11.07.2015 Views

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การเข้าร่วมกระบวนการ MOU นั้นค่อนข้างซับซ้อน มีราคาแพงและใช้เวลานานส้าหรับทุกขั้นตอน การที่ แรงงานข้ามจะ ได้รับใบอนุญาตท้างาน พวกเขาจะต้อง เริ่มจากการ เข้าสู่กระบวนการพิสูจน์สัญชาติเพื่อใช้ประกอบการท้าบัตรประจ้าตัวถาวรหรือหนังสือเดินทางหรือการประกันสุขภาพ แต่ละขั้นตอนนั้นมีค่าใช้จ่าย และค่าใช้จ่ายในการ จัดการด้านเอกสาร การเดินทางและค่าเสียเวลาจากการท้างาน ส่วนใหญ่นายจ้างและแรงงาน ข้ามชาติใช้บริการของบริษัทเอกชนในการด้าเนินการ ซึ่งเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายมากขึ้น ในเวลาเดียวกัน พรบ.การท้างานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 ได้แนะน้าการจัดเก็บภาษีจากนายจ้างที่มีการจ้างแรงงานข้ามชาติ (มาตรา 8 ) ส่งผลให้หลายกรณีเกิดการหักค่าจ้างโดยนายจ้าง เพื่อน้าไปจ่ายภาษี แรงงานข้ามชาติจากพม่ากลัวที่จะถูกหักค่าแรงจากการเข้าร่วมในการพิสูจน์สัญชาติ บางส่วนกลัวว่าจะไม่ได้รับการพิสูจน์สัญชาติ ผลกระทบของการออกมายอมรับว่าเป็นผู้ที่ออกจากประเทศโดยผิดกฎหมาย ครอบครัวของพวกเขาจะถูกหักภาษีและชื่อของพวกเขาจะถูกน้าไปใช้ในการลงคะแนนเสียงโดยที่ตนเองไม่ได้เข้าร่วม ส้าหรับแรงงานที่ขึ้นทะเบียนในประเทศไทย มีเวลา มีเงินและนายจ้างยินดีในการขึ้นทะเบียน หลายครั้งที่การขาดการจัดการที่ดีของประเทศต้นทางท้าให้เกิดเป็นความล่าช้าอย่างมาก ปัจจัยเหล่านี้คืออุปสรรคที่เกิดขึ้นในกระบวนการขึ้นทะเบียนภายใต้ MOUตารางที่3. จ านวนของแรงงานข้ามชาติที่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติชาวพม่า* 500,263ชาวกัมพูชา** 67,238ชาวลาว** 44,780แหล่งข้อมูล: IOM, Migrant Information Note, Issue 16, 08/2012. http://www.burmalibrary.org/docs13/IOM-Migrant_Info_Note_No_16-en.pdf asdf (ใช้ข้อมูลเมื่อ: 01/11/2012)* ตั้งแต่เดือน มีนาคม 2555** ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2555นโยบายเกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติทั้งหมดส่งผลต่อความไม่ปลอดภัยของแรงงานและ เป็นเพียงการจด ทะเบียนอนุญาตแบบชั่วคราว นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 แรงงานข้ามชาติที่เข้าสู่ประเทศไทยภายใต้กระบวนการ MOU ได้รับอนุญาตให้ท้างาน 2 ปี และต่อ อายุได้อีก 2 ปี แต่หลังจากนั้นแรงงานข้ามชาติจะต้องเดินทางกลับไปยังประเทศต้นทางและไม่สามารถท้างานในประเทศไทยได้ เป็นเวลา 3 ปี ภายใต้ การขึ้นทะเบียน ที่ผ่านมา นั้นแรงงานข้ามชาติสามารถ ที่จะขึ้นทะเบียนได้เป็นระยะเวลาระหว่าง 3 เดือน ถึง 2 ปีแรงงานข้ามชาติที่ได้ จดทะเบียนตามมติค ณะรัฐมนตรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 นั้น ถูกปฏิเสธสิทธิเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายและต้องขึ้นตรงอยู่กับนายจ้างเพียงผู้เดียว แรงงานเหล่านี้จะต้องขออนุญาตจากเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นในการเดินทางออกนอกพื้นที่ที่ขึ้นทะเบียนไว้ เช่นเดียวกับความรุนแรงในด้านสิทธิมนุษยชน ความเข้มงวดในการเคลื่อนย้ายแรงงานท้าให้เกิดความไม่สมดุลของแรงงาน เนื่องจากพวกเขาไม่สามารถเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีความต้องการแรงงานได้ ส่วนใหญ่แล้ว แรงงานตามฤดูกาลต้องอยู่ในพื้นที่เมื่อฤดูกาลจบลง การมีจ้านวนแรงงานมากเกิน ส่งผลต่อการกดค่าแรงในบางพื้นที่ถ้าแรงงานต้องการเดินทางไปยังพื้นที่อื่นๆ ตัวอย่างเช่นเมื่อพวกเขามีสัญญาการ จ้างงานในพื้นที่งานอื่นหรือเมื่อพวกเขาต้องไปโรงพยาบาล กรณีการเสียชีวิตของแรงงานบนรถบรรทุกเนื่องจากการขาดอากาศหายใจและเนื่องจากการต้องหลบซ่อนตัวในการออกนอกพื้นที่เป็นผลโดยตรงมาจากความเข้มงวดในเรื่องของอิสรภาพในการเคลื่อนย้าย35

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!