะวิทยาศาสตร<br />

และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต.<br />

[4] พรทวี พึ่งรัศมี และอรัญ หาญสืบสาย. 2537.<br />

สาระนารูเรื่องกระดาษพิมพ.<br />

กรุงเทพฯ : คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา.<br />

[5] ธง พรมจินดา และอรุณ หนูสังข. 2547.<br />

เครื่องอัดกระดาษ. ปญหาพิเศษ ปริญญาตรี<br />

ครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต<br />

ภาควิชาครุศาสตรเกษตร<br />

คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.<br />

[6] ลําพูน ยิ่งดี และสําลี บําเหน็จ. 2547.<br />

ศึกษาวิธีการผลิตเตยหอมใหเหมาะสม<br />

ในการใชงาน. ปญหาพิเศษปริญญาตรีครุศาสตร<br />

อุตสาหกรรมบัณฑิต ภาควิชาครุศาสตรเกษตร<br />

คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร<br />

ลาดกระบัง.<br />

[7] กาญจนา โสภากุล และสุนันทา หินกอง. 2546.<br />

การผลิตกระดาษเตยหอม. ปญหาพิเศษ<br />

ปริญญาตรี ครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต<br />

ภาควิชาครุศาสตรเกษตร คณะครุศาสตร<br />

อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา<br />

เจาคุณทหารลาดกระบัง.<br />

50

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!