20.11.2014 Views

Otitis Media

Otitis Media

Otitis Media

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Srinagarind Med J 2010: 25 (Suppl)<br />

<strong>Otitis</strong> <strong>Media</strong><br />

พรเทพ เกษมศิริ<br />

ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

LECTURE<br />

เปนภาวะหูชั้นกลางอักเสบของหูชั้นกลางโดยแบงออก<br />

เปน 3 กลุม<br />

1. Acute otitis media<br />

2. <strong>Otitis</strong> media with effusion<br />

3. Chronic otitis media<br />

Anatomy<br />

หูชั้นกลางนั้นนับตั้งแตเยื่อแกวหูไปจนถึง oval window<br />

และมีการติดตอกับ mastoid antrum และ mastoid air<br />

cell ทางดานหลังผานทาง aditus ad antrum สวนทางดาน<br />

หนาจะติดกับ nasopharynx ผานทาง eustachian tube<br />

<strong>Otitis</strong> media<br />

การติดเชื้อในหูชั้นกลางเกิดไดจาก 3 ทางคือ<br />

1. เกิดจากการที่เชื้อโรคจากคอ หรือจมูก ผานเขาทาง<br />

eustachian tubeไปสูหูชั้นกลาง<br />

2. เกิดจากเชื้อโรคเขาทางรูหู ผานแกวหูที่ทะลุอยูกอน<br />

แลว เขาไปสูหูชั้นกลาง และ mastoid air cell<br />

3. ผานทางกระแสเลือด<br />

อุบัติการณ<br />

มักเกิดในเด็กมากกวาในผูใหญโดยเฉพาะเด็กที่อายุนอย<br />

กวา 2 ป เนื่องจาก eustachian tube ของเด็กสั้นกวา และอยู<br />

ในแนวระนาบมากกวา นอกจากนี้ยังพบวามีปจจัยเสี่ยงตอ<br />

การเกิดหูชั้นกลางอักเสบดังนี้<br />

1. ปจจัยทางสิ่งแวดลอม<br />

- การเลี้ยงดูใน day-care ทําใหเสี่ยงตอการติดเชื้อ<br />

ทางเดินหายใจงายมากขึ้นเสี่ยงตอการเกิดหูชั้นกลางอักเสบ<br />

- การเลี้ยงดูดวยนมแมเชื่อวามี Immunoglobulin<br />

ชวยปองกันการติดเชื้อและในเด็กที่ถูกเลี้ยงดวยขวดนมมัก<br />

จะเกิดการติดเชื้อไดงายกวาจากการที่มีโอกาสเกิดกรดไหล<br />

ยอนงายกวา ทําใหมีโอกาสเกิดการติดเชื้อผาน eustachian<br />

tube<br />

- การสัมผัสสารจากการสูบบุหรี่ซึ่งจะทําใหเยื่อบุหู<br />

ชั้นกลางบวมอักเสบได<br />

- ในฤดูหนาวมีโอกาสติดเชื้อทางเดินหายใจงาย<br />

สงผลใหเสี่ยงตอการเกิดหูชั้นกลางอักเสบ<br />

2. ปจจัยจากตัวผูปวยเอง<br />

- ภูมิคุมกันบกพรอง<br />

- มี craniofacial anomaly เชน cleft palate<br />

Acute otitis media<br />

เชื้อกอโรค<br />

เชื้อสวนใหญเปนแบคทีเรียพบประมาณ 56-75% โดย<br />

เปนเชื้อ Streptococcus pneumoniae 40%, Haemophilus<br />

infl uenza 25-30%, Moraxella catarrhalis 10-20%<br />

อาการและอาการแสดง<br />

ระยะที่ 1 Hyperemia ผูปวยจะมาดวยอาการปวดหู<br />

หรือความรูสึกแนนๆ มีไข การไดยินมักจะผิดปกติ ตรวจดู<br />

พบวา เยื่อแกวหูจะแดงอักเสบ ซึ่งเปนอาการที่สําคัญใน<br />

การแยกหูชั้นกลางอักเสบ จากภาวะนํ้าในหูชั้นกลาง (<strong>Otitis</strong><br />

media with effusion)<br />

ระยะที่ 2 Exudation ระยะนี้จะเริ่มมีซีรั่มออกมาจาก<br />

หลอดเลือดที่ขยายตัว เขาไปในหูชั้นกลาง และในโพรง<br />

อากาศมาสตอยด ผูปวยจะมีอาการปวดมากขึ้น และไขสูง<br />

การไดยินลดลง ตรวจดูหูจะพบเยื่อแกวหูบวมแดงและ<br />

โปงออก จนไมสามารถมองเห็นโครงสรางปกติได<br />

ระยะที่ 3 Suppuration เปนระยะที่แรงดันในหูชั้น<br />

กลางมากจนเกิดทะลุเล็กๆ ของเยื่อแกวหู และมีนํ้าปนเลือด<br />

(hemorrhagic หรือ serosangunous fl uid) ไหลออกมา ตอ<br />

มาอาจจะเปลี่ยนเปนมูกปนหนอง (mucopurulent) ก็ได<br />

อาการปวดและไขจะลดลงอยางมาก ตรวจดูหูจะพบหนอง<br />

ไหลจากรูทะลุ โดยมากการอักเสบในหูชั้นกลางแบบเฉียบพลัน<br />

นี้จะหยุดในระยะนี้ เยื่อแกวหูก็จะสามารถซอมแซมปดได<br />

เอง มีสวนนอยที่รูทะลุคงอยูเกิดเปนหูนํ้าหนวกเรื้อรังตอไป<br />

ระยะที่ 4 Coalescence mastoiditis มักพบกรณีที่<br />

เกิดจากเชื้อที่รุนแรงทําใหเกิดการอักเสบเปนระยะเวลานาน<br />

เกินกวา 2 สัปดาห เกิดจากที่หนองขังในโพรงกระดูกมาส<br />

ตอยด กดเจ็บหลังหูเล็กนอยและมีหนองไหลตลอด อาจจะ<br />

ตรวจพบ sagging บริเวณผนังกระดูกของรูหูดานบนหลังได<br />

fi lm mastoid จะพบบริเวณโพรงอากาศมาสตอยดทึบทั้งหมด<br />

การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 26 ประจําป 2553 27


Srinagarind Med J 2010: 25 (Suppl)<br />

LECTURE<br />

และไมเห็นกระดูกบางๆ ที่แบง air cell ใน มาสตอยดเลย<br />

ระยะที่ 5 Complication เปนระยะที่เกิดโรคแทรกซอน<br />

สามารถทําลายกระดูกและโครงสรางที่อยูรอบๆ หรือเชื้ออาจ<br />

จะไปตามหลอดเลือดดําที่อักเสบ (thrombophlebitis) เกิด<br />

โรคแทรกซอนขึ้น เชน ฝหลังหู facial nerve palsy lateral<br />

sinus thrombosis เยื่อหุมสมองอักเสบ ฝในสมอง และ<br />

petrositis เปนตน<br />

ระยะที่ 6 Resolution เปนระยะที่หายจากการอักเสบ<br />

หนองหยุดไหลจากหู เยื่อแกวหูเริ่มมีการซอมแซมปดไดเอง<br />

การไดยินจะกลับสูสภาพปกติหรือเกือบปกติ ระยะนี ้อาจเกิด<br />

ตามหลังระยะที่ 3 หรือ 5 บางรายที่รูทะลุไมสามารถปดไดก็<br />

จะกลายเปนหูนํ้าหนวกเรื้อรังได<br />

Investigation<br />

สวนใหญมักจะสง plain fi lm mastoid ในกรณีที่สงสัย<br />

ภาวะ coalescent mastoiditis<br />

การรักษา<br />

ในผูปวยหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลันที่เยื่อแกวหูยังไม<br />

ทะลุสามารถหายเองไดประมาณรอยละ 70-80 แตเชื่อวาการ<br />

ใหยาปฏิชีวนะ 5-10 วัน ชวยลดความรุนแรง ระยะเวลาของ<br />

อาการ และชวยลดภาวะแทรกซอนที่อาจจะเกิดขึ้น<br />

ยาปฏิชีวนะที่เลือกใชเปนอันดับแรกคือ amoxicillin<br />

40 mg/kg/day หากมีอาการแพยาควรเปลี่ยนไปใชกลุม<br />

Macrolide แตหากผูปวยมีปจจัยเสี่ยงตอการติดเชื้อ<br />

penicillin-resistant S. pnumoniae เชน เด็กอายุนอยกวา<br />

2 ป เลี้ยงดูใน day care เปนตน หรือในกลุมผูปวยที่เคย<br />

ไดรับยาปฏิชีวนะภายใน 1 เดือนมากอน ควรพิจารณาให<br />

amoxicillin 90 mg/kg/day หรือ ปรับยาปฏิชีวนะเปนในกลุม<br />

ที่ 2 เชน amoxicillin-clavalunate 90 mg/kg/day, cefdinir,<br />

cefpodoxime, cefprozil, cefuroxime ถาหากอาการยัง<br />

ไมดีขึ้นให ceftriaxone injection or fl uoroquinolone สวน<br />

การผาตัดเจาะเยื่อแกวหู (tympanocentesis) พิจารณาทํา<br />

ในกรณีรักษาดวยยาไมดีขึ้นหรือในกรณีอาการปวดหูรุนแรง<br />

ไขสูง ตองการทราบเชื้อกอโรค<br />

สวนในกลุมที่เยื่อแกวหูทะลุใหยาปฏีชีวนะเชนเดียว<br />

กับในผูปวยที่แกวหูยังไมทะลุ และพิจารณาใหยาหยอดหู<br />

(topical ofl oxacin eardrop) ในกลุมผูปวยที่มีหนองไหล<br />

ออกจากหูหรือมีหูชั้นนอกอักเสบรวมดวยหากผูปวยมีภาวะ<br />

แทรกซอนควรปรึกษาแพทยเฉพาะทาง<br />

<strong>Otitis</strong> media with effusion (OME)<br />

เปนภาวะที่มีนํ้าในหูชั้นกลางโดยที่ไมมีอาการแสดงของ<br />

ภาวการณติดเชื้อ อยางไรก็ตามมีการศึกษาเพาะเชื้อพบเชื้อ<br />

แบคทีเรีย 30% จากนํ้าในหูชั้นกลาง ภาวะ OME มักเกิด<br />

ในเด็กโดยเฉพาะในเด็กที่มีปจจัยเสี่ยง เชน craniofacial<br />

anomaly, Down’s syndrome, cleft lip and palate แตหาก<br />

พบภาวะ OME ในผูใหญควรจะตองแยกภาวะ nasopharyngeal<br />

carcinoma ดวยเพราะอาจเกิดจากมะเร็งไปอุด<br />

eustachian tube<br />

อาการและอาการแสดง<br />

- ผูปวยมักจะมาดวยอาการหูอื้อ การไดยินลดลง<br />

ซึ่งหากพบในเด็กอาจทําใหเกิด delay speech and<br />

language ได<br />

- ตรวจรางกายพบวามี air bubble, air fl uid level,<br />

ในหูชั้นกลางหรืออาจตรวจพบ dull tympanic membrane<br />

- การตรวจรางกายที่สําคัญควรใช pneumatic<br />

otoscope ซึ่งจะพบวามีการขยับของเยื่อแกวหูลดลง<br />

Investigation<br />

ผูปวยควรจะไดรับการตรวจ audiogram และ tympannogram<br />

ซึ่งจะพบวาผูปวยมี conductive hearing loss และ<br />

tympanogram type B<br />

การรักษา<br />

ให antibiotic short course ซึ่งเชื้อสวนใหญคลายกับ<br />

acute otitis media แตวาถาอาการยังไมดีขึ้นควรสงปรึกษา<br />

แพทยเฉพาะทางเพื่อพิจารณาทําการผาตัดเจาะเยื่อแกวหู<br />

(myringotomy) รวมกับพิจารณาใส ventilation tube สวน<br />

ในเด็กที่มีปจจัยเสี่ยงควรสงปรึกษาแพทยเฉพาะทางเพราะ<br />

เด็กกลุมนี้มักจะเปน recurrent OME หรือ chronic OME<br />

เนื่องจากเด็กกลุมนี้ eustachian tube ทํางานไมดี<br />

Chronic otitis media<br />

ระยะเวลาของการอักเสบเรื้อรังของหูชั้นกลางนั้นยังไมมี<br />

ระยะเวลาที่แนชัดประมาณนานเกินกวา 2 สัปดาหถึง 3 เดือน<br />

รวมกับมีเยื่อแกวหูทะลุซึ่งอาจพบวามีหนองหรือไมมีก็ไดหูชั้น<br />

กลางอักเสบเรื้อรังสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท<br />

1. หูอักเสบชนิดไมรายแรง (Safe Ear) ไดแก<br />

- เยื่อแกวหูทะลุตรงกลาง (central perforation)<br />

จะสังเกตุพบวาขอบของ annulus ยังอยูครบวง และไมพบวา<br />

มี cholesteatoma<br />

เชื้อกอโรค สวนใหญเปน Pseudomonas aeruginosa,<br />

Staphylococcus aureus<br />

อาการและอาการแสดง มักมาดวยหนอง (mucopurulent<br />

discharge) ไหลจากหูเปนๆ หายๆ อาจตรวจพบวามี<br />

granulation หรือ polyp ได มักไมพบวามีอาการปวดหูรวม<br />

ดวย หากมีอาการปวดหูแสดงวาอาจจะมีภาวะแทรกซอน<br />

28<br />

การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 26 ประจําป 2553


Srinagarind Med J 2010: 25 (Suppl)<br />

เกิดขึ้น นอกจากนี้ผูปวยมักเสียการไดยินแบบการนําเสียง<br />

เสีย บางรายอาจมีเสนประสาทหูเสื่อมรวมดวยจาก Bacterial<br />

Toxin<br />

การรักษา<br />

- ทําความสะอาด ดูดหนองในรูหู<br />

- ให topical antibiotic : fl uoroquinolone ear drop<br />

14-28 วัน<br />

ถาหากอาการยังไมดีขึ้นให systemic antibiotic รวม<br />

ดวย หลังจากใหการรักษาดวย antibiotic อยางเต็มที่แลว<br />

ยังไมดีขึ้นจําเปนตองประเมินหา cholesteatoma และ<br />

mastoiditis<br />

ในผูปวยบางรายหลังการรักษาดวย antibiotics ไปแลว<br />

ยังพบวาแกวหูทะลุอยูไมสามารถปดเองไดซึ่งอาจพิจารณารับ<br />

การผาตัดปะเยื่อแกวหู (tympanoplasty) วัตถุประสงคหลัก<br />

ในการปะเยื่อแกวหูคือ<br />

1) เพื่อกําจัดการติดเชื้อในหูชั้นกลาง<br />

2) เพื่อปองกันการติดเชื้อผานเยื่อแกวหูที่ทะลุเขา<br />

สูหูชั้นกลาง<br />

3) เพื่อชวยใหการไดยินดีขึ้น<br />

2. หูอักเสบชนิดรายแรง (Unsafe ear) ไดแก<br />

- เยื่อแกวหูทะลุบริเวณขอบ (marginal perforation)<br />

ซึ่งพบวา annulus ไมครบวง<br />

- เยื่อแกวหูทะลุบริเวณ attic<br />

- ตรวจพบวามี cholesteatoma รวมดวย<br />

Cholesteatoma คือภาวะที่มี stratified squamous<br />

keratinizing epithelium เขาไปอยูในหูชั้นกลางหรือ mastoid<br />

cavity โดย cholesteatoma สามารถที่จะทําลายกระดูก<br />

บริเวณรอบขางไดและสามารถทําใหเกิด complication ตาม<br />

มาได ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองแยกภาวะ cholesteatoma<br />

โดยมักพบในผูปวยดังตอไปนี้<br />

1) ผูปวยเด็กที่มี facial palsy (LMN type) โดยที่<br />

ไมมีประวัติเยื่อแกวหูะลุมากอน เนื่องจากอาจมี congenital<br />

cholesteatoma ที่เชื่อวาเกิดจาก ectoderm มีการติดคาง<br />

ในกระดูก temporal bone และโตขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเปน<br />

Cholesteatomaอยูใกลกับ facial canal จึงมาดวยอาการ<br />

หนาเบี้ยวได<br />

2) ผูปวยที่ตรวจรางกายแลวพบวามี retraction<br />

pocket or perforation บริเวณดานบนของ tympanic<br />

membrane (attic cholesteatoma)<br />

3) ผูปวยที่มี marginal perforation<br />

4) ผูปวยที่มีอาการหนองไหลออกจากหูเปนๆ หายๆ<br />

รักษาดวยยาเต็มที่แลวอาการไมดีขึ้น<br />

การวินิจฉัย<br />

- ตรวจพบ cholesteatoma ที่ดานบนของเยื่อแกวหู<br />

(attic cholesteatoma)<br />

- ในกรณี congenital cholesteatoma อาจตรวจ<br />

พบ white keratin pearl อยูหลังเยื่อแกวหูที่ยังไมทะลุ<br />

Investigation<br />

ในกรณีที่สงสัย cholesteatoma อาจส่ง plain film<br />

mastoid ซึ่งอาจพบ lytic lesion และชวยในการวางแผน<br />

ในการผาตัด<br />

การรักษา<br />

ทําการผาตัด mastoidectomy<br />

ภาวะแทรกซอนจากโรคหูชั้นกลางอักเสบ (complication<br />

of otitis media)<br />

เกิดจากมีการติดเชื้อกระจายออกไปนอก middle ear<br />

cleft ซึ่งพบภาวะแทรกซอนไดทั้งในโรคหูนํ้าหนวกชนิด<br />

เฉียบพลัน และชนิดเรื้อรัง ซึ่งมักเกิดจากโรคหูนํ้าหนวกเรื ้อรัง<br />

มากกวา โดยเฉพาะถามี cholesteatoma รวมดวย<br />

ภาวะแทรกซอนแบงออกเปน 3 ประเภท ตามตําแหนงที่<br />

เกิดดังนี้<br />

1) ภาวะแทรกซอนที่เกิดนอกกระดูก temporal bone<br />

และนอกกระโหลกศรีษะ (extratemporal extracranial<br />

complication) ไดแก<br />

1.1 Subperiosteal abscess<br />

ฝใตเยื่อหุมกระดูกเปนโรคแทรกซอนที่เกิดจากการ<br />

อักเสบภายในโพรงกระดูกมาสตอยด หนองที่เกิดขึ้นภายใน<br />

จะเซาะแตกออกมาภายใตเยื่อหุมกระดูก โดยรอบเกิดเปนโรค<br />

แทรกซอนตาง ๆ ไดแก<br />

• Postauricular abscess เปนภาวะที่หนองแตก<br />

ออกมาขังอยูใตเยื่อหุมกระดูก mastoid หลังหู<br />

อาการและอาการแสดง ผูปวยจะมาดวยอาการปวด<br />

บวม แดง รอนบริเวณหลังหู ไข ถาหนองมีปริมาณมากจะดัน<br />

ใบหูไปทางดานหนาและดานลางจนกางออกอยางชัดเจน<br />

• Bezold’s abscess เปนฝที่เกิดจากหนองแตก<br />

เซาะไปตามผนังดานในของ tip ของกระดูก mastoid ออกไป<br />

ใต fascia ของกลามเนื้อ sternocleidomastoid กลายเปนฝ<br />

ใตกลามเนื้อมัดนี้<br />

Investigation<br />

ภาพถาย plain X-rays of mastoid พบวา mastoid<br />

ทึบ มีการทําลายของโพรงกระดูก mastoid<br />

การรักษา ทําการผาตัดระบายเอาหนองออก รวม<br />

กับใหยาปฏิชีวนะ แลวพิจารณาทําผาตัด mastoidectomy<br />

LECTURE<br />

การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 26 ประจําป 2553 29


Srinagarind Med J 2010: 25 (Suppl)<br />

LECTURE<br />

2) ภาวะแทรกซอนที่เกิดภายในกระดูก temporal<br />

bone (intratemporal complication) ไดแก<br />

2.1 Mastoiditis<br />

เปนการอักเสบในโพรงอากาศ mastoid ซึ่งมีการ<br />

ทําลาย bony septa ของ mastoid air cell<br />

อาการและอาการแสดง<br />

Coalescent Mastoiditis มักเกิดตามหลังผูปวย<br />

ที่เปนการอักเสบของหูชั้นกลางชนิดเฉียบพลัน ตรวจหูพบ<br />

วามีปวดบวมแดงรอน กดเจ็บบริเวณหลังหู บางครั้งจะมีหู<br />

กาง รวมกับมีไข เมื่อสง mastoid fi lm จะพบวามี cloudy<br />

ของ mastoid air cell ในบางรายอาจพบวามีหนองขังอยูใต<br />

periostium กลายเปน subperiosteal abscess ก็ได<br />

ใน chronic mastoiditis ผูปวยมักจะมาดวยมีหนอง<br />

ไหลจากหูเปนเวลานานไมหยุด และอาจจะมีไขตํ่า ๆ หรือเมื่อ<br />

หยุดยาปฏิชีวนะอาการอาจจะเปนขึ้นมาอีก บางครั้งตรวจพบ<br />

ปวดบวมแดงรอนหลังหู<br />

การรักษา<br />

ใน acute coalescent mastoiditis without<br />

subperiosteal abscess ใหยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดํา<br />

รวมกับทําการผาตัดเจาะเยื่อแกวหู (myringotomy) ในราย<br />

ที่เยื่อแกวหูยังไมทะลุ สวนในผูปวย chronic mastoiditis<br />

มักจะตอบสนองตอการใหยาปฏิชีวนะ แตถาหลังจากให<br />

ยาปฏิชีวนะแลวยังไมดีขึ้น หรือหยุดยาแลวมีอาการขึ้นมา<br />

อีกตองพิจารณาวาอาจมี cholesteatoma อยูควรพิจารณา<br />

ทําการผาตัด mastoidectomy<br />

2.2 Facial nerve paralysis<br />

เสนประสาทนี้จะวิ่งผานโพรงกระดูก Mastoid เพื่อ<br />

ไปเลี้ยงกลามเนื้อใบหนา ดังนั้นหากมีการติดเชื้อหูชั้นกลาง<br />

ก็มีโอกาสทําใหเกิดเสนประสาทอัมพาตไดไมวาจะเปนการ<br />

ติดเชื้อแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง<br />

อาการและอาการแสดง<br />

พบวามีการอัมพาตของเสนประสาทที่เลี้ยงใบหนา<br />

แบบ lower motor neuron type รวมกับมีการอักเสบของหู<br />

ขางเดียวกันกับขางที่เสนประสาทอัมพาต<br />

นอกจากนี้พิจารณาสง fi lm x-rays of mastoid เพื่อ<br />

ประเมินวามีภาวะ coalescent mastoiditis หรือไม<br />

การรักษา<br />

หากเกิดจากการอักเสบเฉียบพลัน และพบวา<br />

mastoid film ไม่มีภาวะ coalescent mastoiditis ให้ยา<br />

ปฏิชีวนะทางหลอดเลือดรวมกับทําการผาตัดเยื่อแกวหู<br />

(myringotomy) ก็เพียงพอ แตถาการอักเสบเปนมานานเกิน<br />

14 วันรวมกับ mastoid fi lm พบวามี coalescent mastoiditis<br />

ควรทําการผาตัด mastoidectomy สวน การอัมพาตของ<br />

เสนประสาทที่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังควรนึกถึงวาอาจมี<br />

cholesteatoma อยู ควรใหยาปฏิชีวนะรวมกับทําการผาตัด<br />

mastoidectomy และ facial nerve decompression<br />

2.3 Labyrinthitis<br />

เปนการอักเสบของหูชั้นใน โดยสาเหตุอาจเปนจาก<br />

toxic substance, virus หรือ bacteria ก็ได<br />

อาการและอาการแสดง<br />

มักมาดวยอาการเวียนศรีษะบานหมุนรวมกับสูญเสีย<br />

การไดยินทั้งแบบการนําเสียงและประสาทหูเสีย ตรวจพบวา<br />

มี nystagmus<br />

การรักษา<br />

ใหยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดํา และรักษาตาม<br />

อาการเชนใหยาแกวิงเวียน (antivertigo drugs) ในกรณีที่เกิด<br />

จากการอักเสบของหูชั้นกลางชนิดเฉียบพลันใหทําการผาตัด<br />

เจาะเยื่อแกวหู (myringotomy) ถาเปนจาก การอักเสบของหู<br />

ชั้นกลางชนิดเรื้อรังพิจารณาทํา mastoidectomy และตองเฝา<br />

ระวังอาจจะเกิดภาวะแทรกซอนทางสมอง<br />

3. ภาวะแทรกซอนที่เกิดภายในกระโหลกศรีษะ<br />

(intracranial complication)<br />

3.1 เยื่อหุมสมองอักเสบ (meningitis)<br />

เปนโรคแทรกซอนทางสมองของโรคหูนํ้าหนวกที่<br />

พบไดบอยที่สุด มักเกิดจากการอักเสบของหูชั้นกลางชนิด<br />

เฉียบพลัน<br />

อาการและอาการแสดง<br />

ผูปวยจะมีไข ปวดศีรษะ คอแข็ง คลื่นไสอาเจียน ถา<br />

หากมีอาการชัก หรือมีอาการทางระบบประสาทที่ผิดปกติ<br />

เฉพาะที่ (focal neurological signs) ตองพึงระวังวาอาจมีฝ<br />

ในสมอง<br />

การวินิจฉัย<br />

ผูปวยควรไดรับการตรวจเอกซเรยคอมพิวเตอรกอน<br />

ทําการเจาะหลัง (lumber puncture) หากไมพบฝในสมอง<br />

แลวจึงทําการเจาะหลังเชื้อจากนํ้าไขสันหลัง โดยจะพบวา<br />

มี จํานวนเม็ดเลือดขาวสูง โปรตีนสูงแตกลูโคสลดลง และ<br />

อาจพบเชื้อในนํ้าไขสันหลังดวย<br />

การรักษา<br />

ใหยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดํารวมกับการผาตัด<br />

เจาะเยื่อแกวหู (myringotomy) หากเกิดตามหลังการอักเสบ<br />

หูชั้นกลางเฉียบพลัน แตถาหากเกิดจากการอักเสบหูชั้นกลาง<br />

เรื้อรังพิจารณาทํา mastoidectomy นอกจากนี้พิจารณาให<br />

dexamethazone เพื่อชวยลดการเกิดเสนประสาทหูเสื่อม<br />

30<br />

การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 26 ประจําป 2553


Srinagarind Med J 2010: 25 (Suppl)<br />

1.2 ฝในสมอง (brain abscess)<br />

ฝในสมองเปนภาวะแทรกซอนที่พบไดเปนอันดับ 2<br />

รองจากเยื่อหุมสมองอักเสบแตเปนสาเหตุของการตายจาก<br />

โรคหูนํ้าหนวกที่พบไดบอยที่สุด ตําแหนงที่พบบอยที่สุดคือ<br />

temporal lobe เชื้อกอโรคสวนใหญเปน mixed organisms<br />

ประกอบดวย anaerobe เชน Peptococcus , Peptostreptococcus<br />

และ Bacteroide fragilis สําหรับ aerobic bacteria<br />

ที่พบไดแก Streptococcus species, Staphylococcus<br />

species, Proteus, E.coli, Pseudomonas species และ<br />

Klebsiella species เปนตน<br />

อาการและอาการแสดง ขึ้นกับระยะของโรค โดยทั่วไป<br />

แบงเปน 4 ระยะ ไดแก<br />

ระยะที่ 1 Invasion (initial encephalitis) จะมีอาการ<br />

ไขหนาวสั่น ปวดศีรษะ ออนเพลีย ซึมลง เปนอยูประมาณ<br />

2-3 วัน<br />

ระยะที่ 2 Localization (latent or quiescent<br />

abscess) ระยะนี้ไมคอยมีอาการอาจจะมีไขตํ่า ๆ ปวด ศีรษะ<br />

อาการจะเปน ๆ หาย ๆ เพลีย เบื่ออาหาร ระยะนี้จะเปนอยู<br />

ประมาณหลายสัปดาห<br />

ระยะที่ 3 Enlargement (abscess) จะเริ่มมีอาการทาง<br />

ระบบประสาท ขึ้นอยูกับตําแหนงของ lesion<br />

ระยะที่ 4 Termination (rupture of abscess) ถาถึง<br />

ระยะนี้ผูปวยมักจะเสียชีวิต เนื่องจากหนองแตกเขา ventricle<br />

และ subarchnoid space<br />

การวินิจฉัย<br />

จากประวัติ ตรวจรางกาย และการสงตรวจเอกซเรย<br />

คอมพิวเตอรรวมกับการฉีดสี ในบริเวณที่เปนฝจะพบลักษณะ<br />

เปน hypodense area ซึ่งมี enhancing ring ลอมรอบ<br />

การรักษา<br />

ใหยาปฏิชีวนะ เขาหลอดเลือดดํา รวมกับผาตัดระบาย<br />

หนองในเนื้อสมอง เมื่อผูปวยอยูในสภาพที่พรอมหลังจาก<br />

รักษาเรื่องฝในสมองแลวพิจารณาทํา mastoidectomy<br />

เอกสารอางอิง<br />

1. Bluestone CD. Defi nition of otitis media and related<br />

diseases. In: Alper CM, Bluestone CD, Casselbrant<br />

ML, eds. Advance therapy of otitis media. Hamilton: BC<br />

Decker Inc 2oo4; 1-8.<br />

2. Pichichero ME. First-Line treatment of acute otitis<br />

media. In: Alper CM, Bluestone CD, Casselbrant ML,<br />

eds. Advance therapy of otitis media. Hamilton: BC<br />

Decker Inc 2oo4; 32-8.<br />

3. Belmont MJ. Watchful waiting for otitis media with<br />

effusion. In : Alper CM, Bluestone CD, Casselbrant ML,<br />

eds. Advance therapy of otitis media . Hamilton: BC<br />

Decker Inc 2oo4; 171-4.<br />

4. Rosenfeld RM. Antibiotics otitis media with effusion. In:<br />

Alper CM, Bluestone CD, Casselbrant ML, eds. Advance<br />

therapy of otitis media. Hamilton: BC Decker Inc 2oo4;<br />

175-9.<br />

5. Luxford WM, Syms MJ. Chronic suppurative otitis<br />

media with cholesteatoma. In: Alper CM, Bluestone CD,<br />

Casselbrant ML, eds. Advance therapy of otitis media.<br />

Hamilton: BC Decker Inc 2oo4; 295-8.<br />

6. Coates H. Chronic suppurative otitis media without<br />

cholesteatoma. In: Alper CM, Bluestone CD, Casselbrant<br />

ML, eds. Advance therapy of otitis media. Hamilton: BC<br />

Decker Inc 2oo4; 299-305.<br />

7. Luntz M, Brodsky A. Acute mastoiditis. In: Alper CM,<br />

Bluestone CD, Casselbrant ML, eds. Advance therapy<br />

of otitis media. Hamilton: BC Decker Inc 2oo4; 325-9.<br />

8. Schaitkin B. Facial paralysis in otitis media. In: Alper CM,<br />

Bluestone CD, Casselbrant ML, eds. Advance therapy<br />

of otitis media . Hamilton: BC Decker Inc 2oo4; 334-6.<br />

9. Bluestone CD. Labarynthitis. In: Alper CM, Bluestone<br />

CD, Casselbrant ML, eds. Advance therapy of otitis<br />

media. Hamilton: BC Decker Inc 2oo4; 348-54.<br />

10. Haddad J.Subperiosteal abscess/Bezold’s abscess.<br />

In: Alper CM, Bluestone CD, Casselbrant ML, eds.<br />

Advance therapy of otitis media . Hamilton: BC Decker<br />

Inc 2oo4;359-361<br />

11. Tucci DL. Approach to the patient with ear problems.<br />

In: Beers MH, Porter RS, Jones TV, eds. The Merck<br />

Manual of diagnosis and therapy. Whitehouse station:<br />

Merck research laboratories Division of Merck & CO INC<br />

2006;778-9.<br />

12. Browning GG. Acute otitis media in adults. In: Gleeson M,<br />

Browning GG, Burton MJ, Clarke R, eds. Scott-Brown’s<br />

Otorhinolaryngology, Head and Neck Surgery. 7 th ed.<br />

London: Edward Arnold Publishers 2008; 3385-7.<br />

13. Fai Tong MC, van Hasselt CA. <strong>Otitis</strong> media with effusion<br />

in adults. In: Gleeson M, Browning GG, Burton MJ,<br />

Clarke R, eds. Scott-Brown’s Otorhinolaryngology,<br />

Head and Neck Surgery. 7 th ed. London: Edward Arnold<br />

Publishers 2008; 3387-94.<br />

LECTURE<br />

การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 26 ประจําป 2553 31


Srinagarind Med J 2010: 25 (Suppl)<br />

LECTURE<br />

14. Browning GG, Merchant SN, Kelly G, eds. Chronic otitis<br />

media In: Gleeson M, Browning GG, Burton MJ, Clarke<br />

R, eds. Scott-Brown’s Otorhinolaryngology, Head and<br />

Neck Surgery. 7 th ed. London: Edward Arnold Publishers<br />

2008; 3395-445.<br />

15. Chole RA, Sudhoff HH. Chronic otitis media, Mastoiditis<br />

and pretrositis In: Flint PW, Hayghey BH, Lund VJ, eds.<br />

Cumming Otolaryngology Head & Neck surgery. 5 th<br />

ed.Philadephia: Mosby 2010;1963-78.<br />

16. พัชรีพร แซเซียว. ปวดหู คันหู ของเหลวไหลจากหู. ตํารา หู<br />

คอ จมูก สําหรับ นักศึกษาแพทย และแพทยเวชปฏิบัติทั่วไป<br />

2551; 69-115.<br />

32<br />

การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 26 ประจําป 2553

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!