11.07.2015 Views

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

“เจ้ำหน้ำที่ต้ำรวจมำตรวจที่ร้ำนนวดที่ฉันท้ำงำนอยู่ พวกเขำถำมเจ้ำของร้ำนบำงอย่ำงก่อนจะมำถำมให้ฉันแสดงบัตรท้ำงำน พวกเขำบอกว่ำฉันท้ำงำนใน สถำนที่ที่ไม่ตรงกับในบัตร ซึ่งฉันจะต้องเสียค่ำปรับ 5 ,000บำท ฉันไม่มีเงินแต่เจ้ำของร้ำนให้ฉันยืม ตอนนี้ฉันต้องจ่ำยเงินคืนเจ้ำของร้ำนทุกอำทิตย์และฉันก็เป็นหนี้”แรงงานร้านนวดชาวอาข่า (พม่า)อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายจากการสัมภาษณ์แรงงานข้ามชาติในงานศึกษานี้ พบว่าร้อยละ 6.4 ที่ถูกจับนั้นเป็นผู้ที่ได้ขึ้นทะเบียนแล้วแต่ไม่ มีใบอนุญาตท้างานไว้กับตัว อย่างไรก็ตาม ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 58) ถูกจับเพราะไม่มีเอกสารใดๆเลย สัดส่วนที่ส้าคัญ (ร้อยละ16.3) ถูกจับเพราะพวกเขาท้างานในสถานที่ที่ไม่ตรงกับที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ในบัตร (ดูตารางที่ 11)เหตุผลในการจับกุม จ านวน ร้อยละไม่ได้จดทะเบียน (ไม่มีเอกสารเข้าเมืองตามกฎหมาย) 118 58.1จดทะเบียน แต่ใบอนุญาตท้างานหมดอายุ 3 1.5จดทะเบียน แต่ไม่มีใบอนุญาตท้างานไว้กับตัว 13 6.4จดทะเบียน แต่อยู่นอกพื้นที่จดทะเบียน 4 2.0ท้างานอยู่ในสถานที่ท้างาน แต่ผิดประเภทจากที่ได้จด33 16.3ทะเบียนไว้อื่นๆ 29 14.3ไม่ทราบ 3 1.5ตารางที่ 11. แหล่งข้อมูล: MMNความรู้คืออ านาจ....Total 203 100.0ภายใต้กฎหมายสากลและกฎหมายไทย บุคคลใดที่ถูกจับกุมมีสิทธิที่จะได้รับการแจ้งถึงสาเหตุของการจับกุมและแจ้งข้อกล่าวหาของพวกเขา แต่ในกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในงานศึกษาครั้งนี้พบว่าเพียงร้อยละ 46.3 ที่รับการแจ้งถึงสาเหตุของการจับกุมและสิ่งที่ก้าลังจะเกิดขึ้นกับพวกเขา หลังจากนั้น แต่ที่น่าสนใจคือ แรงงานข้ามชาติ ส่วนใหญ่ที่ได้รับการแจ้งข้อมูลแต่เป็นการแจ้งข้อมูลในภาษาที่พวกเขาไม่สามารถเข้าใจได้ทั้งหมด และร้อยละ 45.3 ที่ไม่ได้รับการแจ้งข้อกล่าวหาการ คัดกรองแรงงานข้ามชาติที่ถูกจับเป็นสิ่งส้าคัญเพื่อป้องกันการละเมิด ภายใต้กระบวนการยุติธรรม และเพื่อให้สามารถแน่ใจได้ว่ากลุ่มผู้ที่มีความเปราะบางจะได้รับการคุ้มครอง แ ม้ว่าประเทศไทยจะไม่มีกฎหมายหรือนโยบายในการปฏิบัติต่อผู้ลี้ภัยอย่างมีมนุษยธรรม ซึ่ง ผูกพันต่อการให้ความคุ้มครองในบาง รูปแบบ ในกฎหมายสากล โดยทั่วไปนั้นห้ามไม่ให้ด้าเนินการบังคับส่งกลับ บุคคลไปยังที่ รัฐที่ความเป็นอยู่และอิสรภาพของเขาจะถูกคุกคาม ประเทศไทยเองได้ให้สัตยาบันในอนุสัญญา CAT และ ICCPR ซึ่งห้ามมิให้ขับไล่ผู้คนไปยังรัฐที่มีความเสี่ยงอย่างแน่นอนว่าพวกเขาเหล่านั้นถูกทรมาน ในพรบ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ได้ระบุว่า เมื่อมีผู้ต้องสงสัยว่าเป็นผู้ถูกค้ามนุษย์ เจ้าหน้าที่ต้องให้ การ45

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!