11.07.2015 Views

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

และผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองก็ควรมีสิทธิเท่าเทียมกันและมีสิทธิในการ อุทธรณ์ กับค้าสั่งการ เนรเทศ ออกจากประเทศได้ ซึ่งเท่ากับเป็นการย้าถึงหลักการของการไม่บังคับส่งกลับที่ถูกเอามาใช้กับกรณีบุคคลที่มีความเสี่ยงในการ ถูกละเมิดสิทธิความเป็นมนุษย์ ประเด็นสุดท้าย เป็นการสะท้อนให้เห็นสิทธิ การมีชีวิตครอบครัว ซึ่งคณะกรรมการ มีข้อเสนอแนะว่าการเนรเทศและการส่งกลับประเทศต้นทางควรหลีกเลี่ยงเมื่อสิทธินี้ถูกต่อต้านอย่างเห็นได้ชัดหากมองไปที่การปฏิบัติต่อกรณีเด็ก ที่ไม่มีผู้ปกครอง และเด็กที่ถูกแยกออกจากประเทศ ต้นทางของตน ความเห็นโดยทั่วไปโดยคณะกรรมการด้านสิทธิเด็ก ถูกน้าไปใช้เพิ่มน้าหนัก ต่อฉันทามติสากลอันเกี่ยวกับหลักของการไม่บังคับส่งกลับ คณะกรรมการยึดหลักที่ว่ารัฐไม่ควรส่งเด็กกลับไปยังประเทศที่ “มีเหตุให้เชื่อได้ว่าเด็กจะอยู่บนความเสี่ยง เป็นอันตราย” โดยไม่ต้องค้านึงว่าอันตรายนั้นจะถูกกระท้าโดยรัฐหรือไม่ใช่รัฐ เน้นย้าว่าในการประเมินความเสี่ยงของอันตรายนั้น อายุและเพศของเด็กเป็นสิ่งที่ต้องเอามาร่วมประเมินด้วย เช่นกันกับผลกระทบร้ายแรงต่อเด็กโดยเฉพาะเรื่องความเพียงพอของอาหารและการบริการสาธารณสุข เด็กๆไม่ควรถูกส่งกลับไปยังประเทศที่มีความเสี่ยงอย่างแท้จริงในเรื่องของการ เข้าสู่การเป็นแรงงานเด็ก ถูกเกณฑ์ ทหาร หรือเข้าร่วมในความขัดแย้ง ตัวอย่างเช่น การเป็น นักรบ หรือผู้ให้บริการทางเพศแก่ทหาร เป็นต้นเหยื่อของขบวนการค้ามนุษย์นั้นมีความสามารถในการเข้าถึงสิทธิภายใต้กฎหมายสากลที่น้อยมา ก แม้ว่ารัฐจะพยายามต่อสู้กับการค้ามนุษย์ เมื่อบุคคลถูกระบุว่าเขาเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์บุคคลนั้นอาจต้องกลับไปยังป ระเทศต้นทาง โดยไม่ค้านึงถึงความต้องการของบุคคลนั้นๆ หลักการของรัฐภาคีในการต่อต้านการค้ามนุษย์มีเพียง “ การพิจารณารับรองมาตรการหรือกฎหมายอื่นๆที่เหมาะสมโดยอนุญาตให้ผู้ที่ตกเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์ยังสามารถอยู่ในดินแดนของตนได้เป็นการชั่วคราวหรือถาวรในกรณีที่เหมาะสม” ในการพิจารณาของรัฐควรจะ “ให้การพิจารณาที่เหมาะสมในเรื่องของมนุษยธรรมและความเห็นอกเห็นใจ” (ATP มาตรา 7) หากมองกลับมาที่เหยื่อของการค้ามนุษย์แล้ว “ต้องค้านึงถึงความปลอดภัยที่ว่าบุคคลนั้นเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์และจะต้องอยู่บนฐานของความสมัครใจ” (ATP มาตรา 8)OHCHR ขยายสิทธิที่จะได้อยู่ โดยรัฐจะต้อง “รับรองความปลอดภัยจากการที่กลุ่มเสี่ยงจะถูกดึงกลับไปเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์อีกครั้ง และให้ทางเลือกอื่นในการอยู่ในประเทศหรือส่งไปยังประเทศที่สามหรือในสถานที่เฉพาะ (เช่น เพื่อป้องกันการกลับเข้าสู่การค้ามนุษย์)‛ xxviการท างานเพื่อให้เกิดกระบวนการที่เป็นธรรมกลไกเครื่องมือ สิทธิมนุษยชนทั้งในระดับภูมิภาคและระดับสากลนั้นแทบไม่มีการอ้างถึงในส่วนของ วิธีการในการส่งกลับ สภา องคมนตรีแห่ง ยุโรปได้มีการพัฒนาข้อเสนอแนะในการรับรองการเคารพในสิทธิมนุษยชน ความxxviiปลอดภัยและการให้เกียรติแรงงานข้ามชาติระหว่างการส่งกลับ อย่างไรก็ตาม การ ไม่มีเครื่องมือที่ชัดเจนในระดับสหประชาชาติและปฏิญญา อาเซียน ว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้าม ท้าให้ไม่มี สิ่งอ้างอิงในการส่งกลับแรงงานข้ามชาติ ในปฎิญญากรุงเทพ ว่าด้วยแรงงานข้ามชาติที่เข้าเมืองผิดกฎหมาย พ.ศ. 2542 ซึ่งเห็นชอบโดยผู้เข้าร่วมการประชุมนานาชาติว่าด้วยการย้ายถิ่น รวมถึงประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง ได้ยืนยันในมาตรา 13 ที่ว่า“ระยะเวลาของผู้ที่ไม่มีสิทธิในการเข้ามาและอยู่ต่อ เป็นยุทธศาสตร์ส้าคัญในการลดความดึงดูดใจของการค้ามนุษย์.... การกลับคืนจะต้องด้าเนินการบนฐานของมนุษยธรรมและวิธีการที่ปลอดภัย ” แม้ว่าจะไม่เป็นข้อผูกพันแต่ถือเป็นการประกาศแนวทางหลักในการปฏิบัติอันเกี่ยวข้องกับแรงงานข้ามชาติที่ผิดกฎหมาย29

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!