11.07.2015 Views

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ในพระราชบัญญัติการ ท้างานของคน ต่างด้าว พ.ศ. 2551 ได้ให้สิท ธิและการคุ้มครองแรงงาน ข้ามชาติที่แตกต่างจากแรงงานไทย แม้ว่ากฎหมายจะบอกชัดเจนว่าครอ บคลุมถึงแรงงานข้ามชาติแ ต่การบังคับใช้กฎหมายก็ยัง ไม่ทั่วถึงและใช้ตามอ้าเภอใจ งาน ศึกษาจ้านวนมาก พบว่าแรงงานข้ามชาติ มีชั่วโมงการ ท้างานที่ยาวนานเกินกว่า กฎหมายก้าหนดและได้รับค่าแรงน้อยกว่าค่าแรงขั้นต่้าที่ระบุไว้ในกฎหมายแรงงานข้ามชาติ เสียเปรียบจากการ ถูกกีดกันและไม่สามารถเข้าถึงสิทธิ แรงงานที่มีอยู่ ส้าหรับแรงงานข้ามชาติที่ แจ้ง ความ ว่าไม่ได้รับค่าจ้าง ถูก เอาเปรียบหรือถูกละเมิดจากสภาพการท้างาน กลับ ส่งผลให้พวกเขาต้อง ถูกไล่ออกจาก งาน อยู่บ่อยครั้ง การถูกเลิก จ้างน้าไปสู่การสูญเสียสถานะทางกฎหมาย พวกเขามักถูกส่งกลับก่อนที่จะสามารถยุติข้อพิพาทเหล่านั้นได้ นอกจากนี้ระดับการพึ่งพานายจ้างของแรงงานข้ามชาติ อาจจะมีส่วนท้าให้แรงงานไม่กล้าลุกขึ้นมากระท้าการใดๆ นอกจากนี้ แรงงานข้ามชาติจ้านวนมาก ยัง ต้องพึ่งพา นายจ้างใน เรื่องที่พักตามที่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นได้พยายามส่งเสริมให้นายจ้างจัด หาที่พักให้แก่แรงงาน ข้ามชาติ ในสถาน ที่ท้างาน แรงงานที่มีข้อพิพาทกันนายจ้าง ย่อมหมายความว่าพวก เขาจะต้อง สูญเสียที่พักด้วย ในการสร้างความตระหนักในเรื่องสิทธิ ควรมีการสร้างความเข้าใจระหว่างนายจ้างและแรงงานถึงสิทธิและความสัมพันธ์ของทั้งสองฝ่าย แต่ในพ รบ.คุ้มครองแรงงาน ระบุเพียงกฎ และระเบียบที่ เกี่ยวกับ การท้างาน ต้องเขียนในภาษาไทย ซึ่งแรงงานข้ามชาติบางส่วนไม่มีสามารถอ่านเขียนภาษาไทยได้ระดับความ เข้มข้นใน การพึ่งพานายจ้างและอุปสรรคในการหานายจ้างใหม่โดยไม่สูญเสียสถานะทางกฎหมายส่งผลอย่างยิ่งต่อสถานการณ์ของการบังคับ ใช้แรงงาน ตามอนุสัญญาว่าด้วยการยกเลิกแรงงานบังคับ พ.ศ.2500 (ฉบับที่105) กล่าวถึงการบังคับว่าเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนในสองประเด็นคือ อันตรายจากการลงโทษ และความไม่สมัครใจการขยายความคุ้มครองทางสังคมท าแท้งหรือส่งกลับ : ผิดกฎหมายถ้าท า ผิดกฎหมายถ้าไม่ท าแรงงานข้ามชาติ หญิงที่ตั้งครรภ์ถูก ข่มขู่อย่างเปิดเผยทั่วไปด้วยนโยบายการส่งกลับที่ถูกน้ามาใช้ ซ้าๆ ในช่วงสิบปีที่ผ่านมาเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมักสนับสนุนให้นายจ้างส่งลูกจ้างหญิงที่ตั้งครรภ์กลับประเทศต้นทาง แน่นอนว่าไม่มีการลาคลอดส้าหรับแรงงานข้ามชาติหญิง ผลที่ตามมาคือ การไม่มีทางเลือก ของแรงงานข้ามชาติหญิง ท้าให้พวกเธอเลือกที่จะท้าแท้งซึ่งเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมายในประเทศไทย ผู้หญิงจ้านวนมากเสียชีวิตหรือต้องทนทุกข์กับผลกระทบในระยะยาวอันเป็นผลมาจากการท้าแท้งเถื่อน ส้าหรับผู้หญิงที่เลือกจะเก็บลูกของตนไว้ ต้องล้าบากกับการด้าเนินชีวิตที่ไม่ได้รับความช่วยเหลือทางสังคมใดๆและปราศจากการสนับสนุนจากครอบครัวแหล่งข้อมูล: Pollock, Pearson, Kusakabeกล่องข้อควำมที่3ในการส่งเสริม การเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและความก้าวหน้าเพื่อให้ มั่นใจว่าทั้งแรงงานชาย และหญิงมีความสุขกับการท้างานในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย มีช่วงเวลาพักที่เหมาะสม ครอบครัวได้รับการค้านึงถึงและให้ คุณค่าทางสังคมมีการชดเชยที่เหมาะสมเมื่อสูญเสียรายได้ และสามารถเข้าถึงการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมได้ภายใต้ MOU ใหม่ นายจ้างของแรงงานข้ามชาติที่มีหนังสือเดินทางชั่วคราว สามารถน้าลูกจ้างเหล่านั้นเข้าสู่ระบบประกันสังคมได้หากพวกเขาต้องการ นี่ถือเป็นการปรับเปลี่ยนเล็กๆจากนโยบายที่ในการจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติของไทยที่แรงงานข้ามชาติ อยู่ภายใต้ ระบบการประกันสุขภาพ แห่งชาติ แต่ถูกแยกออกจากการสมัครเข้าระบบประกันสังคมดังนั้น ภายใต้ หากยึดตาม MOU แล้ว แรงงานข้ามชาติทุกคนสามารถเข้าสู่ระบบประกัน สังคมได้ ยกเว้นผู้ที่อยู่ในภาคเกษตรกรรมและแรงงาน รับใช้ในบ้าน xvi นอกจากนี้ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2554 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบให้แรงงานข้าม22

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!