11.07.2015 Views

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง (MMN) เป็นเครือข่ายขององค์กรภาคประชาสังคม, องค์กรรากหญ้าของผู้ย้ายถิ่น,องค์การมวลชน และสถาบันวิจัย ที่ท้างานร่วมกันในการปกป้องและส่งเสริมสิทธิของผู้ย้ายถิ่นทุกคนในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขงภาคีโครงการ: ศูนย์ฉุกเฉินของสตรีกัมพูชา (CWCC) มูลนิธิส่งเสริมศักยภาพสตรี (Empower Foundation) มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ (FAR) มูลนิธิการศึกษาเพื่อการพัฒนา (FED) มูลนิธิเพื่อนหญิง (FOW) องค์กรให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายต่อเด็กและสตรี (LSCW) มูลนิธิเพื่อสุขภาพและการเรียนรู้ของแรงงานกลุ่มชาติพันธุ์ (MAP Foundation) เครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง (MMN)คณะผู้จัดท ารายงาน: อิโมเจ็น โฮเวลล์ เรโกะ ฮาริมะ ออมสิน บุญเลิศ คุณ สา มุนทอย ปรานม สมวงศ์จัดพิมพ์: มิถุนายน 2556กองเลขา MMN – ส านักงานประเทศไทยตู้ป.ณ. 195 ไปรษณีย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ้าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200โทร/แฟ็กซ์: +66-(0)53-283259อีเมล์: info@mekongmigration.orgกองเลขา MMN – ส านักงานประเทศฮ่องกงc/o Asian Migrant Centre, 4 Jordan Road, Kowloon, Hong KongTel: +852-2312-0031 Fax: +852 2992-0111Email: info@asian-migrants.orgwww.mekongmigration.orgรายงานฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนเงินทุนจาก The Open Society Foundations2


ค าน าในการตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ต่อประเด็น ที่เกี่ยวข้องกับการย้ายถิ่นใน อนุภูมิภาค ลุ่มน้าโขง(GMS) เครือข่ายการย้ายถิ่นใน อนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง (MMN) ได้ตีพิมพ์เผยแพร่รายงานวิจัยฉบับต่อเนื่อง เรื่อง การย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขงขึ้น และส้าหรับรายงานฉบับนี้จะน้าเสนอสถานการณ์ปัจจุบัน ที่เกี่ยวข้องกับการจับ การกักขังและส่งกลับแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ซึ่งด้าเนินการศึกษาต่อเนื่องจากรายงานที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2551 เรื่อง การย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง: หนังสือคู่มือการศึกษาเชิงลึก เรื่อง การจับ การกักขัง และการส่งกลับแรงงานข้ามชาติรายงาน ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์เชิงลึกและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการจับ การ กักขังและการส่งกลับประเทศ ต้นทางผ่าน ประสบการณ์ของแรงงานข้ามชาติ ซึ่งจาก การสัมภาษณ์แรงงานข้ามชาติ เจ้าหน้าที่ หลักที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการวิจัยเชิงเอกสารที่เกี่ยวข้อง รายงานวิจัยฉบับนี้ได้ตรวจสอบ นโยบายและกระบวนการที่ถูกน้ามาใช้ส้าหรับการจับ การกักขังและการส่งกลับแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ตลอดจนแนวปฏิบัติต่างๆ สะท้อนถึงนโยบายเหล่านั้นอย่างไร ข้อมูลจากการสัมภาษณ์แสดงให้เห็นว่ากรณีการจับ กักขัง และส่งกลับประเทศต้นทางนั้นเกิดขึ้นเป็นปกติเป็นประจ้า และจากประสบการณ์ของแรงงานข้ามชาติแสดงให้เห็นว่าการ ละเมิด การทุจริตและการไม่เคารพ เกียรติและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของแรงงานข้ามชาติยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องไม่ลดน้อยลง ถึงอย่างไรก็ตาม ความพยายามล่าสุดในการอนุญาตให้จดทะเบียนแรงงานข้ามชาติ ตลอดจนการน้า ระเบียบปฏิบัติอย่างเป็นระบบใน การจับ การกักขัง และการส่งกลับ ประเทศต้นทางมาใช้ หากแต่ กระบวนการ ต่างๆ ยังคงเป็นแบบเฉพาะกิจและ ขัดแย้ง กับมาตร ฐานด้าน สิทธิมนุษยชนการศึกษาครั้งนี้ แรงงานข้ามชาติได้รับการสัมภาษณ์เพื่อแบ่งปันประสบการณ์ของพวกเขาจากการถูกจับ ถูกกักขังและถูกส่งกลับประเทศ ต้นทางที่เกิดขึ้นนับ ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2554 ตลอดจนประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องต่างๆ ซึ่งบ่อยครั้งพวกเขาเผชิญกับความเจ็บปวดและการถูกลิดรอนสิทธิความเป็นมนุษย์ ก็ถูกแบ่งปันด้วยเช่นกัน ซึ่งทางเครือข่ายฯMMN ขอขอบพระคุณและยินดีเป็นอย่างยิ่งส้าหรับความกล้าหาญของพวกเขาที่ได้แบ่งปันเรื่องราวเหล่านั้นออกมาเครือข่ายฯ หวังเป็นอย่างยิ่ง ว่างานวิจัย ชิ้นนี้จะก่อให้เกิดการเพิ่มแรงกดดันในการยุติการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นภายใต้บริบทของการจับ การกักขังและการส่งกลับแรงงานข้ามชาติ ในขณะที่ มีการพยายาม ขยายขอบเขตการขึ้นทะเบียนแรงงานข้ามชาติ ในประเทศไทย แต่ช่องว่างระหว่างนโยบายและการปฏิบัติ ยังคงท้าให้แรงงานข้ามชาติมีความเปราะบางและความเสี่ยงในการถูก จับ กักขังและส่งกลับประเทศ ต้นทางอย่างต่อเนื่องโดยไม่ค้านึงถึงสถานภาพ การขึ้นทะเบียนของพวกเขาเหล่านั้น การกระท้าเหล่านี้ส่งผลเสียหาย ต่อความชอบธรรมของ หลักนิติธรรม ของไทย ตลอดจนความเชื่อมั่นของแรงงานข้ามชาติและความเต็มใจในการเข้าสู่กระบวนการขึ้นทะเบียนอย่างถูกกฎหมายเครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง25563


สารบัญค้าน้า ...................................................................................................................................................................................... 3บทสรุปส้าหรับผู้บริหาร ........................................................................................................................................................ 6ระเบียบวิธีวิจัย ..................................................................................................................................................................... 12อักษรย่อและความหมาย...................................................................................................................................................... 16ส่วนที่ 1 กฎหมายและนโยบายต่อแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ....................................................................... 18การย้ายถิ่นเข้าสู่ประเทศไทย ............................................................................................................................................... 18การขาดแคลนงานที่มีคุณค่าน้าไปสู่การจับ การกักขังและการส่งกลับ ................................................................................ 20การบังคับใช้มาตรฐานด้านแรงงาน . .............................................................................................................................. 21หลักประกันสิทธิในการท้างาน.. . . ................................................................................................................................. 21การขยายความคุ้มครองทางสังคม . . . ............................................................................................................................. 22การส่งเสริมการเจรจาและแก้ไขความขัดแย้ง. . . . .......................................................................................................... 23กรอบแนวทางปฏิบัติด้านสิทธิมนุษยชนสากลว่าด้วยการจับ กักขังและส่งกลับ ................................................................. 24การปกป้องคุ้มครองผู้คนที่เคลื่อนย้าย. . . . ...................................................................................................................... 24สิทธิในการเคลื่อนย้าย.... . . . ......................................................................................................................................... 25การจับกุมและการกักขัง: วิธีปฏิบัติที่เป็นทางเลือกสุดท้าย. . . ........................................................................................ 25ระเบียบข้อก้าหนดว่าด้วยการส่งกลับประเทศต้นทางและเนรเทศออกนอกประเทศ. . . . ............................................... 27กฎหมายและนโยบายของไทยว่าด้วยการจับ การกักขัง และการส่งกลับ ............................................................................ 32การขาดความเชื่อมโยงในกฎหมาย . . . ........................................................................................................................... 32การกีดกันออกจากการขึ้นทะเบียน ................................................................................................................................. 34กฎหมายว่าด้วยการจับ .................................................................................................................................................... 36กฎหมายว่าด้วยการกักขัง ................................................................................................................................................ 37กฎหมายว่าด้วยการส่งกลับประเทศต้นทาง .................................................................................................................... 38ส่วนที่ 2: ประสบการณ์ของแรงงานข้ามชาติ ............................................................................................................. 40การจับ ................................................................................................................................................................................. 40แรงงานข้ามชาติที่ร่วมแบ่งปันประสบการณ์เกี่ยวกับการจับ การกักขังและการส่งกลับประเทศต้นทาง . . . .................. 40ผิดที่ ผิดเวลา . . . ............................................................................................................................................................. 43ความรู้คืออ้านาจ . . . ....................................................................................................................................................... 45ความรวดเร็วของกระบวนการยุติธรรม . . . .................................................................................................................... 46การกักขัง ............................................................................................................................................................................. 48การคุ้มครองผู้ที่มีความเปราะบาง . . . ............................................................................................................................. 48สภาพความเป็นอยู่ . . . .................................................................................................................................................... 504


บทสรุปส าหรับผู้บริหารในช่วงทศวรรษที่ผ่าน พื้นที่หลักในการท้างานของเครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง (MMN) คือการตรวจสอบและรณรงค์ผลักดันเชิงนโยบายเพื่อการปฏิรูปกฎหมาย นโยบายและกระบวนการในการจับ การกักขังและการส่งกลับแรงงานข้ามชาติ การน้ามาใช้และใช้ในทางที่ผิดของอ้านาจในการตรวจคนเข้าเมือง ยังคงเป็นประเด็นน่าห่วงกังวลเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากก่อให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อการด้ารงชีวิตของแรงงานข้ามชาติ และเป็นรากเหง้าของปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่างๆมากมายที่เกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น ในช่วงปีที่ผ่านมา มีหลายกรณีที่แรงงานข้ามชาติต้องเสียชีวิตระหว่างการปฏิบัติการบังคับใช้กฎหมายตรวจคนเข้าเมืองโดยเจ้าหน้าที่รัฐการศึกษาครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อท้าการวิจัยในประเด็นเหล่านี้บนฐานของงานศึกษาที่เครือข่ายฯ ได้ด้าเนินการก่อนหน้านี้ และน้าเสนอข้อมูลสถานการณ์ล่าสุดเกี่ยวกับกฎหมาย นโยบาย และแนวทางปฏิบัติต่อแรงงานข้ามชาติในการจับกักขัง และส่งกลับประเทศในประเทศไทย รายงานฉบับนี้ยังมีเป้าหมายที่จะน้าเสนอการวิเคราะห์เชิงลึกและการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบในการจับ กักขัง และส่งกลับจากประสบการณ์ในพื้นที่ซึ่งสะท้อนโดยแรงงานข้ามชาติรายงานวิจัยฉบับนี้ได้ตรวจสอบนโยบายและกระบวนการที่ถูกน้ามาใช้ส้าหรับ การจับ การกักขังและการส่งกลับแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ตลอดจนแนวปฏิบัติต่างๆสะท้อนถึงนโยบายเหล่านั้นอย่างไร จากการสัมภาษณ์แรงงานข้ามชาติมากกว่า 200 ราย รวมถึงเจ้าหน้าที่รัฐ และการวิจัยเชิงเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งด้าเนินการโดยทีมวิจัยของเครือข่ายฯข้อค้นพบจากการวิจัยการจับความรู้สึกหวาดกลัวการถูกจับส่งผลต่อสภาวะทางจิตใจแรงงานข้ามชาติเป็นอย่างมาก ด้วยเพราะพวกเขาอาจถูกจับได้ทุกที่ ทุกเวลา และพวกเขาแทบจะไม่สามารถป้องกันตัวเองจากการจับกุมได้ การบุกจับในช่วงกลางคืนหรือเช้ามืดเป็นนั้นไม่ใช่สิ่งผิดปกติ ซึ่งนั่นหมายความว่าชีวิตของแรงงานข้ามชาติไม่เคยอยู่โดยปราศจากความกลัวหรือความหวาดระแวงเลย จากข้อมูลแรงงานที่ให้สัมภาษณ์พบว่า ร้อยละ 31 ถูกจับในสถานที่ท้างาน ร้อยละ 22 ถูกจับในบ้านพักของตนเอง หนึ่งในแรงงานข้ามชาติเล่าว่า“ผมเปลือยท่อนบน ไม่ได้ใส่เสื้ออยู่ตอนที่ต้ารวจเข้าบุกจับ ผมไม่ได้รับอนุญาตแม้แต่การจะใส่เสื้อหลังจากที่ถูกจับแล้ว ตอนที่เจ้าหน้าที่บุกจับ พวกเขามาพรอมกับต้ารวจมากมาย เพื่อจะได้จับแรงงานข้ามชาติได้มากๆ”แรงงานประมง ชาวกัมพูชา, จังหวัดระยองแรงงานข้ามชาติจ้านวนมากถูกจับทั้งที่มีใบอนุญาตท้างานหรือเอกสารอื่นๆที่เกี่ยวข้อง การขาดมาตรฐานในการปฏิบัติเป็นสาเหตุให้แรงงานข้ามชาติขาดความมั่นใจในการท้างานของเจ้าหน้าที่ นอกจากนี้ แรงงานยังสะท้อนข้อสงสัยในเรื่องของค่าใช้จ่ายที่แพงและระยะเวลาที่นานในการขอใบอนุญาตท้างานที่ควรจะสามารถปกป้องคุ้มครองพวกเขาขณะที่การปฏิบัติงานด้านตรวจคนเข้าเมืองยังถูกน้ามายังคับใช้กับพวกเขาแบบตามอ้าเภอใจ หนึ่งในแรงงานอพยพให้ข้อมูลว่า6


“ต้ารวจท้องที่สั่งให้ผมหยุดขณะที่ผมกลับมาจากตลาดนัดวันหยุด ทั้งที่ผมก็แสดงใบอนุญาตท้างานและพยายามอธิบายว่าผมได้ขึ้นทะเบียนอย่างถูกกฎหมายแล้ว แต่ผมกลับถูกตบหน้าโทษฐานที่ผมเถียงเขา.........”แรงงานก่อสร้างชาวพม่า จังหวัดพังงาภายใต้กฎหมายสากลและกฎหมายไทย ผู้ใดก็ตามหากถูกจับมีสิทธิได้รับทราบสาเหตุของการจับกุมและข้อกล่าวหา แต่จากการศึกษาพบว่าน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของแรงงานข้ามชาติที่ให้ข้อมูลการถูกจับได้รับทราบข้อกล่าวหาและสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับพวกเขาหลังจากนั้น โดยที่จ้านวนไม่น้อยให้ข้อมูลว่าการแจ้งสิทธิดังกล่าวเป็นภาษาที่พวกเขาไม่เข้าใจได้ทั้งหมดการกักขังจากการศึกษาพบว่าในขณะที่ถูกกักขัง แรงงานข้ามชาติได้รับการปฏิบัติด้วยวิธีการที่แตกต่างหลากหลาย ถูกกักขังในสถานกักขังแต่ละประเภทต่างกันไป และระยะเวลาในการถูกกักขังที่ต่างกัน ซึ่งมีกรณีการท้าร้ายร่างกายและการละเมิดทางเพศเกิดขึ้นด้วยเช่นกัน โดยหนึ่งในแรงงานข้ามชาติหญิงเปิดเผยว่า‚เจ้าหน้าที่ใช้กระบองแตะตามตัวแรงงานข้ามชาติหญิงรวมถึงตัวฉันด้วย เพื่อตรวจค้นตามร่างกาย ต้ารวจตรวจค้นตามร่างกายโดยที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ผู้หญิงอยู่ด้วยเลยในขณะนั้น‛แรงงานภาคเกษตรกรรมหญิงชาวพม่า, แม่สอดขั้นตอนการคัดกรองแรงงานข้ามชาติก่อนที่จะ ถูกส่งไปกักขังถือเป็น สิ่งส้าคัญ เพื่อป้องกันความผิดพลาดในกระบวนการยุติธรรมและเพื่อให้แน่ใจว่ากลุ่ม คนที่มีความเปราะบางจะได้รับการคุ้มครอง ในทางปฏิบัติ ยังพบเป็นประจ้าว่าเจ้าหน้าที่ยังบกพร่องในการคัดกรองแรงงานข้ามชาติ ซึ่งส่งผลต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน และเป็นการส่งกลุ่ม คนที่มีความเปราะบาง เข้าไปอยู่ในที่ที่อันตรายที่สุด ส้าหรับ ผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ มีเพียงร้อยละ 3 เท่านั้นที่กล่าวว่าเจ้าหน้าที่ได้มีการสอบถามเพื่อคัดกรองว่าพวกเขาเป็นเหยื่อจากการถูกละเมิดด้านแรงงาน, ผู้ตกเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์หรือผู้ลี้ภัยหรือไม่ผู้ให้ข้อมูล จ้านวนมาก ถูกส่งกลับทันทีเมื่อถูกส่งต่อไปยังสถานที่กักขัง โดยที่ พวกเขา ไม่ได้มี รับการ ไต่สวนพิจารณาและตัดสินคดี ไม่มีเวลาที่จะได้ท้าการยื่นอุทธรณ์ และไม่มีเวลา พิสูจน์สถานะของตนเอง ที่ส้าคัญที่สุดที่ต้องเน้นย้าในการไม่มีโอกาสเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม คือ แรงงานข้ามชาติส่วนใหญ่เล่าว่าพวกตนถูกให้ลงชื่อในเอกสารค้ารับสารภาพซึ่งเขียนเป็นภาษาไทยที่พวกเขาไม่เข้าใจ หนึ่งในแรงงานพม่าเล่าว่า“ต้ารวจที่พาฉันไปที่ศาลบอกให้ฉันลงชื่อรับสารภาพทุกข้อกล่าวหา และฉันก็เชื่อในค้าแนะน้าของเขา”แรงงานก่อสร้างชาวพม่า, จังหวัดเชียงใหม่แรงงานข้ามชาติที่ให้ข้อมูลในงานศึกษานี้ จ้านวนมากได้เล่าถึงสภาพแวดล้อมในสถานกักขังที่แออัดและไม่ถูกสุขลักษณะ ซึ่งนี่เป็นปัญหาที่พบเสมอเมื่อแรงงานข้ามชาติถูกกักขังในห้องขังของสถานีต้ารวจเป็นระยะเวลานาน หรือบนพาหนะที่ใช้ส้าหรับการส่งกลับ และเคลื่อนย้ายพวกเขาไปยังสถานที่กักขัง จากการศึกษาพบว่าบ่อยครั้งปัญหาความแออัด7


นั้นเกิดจากการไม่มีเงินจ่ายค่าปรับซึ่งส่งผลให้พวกเขาต้องถูกกักขังไว้รวมกับผู้กักขังรายใหม่อื่นๆ นอกจากนี้ผู้ให้ข้อมูลยังกล่าวถึงอาหารที่ด้อยคุณภาพ, การขาดแคลนน้าสะอาดส้าหรับดื่ม ราคาของใช้จ้าเป็นอื่นๆที่สูงมาก เช่น บะหมี่กึ่งส้าเร็จรูปและกระดาษช้าระ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีในเรื่องของความยากล้าบากในการเข้าถึงการรักษาพยาบาล การไม่แยกเพศของผู้ถูกกักขัง เนื่องจากเจ้าหน้าที่หญิงที่มีไม่เพียงพอ ข้อมูลดังกล่าวเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงเงื่อนไขและตัวแปรต่างๆในสถานกักขังในประเทศไทย“ฉันเคยใช้น้ำจำกก็อกล้ำงส้วมมำอำบน้ำ; เรำจ้ำเป็นที่จะต้องซื้อน้ำสะอำดและอำหำรเอง”แรงงานประมงชาวพม่า, จังหวัดพังงา“ในห้อง มีผนังสูง 3 เมตรใช้แบ่งห้องจำกห้องอำบน้ำและห้องส้วม แต่ไม่มีประตู้กั้นระหว่ำงห้องและไม่มีช่องลมส้ำหรับระบำยอำกำศ ดังนั้นเมื่อมีคนปัสสำวะ ทั้งห้องก็จะเหม็นไปหมด”แรงงานก่อสร้างชาวพม่า, จังหวัดเชียงใหม่‚ที่สถานีต้ารวจมุกดาหาร เจ้าหน้าที่จะจัดหาอาหารให้กับคนที่ไม่มีญาติมาเยี่ยม แต่ถ้าญาติมาเยี่ยมพวกเขาจะถูกเรียกให้ซื้ออาหารให้แก่เจ้าหน้าเช่นกัน เจ้าหน้าที่ข่มขู่ญาติพี่น้องของผู้ต้องกักว่าจะไม่ได้เข้าเยี่ยมถ้าไม่ซื้ออาหารหรือกาแฟมาให้เจ้าหน้าที่‛แรงงานโรงงานชาวลาวในกรุงเทพ, จังหวัดมุกดาหารการส่งกลับประเทศต้นทางระหว่างการส่งกลับ แรงงานข้ามชาติเล่าถึงการ ที่ต้องถูกอัดเข้าไปอยู่ในรถเก่าๆ ที่คนขับขับขี่อย่างอันตราย และปฏิเสธที่จะหยุดพักเพื่อให้พวกเขาได้กินอาหาร ดื่มน้าหรือเข้าห้องน้า“ตอนที่ฉันอยู่บนรถส่งกลับ ฉันรู้สึกกลัวมากเพราะคนขับขับรถเร็วมาก ฉันทั้งหิวน้า หิวข้าว แต่ก็กลัวว่าเจ้าหน้าที่จะโกรธและตะคอกใส่ถ้าฉันพูดร้องขออะไร”แรงงานผู้ว่างงานชาวกัมพูชา, จังหวัดระยอง“ตอนที่เราถูกส่งกลับ เจ้าหน้าที่ไม่จัดหาอะไรให้เรากินเลย แม้แต่น้า และไม่จอดพักให้เราเข้าห้องน้าเลย ”แรงงานก่อสร้างชาวพม่า, แม่สอด จังหวัดตาก8


ข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลไทยการจับ1. เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายต้องได้รับการฝึกอบรมและฝึกใช้กฎหมาย ที่สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนสากลเพื่อสามารถน้าไปปรับใช้ได้2. เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายมีการเผยแพร่กฎหมาย, นโยบาย และแนวปฏิบัติที่เป็นปัจจุบันเกี่ยวกับกระบวนการจับกักขัง และส่งกลับต่อสาธารณะ และมีความโปร่งใส3. ควรมีการทบทวนการปฏิบัติในการจับ กักขังและส่งกลับแรงงานข้ามชาติ โดย ต้ารวจตรวจคนเข้าเมือง เจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติการควบคุมตามแนว ชายแดน ร่วมกับ กลุ่มแรงงานข้ามชาติ ภาค ประชาสังคม และสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ค้านึงถึงหลักมนุษยธรรม4. แรงงานข้ามชาติที่ถูกจับกุม ต้องได้รับการแจ้งสิทธิและเข้าถึงความช่วยเหลือทางกฎหมายที่เหมาะส ม รวมถึงการได้รับความช่วยเหลืออื่นๆ เช่น จากเจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชนและเจ้าหน้าที่จากสถานกงสุล5. มีการจัดจ้างล่ามแปลภาษาที่มีความช้านาญประจ้าสถานีต้ารวจใน พื้นที่ที่มีแรงงานข้ามชาติจ้านวนมาก ส้าหรับพื้นที่อื่นๆนั้น เจ้าหน้าที่ประจ้าสถานีต้ารวจจะต้องท้าหน้าที่เพื่อมั่นใจว่าแรงงานข้ามชาติสามารถเข้าถึงการแปลภาษาได้ ตลอดจนสร้างเครือข่ายกับองค์กรพัฒนาเอกชนหรือสถานทูตเพื่อประสานงานในกรณีดังกล่าว6. ยุติการเข้าบุกจับช่วงเวลากลางคืนและเช้ามืดทันที ในกรณีที่การด้าเนินการดังกล่าวมีความจ้าเป็นและเหมาะสม การปฏิบัติการนั้นๆต้องอยู่ภายใต้การก้ากับดูแลทางกฎหมายอย่างเข้มงวด7. เจ้าหน้าที่ ที่ด้าเนินการจับกุม ต้องให้มั่นใจว่า มีการสัมภาษณ์ ที่เหมาะสม เพื่อระบุกลุ่มคนที่มีความเปราะบาง ที่จ้าเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือเป็นพิเศษ หรือควรถูกส่งต่อไปยังหน่วยงานที่เชี่ยวชาญในการคัดกรองและให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมการกักขัง8. ประเทศไทยควรน้าการกักขังแบบทางเลือกอื่นมาใช้จัดการกับแรงงานข้ามชาติที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียน9. เจ้าหน้าที่ใช้การกักขังบุคคลหลบหนีเข้าเมืองส้าหรับเป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นทางเลือกสุดท้ายเท่านั้น10. เจ้าหน้าที่ไม่กัก ขังแรงงานข้ามชาติที่เป็นกลุ่ม คนที่มีความเปราะบาง ได้แก่ เด็ก ผู้แสวงหาการลี้ภัย หญิงตั้งครรภ์คนชรา ผู้พิการ บุคคลที่ต้องได้รับการดูแลรักษาทางการแพทย์เป็นพิเศษ หรือผู้ที่เป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์11. เจ้าหน้าที่ต้องให้มั่นใจว่าผู้ถูกกักขังได้รับการปฏิบัติอย่างมีมนุษยธรรมเป็นไปตามหลักสากลและมาตรฐานที่ใช้ส้าหรับการกักบริเวณ ประกอบด้วยa. การบริการด้านสุขภาพ ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุผลของการถูก กักขังในภาษาที่บุคคลนั้นเข้าใจ ความช่วยเหลือด้านกฎหมาย การพักผ่อนหย่อนใจ ตลอดจนการได้รับน้าและอาหารที่เพียงพอb. ปราศจากการปฏิบัติที่เลวร้าย ได้แก่ การล่วงละเมิดทั้งทางร่างกายและจิตใจc. ไม่ถูกกักขังรวมกับนักโทษคดีอาญาd. สามารถคัดค้านการถูกกักขังภายใต้กฎหมายได้อย่างเหมาะสม10


e. สามารถติดต่อกับโลกภายนอกได้ ไม่ว่าจะเป็น สมาชิกในครอบครัวและตัวแทนจากสถานกงสุล12. เจ้าหน้าที่ท้าการกักขังโดยแบ่งแยกหญิงชาย และมีการเตรียมการที่เหมาะสมส้าหรับกรณีครอบครัว13. มอบหมายให้มีเจ้าหน้าที่ต้ารวจตรวจคนเข้าเมืองหญิงและต้ารวจหญิงในจ้านวนที่เหมาะสมประจ้าสถานกักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองและสถานีต้ารวจ14. เจ้าหน้าที่ ด้าเนินการ คัดกรองแรงงานข้ามชาติเพื่อป้องกันการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้ง การถูกบังคับใช้แรงงาน หรือผู้ที่มีคุณสมบัติในการร้องขอสถานะผู้ลี้ภัย และต้องส่งต่อแรงงานข้ามชาติเหล่านั้นไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทันที เช่น UNHCRการส่งกลับประเทศต้นทาง15. เจ้าหน้าที่ของไทยจะต้องไม่ด้าเนินการส่งกลับแรงงานข้ามชาติ หากไม่สามารถรับประกันได้ถึงความปลอดภัยของผู้ถูกส่งกลับ และความปลอดภัยในประเทศต้นทาง16. เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายต้องปฏิบัติต่อแรงงานข้ามชาติเหล่านั้นด้วยมนุษยธรรมและเคารพ ในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์17. มาตรฐานความปลอดภัยและถูกสุขลักษณะของพาหนะส้าหรับการส่งกลับ ผู้ขับขี่และความปลอดภัยของผู้โดยสารเป็นสิ่งที่ต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการส่งกลับแรงงานข้ามชาติ11


ระเบียบวิธีวิจัยโครงการวิจัยนี้ได้เก็บรวบรวมข้อมูลกรณีการจับ การกักขังและการส่งกลับแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย เพื่อเพิ่มองค์ความรู้ที่ได้จากงานศึกษาก่อนหน้านี้ของเครือข่ายฯ1. ค าถามการวิจัยส้าหรับการวิจัยปฐมภูมิและทุติยภูมิ โครงการนี้ด้าเนินการตามค้าถามหลัก คือค้าถามหลัก:แนวโน้มและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการจับ การกักขังและการส่งกลับประเทศต้นทางในปัจจุบันเป็นอย่างไรค้าถามรอง:i) นโยบายและกระบวนการอย่างเป็นทางการในการจับ การกักขังและการส่งกลับเป็นอย่างไรii) การปฏิบัติที่เกิดขึ้นจริงในการจับ การกักขังและการส่งกลับเป็นอย่างไรiii) การละเมิดสิทธิแรงงานข้ามชาติในกระบวนการการจับ กักขังและส่งกลับเป็นอย่างไรiv) สิทธิและการเข้าถึงข้อมูลและกระบวนการยุติธรรมใดบ้างที่แรงงานข้ามชาติสามารถได้รับเมื่อถูกจับ ถูกกักขังและถูกส่งกลับv) นโยบายว่าด้วยการจับ การกักขังและ การส่งกลับสอดคล้องกับมาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชนระดับภูมิภาคและระดับสากลอย่างไรvi) การปฏิบัติจริงสะท้อนให้เห็นถึงนโยบายของรัฐและมาตรฐานของกระบวนการอย่างเป็นทางการอย่างไรvii) การด้าเนินการใดของเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการจับ กักขังและส่งกลับที่สอดคล้องกับมาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชนในระดับภูมิภาคและในระดับสากลviii) ต้องมีการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้างเพื่อปรับปรุงให้กระบวนการการจับ การกักขังและการส่งกลับดีขึ้น2. ระเบียบวิธีวิจัยงานศึกษานี้ได้เก็บข้อมูลทั้งที่เป็นข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ ในส่วนของข้อมูลปฐมภูมิ ประกอบด้วย1) การสัมภาษณ์แรงงานข้ามชาติโดยใช้ แบบบันทึกข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน และ 2) การเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักและผู้ที่เกี่ยวข้อง (เจ้าหน้าที่, เจ้าหน้าที่สถานกงสุล, เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้ปฏิบัติงานพิเศษในกรณีการจับกุม กัก ขังและส่งกลับ, ผู้เชี่ยวชาญด้านอนามัย และอื่นๆ)การเก็บข้อมูลทุติยภูมิ ประกอบไปด้วย : (1) การตรวจสอบ และรวบรวม ข่าว (2) ยื่นขอตัวเลข สถิติอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง (3) ยื่นขอเอกสารทางราชการที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอน การจับ การกักขังและการส่งกลับประเทศ (4) ศึกษา เชิงเอกสาร เกี่ยวกับนโยบายที่มีการ เผยแพร่ ทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (5) รายงานสรุปผล ประเมินเกี่ยวกับประเด็นนี้ในประเทศไทยจากข้อมูลของสหประชาชาติ เช่น คณะท้างานในประเด็น ว่าด้วยการกักขังตามอ้าเภอ ผู้แทนพิเศษของสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิแรงงานข้ามชาติ เป็นต้น12


3. ขอบเขตของการศึกษาa) ในการเก็บข้อมูลกรณีศึกษา ทางโครงการพยายามเก็บข้อมูลจากประสบการ ณ์ของแรงงานข้ามชาติ ที่ครอบคลุมทั้งการจับ กักขังและส่งกลับ ในแบบที่เป็นทางการ กึ่งทางการและไม่เป็นทางการb) เก็บข้อมูลการจับ กักขังและส่งกลับทั้งกลุ่มแรงงานชายและc) การวิจัยครั้งนี้เน้นการจับ กักขังและส่งกลับแรงงานข้าม ชาติ (ทั้งที่ขึ้นทะเบียน แล้วและยังไม่ได้ขึ้นทะเบียน) จากประเทศพม่า ลาว และกัมพูชา ซึ่งปฏิบัติ การที่เกิดขึ้นอยู่ภายใต้การควบคุมตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายคนเข้าเมือง แม้ว่าเครือข่ายฯ พบว่ามีแรงงานข้ามชาติจากประเทศอื่นๆนอกเหนือจาก 3 ประเทศที่กล่าวมา ข้างต้น แต่แรงงานข้ามชาติเหล่านั้นไม่ได้อยู่ในกลุ่มเป้าหมายของการเก็บข้อมูลครั้งนี้d) กลุ่มเป้าหมายของการวิจัยครั้งนี้จะเน้นกลุ่มที่มีประสบการณ์การจับ กักขังและส่งกลับนับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคมพ.ศ.2554 เป็นต้นมา4. วิธีการเก็บข้อมูล4-1. การเก็บข้อมูลปฐมภูมิa) จริยธรรมในกำรวิจัยและกำรพัฒนำแบบบันทึกข้อมูลที่เป็นมำตรฐำนการเก็บข้อมูลรายกรณีศึกษานั้น จะต้องมั่นใจว่าจะไม่ส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยของบุคคลนั้นๆ การรักษาความลับเกี่ยวข้องกับบุคคลนั้น รวมทั้งต้องเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์และสามารถน้ามาใช้ในการรณรงค์ผลักดันเชิงนโยบายได้ในอนาคต แบบบันทึกข้อมูลที่เป็นมาตรฐานนี้ได้รับการพัฒนาร่วมกับกับภาคีของโครงการb) กำรแปลเอกสำรแบบบันทึกข้อมูลการจับ การกักขังและการส่งกลับถูกแปลเป็นภาษาไทย ภาษาพม่า ภาษาไทใหญ่ และภาษาเขมรเพื่อความสะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูลกรณีศึกษา ซึ่งด้าเนินการโดยใช้แต่ละภาษาของแรงงานข้ามชาติc) ภำคีโครงกำรที่มีส่วนร่วมในกำรเก็บข้อมูลเบื้องต้นเพื่อให้มั่นใจได้ว่าองค์กรภาคีและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการสัมภาษณ์ และเก็บข้อมูลในงานวิจัยชิ้นนี้มีความเข้าใจในเรื่องจริยธรรมและวิธีการด้าเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลตามเป้าประสงค์ของโครงการ การเก็บข้อมูลเบื้องต้นจะอยู่ในความดูแลขององค์กรภาคีตามรายชื่อในตารางด้านล่าง ในการรับผิดชอบการเก็บข้อมูลตลอดจนเสร็จสิ้นกระบวนการd) พื้นที่ส้ำหรับกำรเก็บข้อมูลการเลือกพื้นที่ส้าหรับเก็บข้อมูลเบื้องต้นอยู่ภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1) จ้านวนแรงงานข้ามชาติในพื้นที่ 2) ภาคีโครงการที่อยู่ในพื้นที่ซึ่งมีการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับชุมชนและความสัมพันธ์กับชุมชนแรงงานข้ามชาติที่ได้รับผลกระทบ 3)มีการกระจายตัวในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตกของประเทศไทย 4) ความสมดุลของพื้นที่ มีแรงงานส่วนใหญ่เป็นชาวพม่า กัมพูชา หรือลาว13


พื้นที่ศึกษา ภาคีโครงการจ. เชียงใหม่ และอ. แม่สาย จ.เชียงรายมูลนิธิเพื่อสุขภาพและการเรียนรู้ของแรงงานกลุ่มชาติพันธุ์ (MAP)มูลนิธิส่งเสริมศักยภาพสตรี (EMPOWER)อ. แม่สอด จ.ตาก มูลนิธิเพื่อสุขภาพและการเรียนรู้ของแรงงานกลุ่มชาติพันธุ์ (MAP)มูลนิธิส่งเสริมศักยภาพสตรี (EMPOWER)จ. ระยอง มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ (FAR)ศูนย์ฉุกเฉินของสตรีกัมพูชา (CWCC)จ. มุกดาหาร มูลนิธิเพื่อนหญิง (FOW)มูลนิธิส่งเสริมศักยภาพสตรี (EMPOWER)จ. พังงา มูลนิธิการศึกษาเพื่อการพัฒนา (FED)จ. ระนอง มูลนิธิการศึกษาเพื่อการพัฒนา (FED)e) ฐำนข้อมูลเพื่อท้าให้สามารถจัดการข้อมูลกรณีศึกษาการจับ การกักขังและการส่งกลับจ้านวนมาก ทางเครือข่ายฯ ได้พัฒนาและใช้ระบบฐานข้อมูล โดยข้อมูลรายกรณีจะถูกส่งมายังกองเลขาของเครือข่ายฯ เพื่อตรวจสอบข้อมูล และสอบถามข้อมูลเพิ่มจากผู้ร่วมโครงการหากจ้าเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติม เมื่อข้อมูลผ่านการตรวจสอบแล้วจะมีการน้าเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล กรณีศึกษาทั้งหมดที่ส่งมายังกองเลขาเครือข่ายฯ มีมากว่า 240 กรณี และในท้ายที่สุด มีจ้านวน 212 กรณีที่ถูกน้าไปใช้ในการวิเคราะห์4-2. แหล่งข้อมูลทุติยภูมิa) กำรตรวจสอบและรวบรวมข่ำวกองเลขาเครือข่ายฯ และภาคีโครงการร่วมตรวจสอบข่าวและบันทึกจ้านวนการรายงานข่าวเกี่ยวกับการจับ กักขังและส่งกลับแรงงานข้ามชาติ สถานที่ที่เกิดขึ้น กลุ่มอาชีพของแรงงานข้ามชาติที่มีการน้าเสนอในข่าว เป็นต้นb) กำรวิจัยในส่วนของนโยบำยเครือข่ายฯ ได้ท้าการศึกษาทั้งกรอบสิทธิมนุษยชนสากลที่เกี่ยวข้อง กฎหมายของไทย นโยบาย ระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการจับ การกักขังและการส่งกลับ ส้าหรับข้อมูลที่ไม่มีการเผยแพร่ต่อสาธารณะชนนั้นทางเครือข่ายฯได้ท้าหนังสือร้องขอข้อมูลจากหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง4-3. การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลส าคัญa) การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลส้าคัญ มีวัตถุประสงค์หลักสองประการ คือ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลจากภาครัฐซึ่งเป็นส่วนส้าคัญในการเข้าใจกระบวนการอันเกี่ยวข้องกับการจับ กักขัง และส่งกลับประเทศตามกฎหมายของประเทศไทยตัวอย่างเช่น ระเบียบของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการจับ กักขังและส่งกลับ ประการที่สอง คือ เพื่อสามารถเข้าใจ การตอบสนองของพวกเขาต่อกรณีการจับ กักขังและส่งกลับ14


) ในส่วนของผู้ให้ข้อมูลส้าคัญสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มหลักๆ คือ 1) ผู้ก้าหนดนโยบายและเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายในประเทศไทย 2) ผู้ที่เกี่ยวข้องจากประเทศต้นทางของแรงงานข้ามชาติ ในที่นี้รวมถึงเจ้าหน้าที่จากสถานกงสุล องค์กรอิสระ ครอบครัวของแรงงานข้ามชาติ และ 3) ผู้ช้านาญการ เช่น ตัวแทนทางกฎหมาย และผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาวะ เป็นต้นc) เครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขงและโครงการที่เกี่ยวข้องได้พัฒนาคู่มือในการสัมภาษณ์ตามกลุ่มเป้าหมายทั้งสามดังที่กล่าวมาแล้ว รวมผู้ให้ข้อมูลหลักทั้งสิ้น 17 ราย5. การจัดอบรม/ประชุม ร่วมกับเครือข่ายพันธมิตรในการด้าเนินโครงการ ได้มีการจัด ประชุมเพื่อปรึกษาหารือขึ้นหลายครั้ง ได้แก่ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554, เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 และเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 ในระหว่างการประชุม โครงการ เจ้าหน้าที่จาก เครือข่ายฯ ได้ไปเยี่ยมภาคีโครงการเพื่อแลกเปลี่ยนพูดคุยถึงระเบียบวิธีวิจัย และร่วมกันหาแนวทางจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นเครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง ได้จัดอบรมในหัวข้อ “ ความท้าทายว่าด้วยการกักขังภายใต้การตรวจคนเข้าเมือง: จากเอเชียสู่ยุโรป” โดยความร่วมมือจากโครงการกัก ขังระดับโลก ระหว่าง การประชุมเวทีประชาชนเอเชีย –ยุโรป ซึ่ง จัดขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 ณ กรุง เวียงจันทร์ ประเทศ ลาว โดยในการประชุมครั้ง นี้ ประเด็น ต่างๆจาหการศึกษานี้ได้ถูกน้าไป แลกเปลี่ยน ถกเถียงและ ผู้เข้าร่วมการ อบรมได้ร่วมกันพัฒนาข้อ เสนอแนะ ที่สะท้อนประเด็น การกักขังแรงงานข้ามชาติภายใต้การตรวจคนเข้าเมือง ซึ่งถูกสะท้อนไว้ในรายงานฉบับสมบูรณ์ของงานศึกษาชิ้นนี้15


อักษรย่อและความหมายACRAADDAIAICHRสมาพันธ์บริษัทจัดหางานกัมพูชาการจับ การกักขัง และการส่งกลับองค์การนิรโทษกรรมสากลคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนANM เครือข่ายปฏิบัติการเพื่อแรงงานข้ามชาติAPRRN เครือข่ายสิทธิผู้ลี้ภัยภูมิภาคเอเชียแปซิฟิคAPWLD สมาคมผู้หญิง กฎหมาย และการพัฒนาแห่งเอเชียแปซิฟิกASP พิธีสารต่อต้านการลักลอบขนผู้ย้ายถิ่น เอกสารแนบอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กรATP พิธีสารเพื่อป้องกัน สกัดกั้น และลงโทษการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะในผู้หญิงและเด็ก เอกสารแนบอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร (พิธีสารเพื่อต่อต้านการค้ามนุษย์)CAT อนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรมหรือย่้ายีศักดิ์ศรีCEDAW อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบCRCCRPDCSOCWCCอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการองค์กรภาคประชาสังคมศูนย์ฉุกเฉินของสตรีกัมพูชาFAR มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์FED มูลนิธิการศึกษาเพื่อการพัฒนาFOW มูลนิธิเพื่อนหญิงHRWICCPEDICCPRองค์กรเฝ้าระวังการละเมิดสิทธิมนุษยชนอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันบุคคลจากการสูญหายโดยถูกบังคับกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองICERD อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกประฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ16


ICESCR กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมICRMW อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิของแรงงานโยกย้ายถิ่นฐานและสมาชิกในครอบครัวIDCองค์การว่าด้วยการกักขังสากลILOองค์การแรงงานระหว่างประเทศIOM องค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐานMAP มูลนิธิเพื่อสุขภาพและการเรียนรู้ของแรงงานกลุ่มชาติพันธุ์MMN เครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขงMOU บันทึกความเข้าใจ/บันทึกข้อตกลงNHRCT คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย)NVการพิสูจน์สัญชาติOHCHR ส้านักงานสหประชาชาติข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนSCคณะกรรมการเครือข่ายSRผู้ตรวจการพิเศษแห่งสหประชาติSWAN เครือข่ายปฏิบัติงานสตรีไทใหญ่TBBC องค์การมนุษยธรรมชายแดนไทย-พม่าUDHR ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนUNHCR ส้านักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติUNICEF กองทุนเพื่อเด็กแห่งสประชาชาติWGAD คณะท้างานว่าด้วยการคุมขังโดยพลการYCOWA สมาคมแรงงานยอง ชี อู17


ส่วนที่ 1: กฎหมายและนโยบายต่อแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการย้ายถิ่นเข้าสู่ประเทศไทยข้อเท็จจริงและจ านวน: แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย*จ้านวนแรงงานข้ามชาติที่เข้าเมืองอย่างผิดกฎหมาย: ทั้งหมด: 1,272,415 คน กลุ่มชาติพันธุ์: 24,351 คน พม่า: 905,573 คน (ชาย : 504,171 คน หญิง: 401,402 คน) กัมพูชา: 235,521 คน (ชาย: 145,384 คน หญิง: 90,137 คน) ลาว: 106,970 คน (ชาย: 53,164 คน และหญิง: 53,806 คน)จ านวนแรงงานข้ามชาติที่ได้รับการขึ้นทะเบียนแรงงานข้ามชาติที่เข้าเมืองผิดกฎหมายแต่ได้ขึ้นทะเบียนกับรัฐบาลไทยภายใต้มติคณะรัฐมนตรี (รอการพิสูจน์สัญชาติ): 1,248,064 คนแรงงานที่เข้าเมืองผิดกฎหมาย และเสร็จสิ้นการพิสูจน์ สัญชาติ :505,238 คน (ชาย: 266,291 หญิง: 238,947)แรงงานข้ามชาติผู้เข้า เมืองโดยถูกกฎหมาย ผ่านกระบวนการจัดหาภายใต้บันทึกความเข้าใจ ( MOU): 72,356 คน (ชาย: 41,974 คนหญิง: 30,382 คนที่มา: ส้านักบริหารแรงงานต่างด้าว ข้อมูลเดือนมกราคม 2555*จ้านวนแรงงานต่างด้าวที่ได้รับการบันทึก, ณ เดือนธันวาคม 2554กล่องข้อควำม 1การอพยพเข้ามาในประเทศไทยของแรงงานข้ามชาติส่งผลต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและเติมเต็ม ช่องว่างในตลาดแรงงานที่ส้าคัญ ของไทย แต่การด้าเนิน การจับ กักขังและส่งกลับ สะท้อนถึงความไม่ปลอดภัยในการด้ารงชีวิตและการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนและสิทธิแรงงานของแรงงานข้ามชาติประเทศไทยมีแรงงานข้ามชาติ ประมาณ 2.5 ถึง3 ล้านคน ทั้งที่ขึ้นทะเบียนและไม่ได้ขึ้นทะเบียน มาจากประเทศ พม่า กัมพูชา และลาว i มากกว่าสาม ในสี่ของแรงงานข้ามชาติที่ขึ้นทะเบียนมาจากประเทศพม่า ส่วนที่มาจาก ประเทศ กัมพูชาและลาวอีกประมาณร้อยล ะ10 ii นอกจากนั้นยังมี ผู้ลี้ภัยชาวพม่าอีกกว่า 140 ,000 คนอาศัยอยู่ใน ศูนย์พักพิงชั่วคราวส้าหรับผู้ลี้ภัย ใกล้กับเขตชายแดน iii ซึ่งพวกเขาเหล่านั้นไม่ได้รับอนุญาตให้ท้างาน แรงงานข้ามชาติ ส่วนใหญ่ต้องท้างานที่ มีทักษะต่้า ในภาคส่วนที่ได้ ค่าแรง ต่้า เช่น ภาคเกษตรกรรมก่อสร้าง การผลิตอาหาร โรงงาน เสื้อผ้า และงานรับใช้ในบ้าน ivตัวเลขแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย แสดงให้เห็นว่าไม่ได้รับผลกระทบอย่างมากจากเศรษฐกิจโลกและวิกฤติทางการคลังซึ่งเกิดขึ้นนับตั้งแต่ปีพ.ศ. 2551 ซึ่งแรงงานส่วนใหญ่เลือกที่จะยังอยู่ ในประเทศไทย ต่อไป v วิกฤติดังกล่าวอย่างไรก็ตามส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของแรงงาน ข้ามชาติ รวมถึงความสามารถในการหางาน การ สะสมเงินหรือส่งเงินกลับบ้าน vi การสูญเสียงานและการถูกกดค่าจ้าง ซึ่งเป็นผล จากความต้องการในตลาดโลกที่ลดลง ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมที่ส่วนใหญ่ใช้แรงงานข้ามชาติ ในเวลาเดียวกัน ราคาสินค้าอุปโภคบริโภคที่ เพิ่มสูงขึ้น สร้างความตึงเครียดให้กับแรงงานข้ามชาติ โดยส่งผลต่อแรงงานหญิงมากที่สุด viiในปัจจุบัน มีกระบวนการอนุญาตให้จดทะเบียนแรงงานข้ามชาติชาวพม่า ลาว และกัมพูชา 3 ระบบคือ 1) การขึ้นทะเบียนแรงงานข้ามชาติที่ไม่มีเอกสาร ส้าหรับประเทศ ไทยเพียงฝั่งเดียว 2) ก ารขึ้นทะเบียน แรงงานข้ามชาติ ที่อยู่ในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพิสูจน์สัญชาติ(NV) ภายใต้บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือในการจ้างงานของแรงงาน (MOU) กับแต่ละรัฐบาล และ 3) การจ้างแรงงานข้ามชาติรายใหม่ผ่านบริษัทจัดหางานภายใต้บันทึกความเข้าใจว่า18


ด้วยความร่วมมือในการจ้างงานของแรงงาน ( MOU) จ้านวนของแรงงานเหล่านี้ยังคงมีปริมาณน้อยแต่ก็เกิดการขยายตัวอย่างต่อเนื่องแม้ว่าจะมีการขยายกรอบการท้างานเพื่อคุ้มครองแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย แรงงานที่ขึ้นทะเบียนหรือไม่ได้ขึ้นทะเบียน ยังคงเผชิญความ ท้าทายและอันตรายในประเทศไทย ในปีพ.ศ. 2553 คนหางาน ชาวกะเหรี่ยง 9 คน ถูกยิงเสียชีวิตที่ อ.พบพระ จ.ตาก ซึ่งมีการกล่าวหาว่าเกี่ยวข้องกับเจ้าหน้าที่ต้ารวจ viii ในปีต่อมา สองพี่น้องแรงงานข้ามชาติหญิงที่แม้ว่าจะ ขึ้นทะเบียน เรียบร้อย แล้ว ได้จมน้าเสียชีวิตเนื่องจากพยายามหลบหนีจากการบุกเข้าตรวจค้นในช่วงดึกโดยต้ารวจในพื้นที่จ.ภูเก็ต ix ส้าหรับผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาการลี้ภัยยังขาดการปกป้องคุ้มครองที่เหมาะสมโดย รัฐไทย ตัวอย่างที่ถูกน้าเสนออย่างกว้างขวางคือ กรณีที่เกี่ยวข้องกับผู้ลี้ภัยชาวมุสลิมโรฮิงยาจากประเทศพม่าใน ปีพ.ศ. 2552 ที่พยายามเดินทางไปยังประเทศมาเลเซียทางเรือ ในปีพ.ศ. 2551 ราชนาวีไทยได้บังคับให้ ผู้ลี้ภัยผู้ซึ่งมีเสบียงจ้ากัดและลอยเคว้งคว้างอยู่ในน่านน้าไทยกลับ ออกไปทะเลนอก น่านน้าไทยโดยเรือที่ผุพัง x ภายใต้การวิพากษ์วิจารณ์จากนานาชาติ รัฐบาลไทยกลับอ้างว่าผู้ลี้ภัยเหล่านั้นเป็น แรงงานข้ามชาติ ทางเศรษฐกิจ xi การตอบสนอง ของเจ้าหน้าที่รัฐต่อกรณีผู้ แสวงหาการลี้ภัยชาวโรฮิงยานี้แสดงให้เห็นถึงการขาดความเห็นอกเห็นใจ ซึ่งยังเป็นข่าวพาดหัวจนทุกวันนี้ ในปีพ.ศ. 2551 รัฐบาลไทยได้บังคับให้มีการส่งตัวผู้ลี้ภัยชาวม้งนับพันคนจาก ศูนย์พักพิงชั่วคราวของไทย ในจ.เพชรบูรณ์กลับไปยัง ประเทศลาว xii และอีก 158 คนจากศูนย์กักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองในจ.หนองคาย แม้จะมีการเรียกร้องจากส้านักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติในการยับยั้งการส่งกลับเป็นการชั่วคราว xiii และให้สถานะภายใต้การรับรองของส้านักงานข้าหลวงใหญ่แห่งสหประชาชาติxiv แก่ผู้ลี้ภัยบางส่วน19


การขาดแคลนงานที่มีคุณค่าน าไปสู่การจับ การกักขังและการส่งกลับการขาดแคลนงานที่มีคุณค่าซึ่งแรงงานข้ามชาติ ประสบอยู่นั้น สามารถน้าไปสู่สถานการณ์ของ การจับ กักขังและส่งกลั บได้ สถานภาพทางกฎหมายในฐานะ แรงงานข้ามชาติในประเทศไทยขึ้นอยู่กับการจดทะเบียนอยู่กับนายจ้าง หลักการพื้นฐานและสิทธิในการท างาน:ในปีพ.ศ. 2542 รัฐสมาชิก ทั้งหมด ของ ILO ได้ลงมติยอมรับเฉพาะ ซึ่ง แรงงานข้ามชาติอาจถูกละเมิด ต้องอยู่ในปฏิญญาว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานในการท้างาน ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ถูกแสวงหาผลประโยชน์ จากการท้างาน ซึ่งหลักพื้นฐาน สี่ ประการที่ทุกประเทศต้องปฏิบัติตามไม่ว่าประเทศหาก เลือกที่จะออกจากงาน ย่อมหมายถึงการสูญเสีย นั้นๆจะร่วมลงสัตยาบันในอนุสัญญาด้วยหรือไม่ก็ตาม หลัก 4สถานภาพ ทางกฎหมายและเสี่ยงต่อการถูกส่งกลับ ใน ประการ และข้อตกลงหลัก 8 ประการคือฐานะสมาชิกขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ ( ILO) เสรีภาพในการสมาคม และการเจรจาต่อรองร่วม (C87 and 98)ประเทศไทย ยอมรับที่จะ ส่งเสริมและสร้างความตระหนักในเรื่องงานที่มีคุณค่าส้าหรับทุกคน งานที่มีคุณค่าจะน้ามาซึ่งโอกาสให้แก่ทั้งหญิงและชาย ให้สามารถท้างานอย่างมีเสรีภาพ มีความปลอดภัย และด้ารงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ แนวปฏิบัติใน การสร้างงานที่เหมาะสมของILO นั้นประกอบไปด้วยวัตถุประสงค์เชิงยุทธ ศาสตร์สี่ประการ คือ การสร้างงาน การรับรองหลักประกันสิทธิในที่ท้างาน การขยายความคุ้มครองทางสังคมและ การส่งเสริมการเจรจาทางสังคม ความเสมอภาคทางเพศ การพึ่งพากันของวัตถุประสงค์เหล่านี้คือตัวก้าหนดปัจจัยในการสร้างงานที่มีคุณค่าได้ส้าเร็จ ความล้มเหลวของปัจจัยหนึ่งจะส่งผลกระทบต่อความส้าเร็จของทั้งหมดความส้าเร็จในการสร้างสภาพการท้างานที่ มีคุณค่าส้าหรับทุกคน รวมถึงแรงงานข้ามชาติ เป็นกุญแจส้าคัญของประเทศไทยในการบรรลุเป้าหมายการพัฒนา และเป็นการรับประกันว่าผลที่ได้จากการพัฒนาจะถูกแบ่ง ปันสู่สังคมนอกจากนี้ยังเป็นกุญแจส้าคัญในการยกระดับมาตรฐานการท้างานและการ ด้ารงชีวิตของแรงงานข้ามชาติ เพื่อไม่ให้เขาเหล่านั้นถูกผลักเข้าสู่สถานะของการเป็นแรงงานข้ามชาติผิดกฎหมายตารางที่1. สถานะของการให้สัตยาบันในหลักการของมาตรฐานแรงงานโดยรัฐบาลไทยพื้นฐานทั่วไป การขจัดการบังคับใช้แรงงานทุกรูปแบบ (C29 and 105) การยุติการใช้แรงงานเด็ก (C138 and 182) ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในที่ท้างาน (C100 and 111)เช่นเดียวกับปฏิญญาของอนุสัญญาที่เกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติปฏิญญานี้ระบุเป็นการเฉพาะว่า "ILO ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อปัญหาของบุคคลที่มีความต้องการพิเศษทางสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานผู้ว่างงานและแรงงานข้ามชาติ"กล่องข้อควำมที่ 2C29 อนุสัญญาว่าด้วยการเกณฑ์แรงงาน, 1930 (ฉบับที่. 29) 26/02/1969C87 อนุสัญญาว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและคุ้มครองสิทธิในการรวมตัวกัน, 1948 (ฉบับที่. 87) -C98 อนุสัญญาว่าด้วยการปฏิบัติตามหลักการแห่งสิทธิในการรวมตัวและการเจรจาต่อรองร่วม, 1949 (ฉบับที่. 98) -C100 อนุสัญญาว่าด้วยค่าตอบแทนที่เท่าเทียมกัน, 1951 (ฉบับที่. 100) 08/02/1999C105 อนุสัญญาว่าด้วยการยกเลิกแรงงานบังคับ, 1957 (ฉบับที่. 105) 02/12/1969C111 อนุสัญญาว่าด้วยการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานและอาชีพ, 1958 (ฉบับที่. 111) -C138 อนุสัญญาว่าด้วยอายุขั้นต่้าที่ให้จ้างงานได้, 1973 (ฉบับที่. 138) 11//05/2004C182 อนุสัญญาว่าด้วยการห้ามและการด้าเนินการโดยทันทีเพื่อขจัดรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็ก, 1999 16/02/2001(ฉบับที่. 182)20


เกี่ยวข้องกับแรงงานข้ามชาติC97 อนุสัญญาว่าด้วยการอพยพเพื่อการท้างาน (ฉบับแก้ไข), 1949 (ฉบับที่. 97) -C143 อนุสัญญาว่าด้วยแรงงานอพยพ (บทบัญญัติเพิ่มเติม), 1975 (ฉบับที่. 143) -C181 อนุสัญญาว่าด้วยการจัดหางานภาคเอกชน, 1997 (ฉบับที่. 181) -C189 อนุสัญญาว่าด้วยแรงงานในประเทศ, 2011 (ฉบับที่. 189) -แหล่งข้อมูล: ILO, NORMLEX, สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.ilo.org/dyn/normlex/en/f?p=1000:1:0::NO:::การบังคับใช้มาตรฐานด้านแรงงานแรงงานข้ามชาติสามารถเปลี่ยนนายจ้างใหม่ได้ภายใต้เงื่อนไขที่จ้ากัดมาก คือ เมื่อนายจ้างเก่าเสียชีวิต นายจ้างปิดกิจการหรือ ถูกเอาเปรียบ อย่างรุนแรง แรงงานข้ามชาติที่ขึ้นทะเบียนแล้วมีเวลาเพียง 7 วันในการหานายจ้างใหม่ และเปลี่ยนข้อมูลเอกสารเพื่อให้สอดคล้องกับการจ้างงานใหม่ ขณะที่แรงงานข้ามชาติที่เข้ามาท้างานภายใต้ MOU มีเวลาเพียง3 วันเท่านั้น หากแรงงาน ข้ามชาติไม่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูล เอกสารการจ้างงานได้ตามเวลาที่ก้าหนด นั่นหมายความว่า สถานะการขึ้นทะเบียนเป็นโมฆะและอยู่ในสถานะผิดกฎหมาย xv การจ้ากัดการเคลื่อนย้าย ของแรงงานข้ามชาติ รวมถึงเงื่อนไขด้านระยะเวลาที่สั้นมากในการหานายจ้างใหม่ ท้าให้ในท้ายที่สุดแล้วแรงงานข้ามชาติจ้าเป็นจะต้องท้างานอะไ รก็ตามที่สามารถหาได้ โดยอาจไม่ค้านึงถึงเรื่องค่าจ้างหรือความสี่ยงในการสูญเสียสถานภาพการขึ้นทะเบียนการขาดการตรวจสอบ ด้านแรงงาน และการ บังคับ ใช้บทลงโทษ ต่อนายจ้างที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานแรงงานหมายความ ว่านายจ้างจ้านวนมากไม่ได้ปฏิบัติตามกฎหมาย ดังนั้นแม้ว่าแรงงาน ข้ามชาติจะพยายามให้ได้ รับอนุญาตจดทะเบียนผ่านการพิสูจน์สัญชาติหรือผู้ที่ได้รั บการจ้างงานผ่านกระบวนการ MOU แต่ก็ยากนักที่พวกเขาจะได้ท้างานที่ได้รับความคุ้มครองและมีมาตรฐานแรงงานข้อจ้ากัดเหล่านี้และการขาดการบังคับใช้มาตรฐานการจ้างงาน ที่มีอยู่ นอกจากจะ ท้าให้แรงงาน เสี่ยงต่อการถูกละเมิดหรือถูกจับ ถูกกักขัง และถูกส่งกลับแล้ว พวกเขายังไม่ได้ถูกค้านึงถึงว่ามีความจ้าเป็นต่อตลาดแรงงานหลักประกันสิทธิในการท างานเพื่อให้เกิดการยอมรับและเคารพสิทธิของแรงงานข้ามชาติ แรงงานทั้งหมดโดยเฉพาะแรงงานที่ด้อยโอกาสหรือแรงงาน ที่ยากจนจ้าเป็น ต้องมีตัวแทน มีส่วนร่วม และ มีกฎหมายที่ดี ที่น้ามาบังคับ ใช้และท้างานเพื่อพวกเขา ไม่ขัดกับผลประโยชน์ของพวกเขาเหล่านั้นพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ครอบคลุมสิทธิแรงงานของแรงงานที่ท้างานในภาคเศรษฐกิจ ภายใต้ภาคงานดังกล่าว แรงงานข้ามชาติจะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย โดยไม่ค้านึงถึงสถานะทางกฎหมายของเขา แต่พระราชบัญญัติฉบับนี้ไม่ได้ครอบคลุมไปยังภาคส่วนอื่นที่มีการจ้างแรงงานข้ามชาติจ้านวนมากผ่านการขึ้นทะเบียนเป็นประจ้าทุกปี งานในภาคส่วนดังกล่าวประกอบด้วย ภาคเกษตรกรรม ประมง งานบริการและงานบ้าน ซึ่งเหล่านี้ไม่ถูกรวมอยู่ในกฎหมาย21


ในพระราชบัญญัติการ ท้างานของคน ต่างด้าว พ.ศ. 2551 ได้ให้สิท ธิและการคุ้มครองแรงงาน ข้ามชาติที่แตกต่างจากแรงงานไทย แม้ว่ากฎหมายจะบอกชัดเจนว่าครอ บคลุมถึงแรงงานข้ามชาติแ ต่การบังคับใช้กฎหมายก็ยัง ไม่ทั่วถึงและใช้ตามอ้าเภอใจ งาน ศึกษาจ้านวนมาก พบว่าแรงงานข้ามชาติ มีชั่วโมงการ ท้างานที่ยาวนานเกินกว่า กฎหมายก้าหนดและได้รับค่าแรงน้อยกว่าค่าแรงขั้นต่้าที่ระบุไว้ในกฎหมายแรงงานข้ามชาติ เสียเปรียบจากการ ถูกกีดกันและไม่สามารถเข้าถึงสิทธิ แรงงานที่มีอยู่ ส้าหรับแรงงานข้ามชาติที่ แจ้ง ความ ว่าไม่ได้รับค่าจ้าง ถูก เอาเปรียบหรือถูกละเมิดจากสภาพการท้างาน กลับ ส่งผลให้พวกเขาต้อง ถูกไล่ออกจาก งาน อยู่บ่อยครั้ง การถูกเลิก จ้างน้าไปสู่การสูญเสียสถานะทางกฎหมาย พวกเขามักถูกส่งกลับก่อนที่จะสามารถยุติข้อพิพาทเหล่านั้นได้ นอกจากนี้ระดับการพึ่งพานายจ้างของแรงงานข้ามชาติ อาจจะมีส่วนท้าให้แรงงานไม่กล้าลุกขึ้นมากระท้าการใดๆ นอกจากนี้ แรงงานข้ามชาติจ้านวนมาก ยัง ต้องพึ่งพา นายจ้างใน เรื่องที่พักตามที่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นได้พยายามส่งเสริมให้นายจ้างจัด หาที่พักให้แก่แรงงาน ข้ามชาติ ในสถาน ที่ท้างาน แรงงานที่มีข้อพิพาทกันนายจ้าง ย่อมหมายความว่าพวก เขาจะต้อง สูญเสียที่พักด้วย ในการสร้างความตระหนักในเรื่องสิทธิ ควรมีการสร้างความเข้าใจระหว่างนายจ้างและแรงงานถึงสิทธิและความสัมพันธ์ของทั้งสองฝ่าย แต่ในพ รบ.คุ้มครองแรงงาน ระบุเพียงกฎ และระเบียบที่ เกี่ยวกับ การท้างาน ต้องเขียนในภาษาไทย ซึ่งแรงงานข้ามชาติบางส่วนไม่มีสามารถอ่านเขียนภาษาไทยได้ระดับความ เข้มข้นใน การพึ่งพานายจ้างและอุปสรรคในการหานายจ้างใหม่โดยไม่สูญเสียสถานะทางกฎหมายส่งผลอย่างยิ่งต่อสถานการณ์ของการบังคับ ใช้แรงงาน ตามอนุสัญญาว่าด้วยการยกเลิกแรงงานบังคับ พ.ศ.2500 (ฉบับที่105) กล่าวถึงการบังคับว่าเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนในสองประเด็นคือ อันตรายจากการลงโทษ และความไม่สมัครใจการขยายความคุ้มครองทางสังคมท าแท้งหรือส่งกลับ : ผิดกฎหมายถ้าท า ผิดกฎหมายถ้าไม่ท าแรงงานข้ามชาติ หญิงที่ตั้งครรภ์ถูก ข่มขู่อย่างเปิดเผยทั่วไปด้วยนโยบายการส่งกลับที่ถูกน้ามาใช้ ซ้าๆ ในช่วงสิบปีที่ผ่านมาเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมักสนับสนุนให้นายจ้างส่งลูกจ้างหญิงที่ตั้งครรภ์กลับประเทศต้นทาง แน่นอนว่าไม่มีการลาคลอดส้าหรับแรงงานข้ามชาติหญิง ผลที่ตามมาคือ การไม่มีทางเลือก ของแรงงานข้ามชาติหญิง ท้าให้พวกเธอเลือกที่จะท้าแท้งซึ่งเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมายในประเทศไทย ผู้หญิงจ้านวนมากเสียชีวิตหรือต้องทนทุกข์กับผลกระทบในระยะยาวอันเป็นผลมาจากการท้าแท้งเถื่อน ส้าหรับผู้หญิงที่เลือกจะเก็บลูกของตนไว้ ต้องล้าบากกับการด้าเนินชีวิตที่ไม่ได้รับความช่วยเหลือทางสังคมใดๆและปราศจากการสนับสนุนจากครอบครัวแหล่งข้อมูล: Pollock, Pearson, Kusakabeกล่องข้อควำมที่3ในการส่งเสริม การเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและความก้าวหน้าเพื่อให้ มั่นใจว่าทั้งแรงงานชาย และหญิงมีความสุขกับการท้างานในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย มีช่วงเวลาพักที่เหมาะสม ครอบครัวได้รับการค้านึงถึงและให้ คุณค่าทางสังคมมีการชดเชยที่เหมาะสมเมื่อสูญเสียรายได้ และสามารถเข้าถึงการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมได้ภายใต้ MOU ใหม่ นายจ้างของแรงงานข้ามชาติที่มีหนังสือเดินทางชั่วคราว สามารถน้าลูกจ้างเหล่านั้นเข้าสู่ระบบประกันสังคมได้หากพวกเขาต้องการ นี่ถือเป็นการปรับเปลี่ยนเล็กๆจากนโยบายที่ในการจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติของไทยที่แรงงานข้ามชาติ อยู่ภายใต้ ระบบการประกันสุขภาพ แห่งชาติ แต่ถูกแยกออกจากการสมัครเข้าระบบประกันสังคมดังนั้น ภายใต้ หากยึดตาม MOU แล้ว แรงงานข้ามชาติทุกคนสามารถเข้าสู่ระบบประกัน สังคมได้ ยกเว้นผู้ที่อยู่ในภาคเกษตรกรรมและแรงงาน รับใช้ในบ้าน xvi นอกจากนี้ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2554 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบให้แรงงานข้าม22


ชาติที่ ด้าเนินการ ขึ้นทะเบียน แล้วเสร็จ สามารถเข้าสู่ระบบประกันสุขภาพของเอกชนได้ โดยนายจ้างเป็นผู้ดูแลค่าใช้จ่าย xvii กองทุนประกันนี้จะช่วยลดช่องว่างของแรงงานข้ามชาติที่ไม่สามารถเข้าสู่ระบบประกันสังคม เพราะพวกเขายังไม่ได้รับพาสปอร์ตชั่วคราว และจะให้การครอบคลุมกรณีที่แรงงานข้ามชาติได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยจากการท้างานแรงงานข้ามชาติที่ถูกกีดกันออกจากระบบ นั้นต่อไปจะได้รับการคุ้มครอง มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเมื่อเกิดอุบัติเหตุในที่ท้างานและค่าชดเชย อีกครั้งที่การขัดขวางการปฏิบัติงานโดยรวมและการเรียกร้องเป็นไปเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่ดีในการท้างานการส่งเสริมการเจรจาและแก้ไขความขัดแย้งการมีส่วนร่วมขององค์กรนายจ้างและแรงงานข้ามชาติช่วยหลีกเลี่ยงข้อพิพาทในการท้างานและช่วยในการสร้างสังคมที่เหนียวแน่นปฎิญญาว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานของแรงงานซึ่งประเทศไทยเป็นภาคีนั้นได้ยึดถือตามอนุสัญญาว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและคุ้มครองสิทธิในการรวมตัวกัน พ.ศ. 2491 (ฉบับที่ 87) และอนุสัญญาว่าด้วยการปฏิบัติตามหลักการแห่งสิทธิในการรวมตัวกันและการเจรจาต่อรองร่วม พ.ศ. 2492 (ฉบับที่ 98) เป็นอนุสัญญาหลักของ ILO ดังนั้นประเทศไทยจึงถูกผูกมัดให้ถือปฏิบัติตามอนุสัญญาทั้งสอง แม้ว่าประเทศไทยจะไม่ได้ให้สัตยาบันในอนุสัญญาฉบับที่ 87ในการรับรองสิทธิของแรงงานและนายจ้างทุกคนในการสร้างหรือเข้าร่วมองค์กรที่พวกเขาเลือกเองโดยไม่ต้องขออนุญาตก่อน ในอนุสัญญาฉบับที่ 98 ได้ส่งเสริมการเข้าร่วมเจรจาต่อรองร่วมโดยตัวแทนของสหภาพ และสิทธิในการรวบรวม การออกเสียงสะท้อนความคิดเห็นในที่ท้างาน นอกจากนี้ยัง คุ้มครองแรงงานและนายจ้าง ที่มีการรวมตัวเป็นสหภาพ และห้ามแทรกแซงกิจกรรมขององค์กรของแรงงานและนายจ้างขณะที่อนุสัญญาหลักๆเหล่านี้ควรจะถูกน้ามาใช้เพื่อ จัดหาความคุ้มครองที่ส้าคัญต่อ แรงงานข้ามชาติและให้พวกเขาได้มีสิทธิในการพัฒนา สภาพ การท้างาน แต่ใจความส้าคัญของอนุสัญญาเหล่านี้กลับไม่ได้ถูก น้ามา แปลความ ในกฎหมาย ของไทย ภายใต้ พระราชบัญญัติ แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 แรงงานข้ามชาติถูกกีดกันจากการ จัดตั้งสหภาพแรงงานหรือเข้าร่วมเป็นเจ้าหน้าที่ ในสหภาพที่จัดตั้งขึ้นแล้ว เนื่องด้วยเจ้าหน้าที่สหภาพต้องเป็นคนไทย โดยก้าเนิด และมีสัญชาติไทยเท่านั้น แม้ว่าแรงงานข้ามชาติสามารถเข้าร่วมสหภาพได้ แต่ส่วนมากแล้วพวกเขา ยังไม่สามารถที่จะดังเช่นในหลายพื้นที่ที่มีแรงงานข้ามชาติท้างานอยู่ กลับไม่มีส้านักงานสหภาพแรงงาน เลย นอกจากนี้ แรงงาน ข้ามชาติจ้านวนมากโดยเฉพาะผู้หญิงซึ่งท้างานในอุตสาหกรรมที่ไม่มีสหภาพแรงงาน เช่น งานเกษตรกรรม งานบ้าน งานบริการทางเพศ การน้ามากฎหมายแรงงานมาปฏิบัติใช้เพียงบางส่วนส่งผลให้แรงงาน ข้ามชาติบางส่วนถูกเลิกจ้างเมื่อพวกเขาพยายามที่จะเข้าร่วมองค์กรหรือพยายามเรียกร้องสิทธิ และแน่นอนว่าการถูกไล่ออกก่อให้เกิดการสูญเสียสิทธิทางกฎหมายและถูกส่งกลับประเทศก่อนที่ข้อพิพาทจะเสร็จสิ้น23


กรอบแนวทางปฏิบัติด้านสิทธิมนุษยชนสากลว่าด้วยการจับ กักขังและส่งกลับมีการคาดการณ์ว่าการ ขยายขอบเขตส้าหรับการอนุญาตให้จดทะเบียนแรงงานข้ามชาติภายใต้ MOU กับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งจะส่งผลให้ เกิดการลดการจับ กักขังและส่งกลับ แต่ยังไม่สามารถเป็นเช่นนั้นได้ ในบางกรณี เพราะ แรงงานข้ามชาติส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าสู่ระบบการจดทะเบียนได้ และบางส่วนเนื่องจากสภาพข้อจ้ากัดใน เงื่อนไขที่ตามมากับการจดทะเบียน ท้าให้ แม้แต่ผู้ที่ ขึ้นทะเบียนแล้วยังมีความเป็นไปได้ที่จะถูกจับ แม้ประเทศไทยเองจะเป็นภาคีของสนธิสัญญาระหว่างประเทศในการรับประกันสิทธิ ของผู้ที่ไม่ใช่สัญชาติไทย ที่ถูกจับและส่งกลับประเทศ แต่กระนั้นในทางปฏิบัติแล้วกลับถูกน้ามาใช้เพียงบางส่วนและไม่สอดคล้องกันการปกป้องคุ้มครองผู้คนที่เคลื่อนย้ายมาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชน สากลได้ส่งเสริมสิทธิของประชาชนในการเคลื่อนย้าย ในระดับพื้นฐานที่สุด คือทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิต มีเสรีภาพ และความปลอดภัยของบุคคล โดยมี สนธิ สัญญา หลัก ด้านสิทธิมนุษยชน เก้าฉบับด้วยกัน กล่าวคือ สองฉบับ เป็นเรื่องการ ปกป้องคุ้มครองความเป็น พลเมือง สิทธิเศรษฐกิจการเมือง สังคมและวัฒนธรรม ขณะที่ห้าฉบับให้ความคุ้มครองส้าหรับกลุ่มเฉพาะ เช่น เด็ก ผู้หญิง แรงงานข้ามชาติ ผู้พิการ การต่อต้านการแบ่งแยกสีผิว และสองฉบับ เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทรมานและการถูกบังคับสูญหาย สนธิสัญญาเหล่านี้เป็นข้อผูกมัดทางกฎหมาย ในการให้ความคุ้มครองประชาชนทุกคนและ รัฐที่ให้สัตยาบัน แล้วจะต้องปรับเปลี่ยนกฎหมายและนโยบายของประเทศตนให้สอดคล้องกับสนธิสัญญาหลักการส้าคัญตามเอกสารด้าน สิทธิมนุษยชน คือการไม่เลือกปฏิบัติและความเท่าเทียม สิทธิมนุษยชนเป็นสิ่งสากล ดังนั้นจึงไม่ต้องน้ามาเชื่อมโยงกับสถานะพลเมืองในขณะที่รัฐพยายามสร้างช่องว่างระหว่างความเป็นพลเมืองหัวใจของเรื่องแรงงานข้าม ชาติ หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวข้อ งในกิจกรรมที่ได้รับค่าตอบแทนในรัฐที่ตนไม่ได้มีสัญชาตินั้นๆผู้ลี้ภัย หมายถึง บุคคลที่มีความกลัวเป็นที่ตั้งอันเกิดจากการ ถูกลงโทษ ด้วยเหตุผลเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ การเป็นสมาชิกของกลุ่มสังคมเฉพาะ หรือกลุ่มความคิดเห็นทางการเมือง อยู่นอกประเทศบ้านเกิดของ เขาหรือเธอ ไม่สามารถ หรือกลัว ไม่เต็มใจที่จะได้รับการช่วยเหลือภายใต้การคุ้มครองของประเทศนั้นๆการจับ หมายถึ ง การจับกุมบุคคลอันถูกตัดสินว่ามีความผิดตามกฎหมาย หรือด้าเนินการโดยเจ้าหน้าที่รัฐการกักขัง หมายถึง การกักขังบุคคลไว้ในพื้นที่แคบหรือพื้นที่ที่จ้ากัด อันได้แก่ คุก ค่ายปิด สถานกักขัง พื้นที่เปลี่ยนผ่าน ของสนามบิน ที่ที่ซึ่งอิสรภาพหรือการเคลื่อนย้ายถูกจ้ากัด และโอกาสมีเพียงการออกนอกพรมแดนของประเทศเท่านั้นที่จะสามารถมีอิสรภาพจากการถูกจ้ากัดพื้นที่ได้การส่งกลับประเทศ ต้นทาง หมายถึง การกระท้าของรัฐในการใช้อ้านาจอธิปไตยของตนในการย้ายคนต่างด้าวออก จากเขตแดนของตนไปยังสถานที่อื่น หลังจากปฏิเสธความช่วยเหลือหรือยกเลิกค้าอนุญาตให้สามารถอยู่ในประเทศได้การกีดกัน หมายถึง การปฏิเสธอย่างเป็นทางการในการรับคนต่างด้าวเข้ามาอยู่ในรัฐการเนรเทศ หมายถึง การกระท้าโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยความตั้งใจและเพื่อวัตถุประสงค์เรื่องความปลอดภัยโดยการก้าจัดบุคคลหรือกลุ่มของบุคคลที่รัฐไม่ต้องการออกนอกเขตแดนของรัฐที่มา: Convention on the Status of Refugees (1951), MigrantWorkers’ Convention (1990), IOM, UNHCR (1999)กล่องข้อควำมที่ 4และไม่ใช่พลเมืองในกฎหมายรัฐ ปฏิเสธสิทธิใดๆที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย โดยสิทธิต่างๆจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของรัฐเท่านั้น ในทางปฏิบัติการตีความเอกสารด้านสิทธิมนุษยชนนั้นมีความแตกต่างหลากหลายไปตามความแตกต่างของรัฐ เหล่านี้ท้าให้แรงงานข้ามชาติมีความเปราะบาง และอยู่ภายใต้ดุลยพินิจของรัฐและความไม่แน่นอนทางการเมือง24


สิทธิในการเคลื่อนย้ายสิทธิในการเคลื่อนย้ายโดยอิสระของผู้คนได้ถูกระบุไว้ในกฎหมายระหว่างประเทศ ปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (UDHR) กล่าวว่า “ทุกคนมีสิทธิที่จะออกจากประเทศ รวมถึงประเทศของตน และสามารถจะกลับไปยังประเทศของตน” (มาตรา 12.2) สนธิสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชน อีกจ้านวนหนึ่งยัง ช่วยเสริม สร้างหลักการนี้xviii แม้ว่าปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยแรงงานข้ามชาติจะสะท้อน มาตรฐานนี้ได้เพียง แผ่วเบา ก็ตาม ใน การส่งเสริมสิทธิ ว่าด้วย เสรีภาพในการเคลื่อนย้าย นั้น รัฐไม่สามารถขับไล่คนในชาติของตนได้ และทุกรัฐถูกคาดหวังที่จะย่อมรับพลเมืองของพวกเขากลับเข้าประเทศอย่างไรก็ตาม เสรีภาพ ในการเคลื่อนย้ายนับว่าเป็นการท้าทายแนวคิดร่วมสมัยของรัฐชาติ ภายใต้การไหลเวียนของประชากรซึ่งถูกมองว่าเป็นภัยคุกคามต่ออ้านาจอธิปไตยของชาติ รัฐสามารถควบคุมประชา ชนที่ไม่ใช่พลเมืองของตนได้ในพรมแดนของรัฐ แม้ว่ากฎหมายระหว่างประเทศจะลดการใช้อ้านาจนี้ของรัฐก็ตาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านอื่นๆ เช่นในกรณีของผู้ลี้ภัย สิ่งซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงปฏิบัติการแบบร่วมสมัย นั่นคือ ค้ากล่าวของคณะกรรมการด้านสิทธิมนุษยชน ที่ว่า “นับ ตั้งแต่การเดินทางระหว่างประเทศ ได้เรียกร้อง ให้มี เอกสารที่เหมาะสมโดยเฉพาะอย่างยิ่งหนังสือเดินทาง สิทธิในการออกจากประเทศต้องหมายรวมถึงสิทธิในการถือครองเอกสารเพื่อการเดินทางด้วย” xixการจับและการกักขัง: วิธีปฏิบัติที่เป็นทางเลือกสุดท้ายสิทธิในการมีเสรีภาพและอิสรภาพจากการถูกควบคุมตัว ตามอ้าเภอใจ เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ที่มีการรับประกันให้แก่ประชาชนทุกคน ทั้งแรงงานข้ามชาติหรือพลเมืองของรัฐ xx กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) ระบุว่า “ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพและความปลอดภัย บุคคลใดก็ตามไม่ควรถูก จับหรือกักขังตามอ้าเภอใจ” (มาตรา 9.1) การใช้การกักขังในการจ้ากัดอย่างเคร่งครัดต่อผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองของรัฐที่สถานภาพการเข้าเมืองเป็นที่ต้องสงสัย ยกตัวอย่างเช่น อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) เรียกร้องให้รัฐให้ค้ามั่นว่าจะใช้การกักขังเด็กไว้เป็นทางเลือกสุดท้ายและต้องมีระยะเวลาสั้นที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ (มาตรา 37.b) เช่นเดียวกับในปีพ.ศ. 2494 ในอนุสัญญาเกี่ยวข้องกับสถานะของผู้ลี้ภัย (อนุสัญญาว่าด้วยผู้ลี้ภัย) ระบุว่า ผู้ลี้ภัยจะไม่ถูกลงโทษในกรณีการเข้าเมืองที่ผิดกฎหมายหรือการปรากฎตัวในประเทศปลายทาง ซึ่งการควบคุมการเคลื่อนย้ายของพวกเขาจะต้องถูกจ้ากัดและน้ามาใช้จนกว่าสถานภาพของบุคคลนั้นจะได้รับการขึ้นทะเบียนหรือได้รับการยินยอมให้อยู่ในประเทศจากประเทศอื่น (มาตรา 31) แนวทางเกี่ยวกับ คุณสมบัติที่สามารถปฏิบัติได้และมาตรฐานเกี่ยวกับการกักขังผู้แสวงหาการลี้ภัย ฉบับปรับปรุงแก้ไข ซึ่งตีพิมพ์ โดย UNHCR ได้ขีดเส้นใต้เน้นย้าว่า ผู้แสวงหาการลี้ภัยจะถูกกักขังในกรณีพิเศษเท่านั้นแรงงานข้ามชาติทั่วโลกต้องเผชิญกับการถูกจับ ด้วยสาเหตุต่างๆ เช่น การเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย การใช้เอกสารปลอม การออกจากที่อยู่อาศัยโดยไม่ได้รับอนุญาต การเข้าพักแบบผิดวิสัย การละเมิดหรืออยู่เกินเงื่อนไข ที่อนุญาตในการเข้าเมือง xxi แม้ว่าการจับอาจจะเป็นไปตามกฎหมาย แต่บ่อยครั้งทา แรงจูงใจเบื้องหลังการกระท้าของพวกเขา เหล่าไม่ได้เกี่ยวข้องกับกฎหมายคนเข้าเมืองเลย การบุกจับและการจับแรงงานข้ามชาติอาจถูกน้ามาใช้ขัดขวางผู้ย้ายถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งหมายถึง การกีดกันพวกเขาจากการร้องเรียนเกี่ยวกับความรุนแรง การถูกละเมิดสิทธิแรงงาน เป็นการแสดงออก ในทางการเมือง ของรัฐในการรณรงค์ เพื่อให้ได้รับการสนับสนุน หรือการเชิญชวนให้ประชาชนเข้าใจว่ารัฐมี25


ความกระตือรือร้นในการปกป้องความมั่นคงของชาติ รัฐกักขังแรงงานข้ามชาติที่สถานภาพการเข้าเมืองมีข้อสงสัยเพิ่มขึ้นไม่ว่าจะเป็นการพิจารณาการกักบริเวณเพื่อรอส่งกลับประเทศหรือเนรเทศ หรือภายใต้กฎหมายอาญากรณีการเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย ผู้ตรวจการพิเศษของสหประชาชาติด้านสิทธิผู้ย้ายถิ่นได้วิพากษ์วิจารณ์การใช้ดุลยพินิจอย่างสูงและอ้านาจในการกักขัง ซึ่งถูกน้ามาใช้ในการตรวจคนเข้าเมืองและเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายในหลายประเทศ และสามารถท้าให้เกิดการละเมิดเพิ่มสูงขึ้น แรงงานข้ามชาติสามารถถูกกักตัวไว้เป็นระยะเวลานาน ในพื้นที่แออัดและไม่ถูกสุขลักษณะ ถูกด้าเนินการตามอ้าเภอใจและแบบเฉพาะกิจ ตลอดจน ในทางปฏิบัติมักจะ ถูกปฏิเสธความช่วยเหลือทางกฎหมาย และการเข้าถึงขั้นตอนของการทบทวนพิจารณาคดีขณะที่ ยังไม่มีสนธิสัญญาระหว่างประเทศที่เฉพาะเจาะจงหรือแนวทางปฏิบัติอันเกี่ยวข้องกับการจับและกัก ขังผู้ที่ไม่ใช่พลเมือง แต่อย่างไรก็ตาม กฎหมายระหว่างประเทศยังให้ความคุ้มครอง อยู่ โดย UNHCR ได้มีการพัฒนาแนวทางปฏิบัติในการกักขังผู้แสวงหาการลี้ภัย โดยข้อก้าหนดมาตรฐาน ขั้นต่้าว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังในเรือนจ้า และหลักในการคุ้มครองบุคคลภายใต้การกัก ขังและการคุมขัง (หลักการ) ในทุกรูปแบบ ได้ก้าหนดมาตรฐาน ส้าหรับ การกัก ขังทุกรูปแบบประชาชนสามารถถูกจับ และกักขังได้บนฐานของกฎหมาย ภายในประเทศเท่านั้น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ซึ่งท้าหน้าที่ ตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อตกลง ICCPR ได้ชี้แจงถึงความหมายของการกัก ขังตามอ้าเภอใจและเรียก ว่า “การกระท้าตามอ้าเภอใจ” ซึ่งไม่ได้หมายความอย่างง่ายๆแต่เพียงว่า “ละเมิดกฎหมาย” แต่ยังหมายรวมถึง “ความไม่เหมาะสมหรือความอยุติธรรม” xxii เมื่อมีการกักขังเกิดขึ้น ผู้ที่ถูกกักขังทุกคนจะต้องได้รับการปฏิบัติด้วยความมีมนุษยธรรมและเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (ICCPR มาตรา 10, หลักการ 1) ภายหลังการถูกจับ แรงงานข้ามชาติควรถูกน้าตัวไปควบคุมไว้ตามสถานะของพวกเขา กล่าวคือ พวกเขาควรจะถูกแยกออกจากบุคคลที่อยู่ระหว่างการพิจารณาคดีอาญา และผู้ที่ถูกตัดสินคดี แล้ว (ICRMW มาตรา 17(1), ร่างหลักการ 8) การดูแลเป็นพิเศษมีความจ้าเป็นส้าหรับผู้ถูกกักขังที่เป็นกลุ่มคนที่มีความเปราะบาง เช่น ผู้หญิง เด็กและผู้ป่วย ในปีพ.ศ. 2527 อนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการทรมานและการ ปฏิบัติหรือการลงโทษอื่ นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่้ายีศักดิ์ศรี (CAT) ได้ห้ามการทรมานและการปฏิบัติที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือการลง โทษ และเรียกร้องให้รัฐป้องกันการกระท้าเหล่านี้โดยเจ้าหน้าที่รัฐเอง(CAT มาตรา 6, หลักการ 6) ในปีพ.ศ. 2544 พิธีสารภายใต้อนุสัญญา CAT ระบุถึงการอนุญาตให้หน่วยงานอิสระสามารถเข้าเยี่ยมชมสถานกักขังเป็นประจ้า เพื่อติดตามตรวจสอบมาตรฐานการด้าเนินการได้แรงงานข้ามชาติมีสิทธิในการเรียกร้องความถูกต้องทางกฎหมายในการควบคุมตัวของพวกเขาก่อนจะเข้าสู่ชั้นศาล และเข้าถึงระบบยุติธรรมในประเทศปลายทาง (ICRMW ข้อ 9 และ 17, CRC มาตรา 37.d) เพื่อให้แน่ใจว่าแรงงานข้ามชาติได้รับผลประโยชน์อย่างเต็มที่จากการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและยังคงสามารถติดต่อกับโลกภายนอกได้ หลังจากถูกจับ แรงงานข้ามชาติสามารถเข้าถึงความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ทางการฑูตทันที (ASEAN Declaration ข้อ 10; หลักการ15 และ ICRMW มาตรา 16) เจ้าหน้าที่ผู้ท้าการกักขังต้องแจ้งให้แรงงานข้ามชาติรู้ถึง ข้อกล่าวหาที่พวกเขาถูก จับ ทางเลือกอื่นๆที่พวกเขาสามารถท้าได้ และต้องให้มั่นใจว่ากระบวนการต่างๆเหล่านั้นถูกสื่อสารในภาษาที่แรงงานข้ามชาติสามารถเข้าใจได้ แรงงาน ข้ามชาติมีสิทธิในการขอให้ มีล่ามในกรณีที่มีความจ้าเป็นในการด้าเนินการทางกฎหมายโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (ICRMW 16 (5) และหลักการ 14) การปฏิบัติเหล่านี้ต้องถูกฝังรากอยู่ในการรักษาผลประโยชน์ร่วมของทุกรัฐ เพื่อเพิ่มการปกป้องประชาชนของตนที่อยู่ต่างประเทศ และให้ความส้าคัญมากขึ้นกับการเคลื่อนย้ายเพื่อเป็นแรงงาน ทั้ง26


ถูกกฎหมายและไม่ถูกกฎหมายที่มีเพิ่มขึ้น ผลที่ตามมาคือ ปัจจุบันสถานฑูตบางแห่งได้เริ่มมีการจัดบริการเกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติขึ้นรัฐทุกรัฐจะต้องเคารพในสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษยชนของผู้ย้ายถิ่น และต้องยุติการจับและการกักขังตามอ้าเภอใจUN General Assembly, 2009, Resolution 63/184ในทุกขั้นตอนของการจับ กัก ขัง และการส่งกลับแรงงานข้ามชาติควรได้รับการยอมรับอย่างเท่าเทียมบนพื้นฐานของสิทธิความเป็นมนุษย์ ใน อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกประ ฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (ICERD) สนับสนุน ว่ามนุษย์ทุกคนมีสิทธิอย่างเต็มที่ในการมีความสุขในการเป็นมนุษย์โดยไม่ต้องค้านึงถึงเชื้อชาติ หรือชาติก้าเนิด ซึ่งนั่นได้รองรับสิทธิในความปลอดภัยของบุคคล การเข้าถึงศาล ยุติธรรมและการแก้ไขปัญหาอันเกิดจากการเลือกปฏิบัติ คณะกรรมการสนธิสัญญา ยังได้ระบุว่า “การปฏิบัติที่แตกต่างบนฐานของการเป็นพลเมืองหรือผู้อพยพถือได้ว่าเป็นการเลือกปฏิบัติ” เว้นแต่เพียงสาเหตุของความแตกต่างนั้นถูกต้องตามกฎหมายหรือxxiiiเป็นไป ตามเกณฑ์ที่ก้าหนดไว้ เช่นเดียวกับผู้ถูกกัก ขังอื่นๆที่ไม่ต้องแบกรับค่าใ ช้จ่ายอันเกิดจากการละเมิดกฎอันเกี่ยวข้องกับการย้ายถิ่น (ICRMW มาตรา 17.8) และท้าย ที่สุด แรงงานข้ามชาติ จะต้อง ไม่ถูกกักขังเป็น ระยะเวลา นานขณะที่เรื่องของพวกเขาอยู่ในกระบวนการพิจารณา ในปีพ.ศ. 2542 คณะท้างานแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการคุมขังโดยพลการ ได้ลงมติรับ ข้อพิจารณาหมายเลข 5 อันเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ของผู้ ย้ายถิ่น และผู้ แสวงหาการ ลี้ภัย โดย ได้เสนอแนะว่าต้องการระบุระยะเวลาสูงสุดโดยบัญญัติไว้ในกฎหมาย และนั่นเองการควบคุมอาจจะ “ในกรณีที่ไม่มี” อาจจะเป็นนานขึ้นหรือไม่มีแน่นอน xxivระเบียบข้อก าหนดว่าด้วยการส่งกลับประเทศต้นทางและการเนรเทศออกนอกประเทศแรงงานข้ามชาติจะได้รับการคุ้มครองในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการส่งกลับประเทศภายใต้หลักเกณฑ์ 3 ประการที่ระบุไว้ในกรอบด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ คือ 1) มีการ รับประกัน การให้อยู่เพื่อปกป้องคุ้มครอง การส่งกลับบุคคล ที่อาจจะเผชิญการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรง ตามมา 2) มี กระบวน การรักษาความปลอดภัยระหว่างการส่งกลับ 3) การปกป้องคุ้มครองที่เกี่ยวข้องกับการเนรเทศออกนอกประเทศสิทธิในการได้อยู่ต่อผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาการลี้ภัย ได้รับการรับรองการ ปกป้องคุ้มครองโดยรัฐภายใต้อนุสัญญาผู้ลี้ภัย พ.ศ. 2494 และพิธีสารภายใต้อนุสัญญา พ.ศ. 2510 ส้าหรับภาระผูกพันของรัฐที่มีต่อสนธิสัญญา ในการไม่บังคับส่งกลับ (มาตรา 33.1)หมายความว่า ผู้ลี้ภัย และผู้แสวงหาการลี้ภัย ไม่จ้าเป็นต้องออกจากพรมแดนไปยังที่ที่ชีวิตของพวกเขาหรืออิสรภาพของพวกเขาจะถูกคุกคามเพราะเชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ การเป็นสมาชิกของกลุ่ม สังคมเฉพาะ หรือความแตกต่างของ แนวคิดทางการเมือง หลักการของการไม่บังคับส่งกลับถือได้ว่าเป็นหัวใจส้าคัญของกฎหมายสากล ด้านผู้ลี้ภัยและได้กลายมาเป็นจารีตธรรมเนียมปฏิบัติของกฎหมายสากล xxv27


ข้อก าหนดมาตรฐานขั้นต่ าว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังในเรือนจ าข้อก่าหนดเหล่านี้ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นมาตรฐานขั้นต่าส่าหรับการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังในเรือนจ่าทุกคน มีการระบุประเด็นไว้อย่างกว้างๆ ดังนี้การบริหารจัดการและกระบวนการทางกฎหมาย ผู้ต้องกักสามารถได้รับการลงทะเบียน และได้รับการชี้แจงอย่างครบถ้วนถึงเหตุผลและเงื่อนไขของการที่พวกเขาถูกกักขังและมีสิทธิที่จะร้องขอให้มีล่ามแปลภาษา ถ้าจ่าเป็น การดูแลเรื่องการสามารถสื่อสารกับโลกภายนอกอย่างเป็นประจ่าต้องได้รับการยืนยัน ได้แก่ สถานทูตและผู้แทนด้านกฎหมาย ตลอดจนครอบครัว สถาบันที่เกี่ยวกับอาญาจะต้องมีการสืบสวนอย่างเป็นประจ่าเพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติเป็นไปตามกฎหมายการปกป้องคุ้มครองกลุ่มผู้ที่มีความเปราะบาง จะต้องแยกผู้ต้องกักตามประเภทที่ต่างกัน ประเภทต่างๆ ได้แก่ ผู้หญิง, ผู้ชาย และวัยรุ่น ผู้ต้องขังที่ยังไม่ตัดสินคดีและอยู่ในระหว่างการไต่สวน และผู้ต้องขังที่ถูกตัดสินคดีแล้ว ส่าหรับผู้ต้องกักหญิงนั้นจะต้องได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่หญิงเท่านั้นสุขภาพและสวัสดิการ สถาบันเกี่ยวกับอาญาจะต้องมีความสะอาดอยู่เสมอ และผู้ต้องกักจะต้องได้รับการจัดหาสถานที่ที่ถูกสุขลักษณะ น้่าดื่ม และห้องสุขาที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ เจ้าหน้าที่ต้องจัดหาอาหารและน้่าดื่มที่เหมาะสมและเพียงพอแก่ผู้ต้องกักเจ้าหน้าที่จะต้องท่าให้มั่นใจว่าผู้ต้องกักมีขนาดพื้นที่ แสงสว่าง อากาศถ่ายเทและ การพักผ่อนหย่อนใจที่เหมาะสมเพียงพอผู้ต้องกักต้องได้รับการบริการด้านการแพทย์ รวมถึงการบริการด้านจิตเวช และผู้ต้องกักหญิงที่อยู่ในช่วงก่อนและหลังการ คลอดต้องได้รับการดูแล และจะต้องมีพื้นที่ส่าหรับการให้นมบุตรกล่องข้อความที่ 5กล่องข้อควำมที่ 5ทุกวันนี้ ทุกคนที่มีความเสี่ยงในการถูกทรมาณอย่างร้ายแรง ตามมาด้วยการถูกเนรเทศไ ด้รับการคุ้มครองจาก การไม่ส่งกลับภายใต้อนุสัญญาต่อต้านการทรมาน พ.ศ. 2527 สนธิสัญญาฉบับนี้ถือหลักว่า “รัฐภาคีจะต้องไม่ผลักดัน, ส่งกลับ(‘refouler’) หรือส่งอาชญากรไปยังอีกรัฐหนึ่งซึ่งอาจ เชื่อได้ว่าบุคคลนั้นๆจะได้รับอันตราย จากการ ถูกทรมา ณ (CAT,มาตรา 3) หลักการนี้ถูกท้าให้เข้มแข็ง ภายใต้ ICCPR พ.ศ. 2519 มาตรา 7 ที่ได้รับการตีความว่า ห้ามมีการส่งกลับหากก่อให้เกิดความเสี่ยงที่จะถูก ทรมาณ โดยคณะกรรมการด้านสิทธิมนุษยชนยึดหลัก การที่ว่า “รัฐที่เป็นภาคีจะต้องไม่ส่งปัจเจกบุคคลไปให้ได้รับอันตรายจากการทรมาณ หรือการกระท้าอื่นๆ ที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือการปฏิบัติ ที่ย่้ายีศักดิ์ศรี ลดทอนความเป็นมนุษย์หรือได้รับการลงโทษ เมื่อกลับไปยังอีกประเทศหนึ่ง โดยการเนรเทศ ส่งกลับ หรือบังคับกลับ” คณะกรรมการตัดสินให้บุคคลนั้นๆไม่จ้าเป็นต้องกลับประเทศถ้าที่แห่งนั้นไม่ได้ มีการเยียวยาความเจ็บป่วย อันเชื่อมโยงกับการรุนแรงของการละเมิดสิทธิของรัฐภาคี การตัดสินนี้อาจน้าไปปรับประยุกต์ใช้กับแรงงานข้ามชาติที่ประสบปัญหาการบาดเจ็บอันเนื่องมาจากการที่รัฐไม่สามารถบังคับใช้มาตรฐานด้านสุขอนามัยและความปลอดภัยสากลในที่ท้างานได้การสนับสนุนหลักการในระดับสากลในการไม่บังคับส่งกลับมีความเข้มแข็งมาก ในค้าแนะน้าทั่วไปเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อผู้ที่ไม่ใช่ประชากรของประเทศ คณะกรรมการการ ขจัดการแบ่งแยกทากเชื้อชาติ ได้เสนอ แนะว่า กฎหมายภายในประเทศว่าด้วยการเนรเทศไม่ควรเลือกปฏิบัติต่อชาวต่างชาติบนฐานของเชื้อชาติ สีผิว หรือความเป็นกลุ่มชาติพันธุ์28


และผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองก็ควรมีสิทธิเท่าเทียมกันและมีสิทธิในการ อุทธรณ์ กับค้าสั่งการ เนรเทศ ออกจากประเทศได้ ซึ่งเท่ากับเป็นการย้าถึงหลักการของการไม่บังคับส่งกลับที่ถูกเอามาใช้กับกรณีบุคคลที่มีความเสี่ยงในการ ถูกละเมิดสิทธิความเป็นมนุษย์ ประเด็นสุดท้าย เป็นการสะท้อนให้เห็นสิทธิ การมีชีวิตครอบครัว ซึ่งคณะกรรมการ มีข้อเสนอแนะว่าการเนรเทศและการส่งกลับประเทศต้นทางควรหลีกเลี่ยงเมื่อสิทธินี้ถูกต่อต้านอย่างเห็นได้ชัดหากมองไปที่การปฏิบัติต่อกรณีเด็ก ที่ไม่มีผู้ปกครอง และเด็กที่ถูกแยกออกจากประเทศ ต้นทางของตน ความเห็นโดยทั่วไปโดยคณะกรรมการด้านสิทธิเด็ก ถูกน้าไปใช้เพิ่มน้าหนัก ต่อฉันทามติสากลอันเกี่ยวกับหลักของการไม่บังคับส่งกลับ คณะกรรมการยึดหลักที่ว่ารัฐไม่ควรส่งเด็กกลับไปยังประเทศที่ “มีเหตุให้เชื่อได้ว่าเด็กจะอยู่บนความเสี่ยง เป็นอันตราย” โดยไม่ต้องค้านึงว่าอันตรายนั้นจะถูกกระท้าโดยรัฐหรือไม่ใช่รัฐ เน้นย้าว่าในการประเมินความเสี่ยงของอันตรายนั้น อายุและเพศของเด็กเป็นสิ่งที่ต้องเอามาร่วมประเมินด้วย เช่นกันกับผลกระทบร้ายแรงต่อเด็กโดยเฉพาะเรื่องความเพียงพอของอาหารและการบริการสาธารณสุข เด็กๆไม่ควรถูกส่งกลับไปยังประเทศที่มีความเสี่ยงอย่างแท้จริงในเรื่องของการ เข้าสู่การเป็นแรงงานเด็ก ถูกเกณฑ์ ทหาร หรือเข้าร่วมในความขัดแย้ง ตัวอย่างเช่น การเป็น นักรบ หรือผู้ให้บริการทางเพศแก่ทหาร เป็นต้นเหยื่อของขบวนการค้ามนุษย์นั้นมีความสามารถในการเข้าถึงสิทธิภายใต้กฎหมายสากลที่น้อยมา ก แม้ว่ารัฐจะพยายามต่อสู้กับการค้ามนุษย์ เมื่อบุคคลถูกระบุว่าเขาเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์บุคคลนั้นอาจต้องกลับไปยังป ระเทศต้นทาง โดยไม่ค้านึงถึงความต้องการของบุคคลนั้นๆ หลักการของรัฐภาคีในการต่อต้านการค้ามนุษย์มีเพียง “ การพิจารณารับรองมาตรการหรือกฎหมายอื่นๆที่เหมาะสมโดยอนุญาตให้ผู้ที่ตกเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์ยังสามารถอยู่ในดินแดนของตนได้เป็นการชั่วคราวหรือถาวรในกรณีที่เหมาะสม” ในการพิจารณาของรัฐควรจะ “ให้การพิจารณาที่เหมาะสมในเรื่องของมนุษยธรรมและความเห็นอกเห็นใจ” (ATP มาตรา 7) หากมองกลับมาที่เหยื่อของการค้ามนุษย์แล้ว “ต้องค้านึงถึงความปลอดภัยที่ว่าบุคคลนั้นเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์และจะต้องอยู่บนฐานของความสมัครใจ” (ATP มาตรา 8)OHCHR ขยายสิทธิที่จะได้อยู่ โดยรัฐจะต้อง “รับรองความปลอดภัยจากการที่กลุ่มเสี่ยงจะถูกดึงกลับไปเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์อีกครั้ง และให้ทางเลือกอื่นในการอยู่ในประเทศหรือส่งไปยังประเทศที่สามหรือในสถานที่เฉพาะ (เช่น เพื่อป้องกันการกลับเข้าสู่การค้ามนุษย์)‛ xxviการท างานเพื่อให้เกิดกระบวนการที่เป็นธรรมกลไกเครื่องมือ สิทธิมนุษยชนทั้งในระดับภูมิภาคและระดับสากลนั้นแทบไม่มีการอ้างถึงในส่วนของ วิธีการในการส่งกลับ สภา องคมนตรีแห่ง ยุโรปได้มีการพัฒนาข้อเสนอแนะในการรับรองการเคารพในสิทธิมนุษยชน ความxxviiปลอดภัยและการให้เกียรติแรงงานข้ามชาติระหว่างการส่งกลับ อย่างไรก็ตาม การ ไม่มีเครื่องมือที่ชัดเจนในระดับสหประชาชาติและปฏิญญา อาเซียน ว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้าม ท้าให้ไม่มี สิ่งอ้างอิงในการส่งกลับแรงงานข้ามชาติ ในปฎิญญากรุงเทพ ว่าด้วยแรงงานข้ามชาติที่เข้าเมืองผิดกฎหมาย พ.ศ. 2542 ซึ่งเห็นชอบโดยผู้เข้าร่วมการประชุมนานาชาติว่าด้วยการย้ายถิ่น รวมถึงประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง ได้ยืนยันในมาตรา 13 ที่ว่า“ระยะเวลาของผู้ที่ไม่มีสิทธิในการเข้ามาและอยู่ต่อ เป็นยุทธศาสตร์ส้าคัญในการลดความดึงดูดใจของการค้ามนุษย์.... การกลับคืนจะต้องด้าเนินการบนฐานของมนุษยธรรมและวิธีการที่ปลอดภัย ” แม้ว่าจะไม่เป็นข้อผูกพันแต่ถือเป็นการประกาศแนวทางหลักในการปฏิบัติอันเกี่ยวข้องกับแรงงานข้ามชาติที่ผิดกฎหมาย29


ในการลงนาม MOU ระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านนั้นไม่ได้หมายรวมถึงกระบวนการที่มีมาตรฐานหรือวิธีการในการส่งกลับ แม้ว่าพวกเขาจะยืนยันว่าแรงงานข้ามชาติ ควรจะจ่ายค่าใช้จ่าย ส้าหรับการส่งกลับประเทศผ่านกองทุนที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจุดประสงค์นี้ แต่ช่องว่างทางกฎหมาย เหล่านี้ ท้าให้แรงงานข้ามชาติ มีความเปราะบาง ระหว่างกระบวนการส่งกลับ และยังคงปัญหา มากขึ้นด้วยแรงงานข้ามชาติที่ถูกส่ง กลับไปยังประเทศต้นทาง ของพวกเขานั้น กลับต้องกลับเข้าสู่กระบวนการต่อต้านมาใช้กับผู้ที่ส่งพวกเขากลับอย่างไรก็ตามบทบัญญัติทั่วไปของมาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชนยังควรถูกน้ามาใช้ เมื่อมีการส่งกลับผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองนั้นๆ รัฐควรเรียกร้องให้เกิดการการเคารพสิทธิในชีวิตและร่างกาย การให้เกียรติและไม่ควรอยู่ภายใต้บุคคลใดการถูกเนรเทศออก จากประเทศ การถูก ทรมาณ การไม่เคารพในสิทธิมนุษยชน หรือการย่้ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ อดีตผู้ตรวจการ พิเศษ ของสหประชาชาติ ด้านสิทธิผู้ย้าย เน้นว่า “การขับไล่ ส่งกลับ หรือการส่งกลับแรงงานข้ามชาติที่ไม่มีเอกสารควรตั้งอยู่บนฐานของการเคารพและให้เกียรติ” xxviiiอนุสัญญาระหว่างประเทศเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของแรงงานข้ามชาติและครอบครัว มาตรา 221. แรงงานข้ามชาติและครอบครัวของเขาไม่ควรถูกเนรเทศออกนอกประเทศแบบกลุ่ม แต่ควรพิจารณาการเนรเทศเป็นรายกรณี2. แรงงานข้ามชาติและครอบครัวจะถูกเนรเทศออกนอกประเทศภายใต้การตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ผู้อ้านาจและเป็นไปตามกฎหมายเท่านั้น3. การตัดสินการเนรเทศต้องถูกสื่อสารในภาษาที่เขาเหล่านั้นเข้าใจ เมื่อมีการร้องขอซึ่งไม่ใช่การเนรเทศโดยบังคับ การตัดสินใจจะต้องสื่อสารโดยมีเอกสารที่เขียนขึ้นอย่างถูกต้อง และบันทึกไว้แยกจากกรณีที่เป็นการด้าเนินการภายใต้ความมั่นคงของชาติ ที่เหตุผลของการตัดสินใจด้าเนินการโดยรัฐ ส้าหรับบุคคลที่อยู่ในความห่วงกังวลควรจะได้รับการชี้แจงสิทธิก่อนที่จะมีการตัดสินและด้าเนินการ4. เมื่อการตัดสินถูกประกาศโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอ้านาจตามกฎหมาย ผู้ที่อยู่ในความห่วงกังวลควรจะได้รับการแจ้งสิทธิถึงเหตุผลว่าเขาหรือเธอไม่ควรจะถูกเนรเทศด้วยเหตุใด และกรณีของเขาหรือเธอเหล่านั้นต้องถูกทบทวนโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอ้านาจนอกจากจะด้วยเงื่อนไขของความมั่นคงของชาติ ระหว่างการทบทวนกรณี กลุ่มผู้ที่อยู่ในความห่วงกังวลมีสิทธิในการอยู่ต่อเพื่อรอการเนรเทศ5. ในกรณีการเนรเทศตามกฎหมายถูกท้าให้สิ้นสุดลง ผู้ที่อยู่ในความห่วงกังวลมีสิทธิได้รับการชดเชยตามกฏหมาย และการตัดสินแรกนั้นจะต้องไม่น้ามาใช้ในการขัดขวางการกลับเข้าประเทศของพวกเขาอีกครั้ง6. ในกรณีของการเนรเทศ กลุ่มผู้ที่อยู่ในความห่วงกังวลจะต้องได้รับโอกาสไม่ว่าก่อนหรือหลังการถึงประเทศต้นทางในการเรียกร้องค่าจ้างและสิทธิอื่นๆที่เกี่ยวข้องระหว่างที่พวกเขาหรือเธอรอการเนรเทศ7. โดยปราศจากอคติในการตัดสินการเนรเทศ แรงงานข้ามชาติหรือสมาชิกในครอบครัวของพวกเขาที่ถูกตัดสินต่างๆ สามารถแสวงหาการเข้าเมืองในรัฐอื่นๆ นอกเหนือจากประเทศต้นทาง8. ในกรณีการเนรเทศแรงงานข้ามชาติและครอบครัวของเขา ค่าใช้จ่ายในการด้าเนินการไม่ควรเรียกเก็บจากพวกเขา ผู้ที่อยู่ในความห่วงกังวลอาจจะถูกร้องขอให้จ่ายค่าเดินทางเอง9. การเนรเทศออกจากประเทศที่จ้างแรงงาน รัฐนั้นๆจะต้องไม่มีอคติต่อแรงงานข้ามชาติและครอบครัว โดยท้าตามเงื่อนไขกฎหมายของประเทศ ได้แก่ สิทธิในการได้รับค่าจ้างขั้นต่้า และสิทธิอื่นๆที่เขาหรือเธอพึงมีผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองของรัฐได้รับการรับรองความคุ้มครองระหว่างกระบวนการส่งกลับภายใต้อนุสัญญาแรงงานข้ามชาติ ซึ่งมาตรา 22 ของอนุสัญญาถูกน้ามาปรับใช้กับแรงงาน ข้ามชาติและครอบครัวของเขา โดยไม่ค้านึงถึงสถาน ภาพการ30


เข้าเมือง ( กรุณาดู กล่องข้อความที่ 4) แรงงานข้ามชาติมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อกล่าวหา เพื่อได้รับการคุ้มครองและช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่สถานทูตของประเทศต้นทาง และความช่วยเหลือ ตามสิทธิ (ICRMW มาตรา 23) แรงงานที่มีเอกสารได้รับความคุ้มครองมากกว่า พวกเขาจะไม่ถูก ขับไล่ออกจากรัฐที่ตนท้างาน ยกเว้น ด้วยเหตุผลตาม ที่ระบุไว้ในกฎหมายของประเทศ หากมีพิจารณาว่าต้อง ส่งกลับ รัฐต้องค้านึงถึงหลั กมนุษยธรรมและระยะเวลาที่พวกเขา พ้านักอยู่ในประเทศขณะที่มีการจ้างงาน เป็นข้อห้ามในการเนรเทศแรงงานข้ามชาติหรือครอบครัวของเขาเพื่อกีดกันสิทธิที่เขาควรจะได้รับในการอยู่อาศัยและการได้รับใบอนุญาตท้างาน (ICRMW มาตรา 56)แรงงานข้ามชาติได้รับการรับรองการปกป้อง คุ้มครองการเนรเทศออกนอกประเทศตามอ้าเภอใจ และการส่งกลับเป็นกลุ่ม (ICCPR มาตรา 13 ICRMW มาตรา22) สิทธิทั้งสองประการนี้ต่างเอื้อซึ่งกันและกัน กล่าวคือ โดยธรรมชาติของการส่งกลับคราวละมากๆ ยากที่แรงงานข้ามชาติเหล่านั้นจะได้รับการปฏิบัติ ตามหลักสิทธิมนุษยชน และความเร็วในการด้าเนินการแทบจะเป็นไปไม่ได้ที่รัฐจะปฏิบัติตามกฎของการส่งกลับแรงงานข้ามชาติ แรงงานที่มีเอกสารถูกจับย่อมเสี่ยงต่อการส่งกลับอย่างไม่ถูกต้องตามกฎหมาย และมีความเสี่ยงสูงที่ผู้ลี้ภัย เหยื่อจากการค้ามนุษย์และบุคคลที่เสี่ยงต่อการทารุณกรรมจะไม่ถูกระบุตัวตน31


กฎหมายและนโยบายของไทยว่าด้วยการจับ การกักขัง และการส่งกลับการขาดความเชื่อมโยงในกฎหมายแม้ว่าประเทศไทยจะมีประวัติอันยาวนานในการเป็นศูนย์กลาง การเคลื่อนย้าย ของภูมิภาค และเป็นประเทศที่ให้แหล่ง พักพิงชั่วคราว ต่อ ผู้ลี้ภัย จากประเทศเพื่อนบ้าน ขณะที่ระบบกฏหมายภายในกลับล้มเหลวที่จะอยู่ร่วมกับประวัติศาสตร์ดังกล่าวและบ่อยครั้งที่ขัดแย้งกับมาตรฐานสากล การตอบสนองต่อ การย้ายถิ่นส่งผลกระทบต่อการจ้าแนกแรงงานข้ามชาติจ้านวนมากออกจากการย้ายถิ่นตามแนวทาง ปกติและ กดมาตรฐานแรงงานในภาคส่วนที่มีการจ้างงานแรงงานข้ามชาติ จ้านวนมาก ให้ต่้าลง ในอีกด้านหนึ่ง นโยบายที่ตอบสนองนี้ ได้กระตุ้นให้เกิดการแข่งขัน ลงสู่ระดับล่างและปล่อยให้แรงงานข้ามชาติมีความเปราะบางที่จะถูกจับ ถูกกักขังและถูกส่งกลับกล่องข้อความที่ 5 สรุปสถานะปัจจุบันของไทยต่อสนธิสัญญาและหลักการสากล และสิทธิของผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองได้รับจากพันธะผูกพันของไทยกับกฎหมายสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน นอกจากนี้ยังเน้นให้เห็นอนุสัญญาที่ยังไม่ได้ลงนามที่จะสามารถเสริมสร้างการคุ้มครองให้กับพวกเขาได้ความคุ้มครองภายใต้กฎหมายสากลและช่องว่างของผู้ถูกกักขังที่ไม่ใช่พลเมืองในประเทศไทยสนธิสัญญาที่ยังไม่ลงนาม อนุสัญญาว่าด้วยแรงงานข้ามชาติ อนุสัญญาว่าด้วยสถานะของผู้ลี้ภัย พิธีสารว่าด้วยผู้ลี้ภัย อนุสัญญาว่าด้วยคนไร้รัฐ ICCPED OP-ICCPED OP-CATATPOP-CRPDสนธิสัญญาที่บังคับใช้ในประเทศไทยCRPDCEDAWICCPROP-CEDAWCATICESCRASPCRCICERDหลักการสากล ข้อก้าหนดมาตรฐานขั้นต่้าว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังในเรือนจ้า หลักการว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนที่อยู่ภายใต้การกักขังหรือจ้าคุก ปฏิญญาสิทธิมนุษยชนของบุคคลที่ไม่ได้ถือสัญชาติของประเทศที่พวกเขาอาศัยอยู่ กฎว่าด้วยการคุ้มครองเด็กและเยาวชนที่ถูกริดรอนสิทธิและเสรีภาพในการให้สัตยาบันต่อสนธิสัญญาระหว่างประเทศที่กล่าวข้างต้น ประเทศไทยมีพันธะผูกพันทางกฎหมายในการรับประกันสิทธิขั้นพื้นฐานต่อไปนี้แก่ประชาชนที่ไม่ใช่พลเมืองของตนในการจับ กักขังและส่งกลับ เคารพสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้ถูกกักขัง การได้รับข้อมูลถึงเหตุผลในการจับกุม สิทธิของแรงงานข้ามชาติในฐานะผู้ถูกกักขังและกระบวนการที่คาดว่าจะด้าเนินการ การเข้าถึงสภานักกฎหมาย เจ้าหน้าที่กงสุลและล่าม; รวมถึงการประเมินจากสถานภาพผู้ลี้ภัย; สามารถคัดค้านอุทธรณ์การถูกกักขังภายใต้การใช้กฎหมายในชั้นศาลและด้าเนินการตัดสินโดยทันที การแยกออกจากผู้ที่อยู่ระหว่างการพิจารณาคดีหรือผู้ที่ถูกตัดสินลงโทษส้าหรับความผิดคดีอาญา การแยกที่พักส้าหรับผู้ชายและผู้หญิง; การดูแลด้านสุขภาพ, ที่พักที่ถูกสุขลักษณะ อาหาร น้า และอุปกรณ์อาบน้า และการเข้าถึงการดูแลรักษาทางการแพทย์ การเคารพในหลักการของการไม่บังคับส่งกลับ32กล่องข้อควำมที่ 7


ตามที่ประเทศไทยได้ลงนามใน MOU กับประเทศพม่า กัมพูชา และลาว ว่าด้วยกระบวนการอนุญาตให้แรงงานข้ามชาติที่อยู่ ในประเทศไทยสามารถ จดทะเบียนสถานะของพวกเขาผ่าน กระบวนการ พิสูจน์สัญชาติได้ถูกน้ามาใช้ โดยก้าหนดระยะเวลาการด้าเนินการให้ แล้วเสร็จได้ถูกขยาย ออกไปอย่างต่อเนื่อง จากวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เป็นวันที่14 เมษายน พ.ศ. 2553 เท่ากับว่าแรงงาน ข้ามชาติ มีเวลา อีก 120 วัน มีแรงงาน ข้ามชาติ ที่สมัครเข้าสู่กระบวนการแต่ไม่สามารถพิสูจน์สัญชาติให้แล้วเสร็จในเวลาที่ก้าหนดเพราะต้องผ่านขั้นตอนมากมาย แม้ว่า “ศูนย์พิสูจน์สัญชาติแบบเบ็ดเสร็จ” จะสามารถด้าเนินการได้ถึง 500 รายต่อวัน นั่นคือ ในช่วงต้นเดือนเมษายนเมื่อใกล้ถึงก้าหนด เจ้าหน้าที่จะสามารถด้าเนินการลงทะเบียนได้ถึง 380,000 ราย จาก 414,820 รายที่ได้ท้าการสมัคร ไว้xxix แม้จะมีความพยายามเช่นนี้แต่มีการประมาณการณ์กันว่ายังมีแรงงานข้ามชาติที่ผิดกฎหมายอีกกว่า 2 ล้านคนที่ยังคงอยู่ในประเทศไทย และไม่ได้เข้าร่วมกระบว นการพิสูจน์สัญชาติ xxx ดูเหมือนเขาเหล่านั้นจะ โชคไม่ดีอีกครั้งที่ต้องเข้าสู่กระบวนการ ขึ้นทะเบียนเมื่อครบก้าหนดภายใต้ ก้าหนดระยะเวลาใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดความหวาดกลัวการ ปฏิบัติการ กวาดล้างจับกุม และการส่งกลับเป็นจ้านวนมาก ในเวลาเดียวกัน ค่าแรงขั้นต่้าของประเทศที่ขยับสูงขึ้นนับตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2556 เป็น 300 บาทต่อวันซึ่งขยับตัวสูงขึ้นถึงร้อยละ 20 และร้อยละ 70 ในบางพื้นที่เช่น จ.ตาก xxxi แม้ว่าการขยับตัวขึ้นของค่าแรงจะส่งผลดีต่อรายรับของแรงงาน แต่มักเป็นสาเหตุของการที่นายจ้างจ้านวนมากไม่ยอมจ่ายค่าแรงขั้นต่้าตามกฎหมาย และยกเลิกการขึ้นทะเบียนเพื่อปกป้องพวกเขาจากการจ่ายค่าแรงขั้นต่้า การจ้ากัดจ้านวน จ้ากัดมาตรฐานของแรงงาน แรงงานข้ามชาติเสี่ยงที่จะถูกจับ กักขังและส่งกลับขณะที่นายจ้างของพวกเขาแสวงหาการลดต้นทุนของตนลง และมีการบันทึกว่าแรงงานในภาคบริการทางเพศไม่ส ามารถขึ้นทะเบียนได้ นั่นหมายความว่าพวกเขาเหล่านั้นจะต้องเสี่ยงที่จะถูกจับทั้งการเป็นแรงงานผิดกฎหมายและการขายบริการทางเพศตารางที่ 2: สถานะของการให้สัตยาบันในอนุสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชนโดยรัฐบาลไทยสนธิสัญญาหลักอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (ICERD) (1965) มีผลบังคับใช้ 27/02/2003กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) (1966) มีผลบังคับใช้ 29/01/1997กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) (1966) มีผลบังคับใช้ 05/12/1999อนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการทรมาน และการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือมีผลบังคับใช้ 02/10/2007ย่้ายีศักดิ์ศรี (CAT) (1984)อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) (1979) มีผลบังคับใช้ 08/09/1985อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) (1989) มีผลบังคับใช้ 26/04/1992อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิของแรงงานโยกย้ายถิ่นธานและสมาชิกในครอบครัว (ICRMW) (1990) -อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันบุคคลจากการสูญหายโดยถูกบังคับ (ICCPED) (ยังไม่บังคับใช้) ลงนาม 09/01/2012อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ (CRPD) (2006) ให้สัตยาบัน 29/07/2008สนธิสัญญาที่เกี่ยวข้องกับการย้ายถิ่นอนุสัญญาอันเกี่ยวข้องกับสถานะผู้ลี้ภัย (1951) และระเบียบการ1967 -พิธีการเพื่อป้องกัน สกัดกั้น และลงโทษการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะในผู้หญิงและเด็ก(ATP), อนุสัญญาสหประชาชาติ ลงนาม 18/12/2001เพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร (2000)พิธีสารเพื่อต่อต้านการลักลอบขนผู้ย้ายถิ่นฐานทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ (ASP), อนุสัญญาสหประชาชาติ ลงนาม 18/12/2001เพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร (2000)ที่มา : UN Treaty Collection, สามารถเข้าดูได้ที่http://treaties.un.org/Pages/Treaties.aspx?id=4&subid=A&lang=en33


สนธิสัญญาสากลที่ ไทยได้ร่วมลงนามเป็นภาคีได้ ให้ความคุ้มครองที่กว้างขึ้นใน การจับ กัก ขัง และส่งกลับผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองของรัฐ รัฐบาลไทยได้เห็นชอบใน หกจากเก้าหลักการของสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งหมายความว่าจะต้องมีการปรับแก้กฎหมายและนโยบายของประเทศ (ดูตารางที่ 1) และยังได้ลงนามในอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการ ป้องกัน บุคคล จากการสูญหาย โดยถูกบังคับ (ICCPED) ซึ่ง ท้าให้ผู้ ที่ถูกกัก ขังได้รับการ จดทะเบียนและสามารถติดต่อสื่อสารกับโลกภายนอกได้ อย่างไรก็ตามสนธิสัญญานี้ยังไม่ได้ถูกบังคับใช้ในระดับสากลนอกจากการขยาย กรอบเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน นั้น ประเทศไทยได้เข้าร่วมในสนธิสัญญาหลัก สองประการ เพื่อคุ้มครองผู้ที่ไม่ใช่พลเมือง ที่อยู่ภายใน ประเทศ ได้แก่ อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิของแรงงานโยกย้ายถิ่นฐานและสมาชิกในครอบครัว (ICRMW) ซึ่งถือว่าเป็นอนุสัญญาหลัก และ อนุสัญญาอันเกี่ยวข้องกับสถานะของผู้ลี้ภัย พ.ศ.2494ส่งผลให้มีจ้านวนแรงงานข้ามชาติและผู้ลี้ภัยจ้านวนมากในประเทศไทย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงช่องว่างของกรอบสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยแม้ว่าประเทศไทยจะยังไม่ได้เข้าร่วมในอนุสัญญาว่าด้วยผู้ลี้ภัย หรืออนุสัญญาว่าด้วยแรงงานข้ามชาติ แต่ผลของการเข้าร่วมในกฎหมายสากลยังมีข้อผูกพันต่อการยึดมั่นในหลักพื้นฐานด้านสิทธิมนุษยชน ที่น้ามาใช้กับผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองของรัฐ ในสถานการณ์ การจับ กักขัง และส่งกลับ เช่นเดียวกับหลักของการไม่บังคับส่งกลับ (ดูในกรอบสิทธิมนุษยชนสากล ในการจับ กักขัง และส่งกลับ) ในเวลาเดียวกัน ประเทศไทยเป็นสมาชิกของคณะกรรมการบริหาร UNHCR จึงต้องเคารพในอนุสัญญาผู้ลี้ภัยและแนวทางปฏิบัติของ UNHCR xxxiiการกีดกันออกจากการขึ้นทะเบียน xxxiiiแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย อยู่ภายใต้พระราชบัญญัติ คนเข้าเมือง พ.ศ. 2552, พระราชบัญญัติการ ท้างานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 และชุดของมติคณะรัฐมนตรีที่ออกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 รัฐบาลไทยประสบความส้าเร็จในการติดตามแรงงานข้ามชาติที่ไม่มีเอกสารจากประเทศเพื่อนบ้านผ่าน สองแนวทาง คือ (1) อนุญาตให้แรงงานสามารถขึ้นทะเบียนในเวลาที่จ้ากัดในภาคส่วนงานที่แน่นอน (2) จับและส่งกลับแรงงานที่ไม่มีเอกสารการขึ้นทะเบียน xxxiv และมีความพยายามอย่างชัดเจนในการสร้าง แหล่งงานหรือพื้นที่ เศรษฐกิจพิเศษ บริเวณชายแดนและบรรจุแรงงานไว้ในพื้นที่เหล่านั้น ในปีพ.ศ. 2546 ประเทศไทยได้ลงนามใน MOU กับประเทศเพื่อนบ้าน คือพม่า กัมพูชา และลาวในการขึ้นทะเบียนแรงงาน ข้ามชาติ โดยมีเป้าหมายคือ (1) สร้างกระบวนการที่เหมาะสมในการจ้างงาน (2) รับรองประสิทธิ ภาพของการส่งกลับแรงงานข้ามชาติ (3) เพื่อรับรองการปกป้อง คุ้มครอง แรงงาน (4) การป้องกันและปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพในการต่อต้านการข้ามแดนที่ผิดกฎหมาย เช่นการค้ามนุษย์ การจ้างแรงงานผิดกฎหมาย ในการปฏิบัติตาม MOU ประเทศไทยและประเทศต้นทางเริ่ม ด้าเนินการในสองกระบวนการหลักคือ การพิสูจน์สัญชาติ ซึ่งประเทศต้นทางของแรงงาน ข้ามชาติ เตรียมเอกสารเดินทางส้าหรับผู้ที่อยู่ในประเทศไทย และกระบวนการ จ้างงานภายใต้ MOU ซึ่งประเทศต้นทางจะมีกระบวนการในการจ้าง แรงงานข้ามชาติ กลุ่มใหม่ที่เดินทาง เข้าสู่ไทยอย่างถูกกฎหมาย หากประสบความส้าเร็จ กระบวนการภายใต้MOU จะก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงรูปแบบการย้ายถิ่นของผู้คนในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะเกิดความล้มเหลวในการด้าเนินงานตาม MOU แต่ประเทศไทยยังคงพยายามเป็นอย่างยิ่งในการด้าเนินตามกระบวนการนี้ต่อไป และในส่วนของนโยบายการขึ้นทะเบียนชั่วคราวนั้นก็ยังปฏิบัติอยู่ กระบวนการขึ้นทะเบียน นั้นได้ท้าพยายามท้าให้แรงงานข้ามชาติมีส่วนร่วมกับกระบวนการ MOU34


การเข้าร่วมกระบวนการ MOU นั้นค่อนข้างซับซ้อน มีราคาแพงและใช้เวลานานส้าหรับทุกขั้นตอน การที่ แรงงานข้ามจะ ได้รับใบอนุญาตท้างาน พวกเขาจะต้อง เริ่มจากการ เข้าสู่กระบวนการพิสูจน์สัญชาติเพื่อใช้ประกอบการท้าบัตรประจ้าตัวถาวรหรือหนังสือเดินทางหรือการประกันสุขภาพ แต่ละขั้นตอนนั้นมีค่าใช้จ่าย และค่าใช้จ่ายในการ จัดการด้านเอกสาร การเดินทางและค่าเสียเวลาจากการท้างาน ส่วนใหญ่นายจ้างและแรงงาน ข้ามชาติใช้บริการของบริษัทเอกชนในการด้าเนินการ ซึ่งเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายมากขึ้น ในเวลาเดียวกัน พรบ.การท้างานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 ได้แนะน้าการจัดเก็บภาษีจากนายจ้างที่มีการจ้างแรงงานข้ามชาติ (มาตรา 8 ) ส่งผลให้หลายกรณีเกิดการหักค่าจ้างโดยนายจ้าง เพื่อน้าไปจ่ายภาษี แรงงานข้ามชาติจากพม่ากลัวที่จะถูกหักค่าแรงจากการเข้าร่วมในการพิสูจน์สัญชาติ บางส่วนกลัวว่าจะไม่ได้รับการพิสูจน์สัญชาติ ผลกระทบของการออกมายอมรับว่าเป็นผู้ที่ออกจากประเทศโดยผิดกฎหมาย ครอบครัวของพวกเขาจะถูกหักภาษีและชื่อของพวกเขาจะถูกน้าไปใช้ในการลงคะแนนเสียงโดยที่ตนเองไม่ได้เข้าร่วม ส้าหรับแรงงานที่ขึ้นทะเบียนในประเทศไทย มีเวลา มีเงินและนายจ้างยินดีในการขึ้นทะเบียน หลายครั้งที่การขาดการจัดการที่ดีของประเทศต้นทางท้าให้เกิดเป็นความล่าช้าอย่างมาก ปัจจัยเหล่านี้คืออุปสรรคที่เกิดขึ้นในกระบวนการขึ้นทะเบียนภายใต้ MOUตารางที่3. จ านวนของแรงงานข้ามชาติที่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติชาวพม่า* 500,263ชาวกัมพูชา** 67,238ชาวลาว** 44,780แหล่งข้อมูล: IOM, Migrant Information Note, Issue 16, 08/2012. http://www.burmalibrary.org/docs13/IOM-Migrant_Info_Note_No_16-en.pdf asdf (ใช้ข้อมูลเมื่อ: 01/11/2012)* ตั้งแต่เดือน มีนาคม 2555** ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2555นโยบายเกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติทั้งหมดส่งผลต่อความไม่ปลอดภัยของแรงงานและ เป็นเพียงการจด ทะเบียนอนุญาตแบบชั่วคราว นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 แรงงานข้ามชาติที่เข้าสู่ประเทศไทยภายใต้กระบวนการ MOU ได้รับอนุญาตให้ท้างาน 2 ปี และต่อ อายุได้อีก 2 ปี แต่หลังจากนั้นแรงงานข้ามชาติจะต้องเดินทางกลับไปยังประเทศต้นทางและไม่สามารถท้างานในประเทศไทยได้ เป็นเวลา 3 ปี ภายใต้ การขึ้นทะเบียน ที่ผ่านมา นั้นแรงงานข้ามชาติสามารถ ที่จะขึ้นทะเบียนได้เป็นระยะเวลาระหว่าง 3 เดือน ถึง 2 ปีแรงงานข้ามชาติที่ได้ จดทะเบียนตามมติค ณะรัฐมนตรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 นั้น ถูกปฏิเสธสิทธิเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายและต้องขึ้นตรงอยู่กับนายจ้างเพียงผู้เดียว แรงงานเหล่านี้จะต้องขออนุญาตจากเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นในการเดินทางออกนอกพื้นที่ที่ขึ้นทะเบียนไว้ เช่นเดียวกับความรุนแรงในด้านสิทธิมนุษยชน ความเข้มงวดในการเคลื่อนย้ายแรงงานท้าให้เกิดความไม่สมดุลของแรงงาน เนื่องจากพวกเขาไม่สามารถเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีความต้องการแรงงานได้ ส่วนใหญ่แล้ว แรงงานตามฤดูกาลต้องอยู่ในพื้นที่เมื่อฤดูกาลจบลง การมีจ้านวนแรงงานมากเกิน ส่งผลต่อการกดค่าแรงในบางพื้นที่ถ้าแรงงานต้องการเดินทางไปยังพื้นที่อื่นๆ ตัวอย่างเช่นเมื่อพวกเขามีสัญญาการ จ้างงานในพื้นที่งานอื่นหรือเมื่อพวกเขาต้องไปโรงพยาบาล กรณีการเสียชีวิตของแรงงานบนรถบรรทุกเนื่องจากการขาดอากาศหายใจและเนื่องจากการต้องหลบซ่อนตัวในการออกนอกพื้นที่เป็นผลโดยตรงมาจากความเข้มงวดในเรื่องของอิสรภาพในการเคลื่อนย้าย35


ในขณะ ที่โดยหลักการแล้ว แรงงานที่ขึ้นทะเบียนผ่านการพิสูจน์สัญชาติและผู้ที่เข้าประเทศผ่านช่องทางที่ถูกกฎหมายสามารถเดินทางได้อย่างเป็นอิสระในประเทศไทย ซึ่งความเข้มงวดในการเคลื่อนย้าย มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงแต่แรงงาน ข้ามชาติ ยังคง ถูกผูกติดอยู่กับนายจ้างเพียงคนเดียว นั่นย่อมหมายถึงตลาดการเคลื่อนย้ายแรงงานยังคงถูกควบคุมอย่างเข้มงวด อย่างไรก็ตาม ยังคงมีความห่วงกังวลต่อ หลักการ ของเสรีภาพ ในการเคลื่อนย้ายอาจถูก จ้ากัดอย่างเข้มงวดอีกครั้ง ดังเช่นในกรณีของอ. แม่สอด ซึ่งเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นได้ประกาศห้ามแรงงาน เคลื่อนย้าย เนื่องจากความกลัวในการที่แรงงานจะไปหางานที่ดีกว่าในพื้นที่อื่น ในท้ายที่สุด ครอบครัวของแรงงานกลับมีความเสี่ยงมากยิ่งกว่าตัวแรงงานเอง ภายใต้มติคระรัฐมนตรีได้ให้ผู้ที่อยู่ในอุปการะของแรงงานข้ามชาติสามารถเข้าเรียนในโรงเรียนไทยได้โดยไม่xxxvต้องค้านึงถึงสถานะทางกฎหมายภายใต้การขึ้นทะเบียน 10 ปีในความขัดแย้งกันนี้ กระบวนการ MOU ซึ่งไม่มีแนวทางจัดการส้าหรับผู้ติดตามแรงงานข้ามชาติ ก่อให้เกิดความห่วงกังวลต่อครอบครัวแรงงานข้ามชาติที่เป็นครอบครัวเดี่ยว เมื่อสมาชิกแต่ละคน มีสถานภาพทางกฎหมายที่แตกต่างกันในการอยู่ในประเทศไทย ย่อมส่งผลถึงความเป็นไปได้ในการถูกแยกออกจากกันเมื่อมีการบุกจับ และการส่งกลับกฎหมายว่าด้วยการจับรัฐธรรมนูญในปี พ.ศ. 2547 มาตรา 32 ได้ให้ความคุ้มครองในส่วนของการจับ การกักขัง โดยได้รับรองสิทธิเสรีภาพใน “ชีวิตและบุคคล” จากการทรมาน การทารุณกรรม ความรุนแรงและการท้าโทษที่ผิดปกติ นอกจากนี้ยังให้การจับกุม กักขัง สามารถท้าได้ภายใต้หมายศาลเท่านั้น และบุคคลมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อกล่าวหาการจับและยึดทรัพย์บุคคลที่ไม่ใช่พลเมืองได้รับการควบคุมภายใต้ พรบ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2552 พรบ.การท้างานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 และค้าสั่ง ต่างๆ ภายใต้พรบ.คนเข้าเมืองระบุว่า ผู้ที่ไม่ใช่พลเมือง คือ ผู้ที่ไม่มีถิ่นที่อยู่หรือไม่มีเอกสารในการระบุได้ว่าเข้าเมืองโดยถูกกฎหมาย (มาตรา 58) ผู้ที่ไม่มีสถานะของการเข้าท้างานอย่า งถูกกฎหมายหรือต้องสงสัยว่าผิดกฎหมายสามารถถูกจับ กักขัง หรือส่งกลับได้โดยเจ้าหน้า ที่ (มาตรา 29) พรบ.การท้างานของคนต่างด้าว พ.ศ.2551 ได้ระบุว่าเจ้าหน้าที่สามารถจับแรงงาน ข้ามชาติ ที่ไม่มีใบอนุญาตท้างานเมื่อเจ้าหน้าสั่งให้แรงงาน ข้ามชาติ ผู้นั้นรายงานตัวต่อสถานีต้ารวจ แล้วแรงงานข้ามชาติผู้นั้นต่อสู้หรือพยายามหลบหนี ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ไม่มีหมายศาล (มาตรา50) พรบ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ได้อนุญาตให้ด้าเนินการได้ ภายใต้เงื่อนไขที่เชื่อได้ว่าเป็นการค้ามนุษย์ซึ่งหากด้าเนินการล่าช้าจะส่งผลต่อการท้าลายหลักฐานหรือท้าร้ายเ หยื่อ (มาตรา 27) ในกรณีการบุกจับโดยไม่มีหมายศาลในเวลากลางคืนนั้น จะต้องได้รับการรับรองจากเจ้าหน้าที่ระดับสูงอย่างน้อยคือ นายอ้าเภอหรือรองผู้ก้ากับการบุคคลมีสิทธิ ในการรับทราบข้อกล่าวหาและค่าใช้จ่ายในการประกันตัว (รัฐธรรมนูญ มาตรา 237 และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 84) ในขณะที่ถูกคุมขังภายใต้การจับกุมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ผู้ถูกคุมขังมีสิทธิในการมีทนายและที่ปรึกษาส่วนตัว สามารถเข้าเยี่ยมได้และสามารถเข้ารับบริการทางการแพทย์ได้ในกรณีที่เกิดการเจ็บป่วย เจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมตัวมีหน้าที่ในการบอกถึงสิทธิที่ผู้ถูกควบคุมมีสิทธิได้รับ (วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 7 ทวิ)36


กฎหมายว่าด้วยการกักขัง xxxviแรงงานข้ามชาติมีสิทธิที่จะถูกกัก ขังได้ตามอ้านาจใน พรบ. คนเข้าเมือง มาตรา 19 และ 20 โดย “พนักงานเจ้าหน้าที่” มีสิทธิที่จะควบคุมตัวบุคคลที่ไม่ได้เป็นพลเมือง ได้ ในการกักตัวแต่ละครั้งไม่มีก้าหนดเวลาทางกฎหมายที่แน่นอน แม้ว่าจะมีช่วงเวลาอยู่ระหว่าง 48ชั่วโมง – 7 วัน แต่การกักตัวสามารถขยายเพิ่มขึ้นได้ 12 วัน ภายใต้ค้าสั่งของศาล(พรบ.คนเข้าเมือง พ.ศ 2522, มาตรา 19-20)อ้านาจในการจับหรือกัก ขัง ถูกเพิ่มโดยค้าสั่ง ส้านักนายกรัฐมนตรี เรื่องการปราบปราม จับกุม และ ด้าเนินคดีแรงงานข้ามชาติที่ท้างานโดยผิดกฎหมาย(ฉบับที่ 125/2553) ค้าสั่งดังกล่าวเป็นความร่วมมือพิเศษ ส้าหรับ การบังคับใช้กฎหมายคนเข้าเมืองระหว่างกระทรวงแรงงา น กระทรวงมหาดไทย ส้านักงานต้ารวจแห่งชาติ กองทัพบก และกองทัพ เรือ ความร่วมมือระหว่างต้ารวจและทหารในการจับกุมและควบคุมตัวแรงงานข้ามชาติที่ยังขาดความโปร่งใสในการปฏิบัติการและน้าไปสู่ความห่วงกังวลเกี่ยวกับการ ปฏิบัติต่อ แรงงานข้ามชาติที่อยู่ในสถานกักขังสิ่งที่รบกวน ในช่วงเวลาของการขึ้นทะเบียนคือ การกวาดล้างแรงงานที่ไม่มีเอกสาร ตัวอย่างเช่น ในเดือนเมษายนพ.ศ. 2553 มีการประกาศว่าจะไม่มีการขึ้นทะเบียนและช่วงเวลาของการ จัดการต่อแรงงานข้ามชาติแบบไม่เป็นมิตรก็เริ่มขึ้นไม่ว่าจะเป็นการประกาศกวาดล้างแรงงานข้ามชาติที่เกิดขึ้นจ้านวนมาก และ การแนวทางปฏิบัติในการกักขังคนเข้าเมืองแนวทางการปฏิบัติใหม่ในมาตรฐานศูนย์กักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง พ.ศ.2553ตามค้าสั่ง 148/2553 โดยปรับปรุงขึ้นตามหลักการของรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 เกี่ยวกับสิทธิและศักดิ์ศรีของบุคคล แนวทางปฏิบัตินี้ชี้แจงอ้านาจของเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองและการกักขังตัวผู้ย้ายถิ่นภายใต้พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง 2522 (มาตรา54 และ 55) มีใจความส้าคัญดังนี้มาตรา 1: เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองจะต้องแจ้งให้ผู้ถูกควบคุมตัวจากสิทธิตามกฎหมายของพวกเขาและให้บริการแปลภาษาในกรณีที่จ้าเป็นมาตรา 2: (2.1) ผู้ถูกกักขังหญิงและชายจะต้องถูกแยกที่พัก (2.3) ผู้ถูกกักขังจะต้องแยกตามสัญชาติและศาสนาเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งและความไม่สงบ(2.4) ผู้ถูกกักขังจะต้องถูกคัดกรองความเจ็บป่วยทางจิตและโรคติดต่อและแยกตามนั้น. (2.5) เด็กจะต้องได้รับการคัดแยกและกักขังต่างหากจากผู้ใหญ่และมีการติดต่อองค์กรที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ความช่วยเหลือพวกเขามาตรา 4: ผู้ถูกกักขังมีสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลและบริการไปรษณีย์มาตรา 5: คู่มือการใช้งานส้าหรับการแนะน้าให้กับผู้ถูกควบคุมตัวใหม่ (สิทธิทางกฎหมายรวมทั้งสิทธิในการยื่นข้อร้องเรียน) ต้องได้รับการพัฒนา.มาตรา 9 และ 10: สุขาภิบาลและมาตรฐานโภชนาการ (เช่นต้องมีการเตรียมอาหารที่ได้มาตรฐานและตรงความต้องการทางศาสนา)มาตรา 12: กลไกการร้องเรียน–ผู้ถูกกักขังมีสิทธิในการเข้าถึงผู้บังคับบัญชา /ผู้อ้านวยการสถานกักขังเพื่อยื่นข้อร้องเรียนของพวกเขา; เจ้าหน้าที่ควรแจ้งให้ทราบถึงการตอบสนองต่อการร้องเรียนของพวกเขา ผู้ถูกกักขังสามารถติดต่อทนายความหรือตัวแทนได้มาตรา 16: ในประเด็นการคุ้มครองรวมถึงการเข้าถึงสถานทูตและส่งรายงานไปยังNHRCมาตรา 17: สิทธิในการจดทะเบียนแต่งงาน (สิทธิที่จะยื่นค้าขอต่อเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองที่จะติดต่อกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจดทะเบียนแต่งงาน)มาตรา 23: การป้องกันการละเมิดทางเพศ (เช่นการแยกหญิง ชาย และการติดตั้งกล้องวงจรปิด)กล่องข้อควำม 8ส่งกลับ xxxvii ที่ จ.ระนอง มีการปฏิบัติโดยเฉพาะต่อแรงงานข้ามชาติที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียน ราวกับเป็นอาชญากร ซึ่งในปีพ.ศ.2553 ได้มีการใช้ทหารติดอาวุธมาเป็นผู้คุมแรงงานข้ามชาติเหล่านั้น xxxviii37


เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553 มีประกาศจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจปราบปราบ จับกุม และด้าเนินคดีแรงงานต่างด้าว ลักลอบท้างานซึ่งเป็นศูนย์ในระดับชาติxxxix และนอกจากการใช้ถ้อยค้าที่แข็งกร้าว แล้ว ศูนย์ฯยังได้ท้าการด้าเนินการสืบสวนและเอาผิดกับนายจ้างของแรงงานข้ามชาติที่ท้าผิดกฎหมายด้วย xlในส่วนของการลงโทษผู้ที่ฝ่าฝืนการขึ้นทะเบียนตามกฎหมายคนเข้าเมืองนั้น ในกรณีที่ผ่านกระบวนการของศาลพรบ.การท้างานของคนต่างด้าว ระบุว่า แรงงานข้ามชาติที่ผิดกฎหมายจะถูกจ้าคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 2 ,000-10,000บาท นอกจากนี้ หากแรงงานต้องการกลับไปยังประเทศต้นทาง กระบวนการกักขังจะได้รับการระงับ (มาตรา 51) พรบ.คนเข้าเมืองได้ระบุว่าเมื่อมี ค้าสั่งให้ส่งกลับผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองของ รัฐ กระบวนการกักขังไม่จ้าเป็นที่จะต้อง น้ามาใช้ ผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองเหล่านั้นสามารถที่จะถูกสั่งให้อยู่ในพื้นที่ เฉพาะ หรือสามารถประกัน ตัวแต่ต้อง มารายงานต่อเจ้าหน้าที่ ตามระยะเวลาและสถานที่ ที่ก้าหนด อย่างไรก็ตาม เจ้าหน้าที่สามารถที่จะตัดสินใจกักขังผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองเหล่านั้น “ในพื้นที่ใดๆเมื่อมีความจ้าเป็น” (มาตรา 54) ที่ส้าคัญคือ พรบ.คนเข้าเมืองระบุว่า “ค่าใช้จ่ายของการกักขังจะ ถูกเรียกเก็บจาก บุคคลต่างด้าวนั้นๆ” (มาตรา 54)ภายใต้พรบ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ บุคคลที่ต้องสงสัยว่าเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์จะ อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของเจ้าหน้าที่เพื่อให้ สามารถชี้แจงข้อเท็จจริง ในกรณีของพวกเขา เบื้องต้นระยะเวลาในการควบคุมดู แล คือ24 ชั่วโมง และสามารถขยายได้ถึง 7 วันโดยไม่ต้องรอค้าสั่งศาล การคุ้มครองบุคคลผู้เชื่อว่าเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์จะถูกคุมตัวใน “สถานที่ที่เหมาะสม ซึ่งไม่ใช่สถานกักขังหรือห้องขัง” โดยค้านึงถึง “หลักการสิทธิมนุษยชน” (มาตรา 29)ในรายงานของ UNHCR พ.ศ. 2547 รัฐบาลไทยระบุ ว่า ได้ด้าเนินนโยบายการจ้าแนกผู้ถูกกักขัง ตามทางเพศ อายุและสถานภาพความผิด โดยผู้หญิง ผู้ชาย และเด็ก ถูกแยกออกจากกัน เช่นเดียวกับผู้ถูกกักขังที่รอการพิจารณาคดีและผู้ที่ถูกตัดสินคดีแล้ว รายงานระบุว่า ความแออัดในห้องขังท้าให้ระบบการจ้าแนกมีความยากล้าบาก xli นอกจากนี้ ในรายงานยังระบุด้วยว่า ในการกักขังนั้นมีการจัดเตรียมอาหารให้ผู้ถูกกักขังสามมื้อต่อวันและมี “มื้อพิเศษ”ในกรณีที่ผู้ถูกกักขังป่วยและเพื่อให้มั่นใจเรื่องสุขภาพและสุขลักษณะ นักโทษสามารถเข้าถึงห้องอาบน้าที่สะอาดและบริการห้องส้วม ตลอดจนชุดของผู้ต้องขังได้รับการซักทุกวัน นอกจากนี้ในส่วนของบริการทางการแพทย์จะมีการจัดเตรียมแพทย์และจิตแพทย์เพื่อให้บริการผู้ที่ถูกกักขัง กระนั้น จากรายงานของรัฐบาลมีการบันทึกว่าผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์มี “ไม่เพียงพอ” xliiกฎหมายว่าด้วยการส่งกลับการบังคับส่งกลับจากประเทศไทยอยู่ภายใต้พรบ.คนเข้าเมืองและพรบ.การเนรเทศ พ.ศ. 2499 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2521 ซึ่งพระราชบัญญัติทั้งสองนี้มี ความแตกต่างกันที่เป้าหมาย กล่าวคือ ภายใต้พรบ.การเนรเทศ การส่งกลับสามารถท้าได้ตามความเหมาะสม คือ “เพื่อประโยชน์สุขของส่วนรวมหรือตามจริยธรรม” (พรบ.การเนรเทศ มาตรา 54) และเมื่อท้าการส่งกลับแล้วผู้ถูกส่งกลับไม่สามารถกลับมาอีกได้ ในทางกลับกัน พรบ.คนเข้าเมืองถูกใช้กับผู้ที่ไม่มีสัญชาติไทยที่อยู่เกินกว่าเวลาที่ก้าหนด การส่งกลับพวกเขาผ่าน พรบ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 มาตรา 55 (1) ซึ่งพวกเขาสามารถจะกลับเข้าประเทศได้อีกครั้งหากขอวีซ่าได้ ดังนั้นการส่งกลับแรงงาน ข้ามชาติชาวพม่า ลาว และกัมพูชา โดยรัฐ จึงด้าเนินการภายใต้พรบ.คนเข้าเมืองไม่ใช่ พรบ.การเนรเทศ ซึ่งมีผลบังคับใช้กับผู้ที่ไม่ได้เป็นพลเมืองของประเทศที่เข้าสู่ประเทศไทย “โดยไม่ได้รับอนุญาตหรือได้รับอนุญาตแต่หมดอายุหรือถูกเพิกถอน ” (พรบ.คนเข้าเมือง มาตรา 54) การส่งกลับนั้นสามารถใช้วิธีการใดๆก็ตามที่ “เหมาะสม” ภายใต้การตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ ซึ่งหากผู้ถูกส่งกลับต้องการใช้เส้นทางอื่น พวกเขา38


สามารถท้าได้โดยจ่ายค่าใช้จ่ายนั้นๆเอง (พรบ.คนเข้าเมือง มาตรา 55) ค่าใช้จ่ายในการส่งกลับ ยังมีความไม่ชัดเจน ภายใต้กฎหมาย โดยมาตรา 55 แห่งพรบ.คนเข้าเมืองระบุว่า ค่าใช้จ่าย ในการส่งกลับนั้นเบื้องต้น จะรับผิดชอบโดย “เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะที่น้าคนต่างด้าวเข้ามาในราชอาณาจักร” หากไม่ปรากฎตัวบุคคล นั้นๆ ผู้ถูกส่งกลับ “ต้องจ่ายค่าส่งกลับ” ขณะเดียวกัน พรบ. การท้างานของคน ต่างด้าว พ.ศ. 2551 ได้ตั้งกองทุนการส่งกลับ (มาตรา 31) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการส่งกลับแรงงานจากประเทศไทย (พรบ.คนเข้าเมือง มาตรา 20) เรียกร้องให้แรงงาน ข้ามชาติจ่ายค่าใช้จ่ายส้าหรับการส่งกลับตามข้อตกลงใน MOU กับประเทศพม่า กัมพูชาและลาว ซึ่งระบุให้แรงงานข้ามชาติต้องหักเงินทันทีจากค่าแรง เพื่อเข้าสมทบกองทุนโดยมีการกล่าวถึงในประเด็นนี้ว่าเป็น “การบังคับเก็บเงิน” ซึ่งผิดกฎหมายไทยและการจ่ายเงินเข้ากองทุนนี้สามารถผ่อนผันได้ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 xliiiพรบ.ป้องกันและปราบปรามการการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 ถือว่าผู้ที่เป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์ควรได้รับการส่งกลับไปยังประเทศ ที่พวกเขา “มีถิ่นที่หรือภูมิล้าเนา อยู่โดยไม่รอช้า” เว้นแต่พวกเขาจะได้รับ อนุญาตในการมีถิ่นที่อยู่ถาวรตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองหรือได้รับการอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (มาตรา38) ข้อขัดแย้งนี้ได้รับการแก้ไขโดยมติคณะรัฐมนตรีที่ผ่านมาเมื่อ วันที่ 4 พฤษภาคมพ.ศ. 2553 โดยการเรียกร้องให้มีการพัฒนาแนวทางการปฏิบัติในการอยู่อาศัยชั่วคราวและการท้างานของเหยื่อจากการค้ามนุษย์การกวาดล้างผู้ลี้ภัยออกจากชายแดนผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาการลี้ภัยจะได้รับการปฏิบัติในรูปแบบเฉพาะกิจเนื่องจากการไม่มีกฎหมายผู้อพยพและไม่มีระบบการคัดกรองการระบุตัวตนของพวกเขา ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2547 รัฐบาลไทยได้หยุดการอนุญาตให้ UNHCRสัมภาษณ์สถานภาพของผู้ลี้ภัยชาวพม่าและเป็นการปฏิเสธการคัดกรองผู้ที่มาใหม่จ้านวนมากนับแต่นั้น ผู้อพยพชาวพม่าปัจจุบันสามารถเลือกระหว่างการอยู่ในค่ายแต่ไม่สามารถท้างานได้ หรือการออกไปเป็นแรงงานข้ามชาติผิดกฎหมาย ในการละเมิดภาระผูกพันสิทธิมนุษยชนภายใต้ อนุสัญญา CAT และ ICCPR ซึ่งเป็นจารีตทางกฎหมายระหว่างประเทศบนหลักการของการไม่บังคับส่งกลับ ผู้อพยพจะถูกส่งกลับในการกวาดล้างปริมาณมาก เช่นเดียวกับผู้ลี้ภัยชาวม้งในปี พ.ศ. 2552 หรือสามารถกวาดไปเป็นแรงงานข้ามชาติที่ “ผิดกฎหมาย ” และส่งออกนอกประเทศเนื่องจากการขาดของขั้นตอนการคัดกรองกล่องข้อควำม 9กลุ่มที่ท้างานเพื่อการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย ได้เรียกร้องให้เหยื่อจากการค้ามนุษย์สามารถเข้าถึง สถานภาพทางกฎหมายเช่นเดียวกับแรงงานข้ามชาติอื่นๆ และพวกเขาควรจะได้ รับหนังสือเดินทางชั่วคราว และสิทธิในการท้างาน ในภาคส่วนต่างๆเช่นเดียวกับแรงงานข้ามชาติอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ระเบียบที่ออกโดยกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2553 ได้อนุญาตให้เหยื่อจากการค้ามนุษย์สามารถอยู่ในประเทศไทยได้ระหว่างรอการด้าเนินการทางกฎหมาย การรักษา หรือการบ้าบัด โดยมีระยะเวลาไม่เกินหกเดือน และพวกเขาสามารถขอใบอนุญาตท้างาน ส้าหรับงานรับใช้ใ นบ้านหรือและงานกรรมกร xliv ในรายงานเรื่อง ชนแล้วหนี โดยมูลนิธิส่งเสริมศักยภาพผู้หญิง ระบุหนึ่งในผลกระทบหลักจากพรบ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ คือ แรงงานข้ามชาติที่อยู่ในภาคบริการจะถูกลงโทษ โดยกฎหมายหลายฉบับ แรงงาน ข้ามชาติในภาคบริการส่วนใหญ่มีอายุเกิน 18 ปีจะถูกจับโดยการบุกจับภายใต้ พรบ.ปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. 2539 พรบ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522 และพรบ.การท้างานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 งานศึกษายังได้ ระบุถึงปัญหาในทางปฏิบัติจากกฎหมายในการระบุตัวผู้ที่เป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์ ผู้ที่เป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์อาจ ไม่ได้รับการสนับสนุน ตามความต้องการและ การถูกบังคับกักขังอย่างเกินความจ้าเป็น ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 3 เดือนถึง 2 ปี ข้อจ้ากัดเหล่านี้ บ่อยครั้งเป็นผลจากความจ้ากัดในการประสาน ร่วมระหว่างประเทศไทยและประเทศต้นทางของแรงงานข้ามชาติ ตลอดจน ทัศนคติเกี่ยวกับการลงโทษแรงงานในภาคการบริการทางเพศของเจ้าหน้าที่รัฐ xlv39


ส่วนที่ 2 : ประสบการณ์ของแรงงานข้ามชาติการจับถึงแม้ว่าจะมีความก้าวหน้าบางส่วนใหนการขึ้นทะเบียนแรงงานข้ามชาติภายใต้กระบวนการ MOU (ดูกล่องข้อความที่ 1) แต่แรงงานข้ามชาติส่วนใหญ่ยังคงเดินทางเข้าสู่ประเทศไทยอย่างผิดกฎหมายและบ่อยครั้งที่ไม่มีเอกสารใดๆซึ่งส่วนความยุ่งยากซับซ้อนในการเข้าร่วมในการพิสูจน์สัญชาติหากพวกเขาพยายามที่จะจดทะเบียนสถานภาพของพวกเขา การเป็นแรงงาน ข้ามชาติ ที่ไม่มีเอกสารใดๆส่งผลให้พวกเขาถูกจับ กักขังและส่งกลับ สืบเนื่องจากการ เข้าเมืองผิดกฎหมาย และปกติแล้วพวกเขาจะถูกลงโทษเมื่อกลับเข้าประเทศของต น ในฐานะที่ออกและกลับเข้าประเทศอย่างผิดกฎหมายแรงงานที่ร่วมแบ่งปันประสบการณ์การจับ กักขัง และส่งกลับในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2554-2555 ทีมวิจัยของ เครือข่ายฯ ได้ท้าการสัมภาษณ์แรงงานข้ามชาติ 212 ราย ซึ่ง มีประสบการณ์การถูกจับ กักขังและส่งกลับ นับตั้งแต่ช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา ซึ่งจากทั้งหมด 212 รายนี้ มี203 รายได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการถูกจับ (แม้ว่าในทางปฏิบัติแล้วทั้ง 212 รายถือได้ว่าเป็นผู้ที่เคยถูกจับทุกคน) ในจ้านวนนี้148 รายผ่านประสบการณ์การถูกกักขัง และ 121 ราย ผ่านประสบการณ์การถูกส่งกลับ (ดูตารางที่ 4) แรงงานข้ามชาติผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ถูกจับ กักขังและส่งกลับ 1 ครั้ง อย่างไรก็ตาม มีบางส่วนเช่นกันที่รายงานว่าถูกจับ 2 ครั้ง (30 ราย) ถูกกักขัง 2 ครั้ง (20 ราย) ถูกส่งกลับประเทศ 2 ครั้ง(10ราย) และบางรายผ่านประสบการณ์ เหล่านี้มามากกว่า 2 ครั้ง และยังพบว่ามีการให้ข้อมูลประสบการณ์ การถูกจับ มากกว่าการกักขัง หรือ การส่งกลับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า บ่อยครั้งพวกเขาถูกปล่อยตัวในขั้นตอนดังกล่าว (ดูตารางที่ 5)กรณีการจับ กักขัง และส่งกลับที่ได้รับรายงาน จ านวนกรณีจับกุม 203กักขัง 148ส่งกลับประเทศ 91ตารางที่4. แหล่งข้อมูล: MMNเพิ่มเติม: แต่ละบุคคลอาจถูกจับ กักขัง หรือส่งกลับมากกว่าหนึ่งครั้ง และอาจไม่ได้เข้าสู่ทั้งสามกระบวนการ ตัวอย่างเช่น คนคนหนึ่งอาจถูกจับและกักขังแต่ไม่ได้ถูกส่งตัวกลับประเทศ40


จ านวนครั้งของการถูกจับถูกกักขังและถูกส่งกลับการจับ การกักขัง การส่งกลับจ านวนแรงงาน ร้อยละ จ านวนแรงงาน ร้อยละ จ านวนแรงงาน ร้อยละ0 7* 3.3 64 30.2 120 56.61 153 72.2 104 49.1 72 34.02 30 14.2 20 9.4 10 4.73 10 4.7 3 1.4 0 0.04 6 2.8 4 1.9 2 0.95 1 0.5 0 0.0 0 0.0มากกว่า 5 1 0.5 0 0.0 0 0.0ไม่ตอบ 4 1.9 17 8.0 8 3.8รวม 212 100.0 212 100.0 212 100.0ตารางที่ 5. แหล่งข้อมูล: MMNเพิ่มเติม: ตามการนับของแรงงานข้ามชาติเอง สามารถสมมติได้ว่าคนที่ถูกกักขังหรือส่งกลับประเทศได้ถูกจับกุมในขั้นต้นประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ร่วมแบ่งปันประสบการณ์ในครั้งนี้เป็นชาย และอีกครึ่งเป็นผู้หญิง มีเพียงหนึ่งรายที่ ระบุว่าตนเองเป็นเพศที่สาม (ดูตารางที่ 6) ส่วนใหญ่แล้วผู้เข้าร่วมการศึกษาอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 21-50 ปี (ร้อยละ 84.9 ของทั้งหมด) มี เพียงไม่มากที่อยู่ในกลุ่มที่อายุน้อยกว่าหรือมากกว่า (ดูตารางที่ 7) ผู้เข้าร่วมการศึกษา ส่วนใหญ่ให้ข้อมูลว่าตนมาจากประเทศพม่า (ร้อยละ67.5) ในจ้านวนนี้ส่วนหนึ่งระบุว่าตนเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ในพม่า เช่น ไทใหญ่ อาข่า เป็นต้น แรงงานที่เหลือมาจาก ประเทศลาว และประเทศกัมพูชาในจ้านวนที่ใกล้เคียงกัน (ดูตารางที่ 8)เพศ จ านวน ร้อยละชาย 108 50.9หญิง 101 47.6อื่นๆ(เพศที่สาม) 1 0.5ไม่ตอบ 2 0.9รวม 212 100.0ตารางที่ 6. แหล่งข้อมูล: MMNอายุ จ านวน ร้อยละ0-15 1 0.516-20 27 12.721-50 180 84.951-60 3 1.4ไม่ตอบ 1 0.5รวม 212 100.0ประเทศต้นทาง จ านวน ร้อยละตารางที่ 7. แหล่งข้อมูล: MMN ตารางที่8. แหล่งข้อมูล: MMNพม่า 143 67.5กัมพูชา 34 16.0ลาว 35 16.5รวม 212 100.041


ผู้เข้าร่วม การศึกษามีเอกสารแสดงสถานภาพแตกต่างกัน กล่าวคือ เกือบครึ่งหนึ่งไม่มีเอกสารใดๆเลย (ร้อยละ 47.2) 1 ใน5 มีใบอนุญาตท้างาน ในขณะที่เพียงจ้านวนน้อยที่ มีหนังสือเดินทางชั่วคราวและ บัตรประจ้าตัว ประชาชนแบบต่างๆ ซึ่งรูปแบบความหลากหลายของเอกสารเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความซับซ้อนของกระบวนการขึ้นทะเบียนที่แรงงานต้องเผชิญ (ดูตารางที่ 9)ประเภทเอกสารแสดงสถานภาพ จ านวน ร้อยละทร. 38/1 26 12.3หนังสือเดินทางชั่วคราว 18 8.5ใบอนุญาตท้างาน 36 17.0ไม่มีเอกสารใดๆ 105 49.5บัตรประจ้าตัวประชาชน (ไม่ใช่บัตรประชาชนของไทย) 10 4.7อื่นๆ 10 4.7ไม่ตอบ 7 3.3รวม 212 100.0ตารางที่ 9. แหล่งข้อมูล: MMNข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเอกสารประเภทต่างๆ : *ทร38/1 เป็นแบบฟอร์มทางทะเบียนราษฎรที่ออกให้เป็น พิเศษส้าหรับอนุญาตแรงงานข้ามชาติในการอาศัยในประเทศไทยเป็นการชั่วคราว โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ตามมาตรา 38 พรบ.การทะเบียนราษฎร (ฉบับที่2) พ.ศ. 2551**บัตรประจ้าตัวผู้ไม่มีสัญชาติไทย คือ ภายใต้ค้าสั่งของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ตามมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการตรวจคนเข้าเมือง พ.ศ. 2547 ได้ออกระเบียบการใช้บัตรประจ้าตัวส้าหรับผู้ไม่มีสัญชาติไทย ตามรูปแบบการจัดจ้าแนกกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทยพ.ศ. 2532 ระเบียบดังกล่าวอนุญาตให้สามารถอยู่อาศัยในไทยได้ส้าหรับ ผู้ที่อยู่ในประเทศไทยซึ่งบางส่วนเกิดบนแผ่นดินไทย โดยกระทรวงมหาดไทยได้เริ่มใช้บัตรประจ้าซึ่งมีเลข 13 ส้าหรับกลุ่มชาติพันธุ์ ผู้มีอายุมากกว่า 12 ปี ส้าหรับผู้ที่เกิดนอกประเทศไทย เลขประจ้าตัวจะขึ้นต้นด้วยเลข 6 ในขณะที่ลูกหลานของพวกเขาที่เกิดบนแผ่นดินไทยจะมีเลขประจ้าตัวขึ้นต้นด้วยเลข 7 โดยบัตรประจ้าตัวนี้มีอายุการใช้งานครั้งละ 10 ปี ตามระเบียบส้านักบริหารการทะเบียนกลาง พ.ศ.2551ที่มา: Jerrold W. Huguet, ApichatChamratrithirong, ‘Thailand <strong>Migration</strong> Report 2011 <strong>Migration</strong> for development in Thailand: Overviewand tools for policymakers’, International Organization for <strong>Migration</strong>, 2011, p.65.แรงงานข้ามชาติท้างานอยู่ใน ภาคอุตสาหกรรม ที่แตกต่างหลากหลาย ส่วนใหญ่ท้างานอยู่ในภาคบริการ (ร้อยละ26.4) ตัวอย่างเช่น ร้านนวด ร้านคาราโอเกะ ร้านอาหาร และงานบริการทางเพศ เป็นต้น ส่วนประเภทงาน อื่นๆที่ส้าคัญได้แก่ ภาค ก่อสร้าง (ร้อยละ 17.9) และ ภาคประมง (ร้อยละ 10.4) ส้าหรับประเภทงาน “ อื่นๆ” นั้นรวมถึง ประเภทงาน ที่หลากหลาย เช่น โรงฆ่าสัตว์ งานช่าง งานแม่บ้าน (ดูตารางที่ 10) แรงงานข้ามชาติมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมากต่อเศรษฐกิจของประเทศ (รายละเอียดเพิ่มเติมในภาคผนวกที่ 1)ประเภทงาน จ านวน ร้อยละ1. เกษตรกรรม 17 8.02. ก่อสร้าง 38 17.93. โรงงาน 13 6.142


4. ประมงและอุตสาหกรรมต่อเนื่องการประมง 22 10.45. แรงงานภาคบริการ 56 26.46. ค้าขาย 9 4.27. แรงงานรับจ้างรายวัน 18 8.58. งานรับใช้ในบ้าน 4 1.99. ว่างงาน 5 2.410. อื่นๆ 30 14.2รวม 212 100.0ตารางที่ 10. แหล่งข้อมูล: MMNผิดที่ ผิดเวลา...แรงงานข้ามชาติ อยู่ภายใต้การ ถูกคุกคามด้วยการ จับอยู่ตลอดเวลา การคุกคามดังกล่าวส่งผลย่างมากต่อการสูญเสียทางด้านจิตใจ จากผู้เข้าร่วมการศึกษา 203 คนที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการถูกจับ ร้อยละ 31 ถูกจับขระที่อยู่ที่สถานที่ท้างานและร้อยละ 22 ถูกจับที่บ้านพักของพวกเขา แรงงานข้ามชาติจ้ารวนมากได้รายงานถึงการถูกจับระหว่างที่พวกเขาเดินทาง จากที่พักไปยังที่ท้างาน ในช่วงเทศกาล เช่น เทศกาลสงกรานต์ (เทศกาล ปีใหม่ไทย) หรือแม้แต่ระหว่างการ เดินทาง ไปท้าเอกสารใหม่ กว่าร้อยละ 50 ถูกจับและมีระบุว่าเป็นการบุกจับ ซึ่งหมายความว่า สถานการณ์ของการเข้าจับกุมนั้นค่อนข้างตึงเครียด ซึ่งในการบุกจับนั้น แรงงาน ข้ามชาติที่มีเอกสารการขึ้นทะเบียนก็มีความเสี่ยงที่จะ ถูกจับกุม รวมอยู่ในการด้าเนินการแบบเหวี่ยงแหนี้ด้วยเช่นกัน“ ผมเปลือยท่อนบน ไม่ได้ใส่เสื้อตอนที่ต้ำรวจเข้ำบุกจับ ผมไม่ได้รับอนุญำตไม่แม้แต่จะใส่เสื้อหลังจำกที่ถูกจับแล้ว ตอนที่เจ้ำหน้ำที่บุกจับ พวกเขำมำพร้อมกับต้ำรวจมำกมำยเพื่อจะได้จับแรงงำนข้ำมชำติมำกๆ”แรงงานประมงชาวกัมพูชา จังหวัดระยอง“ ในตอนที่ฉันก้ำลังฉลองเทศกำลสงกรำนต์อยู่นั้น ต้ำรวจได้เข้ำมำขอตรวจสอบเอกสำรของฉัน ต้ำรวจถำมฉันว่ำ”คุณมีบัตรหรือเอกสำรหรือไม่?” จำกนั้นฉันถูกสั่งให้ไปที่สถำนีต้ำรวจเพื่อจ่ำยค่ำปรับ ฉันจ่ำยเงินไป 2,000 บำท ส้ำหรับกำรถูกปล่อยตัว”แรงงานร้านนวดชาวอาข่า(พม่า) อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย“ฉันอยู่บนรถประจ้ำทำงไปเชียงใหม่ และต้ำรวจประจ้ำด่ำนตรวจอ.แม่จันเรียกให้รถหยุดเพื่อท้ำกำรตรวจเอกสำรของผู้โดยสำร ฉันถูกจับฉันถูกจับเพรำะไม่มีเอกสำรใดๆ และฉันจ่ำยเงิน 5,000 บำท ให้ต้ำรวจและหลังจำกนั้นฉันถูกพำตัวไปที่ด่ำนอ.แม่สำยและถูกส่งกลับพม่ำ”แรงงานร้านคาราโอเกะชาวไทใหญ่ (พม่า) อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย43


“ต้ำรวจเรียกให้ฉันหยุดเพื่อตรวจเอกสำรตอนที่ฉันก้ำลังเดินทำงไปท้ำงำน หลังจำกที่ต้ำรวจพบว่ำฉันไม่มีเอกสำรใดๆ(แม้แต่ ทร.38/1 หรือหนังสือเดินทำงชั่วครำว)พวกเขำเรียกให้ฉันจ่ำยเงิน 500 บำทส้ำหรับกำรถูกปล่อยตัว ฉันบอกพวกเขำว่ำมีเงินเพียง 100 บำท ดังนั้นต้ำรวจก็เอำเงิน 100 บำทนั้นและปล่อยตัวฉัน”แรงงานภาคเกษตรชาวพม่าอ้าเภอแม่สอด จังหวัดตากในขณะที่ยังมีการ ฝ่าฝืนกฎหมายไทยในการเป็นจ้างหรือลักลอบ ท้างาน ซึ่งจากการศึกษานี้ ใน ระหว่างการจับกุมสัดส่วนกรณีที่นายจ้าง (ร้อยละ 9.4) หรือนายหน้า (ร้อยละ 1.5 ) จะถูกจับในข้อหาร่วมกับแรงงานข้ามชาตินั้นพบว่ามีน้อยมาก ขณะที่กว่าร้อยละ 55 ของกรณีแรงงานถูกจับพร้อมกับผู้ย้ายถิ่นอื่นๆ เช่น สมาชิกครอบครัว เพื่อนร่วมงาน และเพื่อนแรงงานข้ามชาติที่ ได้ขึ้น ทะเบียนและ ถือใบ อนุญาตท้างาน ที่ไม่หมดอายุ ถูกเรียกร้องให้น้าบัตรนั้นติดตัวอยู่ตลอดเวลา บัตร ประจ้าตัวของ แรงงานข้ามชาติ นั้นมีสิทธิทางกฎหมายที่ค่อนข้างจ้ากัด ในขณะที่คนไทย จะเพียงถูกปรับหากไม่ได้พกบัตรประจ้าตัวประชาชน ติดตัว แต่แรงงานข้ามชาติ กลับเสียสถานภาพ ทางกฎหมาย ในประเทศไทยอย่างสมบูรณ์ทันทีที่ถูกจับโดยที่ไม่มีบัตรประจ้าตัวติดตัว ซึ่งน้าไปสู่การจับ กักขัง และส่งกลับ พวกเขาโดยตรง บัตรประจ้าตัวแรงงานข้ามชาติยังสามารถใช้งานได้เพียงในฐานะเอกสารการตรวจคนเข้าเมือง ที่เมื่อเจ้าหน้าที่ที่จับนั้นสามารถตรวจสอบได้แรงงานข้ามชาตินั้นท้างานให้กับนายจ้างที่ระบุในบัตรจริง และในประเทศงานและพื้นที่ท้างานที่ระบุตามบัตรเท่านั้น“ฉันและเพื่อนอีกสำมคนถูกจับตอนที่ก้ำลังดูโทรทัศน์อยู่ในบ้ำนของฉันในวันหยุด ต้ำรวจสองนำยเข้ำมำในห้องและถำมถึงเอกสำร เรำทั้งหมดน้ำเอกสำรให้เจ้ำหน้ำที่ต้ำรวจดูแต่พวกเขำยังพำเรำไปยังสถำนีต้ำรวจน้ำเค็ม บอกให้พวกเรำแจ้งนำยจ้ำงของเรำให้มำช่วยเอำตัวเรำออก เรำบอกนำยจ้ำง นำยจ้ำงมำเวลำประมำณหนึ่งทุ่ม และช่วยให้เรำเป็นอิสระ ถึงแม้ว่ำเรำจะมีเอกสำรแต่ต้ำรวจก็ยังจับเรำไปที่สถำนีต้ำรวจอยู่ดี แรงงำนข้ำมชำติจ้ำนวนมำกถูกจับทั้งที่มีเอกสำรติดตัวตลอดเวลำ”แรงงานก่อสร้างชาวพม่าที่มีหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดพังงา“ฉันถูกจับเพรำะมีคนแจ้งต้ำรวจว่ำฉันมีสิ่งผิดกฎหมำย หลังจำกต้ำรวจตรวจค้นตัวดูเอกสำรใบอนุญำตท้ำงำนและเอำเอกสำรเหล่ำนั้นของฉันไปก่อนจะพำตัวฉันไปสถำนีต้ำรวจ”แรงงานข้ามชาติ ที่มีใบอนุญาตท้างาน แม่สอด จังหวัดตาก“ต้ำรวจเรียกให้ฉันหยุดตอนที่ฉันกลับจำกตลำดนัดบ้ำนเนียง( เขำหลัก อ้ำเภอตะกั่วป่ำ) แม้ว่ำฉันจะแสดงเอกสำรใบอนุญำตท้ำงำนและอธิบำยให้ฟังถึงสถำนภำพที่ถูกต้องตำมกฎหมำยก็ตำม ฉันกลับถูกตบหน้ำโทษฐำนที่พูดเถียงเขำ ฉันถูกจับใส่รถต้ำรวจพร้อมกับอีกสี่คนที่ไม่มีเอกสำรใดๆ ซึ่งทั้งสี่คนก้ำลังจะเดินทำงไปที่ส้ำนักงำนตรวจคนเข้ำเมืองจังหวัดพังงำ โชคดีที่เจ้ำที่จำกส้ำนักงำนตรวจคนเข้ำเมืองจังหวัดพังงำ เป็นนำยจ้ำงเก่ำของฉัน ฉันอธิบำยให้เขำฟังถึงสิ่งที่เกิดขึ้น เขำโกรธมำกและอ้ำงว่ำเป็นควำมผิดของต้ำรวจผู้ติดตำม เขำให้นำยต้ำรวจนำยนั้นจ่ำยค่ำเดินทำงให้ฉัน 200 บำท ฉันถูกกักตัวอยู่หนึ่งคืนก่อนจะถูกปล่อยตัวในเช้ำวันต่อมำ ในขณะที่ถูกกักอยู่นั้นฉันได้รับอนุญำตให้อยู่ในสถำนกักขังโดยไม่มีกำรคุมตัว”แรงงานก่อสร้างชาวพม่า จังหวัดพังงา44


“เจ้ำหน้ำที่ต้ำรวจมำตรวจที่ร้ำนนวดที่ฉันท้ำงำนอยู่ พวกเขำถำมเจ้ำของร้ำนบำงอย่ำงก่อนจะมำถำมให้ฉันแสดงบัตรท้ำงำน พวกเขำบอกว่ำฉันท้ำงำนใน สถำนที่ที่ไม่ตรงกับในบัตร ซึ่งฉันจะต้องเสียค่ำปรับ 5 ,000บำท ฉันไม่มีเงินแต่เจ้ำของร้ำนให้ฉันยืม ตอนนี้ฉันต้องจ่ำยเงินคืนเจ้ำของร้ำนทุกอำทิตย์และฉันก็เป็นหนี้”แรงงานร้านนวดชาวอาข่า (พม่า)อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายจากการสัมภาษณ์แรงงานข้ามชาติในงานศึกษานี้ พบว่าร้อยละ 6.4 ที่ถูกจับนั้นเป็นผู้ที่ได้ขึ้นทะเบียนแล้วแต่ไม่ มีใบอนุญาตท้างานไว้กับตัว อย่างไรก็ตาม ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 58) ถูกจับเพราะไม่มีเอกสารใดๆเลย สัดส่วนที่ส้าคัญ (ร้อยละ16.3) ถูกจับเพราะพวกเขาท้างานในสถานที่ที่ไม่ตรงกับที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ในบัตร (ดูตารางที่ 11)เหตุผลในการจับกุม จ านวน ร้อยละไม่ได้จดทะเบียน (ไม่มีเอกสารเข้าเมืองตามกฎหมาย) 118 58.1จดทะเบียน แต่ใบอนุญาตท้างานหมดอายุ 3 1.5จดทะเบียน แต่ไม่มีใบอนุญาตท้างานไว้กับตัว 13 6.4จดทะเบียน แต่อยู่นอกพื้นที่จดทะเบียน 4 2.0ท้างานอยู่ในสถานที่ท้างาน แต่ผิดประเภทจากที่ได้จด33 16.3ทะเบียนไว้อื่นๆ 29 14.3ไม่ทราบ 3 1.5ตารางที่ 11. แหล่งข้อมูล: MMNความรู้คืออ านาจ....Total 203 100.0ภายใต้กฎหมายสากลและกฎหมายไทย บุคคลใดที่ถูกจับกุมมีสิทธิที่จะได้รับการแจ้งถึงสาเหตุของการจับกุมและแจ้งข้อกล่าวหาของพวกเขา แต่ในกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในงานศึกษาครั้งนี้พบว่าเพียงร้อยละ 46.3 ที่รับการแจ้งถึงสาเหตุของการจับกุมและสิ่งที่ก้าลังจะเกิดขึ้นกับพวกเขา หลังจากนั้น แต่ที่น่าสนใจคือ แรงงานข้ามชาติ ส่วนใหญ่ที่ได้รับการแจ้งข้อมูลแต่เป็นการแจ้งข้อมูลในภาษาที่พวกเขาไม่สามารถเข้าใจได้ทั้งหมด และร้อยละ 45.3 ที่ไม่ได้รับการแจ้งข้อกล่าวหาการ คัดกรองแรงงานข้ามชาติที่ถูกจับเป็นสิ่งส้าคัญเพื่อป้องกันการละเมิด ภายใต้กระบวนการยุติธรรม และเพื่อให้สามารถแน่ใจได้ว่ากลุ่มผู้ที่มีความเปราะบางจะได้รับการคุ้มครอง แ ม้ว่าประเทศไทยจะไม่มีกฎหมายหรือนโยบายในการปฏิบัติต่อผู้ลี้ภัยอย่างมีมนุษยธรรม ซึ่ง ผูกพันต่อการให้ความคุ้มครองในบาง รูปแบบ ในกฎหมายสากล โดยทั่วไปนั้นห้ามไม่ให้ด้าเนินการบังคับส่งกลับ บุคคลไปยังที่ รัฐที่ความเป็นอยู่และอิสรภาพของเขาจะถูกคุกคาม ประเทศไทยเองได้ให้สัตยาบันในอนุสัญญา CAT และ ICCPR ซึ่งห้ามมิให้ขับไล่ผู้คนไปยังรัฐที่มีความเสี่ยงอย่างแน่นอนว่าพวกเขาเหล่านั้นถูกทรมาน ในพรบ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ได้ระบุว่า เมื่อมีผู้ต้องสงสัยว่าเป็นผู้ถูกค้ามนุษย์ เจ้าหน้าที่ต้องให้ การ45


ดูแลจนกงาสจะสามารถพิสูจน์ความจริง แต่บุคคลนั้นจะต้องถูกควบคุมดูแลอยู่ใน “สถานที่ที่เหมาะสม” ที่ไม่ใช่ห้องขังของสถานีต้ารวจแต่ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่กลับล้มเหลวอย่างมากในการคัดกรองแรงงานข้ามชาติที่ถูกจับ ซึ่งถือเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนไปในตัว และท้าให้กลุ่มผู้ที่มีความเปราะบางต้องเข้าไปอยู่ร่วมในกลุ่มที่อันตราย กลุ่มแร งงานข้ามชาติที่เข้าร่วมในงานศึกษานี้พบว่า มีเพียงร้อยละ 3 เท่านั้นที่ ระบุว่าเจ้าหน้าที่ได้ ด้าเนินการสอบถาม เพื่อคัดกรองพวกเขาว่าเป็นผู้ที่ถูกบังคับใช้แรงงาน ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงการค้ามนุษย์ หรือผู้ แสวงหาการลี้ภัยหรือไม่ และเมื่อถามพวกเขา ว่าได้รับการส่งตัวต่อไปยังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มีการยืนยัน สถานะของพวกเขา หรือไม่ มีเพียงสองรายเท่านั้นที่ได้รับข้อมูลนี้ และไม่มีรายใดเลยรับทราบว่าตนสามารถร้องขอความช่วยเหลือในกระบวนการยุติธรรม การขาดความช่วยเหลือในกระบวนการยุติธรรม เกี่ยวกับการละเมิดด้านแรงงาน นั่นหมายความว่า แรงงาน ข้ามชาติ จ้านวนมาก กลัวที่จะลุกขึ้นมาเรียกร้องสิทธิของพวกเขา การใช้อ้านาจหน้าที่เหล่านี้กดดันให้มาตรฐานด้านแรงงานทั่วประเทศของไทยลดต่้าลง“พวกเรำเคยท้ำงำนในร้ำนขำยของช้ำประมำณ 9 เดือน และนำยจ้ำงเก่ำของ ฉันซึ่งเป็นเจ้ำของร้ำนก็มี นิสัยไม่ดีเรื่องกำรจ่ำยเงินค่ำจ้ำงที่ไม่ตรงเวลำ วันที่พวกเรำโดนจับ พวกเรำได้ขอลำออกจำกนำยจ้ำง แต่ นำยจ้ำงพูดว่ำขอให้เรำอยู่จนกว่ำเขำจะหำคนมำท้ำงำนแทนพวกเรำได้ ดังนั้นพวกเรำจึงยังคงท้ำงำนต่อ จนกระทั่งประมำณ13.00 น. ต้ำรวจก็เข้ำมำที่ร้ำน ต้ำรวจจับพวกเรำ (ฉันและเพื่อนอีก 3 คน) ไปที่สถำนีต้ำรวจโดยใช้เชือกมัดมือของพวกเรำไว้ ต้ำรวจเรียกเก็บเงิน 4,000 บำท จำกแต่ละคนเพื่อแลกกับกำรปล่อยตัว ไม่เช่นนั้นแล้วเรำจะถูกส่งไปที่เรือนจ้ำจังหวัด เรำพยำยำมติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนเพื่อให้เขำช่วยจ่ำยค่ำปรับ เรำถูกปล่อยตัวเวลำ 17.30 น.ของวันนั้น”แรงงานในร้านขายผลไม้ชาวพม่า จังหวัดพังงาความรวดเร็วของกระบวนการยุติธรรมพฤติกรรมและการกระท้าของเจ้าหน้าที่ที่เข้าจับกุมเป็นองค์ประกอบที่ส้าคัญในกฎหมายของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม การขาดความสอดคล้องและคาดการณ์ได้ที่สะท้อนในการปฏิบัตินั้นก้าลังบั่นทอนกฎหมายการจ่ายค่าปรับเป็นสิ่งที่ถูกกล่าวถึงอยู่เสมอ กล่าวคือ ร้อยละ 85 ของแรงงานข้ามชาติที่ถูกจับถูกเรียก ร้องให้จ่ายค่าปรับขณะที่ถูกจับ ในบรรดาคนที่จ่ายค่าปรับนั้นมีเพียงร้อยละ 4 เท่านั้นที่ได้รับใบเสร็จ ซึ่งมีเหตุผลมากมายที่ใช้ส้าหรับการเรียกค่าปรับ ส้าหรับ ค่าปรับนั้นมีตั้งแต่ 20 บาท ถึง 50 ,000 บาท (0.60 ดอลล่าสหรัฐ ถึง 1 ,600 ดอลล่าสหรัฐ) ขณะที่ส่วนใหญ่จ่ายค่าปรับอยู่ที่ 1,000 บาท ( 33 ดอลล่าสหรัฐ) และ 2,000 บาท (66 ดอลล่าสหรัฐ) ขึ้นอยู่กับว่าเจ้าหน้าที่อธิบายว่าค่าปรับนั้นส้าหรับอะไร ค่าปรับต่างๆมีหลากหลายดังข้อมูลด้านล่าง:- ค่าด้าเนินการเตรียมเอกสาร: 1,000 บาท- ค่าปรับเนื่องจากไม่มีเอกสาร รวมถึงใบอนุญาตท้างานหมดอายุ: 500 – 2,000 บาท- ค่าปรับจากการมีส่วนร่วมในการค้าประเวณี: 400 และ 50,000 บาท- ค่าปรับจากการท้างานในสถานที่ท้างาน แต่ผิดประเภทจากที่ได้จดทะเบียนไว้: 2,000 บาท- ค่าปรับจากการท้างานโดยไม่มีใบอนุญาตท้างาน: 1,000 –5,000 บาท46


- ค่าปรับจากการเดินทางออกนอกพื้นที่จดทะเบียนโดยไม่ได้รับอนุญาต: 1,000 บาท- ส้าหรับการปล่อยตัวและไม่แจ้งข้อกล่าวหาตามกฎหมายอื่นๆ: 2,000 - 10,000 บาท (ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 3,000 และ5,000 บาท)ร้อยละ 22 ของแรงงานข้ามชาติในงานศึกษานี้ถูกใส่กุญแจมือระหว่างการจับกุม ในจ้านวนผู้ที่ถูกใส่กุญแจมือนั้นร้อยละ 63.4 กล่าวว่าพวกเขาถูกใส่กุญแจมือทันทีหลังจากถูกจับ และร้อยละ 53.2 ถูกพิมพ์ลายนิ้วมือร้อยละ 41 ของแรงงาน ข้ามชาติ ที่ให้ข้อมูลการ จับรายงานว่าพวกเขาถูกตรวจค้นร่างกายในระหว่างการจับกุมผู้ชายจะถูกตรวจมากกว่าผู้หญิงถึง เกือบสามเท่า และจ้านวนกว่าครึ่งหนึ่งของผู้หญิงถูกด้าเนินการตรวจค้นโดย เจ้าหน้าที่ชาย ในบางกรณี แรงงานข้ามชาติได้ รายงานถึงการ ถูกละเมิด ทางวาจา ในระหว่างการจับกุม (ร้อยละ 9.4) การละเมิดทางร่างกายพบว่ามีน้อย (ร้อยละ5.4) และมีหนึ่งรายกล่าวว่าตนถูกละเมิดทางเพศ การละเมิด นั้นมีตั้งแต่การตะคอกอย่างขู่เข็ญและเรียกว่าพวกโง่ ยังมีรายงานว่าถูกตบหรือต่อยหน้า มีรายหนึ่งรายงานว่าเมื่อเขาแสดงใบอนุญาตท้างานต่อเจ้าหน้าที่ เขาก็ถูกเตะและถูกดุด่า มีการแตะต้องตัวอย่างไม่เหมาะสมและการใ ห้ยาที่ไม่สามารถระบุได้ว่าคืออะไรในระหว่างการตรวจค้นร่างกาย“ เจ้ำหน้ำที่ใช้กระบองในกำรตรวจค้นแรงงำนหญิง รวมทั้งฉันด้วย เจ้ำหน้ำที่มีกำรตรวจร่ำงกำยแต่ไม่มีเจ้ำหน้ำที่ผู้หญิงเลย”แรงงานภาคเกษตรชาวพม่าอ้าเภอแม่สอด จังหวัดตากตามหลักกฎหมายสากล แรงงานข้ามชาติมีสิทธิในการติดต่อกับโลกภายนอกในระหว่างที่ถูกจับ สองในสามของผู้ให้ข้อมูลกล่าวว่าพวกเขาได้ รับแจ้ง สิทธิและได้ ติดต่อทางโทรศัพท์กับครอบครัว เพื่อน นายจ้าง โดยร้อยละ 47 ของแรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ติดต่อ สมาชิกในครอบครัวได้ ร้อยละ 43.3 โทรหาเพื่อน ร้อยละ 47 โทรหานายจ้าง อย่างไรก็ตามมีเพียง 5 ราย (ร้อยละ2.5) ที่ได้รับแจ้งว่าพวกเขามีสิทธิขอความช่วยเหลือ ด้านกฎหมายจากภายนอกได้ เช่น จากทนายเจ้าหน้าที่สถานกงสุลของพวกเขา หรือองค์กรพัฒนาเอกชน47


การกักขังการคุ้มครองผู้ที่มีความเปราะบาง...สืบเนื่องจากประเด็นการจับ แรงงานข้ามชาติส่วนใหญ่ (เกือบร้อยละ 70) ในงานศึกษานี้ ถูกส่งไป ยังศูนย์กักขังต่างๆ ขณะที่ อีกจ้านวน หนึ่งได้รับการปล่อยตัว และบางคน ถูกส่งกลับทันที มาตรฐานในการปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังแรงงานข้ามชาติยังมีน้อยมาก โดยแรงงานข้ามชาติจะถูกด้าเนินการด้วยกระบวนการแตกต่าง กัน ถูกกักขังไว้ในศูนย์กักขังและระยะเวลาในการกักขัง ที่แตกต่างหลากหลาย กระบวนการในการกักขังนั้นแตกต่าง หลากหลายขึ้นอยู่กับ เงื่อนไขว่าแรงงานข้ามชาติเหล่านั้นถูก จับที่ใดและจะถูกส่ง กลับที่ใด ส้าหรับแรงงานข้ามชาติที่ ให้ข้อมูลในงานศึกษานี้ พวกเขาถูกกักขังอยู่ในศูนย์กักขังหลายแห่ง รวมถึงศูนย์กักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง สถานีต้ารวจ และค่ายทหาร จากจ้านวนทั้งหมด มี 39 รายจาก 148 รายถูกกักขังในสถานกักขังมากกว่า 1 แห่งภายใต้ มาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชนสากลและในประเทศไทย การกักขังแรงงานข้ามชาติควรมีการปฏิบัติบนพื้นฐานของมนุษยธรรมและการเคารพเกียรติศักดิ์ศรี อย่างไรก็ตาม พบว่า มีกรณีการละเมิดทางวาจา (13 ราย) ละเมิดทา งเพศ (2 ราย) และละเมิดทางร่างกาย (3 ราย)“ฉันถูกต้ำรวจจับตอนที่กลับจำกที่ท้ำงำนรำว 5 โมงเย็น เจ้ำหน้ำที่ต้ำรวจโชว์ปืนและข่มขู่ ฉันถูกใส่กุญแจมือไพล่หลังในตอนแรกนั้นฉันถูกส่งไปที่สถำนีต้ำรวจ และถูกสอบสวน พวกเขำถำมว่ำ “แก ขโมยเงินไปรึเปล่ำ ?” ฉันตอบไปว่ำฉันไม่เคยเอำเงิน ของใคร จำกนั้นเจ้ำหน้ำที่ต้ำรวจน้ำฉันไปที่ป่ำใกล้กับชำยหำดและบอกว่ำเขำเคยฆ่ำคนที่นั่นและเขำจะฆ่ำฉันถ้ำฉันไม่เอำเงินให้ แล้ว เขำก็เอำเงินใส่กระเป๋ำฉัน 10 บำท และ ฉันบอกเขำว่ำเขำจะ ฆ่ำฉันก็ได้ แต่ฉันไม่ได้ขโมยเงินใคร จำกนั้นฉันถูกส่งไปที่บ้ำนผู้ใหญ่บ้ำนทมขมิ้น กลุ่มของเพื่อนๆของฉันมำที่บ้ำนผู้ใหญ่บ้ำนและในเช้ำวันรุ่งขึ้นประมำณ 8 โมง ฉันต้องไปที่สถำนีต้ำรวจเพื่อให้เขำปลดกุญแจมือให้ คืนนั้นฉันถูกใส่กุญแจมือทั้งคืน “แรงงานร้านขายอุปกรณ์ก่อสร้างชาวพม่า ถูกกักตัวที่บ้านผู้ใหญ่บ้านราว 15 ชั่วโมงรายงานสถานที่ถูกกักขัง จ านวน ร้อยละศูนย์กักขังส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง 21 14.2ห้องขังของสถานีต้ารวจ 61 41.2ศูนย์กักขังส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองและห้องขังของสถานีต้ารวจ 31 20.9เรือนจ้า 6 4.1ห้องขังของสถานีต้ารวจและเรือนจ้า 8 5.4ค่ายทหาร 1 .7อื่นๆ 3 2.0ไม่ทราบ 8 5.4ไม่ตอบ 9 6.1รวม 148 100.048


ตารางที่12. แหล่งข้อมูล: MMNแรงงานข้ามชาติเล่าว่าพวกเขาถูกละเมิดโดย ผู้ต้องขัง คนอื่นในระหว่างการกักขัง โดยแรงงานข้ามชาติ หญิงรายหนึ่งเล่าว่าเธอถูกละเมิดทางเพศโดยผู้ต้องขังหญิงในห้องขัง แรงงานข้ามชาติ อีกรายหนึ่งถูกท้าร้ายร่างกาย หลังจากที่ผู้ต้องอีกคนล้มเหลวจากการพยายามข่มขืนเธอ เช่นกันกับแรงงานข้ามชาติชายรายหนึ่ง กล่าวว่า ผู้คุมชายคนหนึ่งพยายามข่มขืนเขาในห้องขังของโรงพัก แรงงานข้ามชาติที่ถูกกักขังที่สถานีต้ารวจแม่สอดเล่าว่า เขาถูกเตะ ถูกท้าร้ายร่างกายโดยเจ้าหน้าที่ มีเพียงสองรายเท่านั้นที่ได้รับแจ้งสิทธิในการเข้าสู่กระบวนการ หรือกักขัง โดยคนหนึ่งได้รับโดยครอบครัวของเขา และอีกคนได้แจ้งจากเจ้าหน้าที่ขององค์กรพัฒนาเอกชนที่ไปเยี่ยมในการปกป้อง คุ้มครองผลประโยชน์ของพวกเขาและเพื่อให้มั่นใจว่ามีกระบวนการยุติธรรมในชั้นศาล ผู้ถูกกักขังมีสิทธิที่จะติดต่อกับโลกภายนอกได้ จากจ้านวนผู้ให้ข้อมูล ทั้งหมด ประมาณ 60 คน ซึ่งเป็นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 72) ที่ถูกกักขังไว้ที่สถานีต้ารวจ ให้ข้อมูล ว่าพวกเขาสามารถติดต่อ ขอความช่วยเหลือระหว่างที่พวกเขาถูกกักขัง ได้ เช่น องค์กรพัฒนาเอกชน เพื่อน ครอบครัว นายจ้าง อย่างไรก็ตาม มีเพียง 3 ราย (2 รายถูกกักขังที่สถานีต้ารวจ และอีก 1 รายถูกกักขังที่สถานกักขังอื่น) รายงานว่า การเข้าเยี่ยมตามปกตินั้นได้รับอนุญาตโดยองค์กรภายนอก ในสถานกักขังบางแห่ง มีนักสังคมสงเคราะห์หรือล่ามอยู่เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ถูกกักขัง กระนั้นมีเพียงบางรายเท่านั้นที่ ให้ข้อมูลว่าพวกเขาได้รับประโยชน์จากการช่วยเหลือเหล่านี้ มี 3 ราย (2 รายถูกกักขังที่เรือนจ้าและ1 รายถูกกักขังที่ห้องขังของสถานีต้ารวจ) เล่า ให้ข้อมูลว่ามีนักสังคมสงเคราะห์ที่พูดได้ทั้งสองภาษาท้างานอยู่ในศูนย์กักขัง ที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ถูกกักขังได้อีก 3 รายเช่นกัน (2 รายถูกกักในศูนย์กักขังส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง และ 1 รายที่ห้องขังของสถานีต้ารวจ ) ให้ข้อมูลว่ามีนักสังคมสงเคราะห์ที่พูดสองภาษาแต่ไม่สามารถช่วยอะไรได้ และอีกสองราย ให้ข้อมูลว่ามีนักสังคมสงเคราะห์ แต่พวกเขาไม่สามารถพูดภาษาของแรงงานข้ามชาติได้ จากทั้งหมด มีเพียง 16 รายเท่านั้นที่ได้รับความช่วยเหลือเรื่องล่าม แต่ พวกเขาไม่ใช่นักสังคมสงเคราะห์ตามกฎหมายสากลระบุว่า ขณะที่อยู่ในความควบคุมดูแล ผู้ที่ถูกกล่าวหาควรถูกแยกออกจากผู้ที่ถูกตัดสินความผิดแล้วและควรมีการปฏิบัติต่อพวกเขา ตามสถานภาพของพวกเขา (ICCPR มาตรา 10.2.b) ในขณะเดียวกันเด็กควรจะถูกกักขังแยกต่างหาก (ICCPR มาตรา 10.2.b) และให้ใช้การกักขังเป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นทางเลือกสุดท้าย (มาตรา 37.b) และต้องมีการดูแลเป็นพิเศษส้าหรับกลุ่ม คนที่มีความเปราะบาง เช่น ผู้หญิง เด็กและผู้ป่วย ซึ่ง นโยบายของ ไทยได้มีการย้าในxlviหลักการนี้ในระหว่างที่พวกเขาถูกกักขังนั้น มีเพียง 2 รายจาก 148 รายที่ถูกถาม ว่พวกเขามีประสบการการณ์เกี่ยวกับ การถูกละเมิดด้าน แรงงานหรือถูก เอาเปรียบ หรือไม่ และมีเพียงรายเดียวเท่านั้นที่ถูกสัมภาษณ์โดยหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์ และ ส้านักงานสวัสดิการ สังคม ไม่มี ใครได้รับการโดยเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับประสบการณ์การถูกบังคับใช้แรงงานหรือการถูกด้าเนินคดีที่บ้านเกิด ในจ้านวนสามรายที่ได้รับการสัมภาษณ์เพื่อคัดกรองนี้ เจ้าหน้าที่ใช้ภาษาที่แรงงานข้ามชาติไม่สามารถเข้าใจได้ ในทางปฏิบัติ แรงงานระบุว่ามีการปฏิบัติเป็นพิเศษกับบางกรณีเช่น เด็กที่ไม่มีผู้ปกครองหริอเด็กที่ถูกแยกออกมา คนแก่ หญิงตั้งครรภ์ เหยื่อจากการทรมาน และคนที่ต้องได้รับการรักษาทางการแพทย์ ในขณะที่แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังของศูนย์กักขังส้านักงาน ตรวจคนเข้าเมืองของไทยในปี พ.ศ.2553 ระบุว่า มีการให้ความช่วยเหลือทางการแพทย์และ การส่งต่อผู้ป่วยใน สถานที่กักขัง แต่พบว่าระหว่างที่ถูกกักขังในศูนย์กักขังส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองและห้องขังของสถานีต้ารวจ ผู้ให้ข้อมูล น้อยกว่าร้อยละ 10 ได้รับความช่วยเหลือ49


เรื่องการรักษาทางการแพทย์ ขณะที่ร้อยละ 86 ของผู้ที่ถูกกักขัง ได้รับการบริการทางการแพทย์ ระหว่างการถูกกักขัง ในเรือนจ้า ในกลุ่มของผู้ที่ให้ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ ที่เคยถูกกักขังในศูนย์กักขังส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง ร้อยละ 58 ไม่ทราบถึงการให้บริการทางการแพทย์ ในขณะที่ร้อยละ 35 ไม่ได้รับการบริการทางการแพทย์เลย นอกจากนั้น แรงงานข้ามชาติที่ให้ข้อมูลการกักขังในงานศึกษานี้ ร้อยละ 47 ของผู้ที่ถูกกักขังในห้องขังของสถานีต้ารวจไม่ทราบเรื่องการบริการทางการแพทย์ และร้อยละ 40 ให้ข้อมูล ว่าไม่มีบริการ ทางการแพทย์ ผู้ชาย และผู้หญิงถูกแยก กักขังแต่ไม่ใช่ทุกราย (ดูตารางที่ 13 ) อย่างไรก็ตามมีเพียงน้อยราย (ร้อยละ 7.3) ที่ระบุว่ามีเจ้าหน้าที่หญิงดูแลผู้ถูกกักขังหญิงมีการแยกพื้นที่ชายหญิงหรือไม่ จ านวน ร้อยละใช่ ชายและหญิงแยกกัน 99 66.9ไม่ ชายและหญิงถูกขังรวมในห้องขังเดียวกัน 26 17.6การจัดการแบบอื่นๆ 4 2.7ไม่ตอบ 19 12.8รวม 148 100.0ตารางที่ 13. แหล่งข้อมูล: MMNถึงแม้ว่าเพื่อความปลอดภัยโดยทั่วไปแล้วผู้หญิงจะต้องถูกแยกออกจากผู้ชายแต่อันที่จริงแล้วผู้หญิงยินดีที่จะอยู่กับผู้ชายในครอบครัวมากกว่าเพียงการอยู่ล้าพังกับเจ้าหน้าที่ชาย การขาดมาตรฐานในการปฏิบัตินี้ท้าให้ครอบครัวต้องถูกแยกออกจากกันระหว่างการกักขังและการส่งกลับ ด้วยปกติแล้วผู้ถูกกักขังชายและหญิงจะถูกส่งกลับในช่วงเวลาที่ต่างกันและแม้แต่สถานที่ที่ต่างกัน แรงงาน ข้ามชาติผู้ให้ข้อมูลในงานศึกษานี้ 12 ราย ให้ข้อมูล ว่ามีเด็กถูกแยก กักขังและผู้ให้ข้อมูลหนึ่งรายระบุว่ามีการจัดพื้นที่พิเศษในการกักขังเป็นครอบครัว จากจ้านวนผู้ให้ข้อมูล 148 รายนั้น 65 ราย ระบุว่าไม่มีการจัดพื้นที่ส้าหรับผู้ถูกกักขังที่เป็นครอบครัว และ 64 รายกล่าวว่าไม่มีการจัดเตรียมอะไรเกี่ยวกับครอบครัวเลยสภาพความเป็นอยู่...แรงงานข้ามชาติผ่านประสบการณ์การ ถูกกัก ขังที่แตกต่างทั้ง ในห้องขังของสถานีต้ารวจต่างๆ ศูนย์กักขังส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง จึงเป็นการยากที่จะบอกถึงสภาพโดยทั่วไปได้ อย่างไรก็ตาม พบว่าห้องขังของสถานีต้ารวจ ในพื้นที่รอบนอก นั้นค่อนข้าง แออัด ผู้ชาย ผู้หญิงและเด็กถูกขังรวมกัน โดยภาพรวมพบว่า ในศูนย์กักขังที่ใหญ่กว่ามักจะมีบริการ ต่างๆมากกว่า เช่น การเข้าถึง บริการทางการแพทย์ หรือการดูแลรักษา (ดูเพิ่มใน ภาคผนวก II) จากแรงงาน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 14 รายจาก 148 ราย ( 6 ราย ถูกกักขังในห้องขังของสถานีต้ารวจ 5 รายในเรือนจ้า 1 รายในสถานพินิจและ2 รายไม่ตอบค้าถาม) ให้ข้อมูลว่า ผู้หญิง สามารถเข้าถึง การจัดการพิเศษ เช่น การจัดห้องน้าแยก มีพื้นที่ให้นมบุตร หรือระหว่างมีประจ้าเดือน การรับรู้ ของแรงงานข้ามชาติ เกี่ยวกับสุขอนามัยใน ศูนย์ กักขังแตกต่างกัน ไป ซึ่ง สะท้อนถึงระยะเวลาที่พวกเขาถูกกักขัง ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่มองว่าห้องน้าถูกสุขอนามัย (ร้อยละ 74) และ ยังอีกจ้านวนน้อยที่มองว่าอุปกรณ์การอาบน้าถูกสุขอนามัย และยังน้อยกว่าที่มองว่าพื้นที่ส้าหรับนอนนั้นเหมาะสม50


“ ฉันต้องใช้น้ำจำกก๊อกน้ำล้ำงส้วมส้ำหรับอำบน้ำ; เรำต้องซื้อน้ำดื่มและอำหำรเอง”แรงงานประมงชาวพม่า จังหวัดพังงา“ในห้อง มีผนังสูง 3 เมตรใช้แบ่งห้องจำกห้องอำบน้ำและห้องส้วม แต่ไม่มีประตู้กั้นระหว่ำงห้องและไม่มีช่องลมเพื่อระบำยอำกำศ ดังนั้นเมื่อมีคนฉี่ ทั้งห้องก็จะเหม็นไปหมด”แรงงานก่อสร้างชาวพม่า จังหวัดเชียงใหม่““มีแรงงำนจ้ำนวนมำกถูกจับพร้อมกันกับฉัน ดังนั้นจึงไม่มีพื้นที่เพียงพอในศูนย์กักขังส้ำนักงำนตรวจคนเข้ำเมือง ฉันถูกส่งกลับหลังจำกที่ต้องอยู่ในศูนย์กักขังส้ำนักงำนตรวจคนเข้ำเมือง 3 วันในห้องที่แน่นไปด้วยผู้ถูกกักขัง”แรงงานประมงชาวกัมพูชา จังหวัดระยองแรงงานข้ามชาติ ในงานศึกษานี้ จ้านวนมากแสดงความคิดเห็นว่าอาหารและน้าไม่เพียงพอและไม่ถูกสุขลักษณะในขณะที่การประปาแห่งประเทศไทยอ้างว่าน้า ประปามีความ สะอาด สามารถดื่มได้ แต่มีคนที่อยู่ในเมืองเพียง ส่วนน้อยเท่านั้นที่ดื่มน้าประปา ในการศึกษานี้มีเพียง 17 รายจาก 148 รายที่บอกว่าอาหารถูกสุขอนามัย 33 รายมองว่าน้าดื่มนั้นถูกสุขอนามัย ในขณะที่ 93 รายจาก 148 รายไม่ได้รับอาหารและน้าที่เพียงพอ“ถ้ำญำติของฉันไม่ซื้ออำหำรและน้ำมำให้ ฉันจะไม่มีอำหำรพอและไม่มีน้ำส้ำหรับดื่มให้บริกำร ฉันต้องดื่มน้ำจำกก๊อกในห้องขังของสถำนีต้ำรวจ”แรงงานช่างซ่อมรถชาวกัมพูชา จังหวัดระยอง“มีอำหำร 3 มื้อต่อวัน แต่มันไม่เคยพอ พวกเรำได้รับแค่ข้ำวรำดแกงหนึ่งจำนและไม่มีน้ำดื่มให้ ส้ำหรับคนที่มีเงินก็สำมำรถหำซื้อน้ำดื่มเองได้ แต่คนที่ไม่มีก็ต้องดื่มน้ำจำกก๊อกน้ำนั่นแหละ”แรงงาน“อำหำรไม่มีคุณภำพและมีกลิ่นไม่ดี”แรงงานเกี่ยวกับงานประมงชาวกัมพูชา จังหวัดระยองผู้ว่างงานชาวกัมพูชา จังหวัดระยอง“ที่สถำนีต้ำรวจมุกดำหำร เจ้ำหน้ำที่จัดหำอำหำรให้กับผู้ถูกกักขังที่ไม่มีญำติมำเยี่ยม แต่ถ้ำมีญำติมำเยี่ยมพวกเขำจะถูกเรียกร้องให้ซื้ออำหำรให้แก่เจ้ำหน้ำด้วยเช่นกัน เจ้ำหน้ำที่ข่มขู่ครอบครัวของผู้ที่ถูกกักขังว่ำจะไม่ได้เข้ำเยี่ยมถ้ำไม่ซื้ออำหำรหรือกำแฟให้เจ้ำหน้ำที่”แรงงานโรงงานชาวลาวในกรุงเทพ, จังหวัดมุกดาหาร51


มีความผิดจนกว่าจะได้พิสูจน์ว่าบริสุทธิ์ . .กฎหมายและมาตรฐานมีไว้เพื่อ ให้มั่นใจว่าแรงงานข้ามชาติสามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และมีโอกาสในการได้รับทราบ เหตุผลในการถูกกักขังและสิทธิในการเข้าสู่กระบวนการทางกฎหมายก่อนที่จะมีการด้าเนินคดีในชั้นศาลทั้งในส่วนของกฎหมายไทย และกฎหมายสากล ขณะเดียวกันตาม ICCPR ซึ่งประเทศไทยเป็นผู้ลงนาม ที่เรียกร้องให้ รัฐบังคับใช้การ รับประกันขั้นต่้ารวมถึงการให้การแก้ต่างทางกฎหมายและบริการแปลภาษา ระบบกฎหมายไทยให้กระบวนการศาลเพื่อตรวจสอบว่าแต่ละคนมีความผิดอันเกี่ยวข้องกับการตรวจคนเข้าเมืองหรือไม่ ในระหว่างที่นายชวนหลีกภัยเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น (พ.ศ.2535-2538 และ พ.ศ. 2540-2541) “การบริการ” การส่งกลับแบบเบ็ดเสร็จถูกน้าเสนอนั่นหมายความว่าไม่จ้าเป็นที่จะต้องเสียเวลาในชั้นศาล ซึ่งอันที่จริงแล้วผู้ต้องสงสัยในการเป็นแรงงานข้ามชาติผิด กฎหมายอาจถูกส่งกลับทันที ขณะที่นี่ถือเป็นการละเมิดภาระผูกพันระหว่างประเทศของไทย แต่ยังพบว่าทุกวันนี้กระบวนการทั้งคู่ถูกน้ามาใช้ ในการปฏิบัติต่อ แรงงานข้ามชาติบางส่วนโดยเฉพาะ ผู้ที่อยู่บริเวณชายแดนนั้นมักถูกส่งกลับอย่างรวดเร็วในขณะที่แรงงานข้ามชาติอื่นๆอาจใช้เวลานานขึ้นจากการต้องเข้าสู่กระบวนการในชั้นศาลในการศึกษานี้ได้พบว่า ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ (43 ราย) ให้ข้อมูลว่าพวกเขาถูกส่งกลับทันทีที่ถูกส่งไปยังศูนย์กักขังไม่มีเวลาในการยื่นอุทธรณ์หรือประเมินสถานการณ์ใดๆ และแรงงานข้ามชาติส่วนใหญ่ถูกควบคุมตัวอยู่ในช่วงระยะเวลาสั้นๆก่อนจะถูกปล่อยตัว (ร้อยละ 43) และถูกส่งกลับ (ร้อยละ 24.3) ซึ่งน้าไปสู่ความกังวลอันเกี่ยวข้องกับกระบวนการเหล่านี้แม้ว่าช่วงระยะเวลาในการควบคุมตัวนั้นจะอยู่ระหว่างไม่กี่ชั่วโมงไปถึง กว่า 45 วันเนื่องจากการขาดการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม แรงงานข้ามชาติ ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ (ร้อยละ 60.8) รายงานว่าพวกเขาถูกสั่งให้เซ็น ต์รับทราบข้อกล่าวหา ที่ถูกเขียนขึ้นในภา ษาไทย และพวกเขาไม่เข้าใจได้ ในแง่ของการเปิดโอกาสให้แรงงานข้ามชาติมีสิทธิในการเรียกร้องสิทธิของพวกเขาและเพื่อเรียกร้องสถานภาพของตนนั้น ประมาณ 1 ใน 3 ได้รับการแจ้งเกี่ยวกับข้อกล่าวหา แต่ก็ยังด้าเนินการเป็นภาษาไทยซึ่งพวกเขาไม่สามารถเข้าใจได้ ประมาณร้อยละ 78 ไม่ได้เข้าผ่านกระบวนการในชั้นศาล ส้าหรับในบรรดาผู้ให้ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการในชั้นศาล มีเพียง 3 รายเท่านั้นที่มีทนายและ 4รายที่มีล่ามนักแปลภาษา“ฉันถูกพำไปที่ศำล 3 ครั้ง ด้วยข้อกล่ำวหำว่ำเข้ำเมืองผิดกฎหมำย ฉันไม่เคยได้พบกับอัยกำร มีเพียงล่ำมที่มำสอบถำมข้อมูลส่วนตัวจำกฉัน และแจ้งข้อกล่ำวหำให้ฉันทรำบ ฉันถูกพำตัวกลับไปที่ห้องขังอีกครั้งหลังจำกเซ็นต์สำรภำพผิด”แรงงานภาคเกษตร ชาวพม่า อ้าเภอแม่สอด จังหวัดตาก“ฉันถูกพำไปที่ศำลเมื่อวันที่ 19 กันยำยนโดยไม่มีทนำย และถูกส่งกลับวันที่ 20 กันยำยน 2554”พนักงานเสิร์ฟชาวพม่า จังหวัดเชียงใหม่“ต้ำรวจคนที่พำฉันไปศำลบอกให้ฉันเซ็นต์ยอมรับผิดในทุกข้อกล่ำวหำ และฉันก็เชื่อเขำ”แรงงานก่อสร้างชาวพม่า จังหวัดเชียงใหม่52


“ฉันถูกสั่งจ้ำคุก 45 วัน โดยไม่มีทนำย”แรงงานในสวนส้มชาวพม่า จังหวัดเชียงใหม่แรงงานข้ามชาติจ้านวนมากกล่าวว่าพวกเขาถูกสั่งให้จ่ายค่าปรับหรือเงินเพื่อประกันตัว ผู้ที่ไม่สามารถจ่ายได้จะถูกกักขังไว้เพื่อด้าเนินคดีต่อไปหรือ ถูกส่งกลับ ขณะแรงงานข้ามชาติอาจจะยินดีที่จะ จ่ายเงินให้แก่เจ้าหน้าที่ เพื่อแลกกับการถูกปล่อยตัว มากกว่าที่จะถูกส่งกลับ การปฏิบัติดังกล่าว นับเป็นการกัดกร่อนกฎหมาย นอกจากนี้ การท้าตามอ้าเภอใจในการใช้กฎหมายคุกคามความเชื่อมั่นของแรงงานระบบของกฎหมายไทย“ฉันถูกสั่งให้จ่ำยค่ำปรับเป็นเงิน 2,000 บำท แต่ฉันไม่มีเงินจึงถูกจับไปกักขังแทน ไม่รู้ด้วยซ้ำว่ำฉันมีทนำยหรือไม่”แรงงานก่อสร้างชาวพม่า จังหวัดเชียงใหม่“หลังจำกที่ฉันถูกกักขัง 1 วัน ฉันจ่ำยเงิน 5,000 เพื่อแลกกับกำรปล่อยตัว (ส้ำหรับฉันและคนในครอบครัวอีก 5 คน)โดยที่ฉันไม่ได้รับใบเสร็จใดๆ”แรงงานรับใช้ในบ้าน ชาวพม่า แม่สอด จังหวัดตาก“ครั้งแรกที่ฉันถูกกักขัง ฉันจ่ำยเงิน 700 บำท ที่สถำนีต้ำรวจแม่สอด หลังจำกที่ฉันถูกกักขัง 2 วัน ในครั้งหลังฉันไม่มีเงินจ่ำยจึงถูกส่งตัวกลับพม่ำ”แรงงานรับจ้างรายวันชาวพม่า แม่สอด จังหวัดตาก“นำยจ้ำงของฉันรู้จักกับต้ำรวจดีมำก ที่จริงแล้ว พวกเขำจ่ำยเงินให้ต้ำรวจทุกเดือน ดังนั้นฉันจึงถูกปล่อยหลังจำกที่นำยจ้ำงมำเยี่ยม”แรงงานก่อสร้างชาวพม่า แม่สอด จังหวัดตาก“กำรถูกกักขังที่ห้องขังของสถำนีต้ำรวจมุกดำหำรนั้น ถ้ำผู้ถูกกักไม่สำมำรถจ่ำยเงิน 6,000 เป็นค่ำประกันตัวได้ พวกเขำจะต้องใช้เวลำประมำณ 1 อำทิตย์เพื่อเสร็จสิ้นกระบวนกำรในชั้นศำล ในขณะที่ถูกกักขังนั้นผู้ถูกกักขังจะไม่ได้รับอำหำร ญำติต้องเป็นคนรับผิดชอบจัดหำอำหำรและต้องซื้อให้กับเจ้ำหน้ำที่ด้วย”แรงงานรับจ้างรายวันชาวลาว จังหวัดมุกดาหาร53


การส่งกลับประเทศจับตามองสิ่งที่กฎหมายเน้น . . .แรงงานข้ามชาติที่ถูกส่งกลับประเทศพม่า กัมพูชา และลาว ยังคงถูกมองว่าเป็นผู้ ละเมิดกฎหมายจากการออกจากประเทศอย่างผิดกฎหมาย พวกเขาจะถูกประทับตราในระดับที่แตกต่างกัน (ขึ้นอยู่กับประเทศและสถานการณ์ทางการเมืองของประเทศนั้นๆ) ในฐานะที่ เป็นคนทรยศ ประชาชนที่ไม่น่าเชื่อถือและผู้หลบหนีออก จากประเทศของพวกเขาดังนั้น แรงงานข้ามชาติจากทั้งสามประเทศ จะถูกให้การสั่งสอน หรือ “การให้ความรู้อีกครั้ง” ใน บทที่ว่าด้วยกฎหมายคนเข้าเมืองของไทยเรื่องการส่งกลับได้ชี้อย่างชัดเจนถึงสถานการณ์ของแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย กล่าวคือ การส่งกลับสามารถบังคับใช้เมื่อมีผู้ที่ไม่ใช่บุคคลสัญชาติไทยที่เดินทางเข้าเมือง “โดยไม่ได้รับอนุญาตหรือการอนุญาตนั้น สิ้นสุดลงหรือถูกเพิกถอน” (พรบ.คนเข้าเมือง มาตรา 54)ส้าหรับแรงงานข้ามชาติ ผู้ให้ข้อมูลใน การศึกษา ครั้งนี้ 91 รายถูกส่งกลับ และส่วนใหญ่ถูกกัก ขังไว้ที่ศูนย์กักขังจนกระทั่งเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองได้จับกุมแรงงานจากประเทศเดียวกันอย่างเพียงพอเต็มรถกระบะหรือรถประจ้าทางที่ใช้ส่งพวกเขากลับไปยังชายแดน โดยปกติเจ้าหน้าที่จะส่งกลับแรงงานข้ามชาติบริเวณชายแดนที่ใกล้เคียงกับศูนย์กักขังการส่งเสริมสิทธิในการมีชีวิตระหว่างที่มีการส่งกลับประเทศนั้น เจ้าหน้าที่ถูกเรียกร้องให้ยึดมั่นในหลักการด้านสิทธิมนุษยชน เคารพในสิทธิการมีชีวิต และมีการให้เกียรติต่อผู้ที่ถูกส่งกลับ และรับรองว่าผู้ที่ถูกส่งกลับ จะไม่ถูกท้าร้ายทางร่างกาย การลดทอนความเป็นมนุษย์หรือการปฏิบัติที่จะส่งผลถึงความเสื่อมเสีย แรงงานข้ามชาติถูกส่งกลับด้วยพาหนะที่แตกต่างหลากหลายและกว่าร้อยละ 40 ของแรงงานข้ามชาติให้ข้อมูลว่าปริมาณของแรงงานข้ามชาติบนพาหนะนั้นแออัดเกินไป บางครั้งพาหนะมีความแออัดอย่างอันตรายซึ่งส่งผลต่อความไม่สะดวกเป็นที่สุดและนับได้ว่าเป็นการน้าชีวิตของพวกเขาไปเสี่ยง ในจ้านวนผู้ให้ข้อมูล เกือบทั้งหมดกล่าวว่าพวกเขามีที่นั่งบนพาหนะที่ใช้ในการส่งกลับ แต่ก็มีถึงร้อยละ 30 ที่กล่าวว่าพวกเขาไม่มี ที่นั่ง ซึ่งน้าไปสู่ค้าถามเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยที่ได้รับการดูแลโดยเจ้าหน้าที่ แรงงานที่ถูกสัมภาษณ์ ในการศึกษานี้ยังกล่าวว่า บ่อยครั้งที่ พวกเขากังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยของพวกเขาเอง เช่น การบรรทุกเกินจ้านวนที่ควรจะเป็นบนพาหนะที่ใช้ส่งกลับ อากาศในรถที่ร้อนเกิน การขับรถเร็ว หรืออันตราย มีผู้ให้ข้อมูลเพียง 4 รายจากทั้งหมด 91 ราย เท่านั้นที่สามารถบอกกล่าวความกังวลถึงความปลอดภัยของพวกเขาต่อเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบได้ในระหว่างการส่งกลับ54


ชนิดของพาหนะในการส่งกลับ รถถูกเตรียมมาเพื่อโดยสารได้กี่คน มีกี่คนบนรถคันที่ 3 ประมาณ 10 คน 3 – 7 คนคันที่ 4 ประมาณ 30 คน 30 – 100 คนคันที่ 5 ประมาณ 40 คน 20 – 100 คนรถต้ารวจ 4 – 5 คน 3 คนรถสองแถว ซึ่งเป็นรถที่ใช้ทั่วไปดัดแปลงจากรถประมาณ 15 คน9 – 12 คนกะบะหรือรถจี๊บรถโดยสารประจ้าทาง ประมาณ 17 คน ประมาณ 10 คนรถโดยสารข้ามด่านชายแดนไทย-ลาว ประมาณ 10 คน ประมาณ 3 คนตารางที่ 14. แหล่งข้อมูล MMNขณะเดียวกันก็ต้องยอมรับเช่นกันว่าการส่งกลับนั้นมีค่าใช้จ่ายและเพื่อให้มั่นใจว่าการส่งกลับมีความปลอดภัยยิ่งมีค่าใช้จ่ายมากขึ้น ซึ่งควรมีการจัดการกองทุนที่เหมาะสม เพราะแรงงานข้ามชาติได้ จ่ายเงินส้าหรับส่วนนี้แล้วตั้งแต่การจดทะเบียนเพื่อขอใบอนุญาตท้างาน ที่ผ่านมาพบกรณีของ การบรรทุกเกินจ้านวนและการขับ ขี่พาหนะส้าหรับส่งกลับ ด้วยความเร็วที่เป็นสาเหตุของเกิดอุบัติเหตุที่ร้ายแรงการส่งเสริมสิทธิในเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทางไปยังจุดส่งกลับนั้นมีความแตกต่างกัน ผู้ที่ถูกส่งกลับไปยัง ประเทศ พม่าจากศูนย์กักขังอ้าเภอแม่สอด จังหวัดตาก ใช้เวลาเพียง 15-20 นาทีในการเดินทาง ขณะที่ผู้ที่ถูกส่งกลับจาก จังหวัดเชียงใหม่ต้องใช้55


เวลาที่นานขึ้น อยู่ที่ราว 4 ชั่วโมง และอาจถึง 13 ชั่วโมงหากต้องส่งกลับผ่านทางด่าน อ้าเภอ แม่สาย จังหวัดเชียงรายส้าหรับผู้ที่ถูกกักขังที่จังหวัดระนองใช้ระยะเวลาเดินทางในการส่งกลับตั้งแต่ 30 นาที – 2 ชั่วโมง ส่วนแรงงานข้ามชาติชาวกัมพูชาที่ถูกกักขังในจังหวัดระยองใช้ ระยะเวลาเดินทางในการส่งกลับ กว่า 3-5 ชั่วโมง ขณะที่ผู้ที่ถูกกักขังอยู่ในศูนยกักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองในกรุงเทพหรือจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ใช้ระยะเวลาในการเดินทางในการส่งกลับ ถึง11-12 ชั่วโมง ผ่านด่านอ้าเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ผู้ถูกส่งกลับชาวลาวเหมือนจะใช้เวลาเดินทางในการส่งกลับสสั้นกว่าคือ ระหว่าง 30 นาที – 1 ชั่วโมง แ ม้ว่ามีผู้ให้ข้อมูลหนึ่งรายกล่าว เล่าว่าต้องใช้เวลาเดินทาง ในการส่งกลับ กว่า 6ชั่วโมงเกือบทั้งหมด ของแรงงานข้ามชาติผู้ให้ข้อมูล (ร้อยละ 84) ร้องเรียนว่าพวกเขาไม่ได้รับอนุญาตให้หยุดรถเพื่อเข้าห้องน้าระหว่างการเดินทางในการส่งกลับ ซึ่งเป็นสิ่งที่ล้าบากมากส้าหรับการเดินทางที่ยาวนาน แต่ส่วนใหญ่แล้วเส้นทางการส่งกลับมักเป็นเส้นทางอันตราย ลมแรง และต้องผ่านภูเขา ซึ่งยากที่จะจอดเพื่อเข้าห้องน้าได้ แรงงานที่เมารถไม่ได้รับการช่วยเหลือใดๆ การเลือกที่จะไม่หยุดรถเนื่องจากเจ้าหน้าที่กลัวว่าจะเกิดการหลบหนี ในขณะที่อาหรและน้ามีเพียงพอส้าหรับคน 6 คนเท่านั้น“ตอนที่ฉันอยู่บนรถส่งกลับนั้น ฉันกลัวมำกเพรำะว่ำคนขับรถขับเร็วมำก ฉันทั้งหิวและอยำกดื่มน้ำ แต่ไม่กล้ำที่จะเรียกเจ้ำหน้ำที่ให้หยุดรถเพรำะกลัวว่ำเขำจะโกรธและตะคอกใส่ฉันถ้ำฉันพูดอะไรออกไป”แรงงานชาวกัมพูชาว่างงาน จังหวัดระยอง“ ตอนที่พวกเรำถูกส่งกลับ เจ้ำหน้ำที่ไม่มีอำหำรให้เรำ ไม่มีน้ำดื่ม และไม่จอดพักให้เข้ำห้องน้ำ”แรงงานก่อสร้างชาวพม่า แม่สอด จังหวัดตากในพื้นที่ชายแดนที่เข้าถึงยาก แรงงานข้ามชาติมีความเปราะบางในการที่จะถูกละเมิดโดยเจ้าหน้าที่ได้ง่าย แรงงานบางคน ให้ข้อมูล การละเมิดทางวาจา ร่างกาย และ ละเมิด ทางเพศในระหว่างการส่งกลับ เจ้าหน้าที่ ที่รับผิดชอบในการส่งกลับตะคอกด้วยเสียงแข็งกร้าวใส่แรงงาน ข้ามชาติเพื่อ ให้พวกเขาขึ้นและลงรถอย่างรวดเร็ว แรงงานข้ามชาติ ชายที่ให้ข้อมูลการส่งกลับคนหนึ่งเล่าว่า ทุกคนถูกตะคอกให้ขึ้นลงรถอย่างรวดเร็ว แรงงานข้ามชาติชายอีกคนเล่าว่าเขาเห็นแรงงานหญิงถูกสัมผัสตัวอย่างไม่เหมาะสมโดยเจ้าหน้าที่ชายการข้ามพรมแดนเมื่อไปถึงชายแดน แรงงานข้ามชาติจะถูกส่งกลับ ไม่ว่าจะเป็นผ่ านช่องทางที่ถูกต้องคือ ส่งมอบให้กับเจ้าหน้าที่หรือไม่ก็จะถูกปล่อยอย่างไม่เป็นทางการ ในงานศึกษานี้ ให้ข้อมูล 50 รายจาก 91 ราย ให้ข้อมูลว่าพวกเขาถูกส่งมอบให้กับเจ้าหน้าที่ของประเทศบ้านเกิดของพวกเขา ขณะที่ 29 รายไม่ได้ผ่านกระบวนการนั้น (คนอื่นๆไม่ได้ตอบค้าถาม) ส่วนใหญ่แล้วแรงงานข้ามชาติจะถูกส่งมอบให้กับเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองที่ด่านตรวจคนเข้าเมือง เจ้าหน้าที่ รักษาความมั่นคงประจ้าชายแดนหรือเจ้าหน้าที่ศูนย์ แรกรับ แรงงานข้ามชาติชาวลาวคนหนึ่งกล่าวว่าเขาถูกส่งตัวให้กับเจ้าหน้าที่กระทรวงแรงงาน ส้าหรับในพม่า แรงงาน ข้ามชาติ เล่าว่าพวกเขาถูกส่งกลับให้กับทหารกะเหรี่ยงพุทธ หรือทหารพม่า นั้นตอนนี้56


ส่วนใหญ่แรงงานจะได้รับการปล่อยตัวทันทีที่มีการตรวจสอบเอกสาร รายบุคคล แม้ว่า ในประเทศวพม่าและกัมพูชาจะมีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับ การเรียกเก็บค่าเข้า เมืองและเพื่อการปล่อยตัว นอกจากนี้ ในประเทศพม่า แรงงานข้ามชาติ 4 รายให้ข้อมูลว่าพวกเขาถูก บังคับตรวจสุขภาพ เมื่อกลับถึงประเทศ ซึ่งไม่พบการรายงาน กระบวนการนี้ในส่วนของประเทศลาวหรือกัมพูชาจากผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด มีแรงงานข้ามชาติ 8 ราย ระบุว่าพวกเขาถูกส่งไปให้กับเจ้าหน้าที่ หน่วยงานอื่นเมื่อกลับถึงประเทศ ส้าหรับในประเทศลาว พวก เขาถูกน้าไปที่ส้านักงานแรงงานหรือส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง ในประเทศ พม่าแรงงานจะถูกน้าไปยังเจ้าหน้าที่ หน่วยงานอื่น แต่ไม่ทราบว่าเป็นเจ้าหน้าที่อะไร และจากทั้งหมด 27 ราย (แรงงานพม่า 4ราย ลาว 1 ราย และกัมพูชา 22 ราย) ถูกท้าโทษ เมื่อกลับถึงประเทศ หลายกรณี (ร้อยละ 39) แรงงานถูกเรียกเก็บค่าปรับขณะที่ (ร้อยละ 58.3) ถูก ให้เข้ารับการสั่งสอน ค่าปรับนั้นมีตั้งแต่ 200 บาทในกัมพูชา 500 บาทในลาว และระหว่าง 300-2,500 บาท ในพม่า ในประเทศพม่าและกัมพูชา แรงงานที่ไม่สามารถจ่ายค่าปรับได้จะถูกบังคับให้ท้างานโดยไม่มีค่าจ้างเช่น ตัดหญ้า ซ่อมถนนในบางกรณีแรงงานจะได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ เมื่อกลับถึงประเทศ แรงงาน ผู้ให้ข้อมูล 3 รายได้รับค้าแนะน้าจากนักพัฒนาสังคม 7 ราย (ชาวพม่า 1 และลาว 6 ราย) ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินในการเดินทางกลับ บ้านและแรงงานลาว 5 ราย ได้รับความช่วยเหลือในการ คืนสู่ชุมชนบ้านเกิดของตน ตัวอย่างเช่น แรงงานพม่าคนหนึ่งเล่าว่าได้รับความช่วยเหลือให้สามารถกลับถึงบ้านได้ แรงงานลาวคนหนึ่งเล่าว่าเขาถูกช่วยให้กลับถึงบ้านโดยรถประจ้าทางค่าจ้างที่ค้างช าระแรงงานข้ามชาติจ้านวนมากถูกส่งกลับก่อนจะได้รับเงินค่าจ้างงวดสุดท้าย ถ้าแรงงานถูกจับและส่งกลับโดยไม่ได้ติดต่อกับนายจ้าง พวกเขามักจะไม่ได้รับค่าแรงที่ติดค้าง มีเพียงสองรายเท่านั้นที่ ให้ข้อมูล ว่าพวกเขาได้รับสิทธิในการเรียกร้องค่าแรง คนหนึ่งได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ขององค์กร พัฒนาเอกชน และอีกคนนั้นได้รับจากนายจ้างเองแรงงานข้ามชาติ 5 ราย ให้ข้อมูล ว่ามีระบบการช่วยเหลือให้ได้รับค่าแรงที่ค้างจ่าย แรงงานพม่าคนหนึ่งได้รับค่าจ้างจากนายจ้างและแรงงานชาวลาวอีกสองคนได้รับการช่วยเหลือเรื่องค่าแรงจากส้านักงานแรงงาน ในขณะที่อีก 3 ราย (แรงงานชาวเขมรและพม่า) ไม่ได้พูดถึงในรายละเอียดส่วนนี้การกลับคืนสู่ประเทศไทยแรงงานทั้งหมดที่ปรากฏในการศึกษาครั้งนี้ได้ถูกสัมภาษณ์ในประเทศไทย นั่นหมายความว่า แรงงานทั้งหมดยังคงอยู่ในประเทศไทยหลังการจับกุมและกักขัง หรือกลับเข้ามาหลังจากการถูกส่งกลับประเทศ ผลที่ตามมาคือการ ไม่สามารถสรุปได้ถึงอัตราของของผู้ที่กลับมาอีกหลังถูกส่งกลับประเทศหรือผลกระทบของการจับและการกักขังต่อการเคลื่อนย้านของแรงงาน อย่างไรก็ตามข้อมูลในส่วนนี้เน้นถึงประเด็นที่กว้างขึ้นในการย้ายถิ่นเข้าสู่ประเทศไทยในกลุ่มของแรงงานที่กลับ คืนมายังไทย หลังการถูกส่งกลับ นั้น พบว่าระยะเวลาหลังจากการไป ถึงชายแดนและกลับมายังไทยค่อนข้างมีความหลากหลาย บางส่วนกลับมาในทันที ขณะที่บางส่วนใช้เวลาเป็นวันหรือเป็นเดือนก่อนที่จะกลับมา จากทั้งหมด ของผู้ให้ข้อมูล ร้อยละ 19 กลับมาไทยทันทีหรือกลับมาภายใน 1 อาทิตย์ แรงงานพม่า 13 รายจาก 41ราย กลับมาไทยทันที ในขณะที่แรงงานชาวลาว 9 จาก 28 ราย กลับมาหลังจากนั้น 1 เดือน สาเหตุหลักที่พวกเขาเลือกที่จะ57


กลับมายังประเทศไทยคือ การขาดแคลนอาชีพในประเทศบ้านเกิด ประเทศไทยนับได้ว่ามีการเติบโตทางเศรษฐกิจดีกว่าประเทศรอบๆในเขตภูมิภาคนี้ แรงงานส่วนใหญ่เล่าว่าเขากลับมาอยู่กับเพื่อ นหรือครอบครัวที่อยู่ในฝั่งไทย กว่าสองในสามกลับมาท้างานต้าแหน่งเดิม แต่กระนั้นมีเพียงส่วนน้อยที่มองว่าประเทศไทยเป็นบ้านหลังที่สองของพวกเขา แต่การขาดแคลนงานในประเทศบ้านเกิดและอนาคตที่ดีในไทยท้าให้พวกเขาเปลี่ยนใจ“ฉันไม่สำมำรถหำงำนในกัมพูชำได้ ชีวิตที่นั่นล้ำบำกมำก”แรงงานช่างซ่อมรถชาวกัมพูชา จังหวัดระยอง“เจ้ำหน้ำที่ตรวจคนเข้ำเมืองไปส่งฉันที่ ท่ำเรือชำยแดนไทย-พม่ำ จำกนั้นเจ้ำหน่ำมี่ตรวจคนเข้ำเมืองของไทยให้ฉันนั่งเรือกลับประเทศด้วยตัวเอง มีเจ้ำหน้ำที่พม่ำ (ฉันไม่ทรำบว่ำมำจำกหน่วยงำนไหน) รอพวกเรำอยู่ที่อีกฝั่งหนึ่งเพื่อรอเรียกเก็บเงินจกผู้ถูกส่งกลับ ค่ำปรับอยู่ที่ 500 บำท ฉันไม่มีเงินพวกเขำจึงบอกให้ฉันบริจำคเงิน 20บำทให้กับวัดเพื่อกำรปล่อยตัว หลังจำกนั้นฉันต้องยืมเงินจำกเพื่อ 500 บำทเพื่อกลับมำไทย”แรงงาน รับจ้างทั่วไปชาวพม่า แม่สอด จังหวัดตาก“ฉันถูกส่งกลับโดยเจ้ำหน้ำที่ไทยที่ตรงกลำงสะพำนมิตรภำพไทย-พม่ำ (จุดสิ้นสุดพรมแดน) พวกเขำ ปล่อยให้เรำกลับพม่ำด้วยตัวเอง แทนที่จะกลับพม่ำ ฉันเลือกที่จะเดินกลับมำฝั่งประเทศไทยทันที”แรงงานรับจ้างรายวันชาวพม่า แม่สอด จังหวัดตาก“ฉันตัดสินใจทีจะถูกส่งกลับในช่องทำงที่ไม่เป็นทำงกำร เพรำะกลัวจะถูกเจ้ำหน้ำที่จำกประเทศของฉันลงโทษ ฉันจ่ำย3,000 บำท ให้เจ้ำหน้ำที่ตรวจคนเข้ำเมืงของไทยส้ำหรับเป็นค่ำส่งกลับ”แรงงาน ที่ไม่มีเอกสารใดๆชาวลาว จังหวัดมุกดาหาร“ตอนที่ฉันเดินทำงไปถึงชำยแดน ฉันถูกบอกว่ำมีสองทำงเลือกในกำรส่งกลับ 1 ) ช่องทำงแบบเป็นทำงกำรซึ่งเจ้ำหน้ำที่ตรวจคนเข้ำเมืองของ ไทยจะติดต่อกับเจ้ำหน้ำที่ลำว และผู้ถูกส่งกลับจะได้เดินทำงกลับโดยรถโดยสำร และต้องท้ำตำมขั้นตอน อื่นๆในฝั่งลำว 2 ) ช่องทำงที่ไม่เป็นทำงกำร คือ ผู้ถูกส่งกลับจะไม่ต้องถูกประทับตรำในหนังสือเดินทำงว่ำพวกเขำ เป็นบุคคลต้องห้ำมเข้ำเมืองของไทยส้ำหรับช่องทำงไม่เป็นทำงกำร นี้ จะต้องจ่ำยเงิน 3 ,000 บำทส้ำหรับเป็นค่ำส่งกลับและเจ้ำหน้ำที่ไม่รับรองควำมปลอดภัยในกำรส่งกลับ”แรงงานพนักบริการชาวลาว จังหวัดมุกดาหาร58


บทสรุปและข้อเสนอแนะบทสรุปความพยายามที่ผ่านมาของทั้งประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ในการด้าเนินการจ้างงานผ่าน MOU เกิดขึ้นในระดับหนึ่ง น้าไปสู่การอนุญาตจด ทะเบียนแรงงานข้ามชาติผ่านการพิสูจน์สัญชาติและ การสร้างช่องการการย้ายถิ่นที่ถูกกฎหมาย อย่างไรก็ตาม มาตรการเหล่านี้ยังคง มีจ้ากัดหรือแพงเกินกว่าที่คนธรรมดาส่วนใหญ่จะสามารถเข้าถึงได้ ผลที่ตามมาคือ จ้านวนมาไม่มีทางเลือกแต่ยังเดินทางย้ายถิ่นด้วยช่องทางผิดกฎหมายและผู้ที่อยู่ในประเทศไทย ที่ไม่สามารถเข้าร่วมในการขึ้นทะเบียนในประเทศไทยได้นอกจากนี้การเรียกร้องให้แรงงานที่มีสถานะถูกต้องทางกฎหมายต้องกลับไปยังประเทศ ต้นทาง หลังจาก สิ้นสุดระยะเวลา 4 ปี เป็น ทั้งความก้าวหน้าและล้าหลัง เป็น ความล้มเหลว ที่สะท้อนประสบการณ์ในชีวิต จริงของแรงงานข้ามชาติและความต้องการแรงงานในประเทศไทย นั่นเท่ากับว่าคนจ้านวนมากจะกลับไปสู่การสถานภาพการ เข้าเมืองอย่างผิดกฎหมายเพื่อที่จะได้อยู่ในประเทศไทย อุปสรรคในการเคลื่อนย้าย งานและความอ่อนแอของการบังคับใช้ มาตรฐานด้านแรงงานท้าให้จ้านวนมากยังท้างานนสภาพการจ้างงานที่ถูกเอาเปรียบ บ่อยครั้งที่เกือบจะเป็นการบังคับใช้แรงงาน แรงงานข้ามชาติรวมทั้งผู้ที่มีสถานภาพถูกกฎหมาย ส่งที่ตามมาคือต้องเผชิญกับทางเลือกระหว่างการออกจากงานหรือการ สูญเสียสถานภาพตามกฎหมาย หรืออาศัยอยู่และทนทุกข์จากการถูกละเมิดในอีกด้านหนึ่ง ทุก ๆกรณีที่ว่ามานี้ แรงงานข้ามชาติยังมีความเปราะบางในความเสี่ยงที่จะถูกจับกุม ถูกกักขัง และถูกส่งกลับประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นภาคีสนธิสัญญาระหว่างประเทศ จ้านวนมาก ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการจับ กักขังและส่งกลับ รวมทั้ง ICCPR, CAT, CRC, และ CPRD ดังนั้น จึงเป็นพันธะผูกพันทางกฎหมายในการรับรองสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลที่ไม่ใช่ประชาชนของตนในการจับกุม กักขังและส่งกลับ แม้ว่าจะมีทั้งกฎหมายและนโยบาย ที่ใช้ส้าหรับการด้าเนินการ จับ กักขังและส่งกลับ แต่จากประสบการณ์ของแรงงานข้ามชาติ ยังเน้นย้าให้เห็นถึงความ ไม่สอดคล้องกันในทางปฏิบัติ ซึ่งชี้ให้เห็นถึงการขาดการดูแลทางกฎหมายและก่อให้เกิดความไม่แน่ใจส้าหรับแรงงานข้ามชาติผู้ซึ่งต้องถูกบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว นอกจากนี้การเข้าถึงข้อมูลยาก ผลที่ตามมาคือกระบวนการขาดความโปร่งใสแรงงานข้ามชาติไม่สามารถเข้าถึงความช่วยเหลือที่จ้าเป็นจ ากทางสถานทูต ของพวกเขา เมื่อพวกเขาต้องการ ได้ข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลหลักพบว่า การบริการที่จัดขึ้นโดยเจ้าหน้าที่ของประเทศต้นทางมุ่งเน้นไปที่การให้ความช่วยเหลือผู้ที่ถูกค้ามนุษย์และ/หรือการให้ความช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติที่อยู่ภายใต้ การจ้างงานผ่านกระบวนการ MOU โดยคาดหวังว่าประเทศต้นทางสามารถเพิ่มบทบาทในการคุ้มครองสิทธิของประชากรของตน รวมถึงผู้ที่ถูกจับ ถูกกักขังและถูกส่งกลับ59


ข้อเสนอแนะแรงงานข้ามชาติทุกคนมีสิทธิในเสรีภาพ ศักดิ์ศรีและการเคารพต่อสิทธิมนุษยชนของพวกเขา เพื่อ ระบุประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนที่น้าเสนอในรายงานฉบับนี้ เราขอเรียกร้องให้รัฐบาลไทย 1) ปรับปรุงและเสริมสร้างความพยายามในการอ้านวยความสะดวก ต่อการย้ายถิ่น ที่ถูกกฎหมายภายใต้ข้อตกลงที่มีอยู่ รวมทั้งการอนุญาตให้จดทะเบียนแรงงานที่ด้าเนินการอยู่ในประเทศไทย และแก้ไขเพิ่มเติมนโยบายที่มีอยู่ในปัจจุบัน เพื่อให้มั่นใจได้ว่ามีการค้านึงถึงสิทธิและเสรีภาพของแรงงานข้ามชาติ 2) ส่งเสริมงานที่มีคุณค่าและสภาพการด้ารงชีวิต เพื่อที่จะผ้อวกันสถานการณ์ที่แรงงานข้ามชาติไม่มีทางเลือก แต่ต้องลาออกจากนายจ้างของพวกเขา ซึ่งส่งผลให้ต้องสูญเสียสถานภาพการเข้าเมืองที่ถูกกฎหมายและ 3) พัฒนาการจับ การกักขัง และการส่งกลับแบบทางเลือกในการจัดการกับประชากรแรงงานข้ามชาติที่ผิดกฎหมายและควรจ้ากัดกรณีที่หลีกเลี่ยงการบังคับใช้กฎหมายไม่ได้ การปฏิรูป ขั้นตอนการจับ กักขังและส่งกลับ เพื่อท้าให้พวกเขาได้รับการปฏิบัติอย่างมีมนุษยธรรม มีความโปร่งใส และเปิดให้มีการก้ากับดูแลทางกฎหมายมากขึ้น ต่อประเด็นข้างต้นเหล่านี้ เครือข่ายฯ MMN มีข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้:การปรับปรุงและเสริมสร้างช่องทางที่มีอยู่ในการอนุญาตให้แรงงานข้ามชาติจดทะเบียนอย่างถูกกฎหมายเพื่อส่งเสริมและขยายช่องทาง การเข้าถึงการจดทะเบียนอย่างถูกต้องตามกฎหมายและได้รับอนุญาตจด ทะเบียนสถานะแรงงานข้ามชาติ ตลอดจน การเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชนของแรงงานข้ามชาติ ทุกคนเครือข่ายฯ MMN เสนอว่า:1. ให้แรงงานข้ามชาติทุกคนที่อยู่ในไทยแล้วสามารถจดทะเบียนภายใต้กระบวนการ MOU ได้ ส้าหรับรัฐบาลกัมพูชาลาวและพม่า เราเสนอให้:a. ยกเลิกก้าหนดเส้นตายในการพิสูจน์สัญชาติb. การเพิ่มความสามารถในการบริหาร จัดการการขึ้นทะเบียนและ เพิ่มส้านักงานที่ท้า การขึ้นทะเบียนในหลายๆพื้นที่ เพื่อให้สามารถเข้าถึงได้ง่ายc. ลดค่าใช้จ่ายในการขึ้นทะเบียนให้สอดคล้องกับรายได้ของแรงงาน2. อ้านวยความสะดวกในการเดินทาง เข้าสู่ประเทศไทย กระบวนการจ้างงานของ MOU เราขอเสนอให้มีการลดขั้นตอนเพื่อให้มีค่าใช้จ่ายลดลง และสิทธิในการเปลี่ยนนายจ้างในกรณีที่ถูกเอาเปรียบด้านแรงงานจะต้องได้รับการคุ้มครอง เพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่พวกเขาไม่มีทางเลือกและต้องสูญเสียสถานภาพที่ถูกกฎหมาย3. รัฐบาลไทยเข้มงวดกับบังคับใช้กฎหมายในการห้ามไม่ให้ยึดเอกสารส่วนบุคคลของแรงงานข้ามชาติ และบุคคลใดที่ถือเอกสารส่วนบุคคลของแรงงานข้ามชาตินั้นจะต้องรับผิดชอล แรงงานข้ามชาติ ไม่ควรถูกด้าเนินการในฐานะเป็นอาชญากรเมื่อเอกสารของพวกเขาถูกยึด4. ถ้าแรงงานข้ามชาติถูกจับโดยเจ้าหน้าที่ ทั้งที่พวกเขาเหล่านั้นมีสถานะการขึ้นทะเบียนแล้วต้องมีการปล่อยตัวทันทีและต้องไม่มีการลงโทษใดๆ5. รัฐบาลไทยควรยกเลิกการจ้ากัดการเคลื่อนย้ายของแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย60


งานที่มีคุณค่าและสภาพความเป็นอยู่เพื่อป้องกันสถานการณ์ที่แรงงานข้ามชาติ จะถูกจับ กักขังและส่งกลับเกิดขึ้น เครือข่ายฯ MMN ขอเสนอให้มีความพยายามแก้ไขเกี่ยวกับการขาดงานที่มีคุณค่าอันเหมาะสมกับแรงงานข้ามชาติ ไม่สามารถเข้าถึงและเลือกงานโดยอิสระประกันสังคม ความคุ้มครองและเสรีภาพในการรวมกลุ่มและการเจรจาต่อรองร่วม เครือข่ายฯ MMN มีข้อเสนอเฉพาะว่า:4. แรงงานข้ามชาติต้องมี เสรีภาพในการจ้างงานอย่างเต็มที่และสามารถที่จะเปลี่ยนนายจ้างใหม่ได้ โดย แรงงานข้ามชาติที่ประสงค์จะเปลี่ยนนายจ้างต้องได้รับอนุญาตให้มีระยะเวลาที่เพียงพอในการหานายจ้างและงานใหม่ได้5. แรงงานข้ามชาติมีเสรีภาพในการ รวมกลุ่มและการเจรจาต่อรอง ร่วมซึ่งควรระบุในกฎหมายและใน ทางปฏิบัติ และเจ้าหน้าที่ต้องมีความเคร่งครัดในการด้าเนินการห้ามมิให้นายจ้างยกเลิกสัญญาจ้างหากแรงงานใช้สิทธิเหล่านี้6. แรงงานข้ามชาติที่ได้ถูกละเมิดสิทธิในการท้างาน ควรมีโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการทางกฎหมาย โดยแรงงานไม่ควรถูกส่งกลับในทันที ควรมีโอกาสใน การหางานใหม่และหรือควรอยู่ในประเทศไทยระหว่างที่มีการพิจารณาคดีการปฏิรูปกระบวนการจับ กักขัง และส่งกลับเพื่อให้สะท้อนถึงหลักการสิทธิมนุษยชนการจ้ากัดจ้านวนผู้ถูกจับ กักขังและส่งกลับเป็นสิ่งที่จ้าเป็น การปฏิรูปก็จ้าเป็นเพื่อให้แน่ใจได้ว่ากระบวนการเป็นไปอย่างมีมนุษยธรรม โปร่งใส สอดคล้องกับมาตรฐาน สิทธิมนุษยชนสากล ที่อยู่ภายใต้การก้ากับดูแล ทางกฎหมาย ทั้งนี้เครือข่ายฯ เสนอว่า7. มีนโยบายที่ชัดเจนและเผยแพร่ต่อสาธารณะ เพื่อช่วยคุ้มครองแรงงานข้ามชาติจากการถูกจับ กักขัง และส่งกลับตามอ้าเภอใจ หรือไม่มีเหตุผล8. รัฐบาลควรยุติการจับและส่งกลับแรงงานข้ามชาติจ้านวนมากในแต่ละครั้ง9. ในกรณีการกักขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย แรงงานข้ามชาติต้องได้รับการปล่อยตัวในทันทีและต้องได้รับค่าชดเชย10. ทุกรัฐบาลในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขงต้อง ด้าเนินคดีขั้นสูงสุดของกฎหมายแก่ผู้ที่ละเมิดทางร่างกายหรือทางเพศกับผู้อพยพในระหว่างขั้นตอนการจับกุมคุมขังและถูกส่งกลับประเทศ รัฐบาลทุกประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง ต้องด้าเนินคดีทางกฎหมายขั้นสูงสุดกับเจ้าหน้าที่รัฐที่ท้าร้ายร่างกายหรือละเมิดทางเพศแรงงานข้ามชาติในขณะถูกจับกุม กักขัง หรือระหว่างการส่งกลับประเทศต้นทาง11. ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องควรยุติการ ข่มขู่หรือกรรโชก แรงงานข้ามชาติในระหว่างกระบวนการจับกุม กักขังและส่งกลับเครือข่ายฯ ขอเสนอว่า ให้เจ้าหน้าที่เผยแพร่ แนวระเบียบปฏิบัติ ต่อสาธารณชน และ สร้างการตรวจสอบการปฏิบัติงานกันเองระหว่างหน่วยงานของรัฐข้อเสนอแนะต่อประเทศต้นทาง12. สถานทูตของประเทศต้นทางของแรงงานข้ามชาติ ควรจัดเตรียม เจ้าหน้าที่ด้านแรงงานประจ้าสถานทูต พร้อมกับเงินทุนที่เพียงพอ โดยเจ้าหน้าที่มีอ้านาจหน้าที่ที่ชัดเจนในการคุ้มครองแรงงานข้ามชาติจากประเทศของตน รวมถึงในกรณีการถูกจับ ถูกกักขังและถูกส่งกลับ61


13. เจ้าหน้าที่จากประเทศต้นทางของแรงงานข้ามชาติ จัดหาการให้ความช่วยเหลือด้าน กงสุล และการสนับสนุนด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้องและเหมาะสม เมื่อมีการร้องขอจากประชาชนของตนหรือแม้แต่จากแรงงานข้ามชาติในสถานกักขัง14. เจ้าหน้าที่ด้านแรงงานประจ้าสถานทูตต้องได้รับการอบรมเกี่ยวกับการย้ายถิ่น สิทธิด้านแรงงานและการให้ค้าปรึกษาเพื่อที่จะส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้ามชาติที่เป็นประชาชนของตน15. ศูนย์พิสูจน์สัญชาติแรงงานควรถูกปรับเปลี่ยนไปสู่การเป็นศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จที่มีเจ้าที่ที่ได้รับผ่านการอบรมความรู้ที่สามารถให้ข้อมูลที่จ้าเป็นแก่แรงงานข้ามชาติ ตลอดจนการให้ค้าปรึกษาได้16. รัฐบาลประเทศต้นทางของแรงงานข้ามชาติควรเจรจากับรัฐบาลไทยเพื่อยุติการส่งกลับแรงงานข้ามชาติจ้านวนมากในแต่ละครั้ง17. รัฐบาลประเทศต้นทางของแรงงานข้ามชาติ สร้างความร่วมมือ กับรัฐบาลไทยในนามของแรงงานข้ามชาติ เพื่อให้มั่นใจว่ากระบวนการจับกุม กักขังและส่งกลับอยู่บนพื้นฐานของมนุษยธรรม และแนวปฏิบัติที่มีความปลอดภัย18. เมื่อแรงงานข้ามชาติถูกส่งกลับประเทศหรือสมัครใจที่จะกลับประเทศ ต้นทางเองนั้น เราขอเรียกร้องให้รัฐบาล ของพวกเขาไม่ให้ปฏิบัติต่อพวกเขาเสมือนเป็น อาชญากร และไม่มีการด้าเนินการลงโทษใดๆ ไม่ว่าจะเป็นค่าปรับ หรือการจ้าคุกข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลไทยการจับ19. เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายต้องได้รับการฝึกอบรมและฝึกใช้กฎหมาย ที่สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนสากลเพื่อสามารถน้าไปปรับใช้ได้20. เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายมีการเผยแพร่กฎหมาย, นโยบาย และแนวปฏิบัติที่เป็นปัจจุบันเกี่ยวกับกระบวนการจับกักขัง และส่งกลับต่อสาธารณะ และมีความโปร่งใส21. ควรมีการทบทวนการปฏิบัติในการจับ กักขังและส่งกลับแรงงานข้ามชาติ โดย ต้ารวจตรวจคนเข้าเมือง เจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติการควบคุมตามแนว ชายแดน ร่วมกับ กลุ่มแรงงานข้ามชาติ ภาค ประชาสังคม และสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ค้านึงถึงหลักมนุษยธรรม22. แรงงานข้ามชาติที่ถูกจับกุม ต้องได้รับการแจ้งสิทธิและเข้าถึงความช่วยเหลือทางกฎหมายที่เหมาะส ม รวมถึงการได้รับความช่วยเหลืออื่นๆ เช่น จากเจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชนและเจ้าหน้าที่จากสถานกงสุล23. มีการจัดจ้างล่ามแปลภาษาที่มีความช้านาญประจ้าสถานีต้ารวจใน พื้นที่ที่มีแรงงานข้ามชาติจ้านวนมาก ส้าหรับพื้นที่อื่นๆนั้น เจ้าหน้าที่ประจ้าสถานีต้ารวจจะต้องท้าหน้าที่เพื่อมั่นใจว่าแรงงานข้ามชาติสามารถเข้าถึงการแปลภาษาได้ ตลอดจนสร้างเครือข่ายกับองค์กรพัฒนาเอกชนหรือสถานทูตเพื่อประสานงานในกรณีดังกล่าว24. ยุติการเข้าบุกจับช่วงเวลากลางคืนและเช้ามืดทันที ในกรณีที่การด้าเนินการดังกล่าวมีความจ้าเป็นและเหมาะสม การปฏิบัติการนั้นๆต้องอยู่ภายใต้การก้ากับดูแลทางกฎหมายอย่างเข้มงวด25. เจ้าหน้าที่ ที่ด้าเนินการจับกุม ต้องให้มั่นใจว่า มีการสัมภาษณ์ ที่เหมาะสม เพื่อระบุกลุ่มคนที่มีความเปราะบาง ที่จ้าเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือเป็นพิเศษ หรือควรถูกส่งต่อไปยังหน่วยงานที่เชี่ยวชาญในการคัดกรองและให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสม26. เจ้าหน้าที่ที่ด้าเนินการจับกุมต้องให้มั่นใจว่ามีการจัดหาการดูแลทางการแพทย์ที่เหมาะสมให้กับผู้ที่ต้องการ62


27. เจ้าหน้าที่ที่ด้าเนินการจับกุมต้องให้มั่นใจว่าสิ่งของของแรงงานข้ามชาติจะถูกส่งคืนหากถูกยึดไว้28. ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องให้การรับรองว่าแรงงานข้ามชาติที่ถูกจับกุมจะได้รับเงินค่าจ้างเต็มจ้านวนและผลประโยชน์ที่ค้างช้าระให้กับพวกเขาการกักขัง29. ประเทศไทยควรน้าการกักขังแบบทางเลือกอื่นมาใช้จัดการกับแรงงานข้ามชาติที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียน30. เจ้าหน้าที่ต้องให้มั่นใจว่าจะใช้การกักขังบุคคลหลบหนีเข้าเมืองส้าหรับเป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นทางเลือกสุดท้ายเท่านั้น31. เจ้าหน้าที่ไม่กัก ขังแรงงานข้ามชาติที่เป็นกลุ่ม คนที่มีความเปราะบาง ได้แก่ เด็ก ผู้แสวงหาการลี้ภัย หญิงตั้งครรภ์คนชรา ผู้พิการ บุคคลที่ต้องได้รับการดูแลรักษาทางการแพทย์เป็นพิเศษ หรือผู้ที่เป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์32. เมื่อการกักขังนั้นหลีกเลี่ยงไม่ได้ เจ้าหน้าที่ต้องด้าเนินการกักขังด้วยระยะเวลาที่สั้นที่สุด33. เจ้าหน้าที่ต้องให้มั่นใจว่าผู้ถูกกักขังได้รับการปฏิบัติอย่างมีมนุษยธรรมเป็นไปตามหลักสากลและมาตรฐานที่ใช้ส้าหรับการกักบริเวณ ประกอบด้วยa. การบริการด้านสุขภาพ ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุผลของการถูกกักขังในภาษาที่บุคคลนั้นเข้าใจ ความช่วยเหลือด้านกฎหมาย การพักผ่อนหย่อนใจ ตลอดจนการได้รับน้าและอาหารที่เพียงพอb. ปราศจากการปฏิบัติที่เลวร้าย ได้แก่ การล่วงละเมิดทั้งทางร่างกายและจิตใจc. ไม่ถูกกักขังรวมกับนักโทษคดีอาญาd. สามารถคัดค้านการถูกกักขังภายใต้กฎหมายได้อย่างเหมาะสมe. สามารถติดต่อกับโลกภายนอกได้ ไม่ว่าจะเป็น สมาชิกในครอบครัวและตัวแทนจากสถานกงสุล34. เจ้าหน้าที่ต้องจัดหานักสังคมสงเคราะห์ที่สามารถพูดภาษาของแรงงานข้ามชาติได้ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้ที่ถูกกักขัง35. สุขลักษณะและสิ่งอ้านวยความสะดวกอื่นในศูนย์กักขังจ้าเป็นต้องมีการปรับปรุงเพื่อให้สะท้อนตามพันธสัญญาของประเทศไทยตามกฎหมายสากล กล่าวคือ เพื่อให้มั่นใจว่าผู้ที่ถูกกักขังได้รับการจัดหาห้องส้วมและห้องอาบน้าที่สะอาด มีน้าดื่ม อาหาร พื้นที่ส้าหรับนอนที่เพียงพอ พื้นที่ที่เหมาะสม ตลอดจนเข้าถึงการดูแลทางการแพทย์36. เจ้าหน้าที่ท้าการกักขังโดยแบ่งแยกหญิงชาย และมีการเตรียมการที่เหมาะสมส้าหรับกรณีครอบครัว37. มอบหมายให้มีเจ้าหน้าที่ต้ารวจตรวจคนเข้าเมืองหญิงและต้ารวจหญิงในจ้านวนที่เหมาะสมประจ้าสถานกักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองและสถานีต้ารวจ38. เจ้าหน้าที่ด้าเนินการคัดกรองแรงงานข้ามชาติเพื่อป้องกันการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการถูกบังคับใช้แรงงาน หรือผู้ที่มีคุณสมบัติในการร้องขอสถานะผู้ลี้ภัย และต้องส่งต่อแรงงานข้ามชาติเหล่านั้นไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทันที เช่น UNHCRการส่งกลับประเทศ39. เจ้าหน้าที่ ของรัฐบาล ไทยจะ ต้อง ไม่ด้าเนินการ ส่งกลับแรงงานข้ามชาติ หากไม่สามารถรับประกันได้ถึงความปลอดภัยของผู้ถูกส่งกลับ และความปลอดภัยในประเทศต้นทาง63


40. เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายต้องปฏิบัติต่อแรงงานข้ามชาติเหล่านั้นด้วยมนุษยธรรมและเคารพ ในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์41. มาตรฐานความปลอดภัยและถูกสุขลักษณะของพาหนะส้าหรับการส่งกลับ ผู้ขับขี่และความปลอดภัยของผู้โดยสารเป็นสิ่งที่ต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการส่งกลับแรงงานข้ามชาติ42. ต้องมีการจัดหาอาหารและน้าดื่มที่เหมาะสม ตลอดจนมีการหยุดพักเพื่อให้เข้าห้องน้าในระหว่างการเดินทางส้าหรับการส่งกลับแรงงานข้ามชาติที่มีระยะเวลาการเดินทางยาวนาน43. ยุติการเก็บค่าธรรมเนียมจากแรงงานข้ามชาติเพื่อที่จะใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการส่งกลับพวกเขา64


ภาคผนวกภาคผนวก 1: ประเภทงานประเภทงาน จ านวน ร้อยละ1. เกษตรกรรม 17 8.022. ก่อสร้าง 38 17.923. โรงงาน 13 6.134. ประมงและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องประมง 22>>ลูกเรือ 2 0.94>>อุตสาหกรรมต่อเนื่องประมง 19 8.96>>แรงงานหาปลา 1 0.475. แรงงานในภาคบริการ 56>>ร้านเสริมสวย 1 0.47>>ร้านล้างรถ 1 0.47>>ภาคบริการอื่นๆ 12 5.66>>รีสอร์ท 1 0.47>>ร้านอาหาร 4 1.89>>แรงงานบริการทางเพศ 5 2.36>>นวดแผนไทย 8 3.77>>ร้านนวด 15 7.08>>ร้านคาราโอเกะ 9 4.256. ค้าขาย 9>>ร้านขายผลไม้ 1 0.47>>ร้านค้า (จ้าหน่ายอุปกรณ์ก่อสร้าง) 1 0.47>>ร้านค้า (จ้าหน่ายอุปกรณ์ก่อสร้าง) 1 0.47>>ค้าขายทั่วไป 6 2.837. แรงงานรับจ้าง 18>>แรงงานรับจ้างรายวัน 15 7.08>>แรงงานทั่วไป 3 1.428. แรงงานรับใช้ในบ้าน 4 1.899. ว่างงาน 5 2.3610. อื่นๆ 30>>โรงฆ่าสัตว์ 1 0.4765


ช่างซ่อมรถ 5 2.36>>งานบริษัท 1 0.47>>ผู้ติดตาม 2 0.94>>ช่างอิเล็กโทรนิค 1 0.47>>ช่างเฟอร์นิเจอร์ 1 0.47>>แม่บ้าน 4 1.89>>เจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชน 1 0.47>>โรงพิมพ์ 1 0.47>>โรงเลื่อย 2 0.94>>แรงานรับจ้างตามฤดูกาล 1 0.47>>ยาม/รปภ. 1 0.47>>ตัดไม้ 1 0.47>>ไม่ตอบ 8 3.77ทั้งหมด 212 100.00ภาคผนวก 2: สภาพการกักขังพื้นที่ ประเภทของสถานที่ ขนาดโดยประมาณของห้องกักขังจ านวนผู้ถูกกักขังข้อมูลเพิ่มเติม1) ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่อ.ไชยปราการ จ.เชียงใหม่ ห้องขังของสถานีต้ารวจ ไม่ทราบ 15อ.เกาะคา จ.ล้าปาง ห้องขังของสถานีต้ารวจ 3x3 เมตร 8อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ห้องขังของสถานีต้ารวจ ไม่ทราบ 10-15 สามารถติดต่อนายจ้างได้ต.นาหวาย อ.เชียงดาว จ. ห้องขังของสถานีต้ารวจ 5x4 เมตร 15เชียงใหม่อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ ห้องขังของสถานีต้ารวจ 5x4 เมตร 15ต.ช้างเผือก จ.เชียงใหม่ ห้องขังของสถานีต้ารวจ ไม่ตอบ หนาแน่น สามารถเข้าถึงยาและได้รับการรักษาจากแพทย์จ.เชียงใหม่ ศูนย์กักขังผู้หลบหนีเข้า 5x4 เมตร 15เมืองโดยผิดกฎหมายอ.ฝาง จ.เชียงใหม่ ห้องขังของสถานีต้ารวจ 3x3 เมตร 153) พื้นที่จังหวัดตากอ.แม่สอด จ.ตาก ห้องขังของสถานีต้ารวจ 10x10 และ 50x50 50-100 ผู้หญิงและผู้ชายรวมอยู่ในห้องเดียวกันโดยมีการแบ่งพื้นที่ชายหญิงชัดเจนสามารถติดต่อเพื่อน ครอบครัว และนายจ้างได้จ.ตาก ศูนย์กักขังผู้หลบหนีเข้า ตั้งแต่ 15x10 เมตร ถึง 50-200 ได้รับยารักษาโรค66


เมืองโดยผิดกฎหมาย 50x50 เมตรจ.ตาก เรือนจ้า ตั้งแต่20x20 เมตร ถึง30x30 เมตร20-100 มีห้องประถมพยาบาล และนางพยาบาล/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ให้การรักษาทั่วไปในกรณีป่วยหนักจะถูกส่งไปยังโรงพยาบาล มีการตรวจคนไข้เป็นประจ้าทุกเช้า“ผมได้รับยาแต่ถูกท้าร้ายด้วยค้าพูดหมอ”กรุงเทพ เรือนจ้า ไม่ทราบ 30 หมอมาตรวจทุกวันและมีกาจ่ายยา “ถ้าครอบครัวต้องการมาพบฉัน พวกเขาต้องมีเอกสาร ขาและมือของผมถูกล่ามโซ่”จ.ตากสถานพินิจเด็กและเยาวชน40x40 เมตร 300 แนะน้าให้ไปที่โรงพยาบาล สามารถติดต่อครอบครัวได้4) พื้นที่จังหวัดมุกดาหารอ.เมือง จ.มุกดาหาร ห้องขังของสถานีต้ารวจ 2x2 เมตร 5-7 สามารถติดต่อครอบครัว เพื่อน และนายจ้างได้อ.เลิงนกทา จ.ยโสธร ห้องขังของสถานีต้ารวจ 2x2 เมตร 5 สามารถติดต่อครอบครัว เพื่อน และนายจ้างได้จ.มุกดาหาร ศูนย์กักขังผู้หลบหนีเข้า 5 x 3 เมตร 10-20เมืองโดยผิดกฎหมายจ.มุกดาหาร ห้องขัง 4 x 3 เมตร 5 ห้องปฐมพยาบาลและสาธารณสุขพื้นฐาน5) พื้นที่จังหวัดระยองอ.บ้านเพ จ.ระยอง ห้องขังของสถานีต้ารวจ 5x4 เมตร 30-50“ฉันเห็นแค่พยาบาลแต่ไม่รู้ว่าเขาให้บริการแบบไหนบ้าง”มีการแยกหญิงให้นมบุตรอ.แกลง จ.ระยอง ห้องขังของสถานีต้ารวจ 8x6 เมตร 20-70อ.เมือง จ.ระยอง ห้องขังของสถานีต้ารวจ 5x3 เมตร 10-45อ.มาบตาพุด จ.ระยอง ห้องขังของสถานีต้ารวจ 6x6 Over 100จ.ประจวบคีรีขันธ์ ห้องขังของสถานีต้ารวจ 2.5x3 เมตร ถึง40x40เมตร20-100จ.ระยอง ศูนย์กักขังผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายเล็กสุด 5x3 เมตรใหญ่สุด 10x15 เมตร30-170 มีการให้ยาสามัญ สามารถติดต่อครอบครัวได้กรุงเทพ ศูนย์กักขังผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายเล็กสุด12x8 เมตรใหญ่สุด. 50x50เมตร100-400 มีการให้ยาสามัญ สามารถติดต่อครอบครัวได้จ.ระยอง เรือนจ้า 8x6 45 มีหมอ พยาบาล ยาสามัญ ถ้าในกรณีเจ็บป่วยรุนแรงจะถูกให้พักในห้องพยาบาล สามารถติดต่อครอบครัว เพื่อน67


และนายจ้าง มีการแยกห้องน้าหญิงชายบ้านองผู้หญิงแยกต่างหากจากของผู้ชายและไม่ได้รับอนุญาตให้พบกัน6) พื้นที่จังหวัดพังงาอ.ตะกั่วป่า จ.พังงา ห้องขัง สถานีต้ารวจ 30x20 เมตร 10-100 คน สามารถติดต่อ นายจ้าง เพื่อนครอบครัว และอนุญาตให้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่จากองค์กรเพื่อการศึกษาและการพัฒนาได้จ.ระนอง ห้องขัง สถานีต้ารวจ 15x15 เมตร ส้าหรับนอน10 คนสามารถใช้โทรศัพท์ติดต่อกับคนภายนอกได้จ.ภูเก็ต ห้องขังของสถานีต้ารวจ ไม่ทราบ แน่นจ.ระนอง ศูนย์กักขังผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย15x15 เมตร15-มากกว่า100สามารถเข้าถึงยารักษาโรคได้ มีการแยกผู้ที่ติดสุรา สามารถติดต่อเพื่อนและนายจ้างได้จ. พังงา ศูนย์กักขังผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายใหญ่ไม่สามารถประมาณได้อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา เรือนจ้า ไม่ตอบ 3 มีคลินิคยาในเรือนจ้าและมีการตรวจรักษาจ.ระนอง เรือนจ้า 45x45 เมตร 12-160 คน มีคลินิคยาในเรือนจ้าและสามารถใช้โทรศัพท์ในการพูดคุยและสั่งอาหาจากภายนอกจ.ระนองสถานพินิจเด็กและเยาวชนไม่ตอบ 5 มีการตรวจประจ้าทุกอาทิตย์ที่คลินิคของเรือนจ้าและส่งไปยังโรงพยาบาลเมื่อจ้าเป็นจ.ระนอง เขตทหาร ไม่ตอบ 5 อนุญาตให้ติดต่อกับองค์กรอิสระภายนอกได้ภาคผนวก 3: รายงานผลการประชุมแลกเปลี่ยนเชิงนโยบาย1) กรุงเทพ ประเทศไทยเครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง( MMN) ได้จัดการประชุมเพื่อปรึกษาหารือร่วมกับตัวแทนแรงงานข้ามชาติและองค์กรพัฒนาเอกชนที่มีส้านักงานในกรุงเทพ ก่อนการประชุมแลกเปลี่ยนเชิงนโยบายในวันที่ 25 มิถุนายนพ.ศ. 2556 ผู้เข้าร่วมการประชุมประกอบด้วย ตัวแทนจากองค์กรเยสุอิตสงเคราะห์ผู้ลี้ภัย (Refugee Service: JRS), มูลนิธิการศึกษาเพื่อการพัฒนา ( FED), มูลนิธิคุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ ( FAR) และแกนน้าแรงงานข้ามชาติจากเขตลาดกระบังกรุงเทพฯ จ้านวน 4 คน การประชุมครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อน้าเสนอข้อค้นพบส้าคัญและข้อเสนอแนะจากรายงานวิจัยที่ด้าเนินการภายใต้โครงการเกี่ยวกับการจับ, การกักขัง และการส่งกลับ ผู้ย้ายถิ่น/แรงงานข้ามชาติ (ADD) และเพื่อร่วมกัน68


วางยุทธศาสตร์ในการปกป้องคุ้มครองสิทธิผู้ย้ายถิ่น/แรงงานข้ามชาติและลดความเสี่ยงในการละเมิดสิทธิมนุษยชนระหว่างกระบวนการจับ กักขัง และส่งกลับ ตลอดจนเพื่อร่วมกันก้าหนดประเด็นจ้าเป็นเร่งด่วนในการรณรงค์เพื่อการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายกับหน่วยงานรัฐของประเทศไทยจากการประชุมพบว่า ข้อค้นพบส้าคัญในงานวิจัยโดยเฉพาะประเด็นเกี่ยวกับการจับนั้นยังพบได้ทั่วไปในกรุงเทพมหานคร กล่าวคือ ผู้ย้ายถิ่น/แรงงานข้ามชาติยังคงถูกจับในระหว่างการเดินทาง หรือการเดินทางเพื่อรายงานตัวทุก90 วัน (ตามระเบียบส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง) แรงงานข้ามชาติที่มีเอกสารอย่างถูกกฎหมายยังคงถูกจับ และแรงงานข้ามชาติถูกเรียกให้จ่ายเงินเพื่อแลกกับการปล่อยตัว อย่างไรก็ตามยังพบว่า แรงงานข้ามชาติยังขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับสิทธิของพวกเขาในกระบวนการจับ กักขัง และส่งกลับที่ประชุมยังเห็นร่วมกันต่อยุทธศาสตร์ส้าคัญในการรณรงค์เพื่อการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย ได้แก่ 1) เผยแพร่ข้อค้นพบของงานวิจัยและข้อมูลเกี่ยวกับการจับ การกักขัง และการส่งกลับในรายงานและบทสรุปส้าหรับผู้บริหาร และด้าเนินการตรวจสอบสถานการณ์เกี่ยวกับการจับ การกักขัง และการส่งกลับในประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนน้าข้อเสนอแนะจากการวิจัยไปปฏิบัติโดยให้มีการแจ้งข่าวต่อเครือข่ายและด้าเนินการยื่นแถลงการณ์ต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย), 2) มีการติดตามประสานงานกับภาคีและสมาชิกเครือข่าย ตลอดเจ้าหน้าที่รัฐ รวมทั้งจัดการฝึกอบรมวิทยากรผู้ด้าเนินการฝึกอบรมแบบขยายผล ( Training of Trainer: TOT) และ 3) จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับการจับ การกักขัง และการส่งกลับ โดยประสานร่วมกับองค์กรภาคีเครือข่ายภายนอกผู้เข้าร่วมการประชุมยังได้เสนอข้อห่วงกังวลแก่กองเลขาของเครือข่ายฯ MMN เพื่อน้าเสนอในการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ของส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง ได้แก่ ประการแรก เวลาท้าการของศูนย์พิสูจน์สัญชาติแบบเบ็ดเสร็จนั้นไม่สอบคล้องกับเวลาการท้างานของแรงงานข้ามชาติ ซึ่งท้าให้เกิดความยากล้าบากแก่พวกเขาในการเข้ารับบริการ แรงงานข้ามชาติยังมีความเสี่ยงจากการถูกจับ ถูกกักขัง และถูกส่งกลับระหว่างที่พวกเขาเดินทางไปยังศูนย์ดังกล่าว รวมทั้งแรงงานข้ามชาติเผชิญกับการดูถูกเหยียดหยามและแบ่งแยกจากคนท้องถิ่นเมื่อพวกเขาไปยังศูนย์ดังกล่าวซึ่งตั้งอยู่ภายในศูนย์การค้าประการที่ 3 เกี่ยวกับประเด็นสุขภาพ แรงงานข้ามชาติที่ไม่สบายหรือมีปัญหาสุขภาพที่ถูกจับจะถูกส่งไปที่ศูนย์กักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองแทนที่จะส่งตัวไปรักษาที่โรงพยาบาล อีกทั้งผู้ต้องกักที่มีอาการป่วยรุนแรงกลับถูกส่งกลับประเทศทันทีแทนที่จะส่งตัวไปรักษายังโรงพยาบาล และประการที่ 3 ข้อห่วงกังวลในประเด็นการค่าปรับส้าหรับการอยู่เกินก้าหนดในวีซ่าหรือยื่นเอกสารรายงานตัวทุก 90 วันล่าช้า ซึ่งผู้เข้าร่วมการประชุมกล่าวว่าค่าปรับนั้นสูงถึง 2,000 บาทต่อวันจากนั้นเครือข่าย ฯ MMN ได้จัดการประชุมร่วมกับรองผู้ก้ากับการ 2 กองบังคับการสืบสวนสอบสวน ส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง ณ ส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง กรุงเทพมหานคร ในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2556 ในระหว่างการประชุมเจ้าหน้าที่ของส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองสะท้อนว่าปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการจับ กักขัง และส่งกลับนั้นเกิดจากการที่แรงงานข้ามชาติขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและนโยบายของไทย ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นนายจ้างควรเป็นผู้จัดหาให้แก่ลูกจ้างของพวกเขา อย่างไรก็ตาม ผลที่ตามมาคือ ส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองร่วมกับส้านักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยสหประชาชาติ (UN High Commissioner for Refugees: UNHCR) และองค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน69


(International Organisation for <strong>Migration</strong>) ร่วมกันจัดการอบรมเกี่ยวกับกฎหมายของประเทศไทย โดยเน้นที่กฎหมายคนเข้าเมืองส้าหรับผู้ต้องกักแรงงานข้ามชาติ ณ ศูนย์กักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองกรุงเทพ ทุกวันอังคาร ช่วงเวลาบ่ายเจ้าหน้าที่ส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองยังเคยด้าเนินการเพื่อช่วยเหลือผู้ต้องกักแรงงานข้ามชาติที่พิการเนื่องจากอุบัติเหตุจากการท้างาน เพื่อเรียกร้องค่าชดเชย และประสานกับองค์กรพัฒนาเอกชนเพื่อจัดการส่งกลับเป็นกรณีพิเศษส้าหรับประเด็นเกี่ยวกับสุขภาพนั้น ในศูนย์กักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองกรุงเทพนั้นมีคลีนิกที่ให้บริการการรักษาผู้ต้องกัก 2 แห่ง กล่าวคือ คลินิกที่ด้าเนินการโดยองค์กรเยสุอิตสงเคราะห์ผู้ลี้ภัย และคลินิกที่ด้าเนินการโดยกระทรวงสาธารณสุข อย่างไรก็ตาม ส้าหรับคลินิกที่ด้าเนินการโดยกระทรวงสาธารณสุขนั้นไม่ได้มีแพทย์ประจ้า และส้าหรับศูนย์กักขังอื่นๆนั้น หากไม่มีคลินิกในศูนย์กักขัง ผู้ต้องกักแรงงานข้ามชาติที่ป่วยจะถูกส่งต่อไปยังโรงพยาบาลประจ้าท้องถิ่นนั้นๆ เจ้าหน้าที่ของส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองยังกล่าวด้วยว่า ผู้ต้องกักแรงงานข้ามชาติควรที่จะเข้าถึงการบริการด้านสุขภาพที่เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเป็นอาการป่วยแบบกะทันหัน แต่อย่างไรก็ การบริการด้านการแพทย์อย่างเต็มรูปแบบนั้นคงไม่สามารถจัดหาได้ส้าหรับผู้ต้องกักทุกคน นอกจากนี้ หากมีกรณีการเสียชีวิตของผู้ต้องกัก เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในการดูแลผู้ต้องกักนั้นจะถูกสอบสวนและด้าเนินคดี รวมทั้งเจ้าหน้าที่จะต้องไม่ส่งมอบศพผู้ต้องกักที่เสียชีวิตจนกว่ากระบวนการสืบสวนสอบสวนจะสิ้นสุดส้าหรับในประเด็นที่ได้รับการชี้แจ้งนั้น กล่าวคือ เจ้าหน้าที่ส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองไม่มีอ้านาจในการกักขังผู้ย้ายถิ่นใดก็ตามที่มีความประสงค์ที่จะเดินทางกลับประเทศต้นทางของพวกเขา ถ้าแรงงานข้ามชาติถูกจับระหว่างช่วงเวลาที่พวกเขาด้าเนินการย้ายนายจ้างนั้น พวกเขาสามารถติดต่อกับนายจ้างเก่าเพื่อด้าเนินการประกันตัวได้ ส้าหรับประเด็นเรื่องอาหารและเครื่องดื่มที่ศูนย์กักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองด้าเนินการจัดหาให้แก่ผู้ต้องกักนั้น ด้าเนินตามที่ระบุในงบประมาณแผ่นดิน ซึ่งทั้งศูนย์กักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองและสถานีต้ารวจจะได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลจ้านวน 15 บาทต่อ ผู้ต้องกักหนึ่งคน ต่ออาหารหนึ่งมื้อ ปัจจุบันนี้ ศูนย์กักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองบางแห่งได้รับการสนับสนุนด้านนี้จากองค์กรพัฒนาเอกชนอย่างไรก็ตาม จากการประชุมเจ้าหน้าที่ส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองเห็นด้วยต่อความผิดพลาดที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการจับ กักขัง และส่งกลับ ซึ่งหลักๆนั้นเกิดขึ้นจากอุปสรรคด้านภาษา การขาดความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและนโยบายของไทย ตลอดจนการไม่มีสัญญาบ่งบอกเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพของแรงงานข้ามชาติในระหว่างกระบวนการจับกักขัง และส่งกลับ เจ้าหน้าที่ส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองแสดงความห่วงกังวลเกี่ยวกับสภาพของศูนย์กักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งศูนย์กักขังในพื้นที่ต่างจังหวัด ประเด็นหลักนั้นสืบเนื่องจากการที่ศูนย์กักขังมีพื้นที่จ้ากัดไม่เพียงพอต่อจ้านวนผู้ต้องกักที่มีจ้านวนมากความเป็นไปได้ในการด้าเนินการตามข้อเสนอแนะของเครือข่าย ฯ MMNในประเด็นการเข้าถึงการแปลภาษา ส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองนั้นมีแผนงานที่จะจ้างล่ามแปลภาษาประจ้าส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองทั่วประเทศเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกัน ได้จัดให้มีการฝึกภาษาส้าหรับเจ้าหน้าที่ส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองที่ประจ้าในส้านักงานจังหวัดต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่มีแรงงานข้ามชาติท้างานหรืออาศัยอยู่เป็นจ้านวนมาก ซึ่งหากเครือข่าย ฯ MMN มีทรัพยากรและต้องการที่จะสนับสนุนในส่วนนี้ ทางส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองก็ยินดีเป็น70


อย่างยิ่ง อย่างไรก็ตาม หากเครือข่าย ฯ MMN ต้องการมีส่วนร่วมในการอบรมดังกล่าว เครือข่ายฯ จ้าเป็นต้องยื่นจดหมายร้องขอเพื่อให้การสนับสนุนทรัพยากรต่อผู้บัญชาการส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง เช่น หนังสือเกี่ยวกับค้าศัพท์ด้านการย้ายถิ่น “Speaking of <strong>Migration</strong>: <strong>Mekong</strong> Vocabulary on <strong>Migration</strong>‛ และกฎหมายแรงงานในลุ่มน้าโขง “ Legally Binding: ASummary of Labour Laws in the Greater <strong>Mekong</strong> Subregion‛ และผู้เชี่ยวชาญด้านการแปลภาษาเพื่อเป็นวิทยากรฝึกอบรมแก่เจ้าหน้าที่ส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง2) ประเทศพม่ากองเลขาเครือข่าย ฯ MMN ได้ยื่นเอกสารรายงานการวิจัยและบทสรุปส้าหรับผู้บริหารเรื่องการจับ การกักขัง และการส่งกลับประเทศ (ภาษาพม่า) ต่อหน่วยงานกระทรวงของรัฐบาลพม่าที่เกี่ยวข้อง (ทั้งหมดมีส้านักงานอยู่ในกรุงเนปิดอว์) ผ่านเจ้าหน้าที่รัฐที่ประสานงานหลักกับเครือข่ายฯ ซึ่งมาจากกองต่อต้านการค้ามนุษย์ กระทรวงกิจการภายใน โดยรายงานได้ยื่นต่อกระทรวงกิจการภายใน (กองต่อต้านการค้ามนุษย์), กระทรวงตรวจคนเข้าเมือง, กระทรวงแรงงาน จัดหางานและประกันสังคมเครือข่าย ฯ MMN ยังได้ยื่นรายงานต่อกระทรวงสองแห่งที่มีส้านักงานอยู่ ณ กรุงย่างกุ้ง ได้แก่ กระทรวงการต่างประเทศ และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (ประเทศพม่า)3) ประเทศกัมพูชาองค์กรให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายต่อเด็กและสตรี (Legal Support for Children and Women: LSCW) ซึ่งเป็นภาคีโครงการเกี่ยวกับการจับ การกักขัง และการส่งกลับนั้น ได้ยื่นรายงานผลการวิจัย (ภาษาอังกฤษ) ต่อ ฯพณฯท่าน ชอบุญ เอ็ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ราชอาณาจักรกัมพูชา71


บรรณานุกรมo A v. Australia, Communication No. 560/1993, U.N. Doc. CCPR/C/59/D/560/1993, para. 9.2. April 30,1997,.สามารถเข้าดูได้ที่: http://www.unhchr.ch/tbs/doc.nsf/0/30c417539ddd944380256713005e80d3?Opendocument (เข้าถึงครั้งล่าสุด 30/05/2013))o Adrian Edwards, (28/12/2009), 'Deportation of Lao Hmong Must Stop: UN High Commissioner for Refugees',(UNHCR website: 2009). สามารถเข้าดูได้ที่: www.unhcr.org/4b38d1049.html (เข้าถึงครั้งล่าสุด01/11/2011).o Alexander, S., Salze-Lozac’h, V., and Winijkulchai, A. (30 January, 2013). Thailand Adopts NationwideMinimum Wage Policy Amid Controversy. (Asia Foundation). สามารถเข้าดูได้ที่: http://asiafoundation.org/inasia/2013/01/30/thailand-adopts-nationwide-minimum-wage-policy-amid-controversy/(เข้าถึงครั้งล่าสุด16 April, 2013).o Aljazeera, ‘Rohingya Migrants Face Deportation’ in Aljazeera, 28/01/2009. สามารถเข้าดูได้ที่(http://www.aljazeera.com/news/asia-pacific/2009/01/20091284407816207.html) (เข้าถึงครั้งล่าสุด 01/11/2012).o Amnesty International, (2007), ‚<strong>Migration</strong>-Related Detention: A Research Guide on Human Rights Standardsrelevant to the Detention of Migrants, Asylum Seekers and Refugees‛, (AI: November 2007).o Asia One News, ‘UN Says Thailand Breaches Departing Hmong Refugees’ in Asiaone, 29/12/2009. สามารถเข้าดูได้ที่(LINK http://www.asiaone.com/News/Latest+News/Asia/Story/A1Story20091229-188666.html) (เข้าถึงครั้งล่าสุด 01/11/2012).o Aung, Khun and Aung, SoeLin , (2009) MAP Foundation, ‚Critical Times: Migrants and the Economy inChiang Mai and Mae Sot‛. สามารถเข้าดูได้ที่(http://www.mapfoundationcm.org/pdf/eng/Critical-Times.pdf) (เข้าถึงครั้งล่าสุด01/11/2012)o Bangkok Post.(9 เมษายน 2556 ). Alien workers get another 120 days. Availableat: http://www.bangkokpost.com/breakingnews/344674/cabinet-approves-extension-of-registration-verificationperiod(เข้าถึงครั้งล่าสุด 16 เมษายน2556)o Cholewinski, Ryszard, (2005) ‚Protecting Migrant Workers in a Globalized World.‛ <strong>Migration</strong> Policy Institute.March 2005.o Collewet, Louise, (2012), ‚Inhuman Detention Conditions in Bangkok?‛, Oxford Monitor of Forced <strong>Migration</strong>,Vol. 2, No. 1, pp. 28-33o Committee on the Covenant on Civil and Political Rights (CCPR), (1999), General Comment No. 27: Freedomof movement (02/11/99). CCPR/C/21/Rev.o Committee on the Rights of the Child, (2005) General Comment No. 6 on the treatment of unaccompanied andseparated children outside their country of origino Edwards, Alice, (2011), ‚Back to Basics: The Right to Liberty and Security of Person and ‘Alternatives toDetention’ of Refugees, Asylum-Seekers, Stateless Persons and Other Migrants‛, Legal and Protection Policy Research72


Series, Division of International Protection, United Nations High Commissioner for Refugees (UNHCR), GenevaSwitzerlando Flynn, Michael (2011). ‚An Introduction to Data Construction on Immigration-related Detention‛. GlobalDetention Project, July 2011, Geneva, Switzerlando Flynn, Michael and Cannon, Cecilia (2009) ‚The Privatization of Immigration Detention: Towards a GlobalView,‛ Global Detention Project working paper, September 2009, Geneva, Switzerland. สามารถเข้าดูได้ที่:http://www.globaldetentionproject.org/fileadmin/docs/GDP_PrivatizationPaper_Final5.pdf (เข้าถึงครั้งล่าสุด30/50/2013)o Flynn, Michael and Ricupero, Isabel, (2009), ‚<strong>Migration</strong> and Detention: Mapping the International LegalTerrain‛, A Global Detention Project Working Paper (The Graduate Institute: Geneva)o Flynn, Michael, (2012), ‚On the Unintended Consequences of Human Rights Promotion on ImmigrationDetention‛, Global Detention Project Discussion Paper, March 2012, Geneva, Switzerlando Government of Thailand, Ministry of Labour, Department of Employment, Office of Foreign WorkersAdministration, June 2011 ‘Registration Statistics’. สามารถเข้าดูได้ที่: http://wp.doe.go.th/sites/default/files/statistic/7/sm06-54.pdf (เข้าถึงครั้งล่าสุด01/11/12).o Government of Thailand, Ministry of Social Development and Human Security, (2010), ‘Cabinet Meeting of 4May Relating to the Ministry of Social Development and Human Security’ in Ministry of Social Development andHuman Security website 12/05/2010. สามารถเข้าดูได้ที่; http://www.msociety.go.th/news_detail.php?newsid=4376&groupid=(เข้าถึงครั้งล่าสุด19/04/2012).o Government of Thailand, Prime Minister’s Office, (2010), ‚Order No. 125/2553 of the Prime Minister’s Office,regarding the Suppression, Prosecution and Arrest of Migrants Working Underground,‛ English translation.o Grant Harrison, Stefanie, (2005), ‚International <strong>Migration</strong> and Human Rights‛, Global Commission onInternational <strong>Migration</strong>, Policy Analysis and Research Programme. สามารถเข้าดูได้ที่:http://www.iom.int/jahia/webdav/site/myjahiasite/shared/shared/mainsite/policy_and_research/gcim/tp/TP7.pdf(เข้าถึงครั้งล่าสุด30/05/2013)o Huguet, Jerrold W., (2008), ‚Do international migration policies in Thailand achieve their objectives?‛ (ILO:Bangkok)o Huguet, Jerrold W., Chamratrithirong, Apichat and Richter, Kerry , (2011), ‘Thailand <strong>Migration</strong> Profile’inThailand <strong>Migration</strong> Report 2011, (Bangkok: IOM)o Human Rights Watch (HRW), (2012), ‚Ad Hoc and Inadequate: Thailand’s Treatment of Refugees and AsylumSeekers, (USA: September 2012)o International Detention Coalition (IDC) (2011). ‚Legal Framework and Standards Relating to the Detention ofRefugees, Asylum Seekers and Migrants: A Guide.‛ Melbourne, Australia.o International Detention Coalition (IDC), (2011b), ‚The issue of immigration detention at the UN level: Recentdevelopments relevant to the work of the International Detention Coalition (IDC)), January 2011,73


o International Labour Organization (ILO), (2005), ‚2005 Report of the Director-General: A global allianceagainst forced labour: Global Report under the Follow-up to the ILO Declaration on Fundamental Principles and Rightsat Work‛, International Labour Conference Report I (B), (Geneva: ILO).o International Labour Organization (ILO), (2010), ‚International labour migration: A rights-based approach‛,(Geneva: ILO)o International Organization for <strong>Migration</strong> (IOM), (2010a), Migrant Information Note, Issue 5, 04/2010.สามารถเข้าดูได้ที่: http://110.164.59.211/gmsinfo/images/stories/migration/link_documents/MIGRANT_INFORMATION_NOTE_Issue_5_30_April_2010_FINAL.pdf (เข้าถึงครั้งล่าสุด4/10/2012).o International Organization for <strong>Migration</strong> (IOM), (2010b), Migrant Information Note, Issue 6, 07/2010, p.1.สามารถเข้าดูได้ที่: http://www.burmalibrary.org/docs09/IOM-Migrant_Info_Note_No_6(en).pdf (เข้าถึงครั้งล่าสุด03/10/2012).o International Organization for <strong>Migration</strong> (IOM), (2011a), Migrant Information Note, Issue 9, 01/2011. สามารถเข้าดูได้ที่: http://www.burmalibrary.org/docs11/IOM-Migrant_Info_Note_No_9(en).pdf (เข้าถึงครั้งล่าสุด03/10/2012).o International Organization for <strong>Migration</strong> (IOM), (2011b), Migrant Information Note, Issue 12, 08/2011.สามารถเข้าดูได้ที่: http://www.scribd.com/doc/61533801/Thailand-IOM-Migrant-Info-Note-No-12-August-en (เข้าถึงครั้งล่าสุด04/10/2012).o International Organization for <strong>Migration</strong> (IOM), (2012a), Migrant Information Note, Issue 14, 02/2012,สามารถเข้าดูได้ที่: http://www.burmalibrary.org/docs13/IOM-Migrant_Info_Note_No_14(en)-red.pdf (เข้าถึงครั้งล่าสุด03/10/2012).o International Organization for <strong>Migration</strong> (IOM), (2012b), Migrant Information Note, Issue 15, 05/2012.สามารถเข้าดูได้ที่http://www.burmalibrary.org/docs13/IOM-Migrant_Info_Note_No_15(en)-ocr-red.pdf (เข้าถึงครั้งล่าสุด11/10/2012).o Jesuit Refugee Service. (22 มีนาคม2013). Thailand: migrant workers face continued hardship. สามารถเข้าดูได้ที่: http://www.jrs.net/news_detail?TN=NEWS-20130322081451 (เข้าถึงครั้งล่าสุด6 เมษายน, 2013).o <strong>Mekong</strong> <strong>Migration</strong> <strong>Network</strong> (MMN), (2008), ‚<strong>Migration</strong> in the GMS: Resource Book, In-depth Study: Arrest,Detention and Deportation‛, (Hong Kong: MMN and AMC). สามารถเข้าดูได้ที่:http://www.mekongmigration.org/?page_id=73 (เข้าถึงครั้งล่าสุด30/05/2013).o <strong>Mekong</strong> <strong>Migration</strong> <strong>Network</strong> (MMN), (2010), ‘Deaths of Migrants Must Be Investigated’, Press Release,19/03/2010. สามารถเข้าดูได้ที่(www.mekongmigration.org/?p=678) (เข้าถึงครั้งล่าสุด 01/11/2012).o <strong>Mekong</strong> <strong>Migration</strong> <strong>Network</strong> (MMN), (2012), ‚Submissions to the Special Rapporteur on the Human Rights ofMigrants Concerning the Use of Immigration Detention in Thailand‛, สามารถเข้าดูได้ที่:http://www.mekongmigration.org/?p=1077 (เข้าถึงครั้งล่าสุด30/05/2013)74


o <strong>Mekong</strong> <strong>Migration</strong> <strong>Network</strong> (MMN), (2013), ‚Border Economic Zones and <strong>Migration</strong>‛ สามารถเข้าดูได้ที่:http://www.mekongmigration.org/finalised%20BEZ%20pdf%20file.pdf (เข้าถึงครั้งล่าสุด 30/05/2013)o Mydans, Seth, (2009), 'Thailand Evicts 4,000 Hmong to Laos‛, New York Times, 28/12/2009. สามารถเข้าดูได้ที่:http://www.nytimes.com/2009/12/29/world/asia/29hmong.html?ref=hmongtribe&_r=1&) (เข้าถึงครั้งล่าสุด01/11/2011)o Naing, Saw Yan, (2012), ‘Thai Police Suspected in Murder of Karen Job Seekers’, The Irrawaddy, 02/02/2010.สามารถเข้าดูได้ที่: http://www2.irrawaddy.org/article.php?art_id=17719) (เข้าถึงครั้งล่าสุด01/11/2012).o Office of the High Commission for Refugees (OHCHR), (2006), ‚Expulsions of Aliens in International HumanRights Law‛, OHCHR Discussion paper, (Geneva: OHCHR)o Pollock, Jackie and Aung, SoeLin , ‘Critical Times: Gendered Implications of the Economic Crisis for MigrantWorkers from Burma/Myanmar in Thailand’, in Gender and Development, Vol.18, No.2, 2010, p.220.o Pollock, Jackie., Pearson, Ruth., Kusakabe, Kyoko., ‚Policy Brief and Recommendation on UndocumentedLabour <strong>Migration</strong> in Thailand‛, สามารถเข้าดูได้ที่: http://www.polis.leeds.ac.uk/assets/files/research/policy-briefrecommendation-undocumented-labour-migration-thailand.pdf(เข้าถึงครั้งล่าสุด30/05/2013)o Raks Thai, (2011) ‚Joint Submission on Migrant Workers and Their Families in Thailand‛, for the 12 th Sessionof the Universal Periodic Review, October 2011. สามารถเข้าดูได้ที่ http://lib.ohchr.org/HRBodies/UPR/Documents/session12/TH/JS4-JointSubmission4-eng.pdf (เข้าถึงครั้งล่าสุด30/05/2013)o RATS-W Team, Empower Foundation, (2012), ‚Hit and Run: Impact of Anti Trafficking Policy and Practiceon Sex Worker’s Human Rights in Thailand,‛ Availableat http://www.plri.org/sites/plri.org/files/Hit%20and%20Run%20%20RATSW%20Eng%20online.pdf (last accessed30/05/2013)o Rukumnuaykit, Pungpond, (2009), ‚A Synthesis Report on Labour <strong>Migration</strong> Policies, Management andImmigration Pressure in Thailand, (Bangkok: ILO)o Sampson, R., Mitchell, G. and Bowring, L. (2011). ‚There are alternatives: A handbook for preventingunnecessary immigration detention‛. Melbourne: The International Detention Coalition.o Sciortino, Rosalia and Punpuing, Sureeporn , (2009), ‚International <strong>Migration</strong> in Thailand 2009‛, InternationalOrganization for <strong>Migration</strong>, (Bangkok: IOM),o Special Rapporteur on Migrants, (2005), ‚Report of the Special Rapporteur on the human rights of migrants,Ms. Gabriela Rogriguez Pizarro‛, E/CN.4/2005/85, 27 December 2004.o Special Rapporteur on Migrants, (2009), E/CN.4/2003/85o The Economist, (2009), ‚Laotian Hmong Refugees in Thailand: Shown the Door‛, The Economist, 30/12/2009.สามารถเข้าดูได้ที่: www.economist.com/node/15179782) (เข้าถึงครั้งล่าสุด 01/11/2012).75


o The Nation, ‘Thailand Says 126 Rohingya Boat People ‘Escorted’ to Sea Already‛, The Nation, 23/01/2009.สามารถเข้าดูได้ที่http://nationmultimedia.com/2009/01/23/regional/regional_30094044.php (เข้าถึงครั้งล่าสุด01/11/2012).o UN Working Group on Arbitrary Detention (WGAD), (1999) ‚Deliberation No. 5 concerning the situationregarding immigrants and asylum-seekers‛, E/CN.4/2000/4, 28 December 1999o United Nations Economic and Social Council (ECOSOC), (1958) ‚Establishment of the Executive Committeeof the Programme of the United Nations High Commissioner for Refugee,‛ E/RES/672 (XXV). สามารถเข้าดูได้ที่:http://www.unhcr.org/3ae69eecc.html (เข้าถึงครั้งล่าสุด/05/2013)o United Nations High Commission for Refugees (UNHCR), (1999), Revised Guidelines on Applicable Criteriaand Standards relating to the Detention of Asylum Seekers, (Geneva: UNCHR). สามารถเข้าดูได้ที่:http://www.unhcr.org.au/pdfs/detentionguidelines.pdf (เข้าถึงครั้งล่าสุด01/11/2012)o United Nations High Commission for Refugees (UNHCR), (2010), ‚NGO Statement on InternationalProtection‛ Agenda Item 5.a, สามารถเข้าดูได้ที่http://www.unhcr.org/4caed7129.pdf (เข้าถึงครั้งล่าสุด).o United Nations High Commission for Refugees (UNHCR), (2012), ‚2012 UNHCR country operations profile:Thailand.‛ สามารถเข้าดูได้ที่: http://www.unhcr.org/pages/49e489646.html (เข้าถึงครั้งล่าสุด01/11/2012).o United Nations, Human Rights Committee, (2004), ‚International Covenant on Civil and Political Rights:consideration of reports submitted by States Parties under article 40 of the covenant. Initial Report: Thailand‛,CCPR/C/THA/2004/1.o Vasuprasat, Pracha, (2010), ‚Agenda for labour migration policy in Thailand: Towards long-termcompetitiveness‛, (ILO: Bangkok)i Huguet, Chamratrithirongและ Richter (2011: 11); SciortinoและPunpuing (2009: 15)ii Huguet, ChamratrithirongและRichter (2011: 12)iii Huguet, Chamratrithirongและ Richter (2011: 119)iv AungและAung, (2009: 22); Pollock และAung, (2010: 220)v AungและAung, (2009: 12)viPollock และAung, (2010: 219)vii Naing, (2010: 1)viii<strong>Mekong</strong> <strong>Migration</strong> <strong>Network</strong> (2010)ixThe Nation (23/01/2009)76


xAljazeera, (28/01/2009)xiThe Economist, (30/12/2009).xiiAsia One News (29/12/2009); Mydans, in New York Times (28/12/2009); Edwards, in UNHCR (28/12/2009).xiiiAsia One News (29/12/2009); Mydans, in New York Times (28/12/2009); Edwards, in UNHCR (28/12/2009).xivUNHCR หน่วยงานผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติคือบุคคลที่มีสถานะของUNHCR ได้รับการระบุจากหน่วยงานว่าเป็นผู้ลี้ภัยxv Raks Thai (2011)xviIOM (2012b)xviiIOM (2011b)xviii กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (มาตรา12.2); อนุสัญญาแรงงานต่างชาติ (8.1 บทความและ8.2);อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (10.2 บทความ).xix ความเห็นทั่วไป ฉบับที่. 27: อิสรภาพในการเคลื่อนย้าย (มาตรา12), 02/11/99. CCPR/C/21/Rev. 1/Add.9, ความเห็นทั่วไปฉบับที่. 27.xx UDHR: มาตรา 3 และ 9; ICCPR: มาตรา 9; ICRMW: มาตรา16xxiE/CN.4/2003/85 of the Special Rapporteur on Migrantsxxii A v. Australia, Communication No. 560/1993, U.N. Doc. CCPR/C/59/D/560/1993, para. 9.2. 30เมษายน,2550xxiii ความเห็นทั่วไป ฉบับที่.. 30: การเลือกปฏิบัติต่อประชาชนที่ไม่ใช่พลเมือง, มกราคม, 2547. อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการขจัดการเหยียดผิในทุกรูปแบบ, มติที่ประชุมสมัชชาใหญ่ 2106 (XX), 21 ธันวาคม2508, ถูกบังคับใช้ 4 มกราคม 2512ประเทศไทยรับมาปฏิบัติเมื่อ28 มกราคม 2546.xxivWGAD การพิจารณาฉับบที่ 5, (1999)xxv ดู: สหประชาชาติข้าหลวงใหญ่เพื่อผู้ลี้ภัย(UNHCR). 1994. "หลักการของการไม่บังคับส่งกลับเป็นบรรทัดฐานของกฎหมายระหว่างประเทศตอบค้าถามที่มีต่อ UNHCR โดยศาลรัฐธรรมนูญกลางแห่งสหพันธรัฐเยอรมัน ในกรณี 2 BvR 1938/93, 2 BvR 1953/93, 2 BvR1954/93.‛ UNHCR ผู้ลี้ภัยและการปฏิบัติ.31 มกราคม 2537. http://www.unhcr.org/publ/RSDLEGAL/437b6db64.htmlxxvi ข้อแนะน้าหลักการและแนวทางในการสิทธิมนุษยชนและการค้ามนุษย์, ข้อแนะน้าที่ 6xxviiค้าเสนอแนะแห่งสภายุโรป 1547 (2002) ขั้นตอนการส่งกลับให้สอดคล้องกับหลักการด้านสิทธิมนุษยชน และการบังคับใช้ด้วยความเคารพในด้านความปลอดภัยและการให้เกียรติ, สามารถเข้าดูได้ที่: http://assembly.coe.int/documents/AdoptedText/ta02/erec1547.htm (เข้าถึงเมื่อ 01/11/2012) และ สภายุโรป :ยี่สิบแนวทางที่น้ากลับมาบังคับใช้, กันยายน 2548 . สามารถเข้าดูได้ที่: http://www.coe.int/t/dg3/migration/archives/Source/MalagaRegConf/20_Guidelines_Forced_Return_en.pdf (เข้าถึงเมื่อ 01/11/2012)xxviiiรายงานพิเศษอันเกี่ยวข้องกับแรงงานข้ามชาติ (2548)xxix Bangkok Post. 9เมษายน 2556xxx Jesuit Refugee Service.22 มีนาคม 2556xxxiAlexander, S., Salze-Lozac’h, V., and Winijkulchai, A. 30 January, 2013.xxxiiECOSOC (1958)xxxiii ส่วนนี้วางอยู่บนฐานของ Pollock, Jackie., Pearson, Ruth.,Kusakabe, Kyoko.xxxiv ดู MMN (2013)xxxv มติคณะรัฐมนตรีต่อการศึกษาของบุคคลที่ไม่มีเอกสารและไม่มีสัญชาติไทย, กรกฎาคม 2548xxxviดู MMN (2013)xxxviiIOM (2010a)xxxviiiIOM (2010b)xxxixIOM (2010b)77


xlIOM (2011a) United Nations, คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน, 2004: 55xliUnited Nations, คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน, 2004: 55xliiUnited Nations, คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน, 2004: 56 IOM (2012a)xliiiIOM (2012a) รัฐบาลไทย กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (2010)xlivIOM (2012a) Government of Thailand, Ministry of Social Development and Human Security (2010) and IOM (2012b)xlvRATS-W Team, Empower Foundation (2012)xlviUnited Nations, คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน, 2004: 5578

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!