11.07.2015 Views

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ถูกกฎหมายและไม่ถูกกฎหมายที่มีเพิ่มขึ้น ผลที่ตามมาคือ ปัจจุบันสถานฑูตบางแห่งได้เริ่มมีการจัดบริการเกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติขึ้นรัฐทุกรัฐจะต้องเคารพในสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษยชนของผู้ย้ายถิ่น และต้องยุติการจับและการกักขังตามอ้าเภอใจUN General Assembly, 2009, Resolution 63/184ในทุกขั้นตอนของการจับ กัก ขัง และการส่งกลับแรงงานข้ามชาติควรได้รับการยอมรับอย่างเท่าเทียมบนพื้นฐานของสิทธิความเป็นมนุษย์ ใน อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกประ ฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (ICERD) สนับสนุน ว่ามนุษย์ทุกคนมีสิทธิอย่างเต็มที่ในการมีความสุขในการเป็นมนุษย์โดยไม่ต้องค้านึงถึงเชื้อชาติ หรือชาติก้าเนิด ซึ่งนั่นได้รองรับสิทธิในความปลอดภัยของบุคคล การเข้าถึงศาล ยุติธรรมและการแก้ไขปัญหาอันเกิดจากการเลือกปฏิบัติ คณะกรรมการสนธิสัญญา ยังได้ระบุว่า “การปฏิบัติที่แตกต่างบนฐานของการเป็นพลเมืองหรือผู้อพยพถือได้ว่าเป็นการเลือกปฏิบัติ” เว้นแต่เพียงสาเหตุของความแตกต่างนั้นถูกต้องตามกฎหมายหรือxxiiiเป็นไป ตามเกณฑ์ที่ก้าหนดไว้ เช่นเดียวกับผู้ถูกกัก ขังอื่นๆที่ไม่ต้องแบกรับค่าใ ช้จ่ายอันเกิดจากการละเมิดกฎอันเกี่ยวข้องกับการย้ายถิ่น (ICRMW มาตรา 17.8) และท้าย ที่สุด แรงงานข้ามชาติ จะต้อง ไม่ถูกกักขังเป็น ระยะเวลา นานขณะที่เรื่องของพวกเขาอยู่ในกระบวนการพิจารณา ในปีพ.ศ. 2542 คณะท้างานแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการคุมขังโดยพลการ ได้ลงมติรับ ข้อพิจารณาหมายเลข 5 อันเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ของผู้ ย้ายถิ่น และผู้ แสวงหาการ ลี้ภัย โดย ได้เสนอแนะว่าต้องการระบุระยะเวลาสูงสุดโดยบัญญัติไว้ในกฎหมาย และนั่นเองการควบคุมอาจจะ “ในกรณีที่ไม่มี” อาจจะเป็นนานขึ้นหรือไม่มีแน่นอน xxivระเบียบข้อก าหนดว่าด้วยการส่งกลับประเทศต้นทางและการเนรเทศออกนอกประเทศแรงงานข้ามชาติจะได้รับการคุ้มครองในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการส่งกลับประเทศภายใต้หลักเกณฑ์ 3 ประการที่ระบุไว้ในกรอบด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ คือ 1) มีการ รับประกัน การให้อยู่เพื่อปกป้องคุ้มครอง การส่งกลับบุคคล ที่อาจจะเผชิญการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรง ตามมา 2) มี กระบวน การรักษาความปลอดภัยระหว่างการส่งกลับ 3) การปกป้องคุ้มครองที่เกี่ยวข้องกับการเนรเทศออกนอกประเทศสิทธิในการได้อยู่ต่อผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาการลี้ภัย ได้รับการรับรองการ ปกป้องคุ้มครองโดยรัฐภายใต้อนุสัญญาผู้ลี้ภัย พ.ศ. 2494 และพิธีสารภายใต้อนุสัญญา พ.ศ. 2510 ส้าหรับภาระผูกพันของรัฐที่มีต่อสนธิสัญญา ในการไม่บังคับส่งกลับ (มาตรา 33.1)หมายความว่า ผู้ลี้ภัย และผู้แสวงหาการลี้ภัย ไม่จ้าเป็นต้องออกจากพรมแดนไปยังที่ที่ชีวิตของพวกเขาหรืออิสรภาพของพวกเขาจะถูกคุกคามเพราะเชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ การเป็นสมาชิกของกลุ่ม สังคมเฉพาะ หรือความแตกต่างของ แนวคิดทางการเมือง หลักการของการไม่บังคับส่งกลับถือได้ว่าเป็นหัวใจส้าคัญของกฎหมายสากล ด้านผู้ลี้ภัยและได้กลายมาเป็นจารีตธรรมเนียมปฏิบัติของกฎหมายสากล xxv27

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!