24.12.2014 Views

PRINCIPLE OF CAVITY PREPARATION FOR CLASS II AMALGAM ...

PRINCIPLE OF CAVITY PREPARATION FOR CLASS II AMALGAM ...

PRINCIPLE OF CAVITY PREPARATION FOR CLASS II AMALGAM ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

1<br />

<strong>PRINCIPLE</strong> <strong>OF</strong> <strong>CAVITY</strong> <strong>PREPARATION</strong> <strong>FOR</strong><br />

<strong>CLASS</strong> <strong>II</strong> <strong>AMALGAM</strong> RESTORATION<br />

ลักษณะโพรงฟนแบบ Class <strong>II</strong><br />

เปนการผุทางดานประชิด ( proximal ) ของฟนหลัง การบูรณะฟนหลังที่ผุทางดานประชิด<br />

จะตองคํานึงถึงความแข็งแรง amalgam จึงยังเปนวัสดุที่นิยมใช เนื่องจากมีความแข็งแรงสามารถ<br />

ทนทานตอการขัดสีจากแรงที่เกิดจากการใชงานในชองปาก ( good abrasive resistance ) ทําให<br />

สามารถคงขนาดในแนวดานขาง ( mesio-distal dimension )ได ทําใหมีจุดสัมผัสและกัดสบที่มั่นคง<br />

( stable contact & occlusion )<br />

รอยผุแบบ Class <strong>II</strong> แบงตามลักษณะการเขาเตรียมโพรงฟนสําหรับการอุด ได 3 แบบ คือ<br />

1.Direct access<br />

รอยผุเฉพาะดาน proximal ของฟนหลัง ในกรณีที่<br />

ฟนซี่นั้นไมมีฟนขางเคียงอยู โดยมีเนื้อฟนที่<br />

แข็งแรงอยูระหวาง marginal ridge กับตําแหนงที่<br />

ผุ อยางนอย 1.0 mm. ทําใหสามารถเขาไปบูรณะ<br />

โดยตรงได โดยไมตองกรอเนื้อฟนที่เพิ่มเติม<br />

2.Slot preparation<br />

รอยผุขนาดเล็กทางดาน proximal ของฟนหลัง แต<br />

มีฟนขางเคียงติดอยูกับดานที่ผุ ทําใหตองหชอง<br />

ทางเพื่อเขาไปบูรณะ ซึ่งใชวิธีกรอผานบริเวณ<br />

marginal ridge ของดานที่ผุเพื่อใหเขาถึงบริเวณที่<br />

มีการผุ


2<br />

3.Occluso-proximal preparation<br />

รอยผุทางดาน proximal รวมกับรอยผุดาน<br />

occlusal ทําใหตองกรอใหเกิดการเชื่อมตอกัน<br />

ระหวางดาน occlusal กับดาน proximal เกิด<br />

เปนลักษณะขั้นบันได ที่มีสวน proximal ที่ลึกกวา<br />

หรือเรียก proximal box ในขณะที่ดาน occlusal<br />

มีลักษณะที่ตื้นกวา<br />

1. OUTLINE <strong>FOR</strong>M<br />

OCCLUSAL<br />

• ตองครอบคลุมเนื้อฟนสวนที่ผุ หรือสวนที่มีการสูญเสียแรธาตุ( decalcified )จากการผุ ไว<br />

ทั้งหมด<br />

• ขอบเขตของโพรงฟนโคงมนและกลมกลืนกันตลอด ไมเปนมุมแหลมคม<br />

• หลีกเลี่ยงการตัดเนื้อฟนออกมากเกินความจําเปน รักษาเนื้อฟนสวนที่แข็งแรงไว<br />

• ในฟนหลัง contact area จะอยูคอนมาทาง buccal occlusal outline ดาน buccal จึง<br />

จําเปนตองทํา ลักษณะของขอบเขตเปนแนวโคง เพื่อหลีกเลี่ยงการตัดเนื้อฟนบริเวณ cusp<br />

ออกมากเกินไปและทําใหได angle of departure = 90 องศา ซึ่งเรียกลักษณะนี้วา reverse<br />

curve<br />

Correct<br />

Incorrect


Proximal<br />

3<br />

• ขอบเขตของโพรงฟนทางดาน buccal , lingual และ gingival จะหางจากฟนขางเคียง<br />

ประมาณ 0.5 mm. เพื่อใหสามารถทําความสะอาดงาย ปองกันการเกิด recurrent caries<br />

• ในทางปฏิบัติจะวัดระยะ 0.5 mm. โดยการใชปลาย explorer #23 สอดผานบริเวณ gingival<br />

margin เขาไปได 2 mm. จากปลายแหลมของ explorer ซึ่งตําแหนงนี้หนาตัดของ explorer จะ<br />

มีเสนผานศูนยกลางเทากับ 0.5 mm.<br />

2. RESISTANCE <strong>FOR</strong>M<br />

• Pulpal wall , Gingival wall เรียบและตั้งฉากกับ long axis ของตัวฟน<br />

• Buccal และ lingual wall ของ proximal box<br />

เพื่อใหได angle of departure = 90 องศา<br />

จะผายออกทางดาน proximal เปนมุมฉาก


4<br />

• Axial wall ขนานกับ long axis ของตัวฟน และโคงตามผิวฟนดานนอก (external tooth<br />

surface)<br />

• มีความลึกทางดาน occlusal ประมาณ 1.5 mm. เพื่อใหมีความหนา amalgam เพียงพอที่รับ<br />

ตอแรงบดเคี้ยวและตานการแตกหักของอมัลกัมได<br />

• บริเวณ line angle มีลักษณะขอบเขตชัดเจนและโคงมนเล็กนอย ( Slightly round and definite<br />

internal line angle)<br />

• เนื่องจากมักเกิดการสะสมของแรง (stress concentration) ตามมุมแหลมที่เปนรอยตอของดาน<br />

และเกิดการแตกหักของเนื้อฟนและวัสดุบูรณะตามมา จึงตอง Bevel ที่บริเวณ axio-pulpal<br />

line angle<br />

Bevel axio-pulpal line angle<br />

Bevel gingival margin<br />

• แนวของ enamel rod บริเวณ gingival margin มีลักษณะผายออกสูดาน gingival การ<br />

bevel บริเวณดังกลาวจะชวยขจัดสวน enamel ที่ไมแข็งแรง และลดการแตกหักของเนื้อฟน<br />

และวัสดุอุดจาก stress concentration บริเวณดังกลาวได


5<br />

3. RETENTION FROM<br />

การปองกันการหลุดทางดาน occlusal<br />

• Surrounding wall ที่ขนานกัน หรือสอบเขาหากันเล็กนอยของทั้ง occlusal และ proximal<br />

cavity<br />

การปองกันการหลุดทางดานขาง ( proximal )<br />

• การสราง outline ทางดาน occlusal ใหมีลักษณะรอยคอดโคง หรือ occlusal dovetail<br />

occlusal dovetail<br />

ไมมี occlusal dovetail<br />

• มี retentive groove ที่ axio-buccal และ axio-lingual line angles ของ proximal box โดย<br />

ที่มีจุดลึกสุดบริเวณ axio-bucco-gingival point angle และคอย ๆ ตื้นขึ้นดานบนไปตามแนว<br />

line angle และทําในลักษณะเดียวกันในกรณี retentive groove บริเวณ axio-lingual line<br />

angle


6<br />

4. CONVENIENCE <strong>FOR</strong>M<br />

• สามารถเห็นสวนตางๆ ของโพรงฟนไดชัดเจน มีความสะดวกในการใชเครื่องมือเขาตกแตงโพรง<br />

ฟน<br />

5. FINISHING ENAMEL WALLS & MARGIN<br />

• ผนังโพรงฟนทุกดานเรียบ ไมมีรองสะดุดเมื่อตรวจสอบดวย explorer<br />

• Cavosurface angle เทากับ 90 องศา<br />

• ไมมีสวนของ enamel ที่ไมมี dentin รองรับ ( unsupported enamel )

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!