11.07.2015 Views

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ส่วนใหญ่แรงงานจะได้รับการปล่อยตัวทันทีที่มีการตรวจสอบเอกสาร รายบุคคล แม้ว่า ในประเทศวพม่าและกัมพูชาจะมีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับ การเรียกเก็บค่าเข้า เมืองและเพื่อการปล่อยตัว นอกจากนี้ ในประเทศพม่า แรงงานข้ามชาติ 4 รายให้ข้อมูลว่าพวกเขาถูก บังคับตรวจสุขภาพ เมื่อกลับถึงประเทศ ซึ่งไม่พบการรายงาน กระบวนการนี้ในส่วนของประเทศลาวหรือกัมพูชาจากผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด มีแรงงานข้ามชาติ 8 ราย ระบุว่าพวกเขาถูกส่งไปให้กับเจ้าหน้าที่ หน่วยงานอื่นเมื่อกลับถึงประเทศ ส้าหรับในประเทศลาว พวก เขาถูกน้าไปที่ส้านักงานแรงงานหรือส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง ในประเทศ พม่าแรงงานจะถูกน้าไปยังเจ้าหน้าที่ หน่วยงานอื่น แต่ไม่ทราบว่าเป็นเจ้าหน้าที่อะไร และจากทั้งหมด 27 ราย (แรงงานพม่า 4ราย ลาว 1 ราย และกัมพูชา 22 ราย) ถูกท้าโทษ เมื่อกลับถึงประเทศ หลายกรณี (ร้อยละ 39) แรงงานถูกเรียกเก็บค่าปรับขณะที่ (ร้อยละ 58.3) ถูก ให้เข้ารับการสั่งสอน ค่าปรับนั้นมีตั้งแต่ 200 บาทในกัมพูชา 500 บาทในลาว และระหว่าง 300-2,500 บาท ในพม่า ในประเทศพม่าและกัมพูชา แรงงานที่ไม่สามารถจ่ายค่าปรับได้จะถูกบังคับให้ท้างานโดยไม่มีค่าจ้างเช่น ตัดหญ้า ซ่อมถนนในบางกรณีแรงงานจะได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ เมื่อกลับถึงประเทศ แรงงาน ผู้ให้ข้อมูล 3 รายได้รับค้าแนะน้าจากนักพัฒนาสังคม 7 ราย (ชาวพม่า 1 และลาว 6 ราย) ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินในการเดินทางกลับ บ้านและแรงงานลาว 5 ราย ได้รับความช่วยเหลือในการ คืนสู่ชุมชนบ้านเกิดของตน ตัวอย่างเช่น แรงงานพม่าคนหนึ่งเล่าว่าได้รับความช่วยเหลือให้สามารถกลับถึงบ้านได้ แรงงานลาวคนหนึ่งเล่าว่าเขาถูกช่วยให้กลับถึงบ้านโดยรถประจ้าทางค่าจ้างที่ค้างช าระแรงงานข้ามชาติจ้านวนมากถูกส่งกลับก่อนจะได้รับเงินค่าจ้างงวดสุดท้าย ถ้าแรงงานถูกจับและส่งกลับโดยไม่ได้ติดต่อกับนายจ้าง พวกเขามักจะไม่ได้รับค่าแรงที่ติดค้าง มีเพียงสองรายเท่านั้นที่ ให้ข้อมูล ว่าพวกเขาได้รับสิทธิในการเรียกร้องค่าแรง คนหนึ่งได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ขององค์กร พัฒนาเอกชน และอีกคนนั้นได้รับจากนายจ้างเองแรงงานข้ามชาติ 5 ราย ให้ข้อมูล ว่ามีระบบการช่วยเหลือให้ได้รับค่าแรงที่ค้างจ่าย แรงงานพม่าคนหนึ่งได้รับค่าจ้างจากนายจ้างและแรงงานชาวลาวอีกสองคนได้รับการช่วยเหลือเรื่องค่าแรงจากส้านักงานแรงงาน ในขณะที่อีก 3 ราย (แรงงานชาวเขมรและพม่า) ไม่ได้พูดถึงในรายละเอียดส่วนนี้การกลับคืนสู่ประเทศไทยแรงงานทั้งหมดที่ปรากฏในการศึกษาครั้งนี้ได้ถูกสัมภาษณ์ในประเทศไทย นั่นหมายความว่า แรงงานทั้งหมดยังคงอยู่ในประเทศไทยหลังการจับกุมและกักขัง หรือกลับเข้ามาหลังจากการถูกส่งกลับประเทศ ผลที่ตามมาคือการ ไม่สามารถสรุปได้ถึงอัตราของของผู้ที่กลับมาอีกหลังถูกส่งกลับประเทศหรือผลกระทบของการจับและการกักขังต่อการเคลื่อนย้านของแรงงาน อย่างไรก็ตามข้อมูลในส่วนนี้เน้นถึงประเด็นที่กว้างขึ้นในการย้ายถิ่นเข้าสู่ประเทศไทยในกลุ่มของแรงงานที่กลับ คืนมายังไทย หลังการถูกส่งกลับ นั้น พบว่าระยะเวลาหลังจากการไป ถึงชายแดนและกลับมายังไทยค่อนข้างมีความหลากหลาย บางส่วนกลับมาในทันที ขณะที่บางส่วนใช้เวลาเป็นวันหรือเป็นเดือนก่อนที่จะกลับมา จากทั้งหมด ของผู้ให้ข้อมูล ร้อยละ 19 กลับมาไทยทันทีหรือกลับมาภายใน 1 อาทิตย์ แรงงานพม่า 13 รายจาก 41ราย กลับมาไทยทันที ในขณะที่แรงงานชาวลาว 9 จาก 28 ราย กลับมาหลังจากนั้น 1 เดือน สาเหตุหลักที่พวกเขาเลือกที่จะ57

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!