11.07.2015 Views

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

มีความผิดจนกว่าจะได้พิสูจน์ว่าบริสุทธิ์ . .กฎหมายและมาตรฐานมีไว้เพื่อ ให้มั่นใจว่าแรงงานข้ามชาติสามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และมีโอกาสในการได้รับทราบ เหตุผลในการถูกกักขังและสิทธิในการเข้าสู่กระบวนการทางกฎหมายก่อนที่จะมีการด้าเนินคดีในชั้นศาลทั้งในส่วนของกฎหมายไทย และกฎหมายสากล ขณะเดียวกันตาม ICCPR ซึ่งประเทศไทยเป็นผู้ลงนาม ที่เรียกร้องให้ รัฐบังคับใช้การ รับประกันขั้นต่้ารวมถึงการให้การแก้ต่างทางกฎหมายและบริการแปลภาษา ระบบกฎหมายไทยให้กระบวนการศาลเพื่อตรวจสอบว่าแต่ละคนมีความผิดอันเกี่ยวข้องกับการตรวจคนเข้าเมืองหรือไม่ ในระหว่างที่นายชวนหลีกภัยเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น (พ.ศ.2535-2538 และ พ.ศ. 2540-2541) “การบริการ” การส่งกลับแบบเบ็ดเสร็จถูกน้าเสนอนั่นหมายความว่าไม่จ้าเป็นที่จะต้องเสียเวลาในชั้นศาล ซึ่งอันที่จริงแล้วผู้ต้องสงสัยในการเป็นแรงงานข้ามชาติผิด กฎหมายอาจถูกส่งกลับทันที ขณะที่นี่ถือเป็นการละเมิดภาระผูกพันระหว่างประเทศของไทย แต่ยังพบว่าทุกวันนี้กระบวนการทั้งคู่ถูกน้ามาใช้ ในการปฏิบัติต่อ แรงงานข้ามชาติบางส่วนโดยเฉพาะ ผู้ที่อยู่บริเวณชายแดนนั้นมักถูกส่งกลับอย่างรวดเร็วในขณะที่แรงงานข้ามชาติอื่นๆอาจใช้เวลานานขึ้นจากการต้องเข้าสู่กระบวนการในชั้นศาลในการศึกษานี้ได้พบว่า ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ (43 ราย) ให้ข้อมูลว่าพวกเขาถูกส่งกลับทันทีที่ถูกส่งไปยังศูนย์กักขังไม่มีเวลาในการยื่นอุทธรณ์หรือประเมินสถานการณ์ใดๆ และแรงงานข้ามชาติส่วนใหญ่ถูกควบคุมตัวอยู่ในช่วงระยะเวลาสั้นๆก่อนจะถูกปล่อยตัว (ร้อยละ 43) และถูกส่งกลับ (ร้อยละ 24.3) ซึ่งน้าไปสู่ความกังวลอันเกี่ยวข้องกับกระบวนการเหล่านี้แม้ว่าช่วงระยะเวลาในการควบคุมตัวนั้นจะอยู่ระหว่างไม่กี่ชั่วโมงไปถึง กว่า 45 วันเนื่องจากการขาดการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม แรงงานข้ามชาติ ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ (ร้อยละ 60.8) รายงานว่าพวกเขาถูกสั่งให้เซ็น ต์รับทราบข้อกล่าวหา ที่ถูกเขียนขึ้นในภา ษาไทย และพวกเขาไม่เข้าใจได้ ในแง่ของการเปิดโอกาสให้แรงงานข้ามชาติมีสิทธิในการเรียกร้องสิทธิของพวกเขาและเพื่อเรียกร้องสถานภาพของตนนั้น ประมาณ 1 ใน 3 ได้รับการแจ้งเกี่ยวกับข้อกล่าวหา แต่ก็ยังด้าเนินการเป็นภาษาไทยซึ่งพวกเขาไม่สามารถเข้าใจได้ ประมาณร้อยละ 78 ไม่ได้เข้าผ่านกระบวนการในชั้นศาล ส้าหรับในบรรดาผู้ให้ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการในชั้นศาล มีเพียง 3 รายเท่านั้นที่มีทนายและ 4รายที่มีล่ามนักแปลภาษา“ฉันถูกพำไปที่ศำล 3 ครั้ง ด้วยข้อกล่ำวหำว่ำเข้ำเมืองผิดกฎหมำย ฉันไม่เคยได้พบกับอัยกำร มีเพียงล่ำมที่มำสอบถำมข้อมูลส่วนตัวจำกฉัน และแจ้งข้อกล่ำวหำให้ฉันทรำบ ฉันถูกพำตัวกลับไปที่ห้องขังอีกครั้งหลังจำกเซ็นต์สำรภำพผิด”แรงงานภาคเกษตร ชาวพม่า อ้าเภอแม่สอด จังหวัดตาก“ฉันถูกพำไปที่ศำลเมื่อวันที่ 19 กันยำยนโดยไม่มีทนำย และถูกส่งกลับวันที่ 20 กันยำยน 2554”พนักงานเสิร์ฟชาวพม่า จังหวัดเชียงใหม่“ต้ำรวจคนที่พำฉันไปศำลบอกให้ฉันเซ็นต์ยอมรับผิดในทุกข้อกล่ำวหำ และฉันก็เชื่อเขำ”แรงงานก่อสร้างชาวพม่า จังหวัดเชียงใหม่52

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!