25.12.2014 Views

แบบเสนอโครงร่างปัญหาพิเศษ - คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย ...

แบบเสนอโครงร่างปัญหาพิเศษ - คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย ...

แบบเสนอโครงร่างปัญหาพิเศษ - คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>แบบเสนอโครงร่างปัญหาพิเศษ</strong><br />

ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ <strong>คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ</strong><br />

ระบบตอบคําถามเกยวกบ ี่ั ปัญหาของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์<br />

โดยใช้วิธีตรรกะแบบฟัซซีบนอินเทอร์เน็ต<br />

A Consulting System for Computer Hardware Problem<br />

Using Fuzzy Logic Method on the Internet<br />

นายขยันทํา สําเร็จแน่<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัส xx-xxxx-xxx-x<br />

คณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ<br />

………………………………………. ประธานกรรมการ<br />

………………………………………. กรรมการ<br />

………………………………………. กรรมการ<br />

ลงนามรับรอง …………………….<br />

ลงนามรับรอง ……………………<br />

ลงนามรับรอง …………………….


่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

้<br />

่<br />

่<br />

้<br />

้<br />

้<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

็<br />

2<br />

แบบเสนอหัวข้อปัญหาพิเศษ<br />

ู ่ ผ้เสนอ<br />

: นายขยันทํา สําเร็จแน รหัสประจําตัว xx-xxxx-xxx-x<br />

ชื่อภาษาไทย : ระบบตอบคําถามเกยวกบ ี่ั ปัญหาของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โดยใช้วิธีตรรก<br />

แบบฟัซซีบนอินเทอร์เน็ต<br />

ชื่อภาษาอังกฤษ : A Consulting System for Computer Hardware Problem Using Fuzzy<br />

Logic Method on the Internet<br />

อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ชวยศาสตราจารย์ ดร.พยุง มีสัจ<br />

1. ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา<br />

ปัจจุบันคอมพิวเตอร์มีบทบาทสําคัญในชีวิตประจําวันมากขึน เนื่องจากเราได้นํา<br />

คอมพิวเตอร์มาใช้งานในด้านตาง ่ ๆ มากขึน อยางไรกตามใน ่ ็ บางครังผู้ใช้ทัวไป ้ ่ ไมสามารถหา<br />

สาเหตุและวิธีแกไขปัญหาได้ด้วยตนเอง<br />

้ ซึ ่งปัญหาที่เกดขึนนันอาจจะเป็นปัญหาที่เล็กน้อยจนถึง<br />

ิ ้ ้<br />

ปัญหาที่ใหญจนไมสามารถแกไขได้ด้วยตนเอง<br />

่ ่ ้ สาเหตุหนึ ่งคือผู้ใช้งานไมทราบถึงหลักการทํางาน<br />

ของคอมพิวเตอร์ ซึ ่งเป็นสาเหตุทําให้ใช้งานอยางไมถูกต้องและอาจทําให้เกดความเสียหายกบ<br />

่ ่ ิ ั<br />

คอมพิวเตอร์ได้ในที่สุด [1]<br />

วิธีการวิเคราะห์และตอบปัญหาเกยวกบคอมพิวเตอร์นัน<br />

ี่ั ้ กระทําได้หลายแนวทาง<br />

ตัวอยางเชน<br />

่ ใช้ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้เกยวกบคอมพิวเตอร์ ี่ั และใช้ระบบผู้เชี่ยวชาญ [2] ซึ ่งแตละวิธี<br />

มีทังข้อดีและข้อเสียแตกตางกนไป<br />

้ ่ ั เชน ่ การใช้ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้เกยวกบคอมพิวเตอร์<br />

ี่ั เป็น<br />

ผู้กระทํานัน ้ มีความหยืดหยุนสูง ่ ทํางานตามเวลาที่กาหนด ํ แตอยางไรกตาม ่ ่ ็ สมรรถนะการทํางานไม่<br />

แนนอน ่ เกดความ ิ เปลี่ยนแปลงได้ และคาใช้จายสูง ่ ่ สวน ่ การใช้ระบบผู้เชี่ยวชาญนัน ้ สามารถทํางาน<br />

ได้ตลอดเวลา สมรรถนะการทํางานดี ความเร็วสูง และคาใช้จาย ่ ่ อยูในระดับที่ยอมรับได้ อยางไรก<br />

ตามการแกปัญหาของระบบผู้เชี่ยวชาญนันจะเป็นการ<br />

้ ้ นําข้อมูลจากฐานความรู้มาใช้ ทําให้ขาดการ<br />

หาเหตุผลในความไมแนนอนของคําถามของผู้ใช้งาน<br />

่ ่ จึงทําให้ได้คําตอบหลายคําตอบและอาจไม่<br />

ถูกต้องได้ [2]<br />

สภาพทัวไปของดําเนินชีวิตจริงเกด ิ ความไมแนนอนขึนอยูเสมอ<br />

่ ่ ้ ่ ดังนันระบบผู้เชี่ยวชาญ<br />

จะต้องสามารถตีความภายใต้ความไมแนนอนได้ ่ ่ เพื่อที่จะแกปัญหา ้ เชน ่ ทฤษฎีความนาจะเป็นของ<br />

เบยส์ และทฤษฎีฟัซซีเซตของซาเดห์ [3] ซึ ่งแตละทฤษฏีมีทังข้อดีและข้อเสีย<br />

่ ้ แตกตางกนั โดยใน<br />

ทฤษฎีความนาจะเป็นของเบยส์นัน<br />

้ ลักษณะของปัญหาจําเป็นต้องมีโครงสร้างที่ดี สมรรถในการ<br />

คํานวณอยู ่ในระดับน้อย แตตัวทฤษฎีสามารถทําความเข้าใจงาย<br />

่ กวา่ ทัง ้ การคํานวณและการอบรม


ิ<br />

ิ<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

้<br />

่<br />

้<br />

่<br />

่<br />

่<br />

้<br />

่<br />

3<br />

ให้เข้าใจและการประยุกต์ใช้งาน สวนทฤษฎีฟัซซีเซตของซาเดห์นัน<br />

้ ลักษณะของปัญหาไม่<br />

จําเป็นต้องมีโครงสร้างที่ดี สมรรถการคํานวณอยู ่ในระดับน้อยจนถึงมาก การประยุกต์ใช้งานทฤษฎี<br />

ไมมีความยุงยากมากนัก<br />

่ ่ ดังนัน ้ จากการเปรียบเทียบข้างต้นสรุปได้วาควรเลือกใช้ ทฤษฎีฟัซซีเซต<br />

ของซาเดห์ เพราะมีความเหมาะสมกบั สภาพการใช้งานมากกวาทฤษฎีความนาจะเป็นของเบยส์<br />

่ ่<br />

มีการประยุกต์ใช้งานตรรกะแบบฟัซซีอยางแพรหลายในอุปกรณ์<br />

่ ่ เครื่องใช้ในชีวีต<br />

ประจําวันตางๆ ่ เชนระบบควบคุมการทํางานของเครื่องซักผ้า<br />

่ เครื่องกรองนํา ้ กล้องถายภาพ ่ กล้อง<br />

วีดิทัศน์ และระบบควบคุมการขับเคลื่อนและเบรกของรถยนต์ เป็นต้น นอกจากนี ้ยังมีการใช้งาน<br />

ตรรกะแบบฟัซซีในงานอุตสาหกรรม งานวิจัยและการพัฒนาอื่นๆ เชน ่ การประมวลสัญญาณ การ<br />

ประมวลภาพทางดิจิตอล วิศวกรรมโทรคมนาคม ระบบ Virtual Reality และรวมถึงนํามาชวยใน<br />

การวิเคราะห์ข้อมูลตางๆ ่ เชน การวิเคราะห์ราคาหุ้นและการซือขายหุ้น ้ ระบบชวยในการ<br />

วินิจฉัยโรค เป็นต้น<br />

การสื่อสารของมนุษย์นันสวนใหญใช้ ้ ่ ่ ภาษาธรรมชาติ [4] ทังนีเพื่อ ้ ้ ถายทอดความคิด<br />

ความรู้สึก ตางๆ ่ แสดงความคิดเห็นเพื่อใช้เหตุผลในการแกปัญหา ้ โดยมีทฤษฎีการประมวลผล<br />

ภาษาธรรมชาติรองรับและนํามาใช้ในการพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญ การตัดคําเป็นกจกรรม ิ ที่สําคัญ<br />

กจกรรมหนึ<br />

่งของทฤษฎีการประมวลผลภาษาธรรมชาติ และมีผู้เสนอขันตอนวิธีการตัดคําภาษาไทย<br />

หลายวิธี เชน ่ หลักการตัดคําโดยใช้กฎการตัดคําตามหลักพจนานุกรม ซึ ่งสามารถแบงออกเป็นวิธี<br />

เทียบคําที่ยาวที่สุด [5] และการตัดคําให้ได้จํานวนคําและมีคําที่ไมพบในพจนานุกรมน้อยที่สุด<br />

่ [6]<br />

โดยวิธีการแรกมีความถูกต้องของการตัดคําประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์แต่มีข้อด้อย คือ การเลือกคําที่มี<br />

ความยาวเกนไปตังแตต้นทําให้มีความผิดพลาดได้<br />

้ สวน ่ วิธีที่ 2 นันสามารถใช้แกไข<br />

้ ปัญหานีได้โดย<br />

พิจารณาทางเลือกการตัดคําที่เป็นไปได้ทังหมดกอนที่จะเลือกการตัดคํา<br />

้ ่ ทําให้ลดความผิดพลาดของ<br />

วิธีการแรกได้<br />

จากปัญหาการใช้งานคอมพิวเตอร์ดังกลาวจึงเป็นสาเหตุ ่ จูงใจให้ผู้จัดทําปัญหาพิเศษ มี<br />

แนวคิดในการพัฒนาระบบตอบคําถามเกยวกบ ี่ั การใช้และข้อขัดข้องของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โดย<br />

ใช้วิธีตรรกะแบบฟัซซีบนอินเทอร์เน็ต และคาดหวังวาจะเป็นทางเลือกทางหนึ<br />

่งสําหรับผู้ใช้งาน<br />

คอมพิวเตอร์ที่สนใจศึกษาค้นคว้าและตรวจสอบปัญหาการใช้งานคอมพิวเตอร์ที่เกดขึนด้วยตนเอง ิ ้<br />

ซึ ่งจะมีผลดีตอการใช้งานคอมพิวเตอร์ในระยะยาวที่จะชวยให้ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์สามารถแกไข<br />

่ ่ ้<br />

ปัญหาและหาจุดบกพรองได้ด้วยตนเอง ่ ทําให้เกดความสะดวก ิ และรวดเร็วยิงขึน ่ ้


้<br />

้<br />

้<br />

่<br />

้<br />

4<br />

2. วัตถประสงค์ ุ<br />

2.1 เพื่อพัฒนาระบบตอบคําถามเกยวกบ ี่ั ปัญหาของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โดยใช้วิธีตรรกะแบบ<br />

ฟัซซี<br />

2.2 เพื่อประเมินคุณภาพของระบบตอบคําถามเกยวกบ ี่ั ปัญหาของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่<br />

พัฒนาขึน<br />

3. สมมติฐานการวิจัย ุ<br />

ระบบตอบคําถามเกยวกบ ี่ั ปัญหาของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึน ้ มีประสิทธิภาพของ<br />

การใช้งานในระดับดี<br />

4. ขอบเขตของการวิจัย<br />

4.1 ระบบตอบคําถามนี ้ใช้ทฤษฎีตรรกะแบบฟัซซี ซึ ่งจะทําให้ระบบวิเคราะห์คําถามจนกวา่<br />

ผู้ใช้จะพบแนวทางการแกไขปัญหาหรือหมดความรู้ในฐานความรู้<br />

้ และในการวิเคราะห์ปัญหาและ<br />

หาคําตอบต้องมีจํานวนคําถามอยางน้อย ่ 60 คําถาม<br />

4.2 วิเคราะห์คําถามจะวิเคราะห์จากประโยคคําถามที่เป็นเฉพาะภาษาไทยเทานัน ่ ้ โดยผู้ใช้งาน<br />

พิมพ์ผาน ่ แป้ นพิมพ์ และการวิเคราะห์จะใช้หลักการตามทฤษฎีการประมวลผลภาษาธรรมชาติ<br />

4.3 ฐานข้อมูลองค์ความรู้เกยวกบ ี่ั วิธีการแกปัญหาเกยวกบอุปกรณ์<br />

้ ี่ ั คอมพิวเตอร์ครอบคลุมการ<br />

แกปัญหาในระดับเบืองต้นเทานัน<br />

่ ้<br />

4.4 องค์ความรู้เกยวกบ ี่ั อุปกรณ์คอมพิวเตอร์จะครอบคลุมถึงอุปกรณ์ตอไปนี<br />

4.4.1 เมนบอร์ด (Mainboard)<br />

4.4.2 หนวยความแบบแรม ่ (Random Access Memory)<br />

4.4.3 แหลงจายไฟ ่ ่ (Power Supply)<br />

4.4.4 ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk)<br />

4.4.5 แป้ นพิมพ์ (Keyboard)<br />

4.4.6 จอภาพ (Monitor)<br />

4.4.7 เครื่องอานซีดีรอม ่ (CD-Rom Drive)<br />

4.4.7.1 เครื่องอานแผนซีดี ่ ่ (CD-R Drive)<br />

4.4.7.2 เครื่องอานและเขียนแผนซีดี<br />

่ ่ (CD-RW Drive)


่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

้<br />

่<br />

่<br />

่<br />

5<br />

4.5 ระบบมีการทํางานในรูปแบบรับ-ให้บริการ (Client-Server) และพัฒนาเป็นลักษณะเว็บ<br />

แอปพลิเคชัน่ (Web Application) เพื่อชวยในการตอบคําถามเกยวกบ<br />

ี่ั ปัญหาของอุปกรณ์<br />

คอมพิวเตอร์ ซึ ่งประกอบด้วยสวนตางๆ ่ ่ ดังนี ้<br />

4.5.1 สวนของผู้ดูแลระบบ<br />

4.5.1.1 สวนเข้าถึงระบบตอบคําถามเกยวกบ<br />

ี่ั ปัญหาของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์<br />

4.5.1.2 สวนกาหนดสิทธิการใช้งานของผู้เชี่ยวชาญแตละคนในระบบ<br />

่ ํ ์ ่<br />

4.5.2 สวนของผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์<br />

4.5.2.1 สวนเพิมเติมและบันทึกข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตางๆ<br />

4.5.2.2 สวนแกไขและบันทึกข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตางๆ<br />

่ ้ ่<br />

4.5.2.3 สวนการเพิมเติมและบันทึกข้<br />

่ ่ อมูลเกยวกบการประมวลผล<br />

ี่ั ตรรกะ<br />

แบบฟัซซี<br />

4.5.2.4 สวนการแกไขและบันทึกข้อมูลเกยวกบการประมวลผล<br />

่ ้ ี่ ั ตรรกะแบบฟัซซี<br />

4.5.3 สวนของผู้ใช้งาน<br />

4.5.3.1 สวนสืบค้นหาปัญหา<br />

่ ที่ต้องการคําตอบที่เหมาะสม<br />

4.5.3.2 สวนการรายงานผลและการจัดพิมพ์ข้อมูลแนวทางการแก้ปัญหา<br />

4.6 ขอบเขตด้านฮาร์ดแวร์ ทังสวน ้ ่ รับ-ให้บริการ<br />

4.6.1 หนวยประมวลผลกลาง<br />

่ (CPU) แบบ Intel Pentium II หรือเทียบเทา่<br />

4.6.2 หนวยความจําหลัก ่ (RAM) มึความจุ 256 เมกกะไบต์เป็นอยางน้อย<br />

4.6.3 ฮาร์ดดิสก์มีความจุ 500 เมกกะไบต์เป็นอยางน้อย<br />

4.7 ขอบเขตด้านซอฟต์แวร์ ทังสวนรับ ้ ่ -ให้บริการ<br />

4.7.1 ระบบปฏิบัติการ คือ Windows XP Professional<br />

4.7.2 ระบบเว็บเซิร์ฟเวอร์ คือ Internet Information Services (IIS)<br />

4.7.3 เว็บบราวเซอร์ คือ Internet Explorer รุน ่ 5.5 ขึนไป<br />

4.7.4 ระบบจัดการฐานข้อมูล คือ Microsoft Access XP<br />

4.7.5 เครื่องสําหรับพัฒนาโปรแกรม คือ Macromedia Dreamweaver MX<br />

4.7.6 ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้พัฒนาโปรแกรม คือ ภาษา Active Server Page (ASP)<br />

5. คําจํากัดความในการวิจัย<br />

“ฟัซซี” เป็นคําวิเศษณ์ แปลวา ่ “คลุมเครือ” หรือ “ไมกระจาง ่ ” หมายความวา่ เซตที่มี<br />

สมาชิกที่มีคุณสมบัติไม่แนชัดสามารถรวมอยูในเซตนี<br />

้ได้ด้วยระดับความเป็นสมาชิกตางๆ ่ [12]


ุ<br />

้<br />

้<br />

้<br />

้<br />

6<br />

“ตรรกะแบบฟัซซี” หมายถึง วิชาตรรกวิทยา หรือตรรกศาสตร์แขนงหนึ ่งที่ยอมให้มีการนํา<br />

ความยืดหยุน่ ความไมแนนอนเข้ามาใช้ได้ในรูปแบบของตัวเลข<br />

่ ่ หรือการแสดงออกด้วยภาษาคําพูด<br />

[12]<br />

“ผู้เชี่ยวชาญ” หมายถึง ผู้มีความรู้เกยวกบระบบและการทํางาน<br />

ี่ั ของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์<br />

เป็นอยางดี ่ แต่รวมถึงตัวแปรของระบบหรือคาความสัมพันธ์โดยตรงของระบบ<br />

่ [2]<br />

“ระบบผู้เชี่ยวชาญ” หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการแกไขปัญหา<br />

โดยอาศัยความรู้ในสาขาใดสาขาหนึ ่ง ซึ ่งรวบรวมประสบการณ์ ความรู้ และความเชี่ยวชาญของ<br />

มนุษย์ในสาขานัน ้ และเกบไว้ในฐานความรู้ ็ และใช้กลไกการตีความในการแกปัญหาเพื่อให้ได้<br />

คําตอบที่ถูกต้อง [12]<br />

“ระบบผู้เชี่ยวชาญแบบฟัซซี” หมายความวา ่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่จําลองการแกไข<br />

ปัญหาของมนุษย์ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญและตีความหาสาเหตุแบบฟัซซี [10]<br />

“ประสิทธิภาพ” หมายถึง 1) ความเร็วในการทํางานของโปรแกรมในภาพรวม รวมถึง<br />

ความเร็วในการประมวลผล การค้นหา การนําเสนอ การติดตอฐานข้อมูล ่ การบันทึก แก้ไข ลบ<br />

รายการข้อมูล 2)การทํางานของโปรแกรมมีความตอเนื่องสมบูรณ์ ่ และ 3) ความถูกต้องของข้อมูลที่<br />

นําเสนอ<br />

6. การเลือกกล่มตัวอย่าง<br />

กลุมตัวอยางในการทดสอบระบบแบงเป็น<br />

่ ่ ่ 3 กลุม ่ คือ ผู้ใช้งานทัวไปจํานวน ่ 5 คน<br />

ผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ 5 คน และผู้ดูแลระบบจํานวน 5 คน<br />

7. สถิติที่ใช้ในการวิจัย<br />

ในขันตอนการประเมินผลระบบกระทําโดยใช้แบบสอบถามจากกลุมตัวอยาง ้ ่ ่ และ<br />

วิเคราะห์แบบสอบถามโดยใช้สถิติ คือ คาเฉลี่ย ่ (Mean) เพื่อใช้แปลความหมายของการทดสอบ<br />

และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

่ (Standard Deviation) เพื่อใช้แปลความหมายข้อมูล<br />

8. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง<br />

กระบวนการตอบคําถามหรือการหาวิธีการแก้ไขปัญหาในปัจจุบันมีการศึกษาและพัฒนา<br />

โดยนักวิจัยหลายคนดังนี<br />

Mou et al. [8] ได้นําเสนอระบบผู้เชี่ยวชาญแบบฟัซซีที่ใช้ในการแก้ไขปัญหาเกยวกบการ ี่ั<br />

ติดต่อสื่อสารของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยใช้การเลือกปัญหาจากจอภาพว่ามีอาการเสีย


ั<br />

ั<br />

้<br />

้<br />

่<br />

7<br />

อะไรบ้าง ซึ ่งสามารถวิเคราะห์และตอบปัญหาที่ต้องการถามกบระบบได้ ในระดับหนึ ่งโดยมีสวน<br />

ของการตัดสินใจที่ใช้ฟัซซีลอจิกในการเลือกตอบคําถาม<br />

Goel et al. [9] นําเสนอการพัฒนาเปลือกโครงสร้างการทํางานของระบบผู้เชี่ยวชาญแบบ<br />

ฟัซซี เพื่อนํามาใช้งานกบความรู้ทางวิศวกรรมด้านต่าง ๆ โดยนําข้อมูลความรู้ทางด้านวิศวกรรม<br />

ป้ อนเข้าสู ่ระบบ และระบบเลือกตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่ต้องการ<br />

งานวิจัยของ จุฑามาศ [7] เป็นการพัฒนาระบบฐานข้อมูลองค์ความรู้เรื่องปัญหาการใช้งาน<br />

คอมพิวเตอร์ได้พัฒนาระบบฐานข้อมูลองค์ความรู้สําหรับการวิเคราะห์จุดเสียและซ่อมเครื่องรับ<br />

โทรทัศน์เพื่อใช้ในการค้นหาคําตอบและวิธีการแก้ไขปัญหา ซึ ่งเป็นเพียงระบบฐานข้อมูลที่ใช้ใน<br />

การค้นหาคําตอบและวิธีการแก้ไขเพียงอย่างเดียว ขาดส่วนของการตัดสินใจจากข้อมูลคําถามที่<br />

นําเข้ามาประมวลผล และการค้นหาคําตอบจะไม่สามารถป้ อนข้อมูลคําถามเพียงครังเดียว<br />

Ngai และ Wat [10 ] นําเสนอระบบผู้เชี่ยวชาญแบบฟัซซีมาใช้ในการค้นหาและเลือก<br />

โรงแรมที่พักของนักท่องเที่ยว ระบบจะเลือกตัดสินใจตามเงื่อนไขด้วยฟัซซีลอจิกซึ ่งจะตอบสนอง<br />

ความต้องการของนักท่องเที่ยว<br />

Zadeh [11 ] นําเสนอการพัฒนาฟัซซีลอจิกและการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตโดยนําตรรกะ<br />

แบบฟัซซีมาใช้ในการสืบค้นคืนขอมูลให้มีความชาญฉลาดและตั ดสินใจเลือกข้อมูลให้ตรงกบั<br />

ความต้องการของผู้ใช้งานในงานวิจัยนีจะเป็ ้ นพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญแบบฟัซซี ที่ได้นําทฤษฎี<br />

ฟัซซีเซตมาประมวลผลในลักษณะของการประมวลแบบฟัซซีลอจิกมาใช้เป็นเครื่องมือในการ<br />

ตัดสินใจ ในการรับคําถามจะรับข้อมูลที่เป็นภาษาธรรมชาติและหาคําศัพท์ที่บอกลักษณะข้อมูลเชิง<br />

ปริมาณจากคําถาม นํามาใชในการตัดสินใจจากการตี ความหาเหตุของระบบผู้เชี่ยวชาญแบบฟัซซี<br />

โดยนํากฎฟัซซีมาประมวลผลทางฟัซซีลอจิก แต่ถ้ากฎฟัซซีมีจํานวนมากเกน ิ ซึ ่งจะเป็นผลเสียทําให้<br />

ระบบประมวลผลข้อมูลได้ช้า ดังนันในการพัฒนาระบบผู้<br />

้ เชี่ยวชาญแบบฟัซซี ในงานวิจัยนีจึงได้ ใช้<br />

เทคนิคการจัดกลุ่มของข้อมูลหรือกฎที่ มีจํานวนมากให้แบ่งตามการจัดกลุ่มของข้อมูลหรือ<br />

จุดอ้างอิง นํามาสร้างเป็นกฎฟัซซีของกลุ่มข้อมูลแต่ละกลุ่ม และความแตกต่างของระบบผู้เชี่ยวชาญ<br />

แบบฟัซซีของงานวิจัยนีสามารถ ้ สร้างค่าความเป็นสมาชิก กฎฟัซซีในแต่ละกลุ่มข้อมูล จากข้อมูลที่<br />

นําเข้า และสามารถนําไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

9. วิธีการวิจัย<br />

9.1 ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาที่เกยวข้องกบงานวิจัย ี่ั<br />

9.1.1 การศึกษาปัญหาและวิเคราะห์ความต้องการของระบบ<br />

9.1.2 การศึกษาขันตอนการพัฒนาระบบ<br />


้<br />

่<br />

่<br />

้<br />

่<br />

้<br />

้<br />

่<br />

้<br />

้<br />

่<br />

่<br />

8<br />

9.1.3 การศึกษาเครื่องมือตางๆ ่ ที่ใช้ในการพัฒนาระบบ<br />

9.2 การออกแบบระบบและเครื่องมือทดสอบระบบ<br />

9.2.1 ออกแบบระบบในภาพรวม<br />

9.2.2 ออกแบบหน้าจอ<br />

9.2.3 ออกแบบสวนติดตอกบผู้ใช้<br />

่ ั<br />

9.2.4 ออกแบบเครื่องมือทดสอบระบบเพื่อค้นหาจุดบกพรองขันต้น<br />

้ โดยใช้วิธีแบบแบล็ก<br />

บอกซ์ (Blackbox Testing)<br />

9.2.5 สร้างแบบประเมินระบบเพื่อใช้ในขัน ้ แอลฟา (Alpha Stage) โดยให้ลักษณะคําถาม<br />

เป็นแบบมาตราสวนประมาณคา่ (Rating Scale) แบงเป็นระดับ ่ 5 ระดับ มีการให้คะแนนรวบรวม<br />

แบบอันตรภาคชัน ้ (Interval Scale) จากนัน ้ นําแบบประเมินที่ได้รับทังหมดมาตรวจสอบความ<br />

ถูกต้องสมบูรณ์<br />

9.3 การพัฒนาระบบแบงออกเป็น ่ 2 สวนคือ<br />

9.3.1 การพัฒนาระบบทางด้านรับบริการ (Client)<br />

9.3.2 การพัฒนาระบบทางด้านให้บริการ (Server)<br />

องค์ประกอบและขันตอนตางๆ ้ ่ ของระบบแสดงไว้ในแผนภาพที่ 1<br />

9.4 การทดสอบระบบ<br />

9.4.1 การทดลอบระบบในขันแอลฟา ้ (Alpha Stage) เพื่อทดสอบหาข้อบกพรองของระบบ<br />

โดยผู้จัดทําปัญหาพิเศษเอง หลังจากนันทําการแกไขปรับปรุงระบบให้ดีขึน<br />

9.4.2 การทดลอบระบบในขันเบต้า ้ (Beta Stage) เพื่อทดสอบคุณภาพของระบบ ผู้จัดทํา<br />

ปัญหาพิเศษจะติดตัง ้ ระบบลงในเครือขายคอมพิวเตอร์ ่ และให้กลุมตัวอยางทัง ่ ่ ้ 3 กลุมทดลองใช้<br />

ระบบ พร้อมทังตอบแบบประเมินคุณภาพของระบบ หลังจากนันทําการวิเคราะห์ข้ อมูลจากแบบ<br />

ประเมินที่ได้รับ<br />

9.4.3 การทดสอบระบบในขันเบต้าแบงออกเป็น<br />

้ ่ 5 ด้าน คือ Function Requirement Test,<br />

Functional Test, Usability Test, Performance Test และ Security Test<br />

9.5 สรุปผลและจัดทํารูปเลม ่ ปัญหาพิเศษ


่<br />

9<br />

- ผู้ดูแลระบบ<br />

- ผู้เชี่ยวชาญ<br />

- ผู้เขียนกฎฟัซซี<br />

- กฎของฟัซซี<br />

- ระดับการเป็นสมาชิก<br />

ฐานข้อมูลกฎฟัซซี<br />

ทําการฟัซซี<br />

ตีความหาเหตุผล<br />

สรุปเหตุผลฟัซซี<br />

- คําถาม<br />

วิเคราะห์คําถาม<br />

ฐานข้อมูลศัพท์<br />

ประโยค<br />

คําถาม-คําตอบ<br />

ระบบรายงานคําตอบ<br />

เป็นภาษาคําพูด<br />

- ประมวลผลภาษาธรรมชาติ<br />

- ผู้ดูแลระบบ<br />

คําตอบ<br />

- ผู้ใช้งาน<br />

- ผู้เชี่ยวชาญ<br />

ภาพที่ 1 แนวความคิดในการออกแบบระบบในภาพรวม<br />

10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ<br />

10.1 ได้ระบบตอบคําถามเกยวกบ ี่ั ปัญหาของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โดยใช้วิธีตรรกะแบบฟัซซี<br />

เพื่อไปใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาตางๆ ่ ที่เกยวกบ ี่ั ฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ ซึ ่งจะเป็นประโยชน์<br />

โดยตรงตอบุคคลในหลายๆ ระดับการศึกษา<br />

10.2 ลดคาใช้จายในการแกปัญหาคอมพิวเตอร์<br />

่ ่ ้ กรณีสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์<br />

10.3 มีความสะดวกในการค้นหาคําตอบที่ต้องการเพื่อแกไข ้ ปัญหาด้วยตนเอง


่<br />

์<br />

่<br />

้<br />

้<br />

10<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

1. อนิรุทธิ รัชตะวราห์, วศิน เพิมทรัพย์ ่ . ผ่าคอมพิวเตอร์ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : โปรวิชัน่ ,<br />

2545.<br />

2. วิลาศ วูวงศ์, บุญเจริญ ศิริเนาวกุล. ระบบผู ้เชี่ยวชาญ. กรุงเทพฯ : ศูนย์เทคโนโลยี<br />

อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แหงชาติ ่ , 2535.<br />

3. สัญญา มิตรเอม. “หลักการเบืองต้นของระบบควบคุมแบบฟัซซี” วารสารสมาคมวิชาการ<br />

หุ ่นยนต์ไทย. 1 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2544) : 5-22.<br />

4. ยืน ภูวรวรรณ, ชัยยงค์ วงศ์ชัยสุวัฒน์. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ. กรุงเทพฯ : ศูนย์<br />

เทคโนโลยีและอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แหงชาติ ่ , 2535.<br />

5. Poowarawan Y., “Dictionary-based Thai Syllable Separation”. In Proceeding of the 1986<br />

Electronic Engineering, 1986.<br />

6. Sornlert Larmvanich. Word Segmentation for Thai in Machine Translation System. Machine<br />

Translator, Nation Electronic and Computer Technology Center, Bangkok, 1993.<br />

7. จุฑามาศ กระจางศรี . ระบบฐานข้อมูลองค์ความรู ้เรื่องปัญหาการใช้งานคอมพิวเตอร์ . ปัญหา<br />

พิเศษปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยี<br />

สารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2545.<br />

8. Mou, H., Sanboonsong, S., et al. “Fuzzy Expert System for Personal Computer<br />

Communication”, IEEE Computer, 267-270, 1990.<br />

9. Goel, S. Modi, et al. “Design of Fuzzy Expert System development”, Conference on<br />

Engineering Management, 343-346, 1995.<br />

10. Ngai, E. W. and F.K.T. Wat, “Design and Development of Fuzzy Expert System for Hotel<br />

Selection”, The International Journal of Management Science, 275-283, 2003.<br />

11. Zadeh, L. “Web Intelligence World Knowledge and Fuzzy Logic: The Concept of Web IQ”,<br />

Available online at http://wi-consortium.org/pdf/zadeh-WIQ.pdf.<br />

12. สัญญา มิตรเอม. “หลักการเบืองต้นของระบบควบคุมแบบฟัซซี” วารสารสมาคมวิชาการ<br />

หุ ่นยนต์ไทย. 1 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2544) : 5-22.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!