11.07.2015 Views

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

การกักขัง - Mekong Migration Network

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

3. ขอบเขตของการศึกษาa) ในการเก็บข้อมูลกรณีศึกษา ทางโครงการพยายามเก็บข้อมูลจากประสบการ ณ์ของแรงงานข้ามชาติ ที่ครอบคลุมทั้งการจับ กักขังและส่งกลับ ในแบบที่เป็นทางการ กึ่งทางการและไม่เป็นทางการb) เก็บข้อมูลการจับ กักขังและส่งกลับทั้งกลุ่มแรงงานชายและc) การวิจัยครั้งนี้เน้นการจับ กักขังและส่งกลับแรงงานข้าม ชาติ (ทั้งที่ขึ้นทะเบียน แล้วและยังไม่ได้ขึ้นทะเบียน) จากประเทศพม่า ลาว และกัมพูชา ซึ่งปฏิบัติ การที่เกิดขึ้นอยู่ภายใต้การควบคุมตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายคนเข้าเมือง แม้ว่าเครือข่ายฯ พบว่ามีแรงงานข้ามชาติจากประเทศอื่นๆนอกเหนือจาก 3 ประเทศที่กล่าวมา ข้างต้น แต่แรงงานข้ามชาติเหล่านั้นไม่ได้อยู่ในกลุ่มเป้าหมายของการเก็บข้อมูลครั้งนี้d) กลุ่มเป้าหมายของการวิจัยครั้งนี้จะเน้นกลุ่มที่มีประสบการณ์การจับ กักขังและส่งกลับนับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคมพ.ศ.2554 เป็นต้นมา4. วิธีการเก็บข้อมูล4-1. การเก็บข้อมูลปฐมภูมิa) จริยธรรมในกำรวิจัยและกำรพัฒนำแบบบันทึกข้อมูลที่เป็นมำตรฐำนการเก็บข้อมูลรายกรณีศึกษานั้น จะต้องมั่นใจว่าจะไม่ส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยของบุคคลนั้นๆ การรักษาความลับเกี่ยวข้องกับบุคคลนั้น รวมทั้งต้องเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์และสามารถน้ามาใช้ในการรณรงค์ผลักดันเชิงนโยบายได้ในอนาคต แบบบันทึกข้อมูลที่เป็นมาตรฐานนี้ได้รับการพัฒนาร่วมกับกับภาคีของโครงการb) กำรแปลเอกสำรแบบบันทึกข้อมูลการจับ การกักขังและการส่งกลับถูกแปลเป็นภาษาไทย ภาษาพม่า ภาษาไทใหญ่ และภาษาเขมรเพื่อความสะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูลกรณีศึกษา ซึ่งด้าเนินการโดยใช้แต่ละภาษาของแรงงานข้ามชาติc) ภำคีโครงกำรที่มีส่วนร่วมในกำรเก็บข้อมูลเบื้องต้นเพื่อให้มั่นใจได้ว่าองค์กรภาคีและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการสัมภาษณ์ และเก็บข้อมูลในงานวิจัยชิ้นนี้มีความเข้าใจในเรื่องจริยธรรมและวิธีการด้าเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลตามเป้าประสงค์ของโครงการ การเก็บข้อมูลเบื้องต้นจะอยู่ในความดูแลขององค์กรภาคีตามรายชื่อในตารางด้านล่าง ในการรับผิดชอบการเก็บข้อมูลตลอดจนเสร็จสิ้นกระบวนการd) พื้นที่ส้ำหรับกำรเก็บข้อมูลการเลือกพื้นที่ส้าหรับเก็บข้อมูลเบื้องต้นอยู่ภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1) จ้านวนแรงงานข้ามชาติในพื้นที่ 2) ภาคีโครงการที่อยู่ในพื้นที่ซึ่งมีการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับชุมชนและความสัมพันธ์กับชุมชนแรงงานข้ามชาติที่ได้รับผลกระทบ 3)มีการกระจายตัวในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตกของประเทศไทย 4) ความสมดุลของพื้นที่ มีแรงงานส่วนใหญ่เป็นชาวพม่า กัมพูชา หรือลาว13

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!