11.07.2015 Views

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ตารางที่12. แหล่งข้อมูล: MMNแรงงานข้ามชาติเล่าว่าพวกเขาถูกละเมิดโดย ผู้ต้องขัง คนอื่นในระหว่างการกักขัง โดยแรงงานข้ามชาติ หญิงรายหนึ่งเล่าว่าเธอถูกละเมิดทางเพศโดยผู้ต้องขังหญิงในห้องขัง แรงงานข้ามชาติ อีกรายหนึ่งถูกท้าร้ายร่างกาย หลังจากที่ผู้ต้องอีกคนล้มเหลวจากการพยายามข่มขืนเธอ เช่นกันกับแรงงานข้ามชาติชายรายหนึ่ง กล่าวว่า ผู้คุมชายคนหนึ่งพยายามข่มขืนเขาในห้องขังของโรงพัก แรงงานข้ามชาติที่ถูกกักขังที่สถานีต้ารวจแม่สอดเล่าว่า เขาถูกเตะ ถูกท้าร้ายร่างกายโดยเจ้าหน้าที่ มีเพียงสองรายเท่านั้นที่ได้รับแจ้งสิทธิในการเข้าสู่กระบวนการ หรือกักขัง โดยคนหนึ่งได้รับโดยครอบครัวของเขา และอีกคนได้แจ้งจากเจ้าหน้าที่ขององค์กรพัฒนาเอกชนที่ไปเยี่ยมในการปกป้อง คุ้มครองผลประโยชน์ของพวกเขาและเพื่อให้มั่นใจว่ามีกระบวนการยุติธรรมในชั้นศาล ผู้ถูกกักขังมีสิทธิที่จะติดต่อกับโลกภายนอกได้ จากจ้านวนผู้ให้ข้อมูล ทั้งหมด ประมาณ 60 คน ซึ่งเป็นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 72) ที่ถูกกักขังไว้ที่สถานีต้ารวจ ให้ข้อมูล ว่าพวกเขาสามารถติดต่อ ขอความช่วยเหลือระหว่างที่พวกเขาถูกกักขัง ได้ เช่น องค์กรพัฒนาเอกชน เพื่อน ครอบครัว นายจ้าง อย่างไรก็ตาม มีเพียง 3 ราย (2 รายถูกกักขังที่สถานีต้ารวจ และอีก 1 รายถูกกักขังที่สถานกักขังอื่น) รายงานว่า การเข้าเยี่ยมตามปกตินั้นได้รับอนุญาตโดยองค์กรภายนอก ในสถานกักขังบางแห่ง มีนักสังคมสงเคราะห์หรือล่ามอยู่เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ถูกกักขัง กระนั้นมีเพียงบางรายเท่านั้นที่ ให้ข้อมูลว่าพวกเขาได้รับประโยชน์จากการช่วยเหลือเหล่านี้ มี 3 ราย (2 รายถูกกักขังที่เรือนจ้าและ1 รายถูกกักขังที่ห้องขังของสถานีต้ารวจ) เล่า ให้ข้อมูลว่ามีนักสังคมสงเคราะห์ที่พูดได้ทั้งสองภาษาท้างานอยู่ในศูนย์กักขัง ที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ถูกกักขังได้อีก 3 รายเช่นกัน (2 รายถูกกักในศูนย์กักขังส้านักงานตรวจคนเข้าเมือง และ 1 รายที่ห้องขังของสถานีต้ารวจ ) ให้ข้อมูลว่ามีนักสังคมสงเคราะห์ที่พูดสองภาษาแต่ไม่สามารถช่วยอะไรได้ และอีกสองราย ให้ข้อมูลว่ามีนักสังคมสงเคราะห์ แต่พวกเขาไม่สามารถพูดภาษาของแรงงานข้ามชาติได้ จากทั้งหมด มีเพียง 16 รายเท่านั้นที่ได้รับความช่วยเหลือเรื่องล่าม แต่ พวกเขาไม่ใช่นักสังคมสงเคราะห์ตามกฎหมายสากลระบุว่า ขณะที่อยู่ในความควบคุมดูแล ผู้ที่ถูกกล่าวหาควรถูกแยกออกจากผู้ที่ถูกตัดสินความผิดแล้วและควรมีการปฏิบัติต่อพวกเขา ตามสถานภาพของพวกเขา (ICCPR มาตรา 10.2.b) ในขณะเดียวกันเด็กควรจะถูกกักขังแยกต่างหาก (ICCPR มาตรา 10.2.b) และให้ใช้การกักขังเป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นทางเลือกสุดท้าย (มาตรา 37.b) และต้องมีการดูแลเป็นพิเศษส้าหรับกลุ่ม คนที่มีความเปราะบาง เช่น ผู้หญิง เด็กและผู้ป่วย ซึ่ง นโยบายของ ไทยได้มีการย้าในxlviหลักการนี้ในระหว่างที่พวกเขาถูกกักขังนั้น มีเพียง 2 รายจาก 148 รายที่ถูกถาม ว่พวกเขามีประสบการการณ์เกี่ยวกับ การถูกละเมิดด้าน แรงงานหรือถูก เอาเปรียบ หรือไม่ และมีเพียงรายเดียวเท่านั้นที่ถูกสัมภาษณ์โดยหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์ และ ส้านักงานสวัสดิการ สังคม ไม่มี ใครได้รับการโดยเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับประสบการณ์การถูกบังคับใช้แรงงานหรือการถูกด้าเนินคดีที่บ้านเกิด ในจ้านวนสามรายที่ได้รับการสัมภาษณ์เพื่อคัดกรองนี้ เจ้าหน้าที่ใช้ภาษาที่แรงงานข้ามชาติไม่สามารถเข้าใจได้ ในทางปฏิบัติ แรงงานระบุว่ามีการปฏิบัติเป็นพิเศษกับบางกรณีเช่น เด็กที่ไม่มีผู้ปกครองหริอเด็กที่ถูกแยกออกมา คนแก่ หญิงตั้งครรภ์ เหยื่อจากการทรมาน และคนที่ต้องได้รับการรักษาทางการแพทย์ ในขณะที่แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังของศูนย์กักขังส้านักงาน ตรวจคนเข้าเมืองของไทยในปี พ.ศ.2553 ระบุว่า มีการให้ความช่วยเหลือทางการแพทย์และ การส่งต่อผู้ป่วยใน สถานที่กักขัง แต่พบว่าระหว่างที่ถูกกักขังในศูนย์กักขังส้านักงานตรวจคนเข้าเมืองและห้องขังของสถานีต้ารวจ ผู้ให้ข้อมูล น้อยกว่าร้อยละ 10 ได้รับความช่วยเหลือ49

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!