11.07.2015 Views

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ด้วยความร่วมมือในการจ้างงานของแรงงาน ( MOU) จ้านวนของแรงงานเหล่านี้ยังคงมีปริมาณน้อยแต่ก็เกิดการขยายตัวอย่างต่อเนื่องแม้ว่าจะมีการขยายกรอบการท้างานเพื่อคุ้มครองแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย แรงงานที่ขึ้นทะเบียนหรือไม่ได้ขึ้นทะเบียน ยังคงเผชิญความ ท้าทายและอันตรายในประเทศไทย ในปีพ.ศ. 2553 คนหางาน ชาวกะเหรี่ยง 9 คน ถูกยิงเสียชีวิตที่ อ.พบพระ จ.ตาก ซึ่งมีการกล่าวหาว่าเกี่ยวข้องกับเจ้าหน้าที่ต้ารวจ viii ในปีต่อมา สองพี่น้องแรงงานข้ามชาติหญิงที่แม้ว่าจะ ขึ้นทะเบียน เรียบร้อย แล้ว ได้จมน้าเสียชีวิตเนื่องจากพยายามหลบหนีจากการบุกเข้าตรวจค้นในช่วงดึกโดยต้ารวจในพื้นที่จ.ภูเก็ต ix ส้าหรับผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาการลี้ภัยยังขาดการปกป้องคุ้มครองที่เหมาะสมโดย รัฐไทย ตัวอย่างที่ถูกน้าเสนออย่างกว้างขวางคือ กรณีที่เกี่ยวข้องกับผู้ลี้ภัยชาวมุสลิมโรฮิงยาจากประเทศพม่าใน ปีพ.ศ. 2552 ที่พยายามเดินทางไปยังประเทศมาเลเซียทางเรือ ในปีพ.ศ. 2551 ราชนาวีไทยได้บังคับให้ ผู้ลี้ภัยผู้ซึ่งมีเสบียงจ้ากัดและลอยเคว้งคว้างอยู่ในน่านน้าไทยกลับ ออกไปทะเลนอก น่านน้าไทยโดยเรือที่ผุพัง x ภายใต้การวิพากษ์วิจารณ์จากนานาชาติ รัฐบาลไทยกลับอ้างว่าผู้ลี้ภัยเหล่านั้นเป็น แรงงานข้ามชาติ ทางเศรษฐกิจ xi การตอบสนอง ของเจ้าหน้าที่รัฐต่อกรณีผู้ แสวงหาการลี้ภัยชาวโรฮิงยานี้แสดงให้เห็นถึงการขาดความเห็นอกเห็นใจ ซึ่งยังเป็นข่าวพาดหัวจนทุกวันนี้ ในปีพ.ศ. 2551 รัฐบาลไทยได้บังคับให้มีการส่งตัวผู้ลี้ภัยชาวม้งนับพันคนจาก ศูนย์พักพิงชั่วคราวของไทย ในจ.เพชรบูรณ์กลับไปยัง ประเทศลาว xii และอีก 158 คนจากศูนย์กักขังของส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองในจ.หนองคาย แม้จะมีการเรียกร้องจากส้านักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติในการยับยั้งการส่งกลับเป็นการชั่วคราว xiii และให้สถานะภายใต้การรับรองของส้านักงานข้าหลวงใหญ่แห่งสหประชาชาติxiv แก่ผู้ลี้ภัยบางส่วน19

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!