11.07.2015 Views

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ตามที่ประเทศไทยได้ลงนามใน MOU กับประเทศพม่า กัมพูชา และลาว ว่าด้วยกระบวนการอนุญาตให้แรงงานข้ามชาติที่อยู่ ในประเทศไทยสามารถ จดทะเบียนสถานะของพวกเขาผ่าน กระบวนการ พิสูจน์สัญชาติได้ถูกน้ามาใช้ โดยก้าหนดระยะเวลาการด้าเนินการให้ แล้วเสร็จได้ถูกขยาย ออกไปอย่างต่อเนื่อง จากวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เป็นวันที่14 เมษายน พ.ศ. 2553 เท่ากับว่าแรงงาน ข้ามชาติ มีเวลา อีก 120 วัน มีแรงงาน ข้ามชาติ ที่สมัครเข้าสู่กระบวนการแต่ไม่สามารถพิสูจน์สัญชาติให้แล้วเสร็จในเวลาที่ก้าหนดเพราะต้องผ่านขั้นตอนมากมาย แม้ว่า “ศูนย์พิสูจน์สัญชาติแบบเบ็ดเสร็จ” จะสามารถด้าเนินการได้ถึง 500 รายต่อวัน นั่นคือ ในช่วงต้นเดือนเมษายนเมื่อใกล้ถึงก้าหนด เจ้าหน้าที่จะสามารถด้าเนินการลงทะเบียนได้ถึง 380,000 ราย จาก 414,820 รายที่ได้ท้าการสมัคร ไว้xxix แม้จะมีความพยายามเช่นนี้แต่มีการประมาณการณ์กันว่ายังมีแรงงานข้ามชาติที่ผิดกฎหมายอีกกว่า 2 ล้านคนที่ยังคงอยู่ในประเทศไทย และไม่ได้เข้าร่วมกระบว นการพิสูจน์สัญชาติ xxx ดูเหมือนเขาเหล่านั้นจะ โชคไม่ดีอีกครั้งที่ต้องเข้าสู่กระบวนการ ขึ้นทะเบียนเมื่อครบก้าหนดภายใต้ ก้าหนดระยะเวลาใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดความหวาดกลัวการ ปฏิบัติการ กวาดล้างจับกุม และการส่งกลับเป็นจ้านวนมาก ในเวลาเดียวกัน ค่าแรงขั้นต่้าของประเทศที่ขยับสูงขึ้นนับตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2556 เป็น 300 บาทต่อวันซึ่งขยับตัวสูงขึ้นถึงร้อยละ 20 และร้อยละ 70 ในบางพื้นที่เช่น จ.ตาก xxxi แม้ว่าการขยับตัวขึ้นของค่าแรงจะส่งผลดีต่อรายรับของแรงงาน แต่มักเป็นสาเหตุของการที่นายจ้างจ้านวนมากไม่ยอมจ่ายค่าแรงขั้นต่้าตามกฎหมาย และยกเลิกการขึ้นทะเบียนเพื่อปกป้องพวกเขาจากการจ่ายค่าแรงขั้นต่้า การจ้ากัดจ้านวน จ้ากัดมาตรฐานของแรงงาน แรงงานข้ามชาติเสี่ยงที่จะถูกจับ กักขังและส่งกลับขณะที่นายจ้างของพวกเขาแสวงหาการลดต้นทุนของตนลง และมีการบันทึกว่าแรงงานในภาคบริการทางเพศไม่ส ามารถขึ้นทะเบียนได้ นั่นหมายความว่าพวกเขาเหล่านั้นจะต้องเสี่ยงที่จะถูกจับทั้งการเป็นแรงงานผิดกฎหมายและการขายบริการทางเพศตารางที่ 2: สถานะของการให้สัตยาบันในอนุสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชนโดยรัฐบาลไทยสนธิสัญญาหลักอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (ICERD) (1965) มีผลบังคับใช้ 27/02/2003กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) (1966) มีผลบังคับใช้ 29/01/1997กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) (1966) มีผลบังคับใช้ 05/12/1999อนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการทรมาน และการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือมีผลบังคับใช้ 02/10/2007ย่้ายีศักดิ์ศรี (CAT) (1984)อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) (1979) มีผลบังคับใช้ 08/09/1985อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) (1989) มีผลบังคับใช้ 26/04/1992อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิของแรงงานโยกย้ายถิ่นธานและสมาชิกในครอบครัว (ICRMW) (1990) -อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันบุคคลจากการสูญหายโดยถูกบังคับ (ICCPED) (ยังไม่บังคับใช้) ลงนาม 09/01/2012อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ (CRPD) (2006) ให้สัตยาบัน 29/07/2008สนธิสัญญาที่เกี่ยวข้องกับการย้ายถิ่นอนุสัญญาอันเกี่ยวข้องกับสถานะผู้ลี้ภัย (1951) และระเบียบการ1967 -พิธีการเพื่อป้องกัน สกัดกั้น และลงโทษการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะในผู้หญิงและเด็ก(ATP), อนุสัญญาสหประชาชาติ ลงนาม 18/12/2001เพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร (2000)พิธีสารเพื่อต่อต้านการลักลอบขนผู้ย้ายถิ่นฐานทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ (ASP), อนุสัญญาสหประชาชาติ ลงนาม 18/12/2001เพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร (2000)ที่มา : UN Treaty Collection, สามารถเข้าดูได้ที่http://treaties.un.org/Pages/Treaties.aspx?id=4&subid=A&lang=en33

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!