30.05.2023 Views

WOW 2022 : Wonder of Well-Being City

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patrouge


ASA JOURNAL<br />

COMMITTEE<br />

2020-<strong>2022</strong><br />

Advisor<br />

Chana Sumpalung<br />

Chairperson <strong>of</strong> Committee<br />

Assoc.Pr<strong>of</strong>. M.L. Piyalada<br />

Thaveeprungsriporn, Ph.D.<br />

Committee<br />

Asst. Pr<strong>of</strong>. Saithiwa<br />

Ramasoot, Ph.D.<br />

Vorapoj Tachaumnueysuk<br />

Padirmkiat Sukkan<br />

Prachya Sukkaew<br />

Namtip Yamali, Ph.D.<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Jenchieh Hung<br />

Secretary<br />

Theerarat Kaeojaikla<br />

Editor-in-Chief<br />

Mongkon Ponganutree<br />

Editor<br />

Supreeya Wungpatcharapon<br />

Managing Editor<br />

Kamolthip Kimaree<br />

Assistant Editor<br />

Pichapohn Singnimittrakul<br />

English Translators<br />

Tanakanya Changchaitum<br />

Pawit Wongnimmarn<br />

English Editors<br />

Daniel Cunningham<br />

Sheena Sophasawatsakul<br />

Graphic Design<br />

art4d WORKS<br />

Wasawat Dechapirom<br />

Jitsomanus Kongsang<br />

Special Thanks<br />

ASA <strong>WOW</strong><br />

Asae Sukhyanga<br />

Baramizi Lab<br />

Chalermpon Sombutyanuchit<br />

Cloud-Floor<br />

Has design and research<br />

Kullaphut Senevong Na Ayudhaya<br />

Asst. Pr<strong>of</strong>. Pechladda<br />

Pechpakdee, Ph.D.<br />

Phaithaya Banchakitikun<br />

Publisher<br />

The Association <strong>of</strong><br />

Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

Copyright 2023<br />

No responsibility can be<br />

accepted for unsolicited<br />

manuscripts or photographs.<br />

ISSN 0857-3050<br />

Contact<br />

asajournal@asa.or.th<br />

The Association<br />

<strong>of</strong> Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4 (Soi 17)<br />

Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.or.th<br />

E : asaisa<strong>of</strong>fice@gmail.com<br />

Subscribe to ASA Journal<br />

T : +662 319 6555<br />

บทความหรือภาพที่ลงในวารสาร<br />

อาษาหรือสื่ อออนไลน์ สมาคมฯ<br />

ขอสงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย<br />

การนำาบทความหรือภาพจาก<br />

วารสารอาษาไปตีพิมพ์ อ้างอิง<br />

หรือประโยชน์ ใดในสิ่งพิมพ์หรือ<br />

สื่ อออนไลน์อื่น ต้องได้รับอนุญาต<br />

จากสมาคมฯ ผู้เป็ นเจ้าของ<br />

ลิขสิทธิ์ตามกฎหมายเท่านั้น


Photo Credit: Seksan Saowarot


04<br />

MESSAGE<br />

FROM THE PRESIDENT<br />

คณะกรรมการจัดงาน <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong><br />

ไพทยา บััญชากิิติิคุุณ<br />

ผศ.ดร.นิิรมล เสรีสกุุล<br />

ชญาน์์นััทช์ พงศ์นิิธิิพาณิช<br />

ผศ.ดร.คััทลียา จิิรประเสริฐกุุล<br />

เอกิฉัันท ์ เอียมอนัันิติ์วััฒนิะ<br />

ปุยฝ้้ าย คุุณาวััฒน์์<br />

กิชกิร วัรอาคุม<br />

สัจิจิพงศ์ เล็กอ ุทัย<br />

เมธิิกิา แติงแก้้วัฟ้้ า<br />

พิชยา รัตินิ์ปิ ยะสุนิทร<br />

อัจิฉัวัรรณ วช ิรธินิุศร<br />

จัักิรดาวั นิาวัาเจร ิญ<br />

ภััทร ภััทรธิราดล<br />

นิพพล พิสุทธิอานินิท์<br />

ธินิพงศ์ วิิชคำำาหาญ<br />

ชุติิมา ขจิรณรงค์์วณ ิช<br />

วศ ินิ ชุลีวััฒนิะพงศ์<br />

วิินิ จิิระกิรานินิท์<br />

อรสิริ แติงทอง<br />

สารจากนายกสมาคม<br />

ที่ผ่านมา ทางสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์มีการจัดงานเสวนา ASA<br />

Real Estate ขึ ้นทุกปี อยู่แล้วเพื่อพู ดคุยกับกลุ่มนักพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์<br />

แต่เราคิดว่าน่าจะขยายเนื้อหาให้กว้างขึ ้นเพื่อพู ดคุยกับกลุ่มคนอื่นๆ นอกเหนือจาก<br />

นักออกแบบเพียงอย่างเดียว ประกอบกับทางกรุงเทพมหานคร ได้หารือกับสมาคม<br />

สถาปนิกสยามฯ เพื่อหาวิธีการที่จะได้มาซึ ่งผังเมืองที่ดีสำาหรับกรุงเทพฯ ซึ ่งกระบวน-<br />

การเหล่านี้ยากเกินกว่าที่อาสาสมัครเพียงฝ่ ายเดียวจะทำ าได้ จำาเป็ นต้องพึ ่งพามืออาชีพ<br />

ที่มีประสบการณ์ตรง รวมถึงองค์ความรู้ที่หลากหลายมาร่วมออกแบบเมืองด้วยกัน<br />

เนื่องด้วยประเด็นเกี่ยวกับเมืองเป็ นเรื่องใหญ่ และเป็ นเรื่องที่ทางสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ทำาโดยลำาพังไม่ได้ นี่คือจุดเริ ่มต้นของการจัดงานเทศกาล <strong>WOW</strong> <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>being<br />

ขึ ้นมาครั้งแรกในปี พ.ศ. 2565 โดยเกิดจากความร่วมมือขององค์กรมากมายมา<br />

ร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาเมือง ไม่ว่าจะนักออกแบบ นักพัฒนา<br />

โครงการ กลุ่มผู้สร้างสรรค์นวัตกรรม หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร องค์กรอิสระ<br />

อื่นๆ และประชาชนทั่วไป ให้กลายเป็ นเทศกาลที่เล่าเรื่องเกี่ยวกับเมืองในหลายๆ มิติ<br />

งาน <strong>WOW</strong> <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-being ยังเป็ นการเปิ ดโอกาสสำาหรับสมาชิกของสมาคมฯ<br />

ในการอัปเดตแนวทางการออกแบบและพัฒนาโครงการในอนาคต ผ่านนิทรรศการ<br />

ต่างๆ ที่ได้ชวนคิดและจินตนาการร่วมกันว่าเมืองที่น่าอยู่จะเป็ นอย่างไร รวมทั้งภายใน<br />

งานยังมีการนำาเสนอตัวอย่างโครงการพัฒนาเมือง งานวิจัยต่างๆ และการมอบรางวัล<br />

<strong>WOW</strong> Awards ซึ ่งเมื่อรัฐบาล เทศบาลเมือง หรือประชาชนทั่วไปได้เห็น ก็อาจจะรับรู้<br />

ได้ว่าโครงการเหล่านี้ ไม่ได้แค่สวย แต่ยังผ่านกระบวนการคิดและความตั้งใจที่จะนำ าพา<br />

เมืองไปสู่การพัฒนาในอีกระดับหนึ ่ง<br />

สำาหรับวารสารอาษาฉบับพิเศษ <strong>WOW</strong> <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-being ฉบับนี้ จึงรวบรวม<br />

ทั้งข้อมูลงานวิจัย เนื้อหาจากงานเสวนา และนิทรรศการต่างๆ ตลอดจนการบันทึก<br />

บรรยากาศของงานเทศกาลและความร่วมมือที่เกิดขึ ้น ที่อาจนับได้ว่าผลจากการจัดงาน<br />

ครั้งนี้เราประสบความสำาเร็จขั้นหนึ ่งแล้วในการเชิญหลากหลายองค์กรมาพูดคุยกัน<br />

อย่างที่ไม่เคยเกิดขึ ้นมาก่อน และเป้ าหมายที่สำาคัญที่สุดคือ ทางสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

อยากผลักดันให้เกิดงานวิจัยและออกแบบเมืองในทุกมิติ รวมถึงการนำ าเอานวัตกรรม<br />

จากหลายๆ แหล่งมาร่วมมือกันในการแก้ ไขปั ญหาเมือง แลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์ และเห็น<br />

เป้ าหมายที่ตรงกัน ซึ ่งถ้าเป็ นไปได้ก็หวังจะให้เกิดการจัดงานเทศกาล <strong>WOW</strong> นี้ขึ ้นอีกทุกปี<br />

เพื่อที่เราจะได้มีโอกาสมาพูดคุยกันอีกซ้ำ าๆ จนสิ่งนี้กลายเป็ นเรื่องของทุกคนในเมืองกับ<br />

การมีส่วนร่วมกันสร้างเมืองที่น่าอยู่ และเป็ นความภาคภูมิใจของคนที่อยู่ในเมืองต่างๆ<br />

ของประเทศ<br />

คณะกรรมการ <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong> <strong>Being</strong><br />

Photo Contest <strong>2022</strong><br />

นิิธิิ สถาปิ ติานินิท์<br />

ชนิะ สังพลัง<br />

วิิวััฒน์์ กุุลจัันิทร์<br />

ผศ.ดร.ชวัาล คููร์พิพัฒน์์<br />

สุวิิชา เปรมใจิช่นิ<br />

คณะทำำางาน <strong>WOW</strong> RUN<br />

เฉล ิมพล สมบััติิยานุุชิติ<br />

ธิงชาติิ ชินส ีห์<br />

อเส สุขยางค์์<br />

ทรงพจินิ์ สายสืืบ<br />

คณะกรรมการ <strong>WOW</strong> Architour<br />

สุเมธิ ฐิติาริยกุุล<br />

เฉล ิมพล สมบััติิยานุุชิติ<br />

สาโรช พระวังศ์<br />

ณัฐภููมิ รับัคุำอ ินิทร์<br />

ณัฏฐพงศ์ จัันิทร์วััฒนิะ<br />

ปุณณรัตินิ์ จร ุงคุนิธิ์<br />

รุจิ รัตินิพาหุ<br />

กิิจิจิา ล่ามกิิจิจิา<br />

พิมพ์ชนิกิ อิศรภัักด ี<br />

นิภััสกิร ศิลวิิรัตินิ์<br />

คณะกรรมการ <strong>WOW</strong> Awards<br />

รศ.ดร.ไขศรี ภัักิดิสุขเจร ิญ<br />

ชนิะ สัมพลัง<br />

ผศ.ดร.ปริญญ์ เจีียรมณี โชติิชัย<br />

ชาคร ิติ จัันิทร์รุ่งสกุุล<br />

รศ.ดร.พนิิติ พู่จิินิดา<br />

นำำช ัย แสนส ุภัา<br />

คุุณดนุุชา พิชยนัันท ์<br />

ทำ่ปรึกษาโครงการ<br />

ศุภล ักิษ์์ สุวััตถ ิ<br />

ปวัันร ัศมิ คุ้้มมณี<br />

คณะทำำางาน<br />

Construction Management<br />

บร ิษััท ดี ซิิกิซิ์ติี ทรี จำำากิัด<br />

Designer<br />

บร ิษััท คุลาวด ์ฟ้ลอร์ จำำากิัด<br />

Designer<br />

บร ิษััท เอ็กิซิ์ดีไซินิ์ 49 จำำากิัด<br />

Designer<br />

บร ิษััท อัญแปลนิ จำำากิัด<br />

Graphic Designer<br />

บร ิษััท จีีเอ 49 จำำากิัด<br />

Reseach<br />

บร ิษััท บัารามีซิี จํํากััด<br />

Co-Host ในการจัดงาน<br />

บร ิษััท อมรินิทร์พรินติ้้งแอนด ์พับล ิชชิง<br />

จำำากิัด มหาชนิ


05<br />

Photo Credit: Songphol Thesakit


06<br />

MESSAGE<br />

FROM THE PRESIDENT<br />

While the Siamese Architect Association under Royal Patronage has<br />

hosted ASA Real Estate on an annual basis as a platform for discussion<br />

with real-estate developers, we have wished to broaden the topics<br />

and contents <strong>of</strong> conversations and share ideas with other groups <strong>of</strong><br />

pr<strong>of</strong>essionals and relevant parties besides designers and architects.<br />

The Bangkok Metropolitan Office has consulted with the ASA to find<br />

the best possible solutions for Bangkok’s city plan. These processes<br />

are far too challenging to accomplish solely by volunteers. Designing<br />

and developing a city requires collaborations between experts with<br />

direct and diverse experiences and know-how. The issues concerning<br />

Bangkok’s urban development are significant and complicated and can<br />

only be handled partially by the ASA. This realization resulted in the<br />

birth <strong>of</strong> <strong>WOW</strong> <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> in <strong>2022</strong>, the festival that initiates<br />

collaborations between a large number <strong>of</strong> organizations, including<br />

designers and architects, real-estate project developers, innovators,<br />

Bangkok Metropolitan’s agencies, other independent organizations,<br />

and the public sector, all <strong>of</strong> which come together to share and exchange<br />

thoughts on how Bangkok could be developed. This festival tells stories<br />

<strong>of</strong> cities in many different and possible dimensions.<br />

<strong>WOW</strong> <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> also grants an opportunity for the<br />

members <strong>of</strong> the Architect Association to be informed about the latest<br />

updates regarding possible future approaches in design and project<br />

developments through various exhibitions that call for everyone to<br />

contemplate and imagine a livable city together. The festival will also<br />

feature exciting projects and research on urban developments and the<br />

<strong>WOW</strong> Awards. By shining a light on these works, the governmental<br />

sector and local authorities such as city municipalities, as well as the<br />

general public, will be able to see and understand that these projects<br />

are far more than just nice-looking appearances but the products <strong>of</strong><br />

carefully thought-out processes and an intention to take the city to the<br />

next level <strong>of</strong> development.<br />

This special issue <strong>of</strong> the ASA Journal, ‘<strong>WOW</strong> <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong>,’<br />

puts together the presented research data and contents, as well as the<br />

activities and collaborations that took place at the festivals. <strong>WOW</strong><br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> is a successful attempt at bringing together<br />

organizations on this unprecedented scale. Our most important goal<br />

is to push for more research and developments in every dimension <strong>of</strong><br />

urban planning, including incorporating innovations from different<br />

fields <strong>of</strong> knowledge and expertise to help realize and reconcile cityrelated<br />

issues. We hope to see more visions exchanged and goals<br />

shared in the future and to see <strong>WOW</strong> Festival held annually. <strong>WOW</strong><br />

will become a platform to discuss these issues more thoroughly and<br />

comprehensively, to the point where all parties and sectors realize the<br />

importance <strong>of</strong> their contribution and participation in creating better<br />

and more livable cities in which everyone can take pride.<br />

<strong>WOW</strong> Comittee <strong>2022</strong><br />

Phaithaya Banchakitikun<br />

Niramon Serisakul<br />

Chayanat Pongnitipanitch<br />

Cuttaleeya Jiraprasertkun<br />

Ekkachan Eiamananwattana<br />

puiphai khunawat<br />

kotchakorn voraakhom<br />

Sajjapong Lekuthai<br />

maythika tangkaewfa<br />

Pitchaya Ratpiyasoontorn<br />

ACHAWAN WACHIRATANUSORN<br />

Chakdao Navacharown<br />

Patt Pattaratharadol<br />

noppon pisutha arnond<br />

Tanapong witkhamhan<br />

Chutima Kachonnarongvanish<br />

Vasin Chuleewattanapong<br />

Win Jiragranon<br />

Onsiri Tangthong<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> Photo Contest<br />

Committee <strong>2022</strong><br />

Nithi sthapitanonda<br />

Chana sumbing<br />

Wiwat Kulchan<br />

Asst. Pr<strong>of</strong>. Chawan Koopipat (Ph.D.)<br />

Suvicha Premjaicheun<br />

<strong>WOW</strong> RUN Committee<br />

Chalermpon Sombutyanuchit<br />

Thongchad Chinasi<br />

Asae Sukhyanga<br />

Songpot Saisueb<br />

<strong>WOW</strong> Architour Committee<br />

Sumet Titareyakul<br />

Chalermpon Sombutyanuchit<br />

Xaroj Pharwong<br />

Nattapoom Rubkhamin<br />

Nattapong Janwattana<br />

Punnarat Jarungkon<br />

Ruj Rattanapahu<br />

Kitcha Larmkitcha<br />

Pimchanok Issarapakdee<br />

Napatsakorn Silwirat<br />

<strong>WOW</strong> Awards Committee<br />

Assoc. Pr<strong>of</strong>. Khaisri Paksukcharern (Ph.D.)<br />

Chana sumbing<br />

Asst.Pr<strong>of</strong>. Prin Jhearmaneechotechai (Ph.D)<br />

Shakrit Chanrungsakul<br />

Assoc. Pr<strong>of</strong>. Panit Pujinda (Ph.D.)<br />

Namchai Saensupha<br />

Danucha Pichayanan<br />

Advisory Committee<br />

Supalux Suvathi<br />

Pawanrat Kummanee<br />

Working Committee<br />

Construction Management<br />

D-63 Co., Ltd<br />

Designer<br />

CLOUDFLOOR Co., Ltd<br />

Designer<br />

X DESIGN49 Co., Ltd<br />

Designer<br />

UNPLAN Co., Ltd<br />

Graphic Designer<br />

GA 49 Co., Ltd<br />

Reseach<br />

BARAMIZI Co., Ltd<br />

Organizing Partner<br />

Amarin Printing and Publishing<br />

Public Company Limited


07<br />

Photo Credit: Songphol Thesakit


08<br />

FOREWORD<br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects Under Royal Patronage<br />

<strong>WOW</strong>- <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>City</strong> <strong>2022</strong> เทศกาล ‘อัศจรรย์เมือง<br />

น่าอยู่’ นับเป็นอีกย่างก้าวหนึ่งที่สำ าคัญ ที่เราได้เห็นสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ แวดวงสถาปนิก นักออกแบบมีส่วนริเริ่มร่วมกับ<br />

ภาคีเครือข่ายในการร่วมกันคิด ร่วมกันสร้างสรรค์ และตั้งคำาถาม หา<br />

แนวทางให้กับงานพัฒนาในระดับเมือง ในขอบเขตที่นอกเหนือจากงาน<br />

สถาปัตยกรรม และนวัตกรรมการก่อสร้างที่คุ้นเคยดังเช่นในงานสถาปนิก<br />

ที่จัดขึ้นเป็นประจำาในทุกๆ ปี<br />

เมื่อเรื่องของการพัฒนาเมืองเป็นเรื่องของคนทุกคนที่อาศัยอยู่ในเมือง<br />

และมีความซับซ้อนด้วยประเด็นที่หลากหลาย ในช่วงระยะเวลากว่า<br />

5 วัน ตั้งแต่วันที่ 23-27 พฤศจิกายน 2565 ของ เทศกาล ‘<strong>WOW</strong><br />

อัศจรรย์เมืองน่าอยู่’ จึงเป็นการเปิดพื้นที่ให้แต่ละภาคส่วนของการ<br />

พัฒนาเมือง ทั้งภาครัฐ เอกชน วิชาการ ภาคประชาสังคม และสาธารณะ<br />

ได้ร่วมกันพูดคุยหารือ แลกเปลี่ยน นำาเสนอความคิดเห็น ผ่านกิจกรรม<br />

หลากหลายรูปแบบ ทั้งการสัมมนาวิชาการเข้มข้น ตลอดจนกิจกรรม<br />

สันทนาการผ่อนคลายร่วมกัน ซึ่งได้รวบรวมเนื้อหาสาระสำาคัญไว้ใน<br />

วารสารอาษาฉบับพิเศษนี้ ให้เป็นเสมือนบันทึกเพื่อการต่อยอดทาง<br />

ความคิด และนำาไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไปในอนาคต<br />

‘<strong>WOW</strong> เทศกาลเมืองน่าอยู่’ ยังเป็นการแสดงออกถึงจินตนาการร่วม<br />

ของพลเมืองผู้มีส่วนได้เสีย ในการเสนอแนวทางการพัฒนาเมืองที่<br />

ตอบรับกับความหลากหลายมิติของเมือง ที่เกิดขึ้นท่ามกลางบรรยากาศ<br />

ของงานเทศกาลที่สนุกสนาน ในสภาพแวดล้อมของสวนป่าเบญจกิติ<br />

ที่ร่มรื่น ช่วยกระตุ้นให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คน กับสภาพแวดล้อม<br />

ธรรมชาติในเมือง เพราะท้ายที่สุดแล้วนั้นเป้าหมายสูงสุดของการออกแบบ<br />

เมืองน่าอยู่ คือเป็นทั้งกระบวนการให้ทุกผู้คนที่อาศัยอยู่ในเมืองมีส่วนร่วม<br />

สร้างสรรค์เมือง และเกิดผลลัพธ์เป็นเมืองแห่งความสุขไปพร้อมกัน<br />

<strong>WOW</strong>-<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>City</strong> <strong>2022</strong> is a significant step<br />

forward for the Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal<br />

Patronage. We get to see the local community <strong>of</strong> architects and<br />

designers collaborate with other parties within the network to<br />

imagine, create, question, and explore possible approaches to<br />

urban development at an urban scale, expanding the boundary<br />

beyond the expertise in architecture and construction innovations<br />

that are typically featured at the annual architecture<br />

festival.<br />

Urban development involves everyone who lives in the city<br />

and involves many different, complex issues. <strong>WOW</strong>- <strong>Wonder</strong><br />

<strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>City</strong> <strong>2022</strong> served as a platform for each sector<br />

with roles and responsibilities in urban development, from<br />

government, private, public, academic, and civil society, to<br />

present, discuss, and share ideas and inputs through a wide<br />

range <strong>of</strong> activities, from academic seminars to recreational<br />

activities. The details <strong>of</strong> these events are featured in this<br />

special issue <strong>of</strong> the ASA Journal, which will serve as an<br />

archive <strong>of</strong> ideas that could be further developed and put to<br />

good use in the future.<br />

‘<strong>WOW</strong>- <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>City</strong> <strong>2022</strong>’ also demonstrated<br />

the stakeholders’ shared goals and visions through various<br />

proposed possibilities that resonate with many aspects <strong>of</strong> the<br />

city. The event was held in the festive spirit <strong>of</strong> a festival, with<br />

the verdant Benchakitti Forest Park as a background. The lovely<br />

atmosphere encourages and inspires positive interactions<br />

between people and urban green space, embodying the ultimate<br />

objective <strong>of</strong> designing a livable city, which embraces the<br />

process by which everyone who lives in the city can participate<br />

in the creation <strong>of</strong> the city they live in, with the result<br />

being a city <strong>of</strong> tremendous and sustainable happiness for all.


<strong>WOW</strong><br />

WONDER OF<br />

WELL-BEING<br />

CITY<br />

Thematic Pavilion<br />

Thematic Pavilion, the main<br />

exhibition space <strong>of</strong> “<strong>WOW</strong>: <strong>Wonder</strong><br />

<strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong>,” features content<br />

from Baramizi Lab’s research data<br />

and is an experience-based exhibition<br />

that invites viewers to share their<br />

ideas and aspirations for the city<br />

<strong>of</strong> the future.<br />

26<br />

12<br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage<br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese<br />

Architects under Royal Patronage<br />

<strong>WOW</strong><br />

Introduction<br />

Phaithaya<br />

Banchakitikun<br />

Phaithaya Banchakitikun<br />

shared how the <strong>WOW</strong> event<br />

started, his vision for the city,<br />

and how urban development<br />

is a key factor in the country’<br />

development<br />

34<br />

<strong>WOW</strong><br />

Happy Ground-<br />

Happy Hour<br />

an event that explored nature’s<br />

wonders and gained a healthy<br />

and peaceful spirit, slowed the<br />

speed <strong>of</strong> urban life, and brought<br />

happiness back to Bangkok<br />

city life.<br />

<strong>WOW</strong> Research<br />

and Development<br />

18<br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese<br />

Architects under Royal Patronage<br />

<strong>City</strong> Co-Creation<br />

The <strong>City</strong> CO-CREATION workshop<br />

aims to turn Pathumwan <strong>of</strong><br />

Bangkok’s city center into a more<br />

livable neighborhood, and coincides<br />

with the new Bangkok governor’s<br />

walkable city and green city policies.<br />

48<br />

92<br />

The <strong>Wonder</strong><br />

<strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong><br />

Awards<br />

The <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong><br />

Awards, hosted by the Association<br />

<strong>of</strong> Siamese Architects<br />

under Royal Patronage, are<br />

initiated to bring recognition to<br />

projects related to the development<br />

<strong>of</strong> urban spaces, people’s<br />

quality <strong>of</strong> life, and well-being.<br />

The award hopes to promote<br />

various aspects <strong>of</strong> sustainable<br />

urban development as well as<br />

support and publish projects<br />

developed by the government,<br />

private, and public sectors,<br />

enabling them to serve as models<br />

for the development <strong>of</strong> the<br />

country’s and city’s well-being.<br />

<strong>WOW</strong><br />

ARCHI TOUR<br />

The tour introduces visitors<br />

to Bangkok’s architectural<br />

works and local ways <strong>of</strong> life,<br />

allowing them to gain insight<br />

into the wisdom and knowhow<br />

<strong>of</strong> people living in various<br />

communities.<br />

138<br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage<br />

<strong>WOW</strong> Forum<br />

Every development would create<br />

change, as we know, especially<br />

in the development <strong>of</strong> the<br />

“urban” level; every change will<br />

naturally affect the stakeholders<br />

in the ecosystem that form the<br />

city’s constituents. There is no<br />

exception, even when the “city”<br />

is <strong>of</strong> a diversity <strong>of</strong> people and<br />

dwellers. Developing a city that<br />

sustainably meets various needs<br />

can not be caused by just one<br />

person but arises from the joint<br />

planning <strong>of</strong> different groups <strong>of</strong><br />

people within that city, and<br />

do it systematic.<br />

<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong><br />

Photo Contest<br />

Photo Credit: Thammarat Sawatdichai<br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

150<br />

<strong>WOW</strong> for All<br />

ASA Run <strong>2022</strong><br />

Photo Credit: Thammarat Sawatdichai<br />

124<br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong><br />

Siamese Architects under Royal Patronage<br />

<strong>WOW</strong> Supporting<br />

160<br />

Partners


12


PHAITHAYA BANCHAKITIKUN<br />

13<br />

Phaitaya Banchakitikun, vice president <strong>of</strong><br />

the Association <strong>of</strong> Siamese Architects under<br />

Royal Patronage and chairman <strong>of</strong> the <strong>WOW</strong><br />

Festival <strong>2022</strong>, discussed the starting point and<br />

work process <strong>of</strong> the <strong>WOW</strong> Festival <strong>2022</strong> and<br />

his views on the importance <strong>of</strong> the Festival<br />

and urban development.<br />

Phaithaya<br />

Banchakitikun<br />

Chairman <strong>of</strong> <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong><br />

<strong>WOW</strong> Festival มีที่มาและจุดเริ่มต้นอย่างไร?<br />

ไพทยา บัญชากิติคุณ: งาน <strong>WOW</strong> เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ช่วงที่<br />

คุณชนะ สัมพลัง ได้รับเลือกเป็นนายก สมาคมฯ ปี พ.ศ. 2563<br />

โดยนำากิจกรรมต่างๆ ที่สมาคมเคยจัดมาต่อยอด หนึ่งใน<br />

กิจกรรมสำาคัญคือ ASA Real Estate Award ที่จัดในปี<br />

2018-2019 ริเริ่มในสมัยอาจารย์อัชชพล ดุสิตานนท์ เป็น<br />

นายกสมาคมโดยมี คุณวีรพล จงเจริญใจ เป็นประธานจัดงาน<br />

เป็นงานที่ทางสมาคมฯ เห็นความสำาคัญของการเติบโตด้าน<br />

การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในช่วงนั้น มีการจัดทำารางวัลเพื่อ<br />

มอบให้กับโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่มีเน้นคุณภาพ<br />

ชีวิตที่ดีและสร้างให้เกิดความยั่งยืน เป็นรูปแบบงานสัมมนา<br />

และงานเลี้ยงมอบรางวัล เมื่อมาถึงกรรมการชุดนี้มองว่าการ<br />

พัฒนาเมืองมีความสำาคัญโดยตรงกับการพัฒนาประเทศและ<br />

เกี่ยวข้องกับผู้คนในหลายมิติ ทั้งยังสอดคล้องกับสิ่งที่ทั่วโลก<br />

กำาลังให้ความสำาคัญอย่างมากในเรื่อง ‘Urbanization’ ที่การ<br />

อยู่อาศัยของผู้คนจะย้ายเข้ามาอยู่ในเมืองเป็นหลัก มีการคาด-<br />

การณ์ว่า ในปี ค.ศ. 2050 ประชากรโลก 70-80 เปอร์เซ็นต์<br />

จะอาศัยอยู่ในเมือง<br />

How did the <strong>WOW</strong> Festival get<br />

started?<br />

Phaithaya Banchakitikun: The <strong>WOW</strong> event<br />

started when the present ASA president, Khun Chana<br />

Sumpalang, was elected president in 2020. He then<br />

brought back various activities the former ASA committee<br />

had organized and developed further. One <strong>of</strong><br />

those important activities is the ASA Real Estate<br />

Award, organized in 2018–2019. That was initiated<br />

when Dr. Atchapol Dusitnanond was president <strong>of</strong> the<br />

ASA and Khun Werapol Chongjaroenjai was appointed<br />

the event’s chairman. It was an event that the ASA<br />

saw the importance <strong>of</strong> real estate development growth<br />

at that time. Awards are given to real estate development<br />

projects focusing on quality <strong>of</strong> life and sustainability.<br />

It was organized in the form <strong>of</strong> seminars and<br />

gala dinners. When it comes to the current committee,<br />

we see that urban development plays a significant role<br />

in the country’s development, and it involves people<br />

in many dimensions. It is also in line with ‘Urbanization,’<br />

which the world focuses on. It is believed that most<br />

people are moving to the city, and it is estimated that<br />

by the year 2050, 70 to 80 percent <strong>of</strong> the world’s<br />

population will live in cities.


14<br />

ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาจะเห็นว่าเมืองเป็นสิ่งที่ผู้คนให้ความ<br />

สำาคัญมากยิ่งขึ้น มองเห็นปัญหาของบ้านเมือง พยายาม<br />

ร่วมกันแสดงความคิดเห็นและร่วมหาแนวทางในการแก้ปัญหา<br />

เพื่อให้บ้านของเรามีคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ดียิ่งขึ้น ภาค<br />

เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมกับภาครัฐและพยายามร่วมกันทำา<br />

โครงการเพื่อเมืองเพื่อสาธารณะมากขึ้นอย่างกว้างขวาง<br />

ประเด็นเรื่องเมืองเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับผู้คนในวงกว้าง<br />

กิจกรรมที่จัดจึงต้องสามารถสร้างความรู้สึกร่วมได้ทุกกลุ่มคน<br />

มีความ Inclusive ซึ่งจะทำาให้วิชาชีพสถาปนิกเป็นที่รู้จักสำ าหรับ<br />

ประชาชนทั่วไป ในมุมที่หลากหลายมากขึ้น เราเปิดทีโออาร์<br />

คัดสรรค์ทีมร่วมพัฒนาโครงการและได้ทีมรวม 3 บริษัทคือ<br />

Baramizi Lab D63 และ GA49 ที่เน้นการทำา research and<br />

development และมี background เรื่องการพัฒนาเมืองอย่างดี<br />

จึงได้รับการคัดเลือก<br />

เราทำา R&D เก็บข้อมูลจากกลุ่มคนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง<br />

กับงานเมืองทุกกลุ่มทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชนเพื่อ<br />

พัฒนาแนวทางการจัดงานและได้ข้อสรุปว่ารูปแบบการจัดงาน<br />

แบบ ‘เทศกาลเมือง’ น่าจะเป็นวิธีที่ทำาให้เข้าถึงทุกกลุ่มคน<br />

ได้ง่าย กว้างขวาง หลากหลายและจะสามารถดึงดูดคนในต่าง<br />

อุตสาหกรรมต่างความถนัดมาร่วมงานได้มาก เพราะรูปแบบ<br />

มีความสนุกสนานสอดแทรกความรู้ ความเข้าใจและความมี<br />

ส่วนร่วมของผู้คนกับการเห็นประโยชน์ของเมืองที่ดีได้<br />

เราเริ่มเตรียมงานตั้งแต่ต้นปี 2020 ซึ่งมีการแพร่ระบาด<br />

ของโควิด-19 วางแผนงานว่าจะจัดขึ้นปลายปี 2020 แต่<br />

สถานการณ์ Covid รุนแรงมากขึ้น งานจึงเลื่อนการจัดมา<br />

เรื่อยๆ และได้มาจัดช่วงปลายปี <strong>2022</strong><br />

ในมุมมองของคุณไพทยาและในฐานะประธาน<br />

จัดงาน คิดว่าภาพรวมของการจัดงาน ปี นี้เป็น<br />

อย่างไร?<br />

ไพทยา บัญชากิติคุณ: ถ้าพูดต่อเนื่องจากสิ่งที่เราตกผลึก<br />

จากการทำา R&D กันมานาน เราอยากให้งานนี้เป็นเหมือน<br />

แพลตฟอร์มใหม่ของเมืองที่เปิดโอกาสให้ผู้คนหลายหลาย<br />

กลุ่มเข้ามาเปิดมุมมองร่วมคิดร่วมสร้างสิ่งที่ดีสู่สังคม สู่<br />

สาธารณะ ร่วมกันพัฒนาบ้านเมืองไปด้วยกัน<br />

Interview<br />

In the past 4-5 years, cities have become more important<br />

to people. We also see the problems <strong>of</strong> the cities,<br />

and people have come to share their opinions and find<br />

solutions to make our cities better and more liveable. We<br />

see the private sector engage with the public one and<br />

make concerted efforts on more public urban projects.<br />

Urban issues involve a wide range <strong>of</strong> people, so the<br />

events and activities must create a sense <strong>of</strong> belonging<br />

for all groups <strong>of</strong> people, and being inclusive will make<br />

the architect pr<strong>of</strong>ession more known to the general<br />

public from more diverse perspectives. We finally<br />

opened TOR to select a team to develop the project<br />

jointly and got a team <strong>of</strong> Baramizi Lab, D63, and<br />

GA49, who focus on research and development<br />

and have a good background in urban development.<br />

So they were selected.<br />

To develop event guidelines, we did R&D, collecting<br />

data from all groups <strong>of</strong> people and agencies related to<br />

urban work, including the government sector, private<br />

sector, and the public. We came to the conclusion<br />

that a ‘<strong>City</strong> Festival’ could be a way to easily reach all<br />

groups <strong>of</strong> people, wide and diverse, and will be able<br />

to attract a lot <strong>of</strong> people from different industries and<br />

different skills because the format is fun and open to<br />

integrating knowledge, understanding, and engagement<br />

so people can be well aware <strong>of</strong> the benefits <strong>of</strong> a<br />

good city.<br />

We started preparing for the event at the beginning <strong>of</strong><br />

2020 with the outbreak <strong>of</strong> COVID-19. The event was<br />

actually planned to be held at the end <strong>of</strong> 2020, but the<br />

COVID situation became more severe, so it has been<br />

postponed until the end <strong>of</strong> <strong>2022</strong>.<br />

As the event’s chairman, what<br />

do you think about this year’s event?<br />

Phaithaya Banchakitikun: From what we got<br />

from comprehensive research, we want this event<br />

to be like the city’s new platform that allows people<br />

from different groups to open their perspectives and<br />

collaborate to create good things for society, for the<br />

public, and to develop the country together.<br />

ในช่วงแรก การจัดหาพาร์ทเนอร์ร่วมจัดงาน เป็นขั้นตอนที่<br />

ยากมากเพราะเป็นงานรูปแบบใหม่ การจะทำาให้ทุกคนเข้าใจ<br />

รูปแบบงานและเนื้อหางานเป็นไปได้ยาก ใช้เวลาพัฒนา<br />

รูปแบบงานพร้อมกับวิธีการนำาเสนอให้มีความชัดเจนขึ้นทีละ<br />

ส่วนจนได้ข้อมูลที่เริ่มทำาให้ทุกพาร์ทเนอร์เริ่มเห็นภาพงาน<br />

ชัดเจนขึ้น<br />

In the beginning, finding partners to organize events<br />

was very difficult because it was a brand-new project.<br />

Making everyone understand the event format and content<br />

is difficult. It took time to develop the format and<br />

how to present it so that it was clearer, step by step,<br />

until we got information that started to make every<br />

partner start to see the work clearly.


PHAITHAYA BANCHAKITIKUN<br />

15<br />

ตอนเข้าไปนำาเสนอโครงการกับ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย<br />

(ททท.) เราได้ผลตอบรับเชิงบวกดีมาก ททท.มองว่างานนี้<br />

เป็นกิจกรรมเมืองที่สำาคัญ แตกต่างจากงานขายของทั่วไปและ<br />

ยังสามารถแสดงออกถึงศักยภาพองค์ความรู้และความเจริญ<br />

ก้าวหน้าของการพัฒนาประเทศเราได้อย่างดีอีกด้วย<br />

นอกจากผลตอบรับที่ดีจากหลากหลาย<br />

หน่วยงานและองค์กรแล้ว ผลตอบรับจาก<br />

สมาชิก สมาคม หรือบุคคลทั่วไปที่มาเข้า<br />

ร่วมงานเป็ นอย่างไรบ้าง?<br />

ไพทยา บัญชากิติคุณ: สำาหรับงานนี้เราเน้นการมีส่วนร่วม<br />

ของกลุ่มประชาชนทั่วไป ไม่จำากัดเพียงกลุ่มอุตสาหกรรม<br />

การออกแบบและก่อสร้าง ผลตอบรับที่ได้มาจากกลุ่มสมาชิก<br />

สถาปนิกคือ เป็นงานที่มีรูปแบบแปลกใหม่เข้าถึงง่าย สร้าง<br />

ความสุขให้กับเมืองได้ ประชาชนทั่วไปมีส่วนร่วมได้ง่าย และ<br />

สามารถเข้าถึงเข้าใจวิชาชีพสถาปนิกได้มากขึ้นว่าสถาปนิก<br />

ทำาอะไรได้บ้างมีบทบาทกับเมืองที่อยู่อาศัยของเค้าอย่างไร<br />

สำาหรับในปี ถัดไป หรือกิจกรรมในปี 2023<br />

สิ ่งที่อยากผลักดันต่อจากนี้คืออะไร?<br />

ไพทยา บัญชากิติคุณ: ตอนนี้อยู่ในช่วงสรุปข้อมูลการ<br />

จัดงาน เพื่อเป็นข้อมูลให้กลุ่มพาร์ทเนอร์ ความตั้งใจของสมาคม<br />

มองว่าจะมีการจัดในครั้งต่อๆ ไปอย่างแน่นอน เพราะถือว่า<br />

เราผ่านด่านแรกที่ยากที่สุดมาแล้ว ในการสร้างแพลตฟอร์ม<br />

สร้างแพทเทิร์นการจัดงานขึ้นมาใหม่ รู้ว่าจุดไหนต้องปรับปรุง<br />

จุดไหนมีประโยชน์และได้รับการตอบรับที่ดี งานในครั้งถัดไป<br />

เราจะสามารถพัฒนาเนื้อหารายละเอียด กิจกรรมต่างๆ<br />

ให้สอดคล้อง และน่าสนใจได้มากยิ่งขึ้น ตอบรับกลุ่มคนใน<br />

วงกว้างให้มีกลุ่มพาร์ทเนอร์ในอุตสาหกรรมอื่นๆ เข้ามามี<br />

ส่วนร่วมมากขึ้น ทั้งการท่องเที่ยว แวดวงการศึกษา อาหาร<br />

สุขภาพ และอื่นๆ เพราะเมืองประกอบขึ้นจากทุกคน ทุกความ<br />

ถนัด และทุกอุตสาหกรรม<br />

When we presented the project to the Tourism Authority<br />

<strong>of</strong> Thailand (TAT), they were very positive and<br />

enthusiastic about it. The TAT sees this event as an<br />

important urban event different from other commercial<br />

ones, and it can also show the potential for knowledge<br />

and progress in our country’s development.<br />

What is the result <strong>of</strong> the ASA members<br />

and other people who came to the<br />

event, in addition to the good feedback<br />

from different agencies and groups?<br />

Phaithaya Banchakitikun: For the <strong>WOW</strong> Festival,<br />

we emphasized more participation <strong>of</strong> the general<br />

public, not just the design and construction industries.<br />

The feedback from the architects and ASA members<br />

was that it has a new and interesting approach that is<br />

easy to access and can bring happiness to the city. The<br />

general public can easily participate and understand<br />

more about the architect pr<strong>of</strong>ession, what architects<br />

can do, and how they play a role in the city they live in.<br />

For the next year or 2023, what do you<br />

want to push from now on?<br />

Phaithaya Banchakitikun: We are now in the<br />

stage <strong>of</strong> summarizing and presenting to our partner<br />

groups. The ASA intends that it will be organized<br />

in the future since we have already passed the first<br />

difficult level—building the platform and creating a<br />

new event pattern—and we know where to improve<br />

and which points are helpful and get good feedback.<br />

In the next event, we will be able to develop content,<br />

details, and activities that are more consistent and<br />

interesting to respond to a broader group <strong>of</strong> people<br />

and have more partners in other industries to take<br />

part in, like tourism, education, food, health, and more,<br />

because a city is made up <strong>of</strong> everyone, every skill, and<br />

every industry.<br />

01<br />

ภาพบรรยากาศการ<br />

ร่วมวางแผนและระดม<br />

ความคิดการจัดงาน<br />

<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong><br />

1


16<br />

Interview<br />

02<br />

บรรยากาศการนำาเสนอ<br />

รูปแบบการจัดกิจกรรม<br />

ภายในงานโดย<br />

คุณไพทยา บัญชากิติคุณ<br />

2


PHAITHAYA BANCHAKITIKUN<br />

We want to see people <strong>of</strong> different specialties<br />

come together and share their potential.<br />

This will help drive the vision <strong>of</strong> the city to<br />

move forward in the direction that we all<br />

want it to go: toward remarkable prosperity<br />

and a sustainable city.<br />

17<br />

<strong>WOW</strong> Festival ครั้งต่อไป จะถูกจัดขึ ้นในรูปแบบ<br />

เอาท์ดอร์ เฟสติวัล ในสวน รูปแบบเดียวกันนี้<br />

เลยหรือเปล่า?<br />

ไพทยา บัญชากิติคุณ: คิดว่าคุณค่าของความเป็นเทศกาล<br />

เมืองจะยังคงอยู่ เพราะเป็นส่วนสำาคัญ ส่วนหนึ่ง ที่ทำาให้งานนี้<br />

มีประชาชนมาร่วมงานมากกว่าที่เราคาดการณ์ไว้ การเลือก<br />

พื้นที่จัดงานในสวนกลางเมืองเป็นส่วนสำาคัญในการสร้างให้<br />

เกิดงานรูปแบบใหม่ให้เมืองเรา เป็นงานที่ผู้คนสามารถมา<br />

ร่วมงานได้พักผ่อนหย่อนใจใกล้ชิดกับธรรมชาติใกล้ชิดเมือง<br />

ไปพร้อมๆ กับความสนุกสนาน ของกิจกรรมและการเผยแพร่<br />

องค์ความรู้ที่สอดแทรกอยู่ในแต่ละส่วนของงาน<br />

ตอนทำา research and development เราก็มีพูดคุยกันว่า<br />

งานของเราจะมีการย้ายตำาแหน่งไปเรื่อยๆ หรือย้ายไปนอก<br />

กรุงเทพฯ ด้วย อาจจะมีงานในต่างจังหวัดประกอบด้วย<br />

ข้อจำากัดเชิงกายภาพยังเป็นสิ่งสำาคัญ สวนเบญฯ เป็นสถานที่<br />

ที่มีโครงสร้างพื้นฐานที่ตอบโจทย์ดีที่สุดตอนนี้ แล้วเราก็ได้รับ<br />

การสนับสนุนที่ดีมากๆ จากหน่วยงานเอกชน อย่างเช่น<br />

ศูนย์สิริกิติ์ ที่เข้ามาสนับสนุนเรื่องของสถานที่ จอดรถให้กับ<br />

โครงการของเราแบบไม่มีค่าใช้จ่าย สถานที่จัดงานในครั้ง<br />

ต่อไปก็ยังอาจจะเป็นสวนเบญฯ อีกครั้ง<br />

อยากให้คุณไพทยากล่าวทิ ้งท้ายถึง <strong>WOW</strong><br />

Festival และเชิญชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมงาน<br />

ในครั้งถัดไปสั้นๆ?<br />

ไพทยา บัญชากิติคุณ: เราเห็นถึงโอกาสและความเป็นไปได้<br />

ของประเทศไทย ทั้งที่กรุงเทพและจังหวัด อื่นๆ การที่เมือง<br />

ไทยมีกิจกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นในพื้นที่ใหม่ๆ พร้อมเรื่องราว<br />

ใหม่ๆ จะทำาให้เห็นมุมมอง ของเมืองในมิติที่หลากหลายจาก<br />

ผู้คนหลากหลายความถนัดมาร่วมกันแสดงศักยภาพ เพื่อ<br />

ช่วยกัน ขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ของเมืองให้พัฒนาไปในทิศทาง<br />

ที่ทุกคนอยากให้เป็น มีความเจริญ เป็นอัศจรรย์ เมืองน่าอยู่<br />

อย่างยั่งยืน<br />

Will the next <strong>WOW</strong> Festival be in the<br />

form <strong>of</strong> an outdoor festival in a garden<br />

in the same format as the first one?<br />

Phaithaya Banchakitikun: I think the value<br />

<strong>of</strong> being a city festival will remain. Because it is an<br />

important part <strong>of</strong> why this event has more people<br />

attending than we expected, selecting a venue<br />

in the city center is also considered an essential<br />

factor in creating a new style <strong>of</strong> possibility for our<br />

city. It is an event that people can join to relax, be<br />

close to nature and the city, have fun activities, and<br />

disseminate knowledge in each part <strong>of</strong> the festival.<br />

At the time we worked on the research and development,<br />

we talked about the festival being constantly<br />

moved each time; it could be even outside <strong>of</strong> Bangkok,<br />

or there may be activities in other provinces.<br />

Anyway, physical limitations are also significant. So<br />

Benjakitti Park has the best infrastructure that meets<br />

most <strong>of</strong> the requirements right now. And we also<br />

got really good support from private agencies such<br />

as the Queen Sirikit National Convention Center,<br />

which provided parking spaces for our project free <strong>of</strong><br />

charge. So perhaps the venue for the next event may<br />

still be Benjakitti Park again.<br />

Would you give a brief ending about<br />

<strong>WOW</strong> Festival and invite those<br />

interested in attending the next<br />

event?<br />

Phaithaya Banchakitikun: We saw the opportunity<br />

and possibility <strong>of</strong> Thailand, both in Bangkok<br />

and other provinces. The fact that Thailand has new<br />

activities occurring in new areas with new stories will<br />

show the perspectives <strong>of</strong> the city in various dimensions<br />

as people <strong>of</strong> different specialties come together<br />

and share their potential. This will help drive the vision<br />

<strong>of</strong> the city to move forward in the direction that we<br />

all want it to go: toward remarkable prosperity and<br />

a sustainable city.


18<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Research<br />

and<br />

Development<br />

Text: Baramizi Lab<br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage<br />

and Baramizi Lab except as noted


<strong>WOW</strong> RESEARCH AND DEVELOPMENT<br />

19<br />

The starting point was the needs <strong>of</strong> the people<br />

involved; the <strong>WOW</strong> - <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong>...<br />

a festival by the Association <strong>of</strong> Siamese Architects<br />

under the Royal Patronage (ASA).<br />

The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal<br />

Patronage, as an independent pr<strong>of</strong>essional organization,<br />

has an important mission to serve society in<br />

developing architecture and the environment and<br />

preserve the rich national cultural heritage. ASA’s<br />

initiative then is to build on the events that have<br />

been organized to meet the changing needs <strong>of</strong> cities,<br />

people, and society in a time <strong>of</strong> dynamic changes.<br />

The ASA Real Estate Forum, developed by the ASA<br />

2 years ago, was one <strong>of</strong> the initiatives that the ASA<br />

wishes to grow further with objectives and activities<br />

that meet these requirements and benefit more<br />

people even more.<br />

จากรากของความต้องการของผู้คนที่เกี่ยวข้องสู่งานเทศกาล ‘<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> อัศจรรย์<br />

เมืองน่าอยู่’ โดยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ (ASA)<br />

จากโจทย์ที่สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ ในฐานะองค์กรทางวิชาชีพอิสระ<br />

มีภารกิจสำคัญด้านหนึ ่งคือการบำเพ็ญประโยชน์ ให้กับสังคมในการสร้างสรรค์ความเจริญ<br />

งดงามทางสถาปั ตยกรรมและสิ่งแวดล้อม และรักษาอารยธรรมของชาติ จึงมีความคิด<br />

ริเริ่มที่จะต่อยอดงานกิจกรรมที่ได้เคยสร้างสรรค์ ไว้ ให้ตอบโจทย์ความต้องการที่เปลี่ยน<br />

แปลงไปของเมือง ผู้คน และสังคมในยุคสมัยของความก้าวหน้าที่เปลี่ยนแปลงไป งาน ASA<br />

Real Estate Forum งานประกาศรางวัลสำคัญของวงการการพัฒนาสถาปั ตยกรรม<br />

และอสังหาริมทรัพย์ที่ทาง ASA ได้ก่อร่างสร้างขึ ้นมาเป็ นเวลา 2 ปี แล้วจึงถูกริเริ่มในการ<br />

พัฒนาต่อยอดให้มีวัตถุประสงค์และรูปแบบกิจกรรมที่ตอบโจทย์วัตถุประสงค์นี้และสร้าง<br />

ประโยชน์ ให้ผู้คนมากกว่าเดิม


20<br />

เพราะความต้องการที่จะสร้างงานที่สร้างแรงกระเพื่อมด้านบวกให้เมือง<br />

และสังคม ในหัวข้องานอีเวนต์สร้างสรรค์เพื่อการออกแบบและพัฒนา<br />

เมือง เราเริ่มต้นจากฟังเสียงผู้คนที่เกี่ยวข้องเพื่อค้นหา Missing Piece<br />

ที่จะมาเป็นโจทย์สำาคัญของการจัดงาน เพื่อให้งานที่จะเกิดขึ้นเป็นส่วน<br />

หนึ่งในการทำาให้การพัฒนาเมืองเกิดขึ้นได้จริง ขั้นตอนในช่วงแรกนี้ทาง<br />

ASA ได้บริษัท บารามีซี่ จำากัด ที่ปรึกษาด้านการสร้างแบรนด์และ<br />

พัฒนาธุรกิจเข้ามาช่วยดำาเนินการในขั้นตอนการวิจัยและกำาหนดกลยุทธ์<br />

ให้กับงานในครั้งนี้ ผลจากการวิจัยด้วยการฟังเสียงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย<br />

ในการพัฒนาเมืองซึ่งประกอบด้วย ภาคเอกชนกลุ่มผู้พัฒนาอสังหา-<br />

ริมทรัพย์ กลุ่มนักพัฒนาเมือง สื่อมวลชนซึ่งเป็นตัวแทนเสียงสะท้อน<br />

จากประชาชน หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง และ<br />

กลุ่มผู้ประกอบการ Supplier ด้านวัสดุตกแต่งก่อสร้างและเทคโนโลยี<br />

เพื่อการพัฒนาเมือง Missing Piece สำาคัญที่ค้นพบหรือภาษาการวิจัย<br />

เรียกว่า Unmet Needs (ความต้องการที่ซ่อนเร้น) ของผู้เข้าร่วมที่มี<br />

ต่อการพัฒนาเมือง ที่สำาคัญที่สุดคือ ‘Inspire for Future <strong>City</strong>’ ความ<br />

ต้องการงานอีเวนต์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมืองที่จะช่วยสร้างแรง-<br />

บันดาลใจให้คนจินตนาการถึงภาพเมืองในอนาคต การเป็นงานที่ช่วย<br />

Educate ให้คนทั่วไปเกิดความเข้าใจ จากนั้นนำาไปสู่การ Collaborate<br />

รวมพลังของคนทุกภาคส่วนทำาให้เกิดพลังในการขับเคลื่อน และงาน<br />

เป็นพื้นที่ได้โชว์ศักยภาพของนวัตกรรมการพัฒนาเมืองที่ทำาได้จริง<br />

โดยแนวคิดการจัดงานที่ชื่อ ‘Co-creation for Better <strong>City</strong>’ เป็นแนวคิดที่<br />

ได้รับความสนใจมากที่สุดเพราะผู้เข้าร่วมการวิจัยชื่นชอบแนวคิดที่<br />

เป็นการเชิญชวนให้ทุกภาคส่วนมาร่วมแรงร่วมใจให้เกิดการพัฒนาเมือง<br />

เสริมด้วยภาพของการเล่าถึงอนาคต Drive the Future ให้ความรู้ใหม่ๆ<br />

เปิดโลกเปิดมุมมอง คู่ไปกับ Future <strong>City</strong> Showcase พื้นที่ปล่อยของ<br />

ของคนรุ่นใหม่ นำาผลงานที่โดดเด่นมาจัดแสดงให้เป็นรูปธรรมและให้<br />

ความรู้สึกเป็นวิธีการที่จับต้องได้ นอกจาก Insight เหล่านี้จากการวิจัย<br />

ยังได้มาซึ่งความสนใจในคอนเทนต์ รูปแบบกิจกรรม และบรรยากาศ<br />

ของงานด้วย ซึ่งนับเป็นวัตถุดิบสำาคัญของการกำาหนดกลยุทธ์แบรนด์<br />

ของงานอีเวนต์สร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาเมืองในครั้งนี้<br />

ในการต่อยอดจากข้อมูลวิจัยสู่กลยุทธ์นั้นสมาชิกสมาคม ASA ทั้งใน<br />

วิชาชีพสถาปนิก แวดวงอสังหาริมทรัพย์ นักพัฒนาเทคโนโลยี นักพัฒนา-<br />

เมือง ได้มาช่วยกันระดมสมองเสนอไอเดียที่จะช่วยกันรังสรรค์ให้กลาย<br />

เป็นงานที่ดีที่สุดเพื่อตอบโจทย์ทุกคน<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

According to the desire to create events that generate a<br />

positive impact on the city and society in the form <strong>of</strong> creative<br />

events for urban design and development, we started by<br />

listening to the voices <strong>of</strong> the people involved to find the<br />

Missing Piece that would be the central theme <strong>of</strong> the event.<br />

This is for the work that will take place to make the city’s<br />

development happen. In this initial stage, ASA has commissioned<br />

Baramizi Co., Ltd., a branding and business development<br />

consultant, to assist in the research and strategy process<br />

for the project. The results <strong>of</strong> the research, by listening<br />

to the voices <strong>of</strong> stakeholders in urban development, including<br />

private sectors, real estate developers, urban development<br />

groups, the media as the voices <strong>of</strong> the people, government<br />

agencies involved in urban development, and a group <strong>of</strong> entrepreneurs,<br />

suppliers <strong>of</strong> building and construction materials<br />

and all sorts <strong>of</strong> technology for urban development. The critical<br />

missing piece or so-called Unmet Needs <strong>of</strong> the participants<br />

towards urban development was discovered with the most<br />

important one - ‘Inspire for Future <strong>City</strong>’ - the demand for<br />

urban development-related events that will inspire people to<br />

imagine the future city. The event should help educate people<br />

to understand more about our city. Then it leads to collaboration,<br />

combining the power <strong>of</strong> people from all sectors, resulting<br />

in the ability to drive. And finally, the event as a space<br />

to show the potential <strong>of</strong> urban development innovation that<br />

can come true.<br />

The concept <strong>of</strong> the event under the theme ‘Co-creation for<br />

Better <strong>City</strong>’ was the one that received the most attention<br />

because the research participants liked the idea <strong>of</strong> inviting<br />

all sectors to come together to develop the city. Also, the<br />

concepts <strong>of</strong> telling the city’s future, Drive the Future, which<br />

will provide new knowledge and open up to the world with<br />

new perspectives, together with Future <strong>City</strong> Showcase, inspiring<br />

space for the new gens to bring forth new works and<br />

display in a more tangible way. In addition to these insights,<br />

the research has also gained information on the interests in<br />

new content, activities, and the kind <strong>of</strong> vibe and ambience<br />

people want to see in the event. These are the key elements<br />

in the brand strategy <strong>of</strong> this creative event.<br />

Photo Reference<br />

COPYRIGHT© Baramizi Lab Co., Ltd.<br />

In extending and developing the research data into strategy,<br />

ASA members, including those in pr<strong>of</strong>essional firms or real<br />

estate circles, technology developers, and city developers,<br />

came together to brainstorm ideas that help create the best<br />

event to meet everyone’s needs.


<strong>WOW</strong> RESEARCH AND DEVELOPMENT<br />

21<br />

Photo Reference<br />

COPYRIGHT© Baramizi Lab Co., Ltd.


22<br />

และแล้วงาน <strong>WOW</strong> (<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>being <strong>City</strong>) ก็ได้ถือกำาเนิดขึ้น<br />

จากขั้นตอนรับฟังและระดมไอเดียทั้งหมดที่ได้ลำาดับมา ทีมงานที่<br />

ปรึกษาและคณะทำางานของ ASA ได้จัดทำาเป็นข้อสรุปของกลยุทธ์ที่<br />

สำาคัญ ดังนี้<br />

1) คุณค่าหลักของแบรนด์ <strong>WOW</strong> (Value Proposition): Better <strong>City</strong><br />

งาน <strong>WOW</strong> ต้องสะท้อนความหวังและความฝันของผู้คนที่อยากเห็น<br />

คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นผ่านการออกแบบเมืองที่ทำาให้วันพรุ่งนี้ดีขึ้นกว่าเดิม<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

And so the <strong>WOW</strong>- <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> event was born.<br />

From the stage <strong>of</strong> listening and brainstorming all the ideas.<br />

The ASA advisory committee and the working group have<br />

come up with a summary <strong>of</strong> key strategies as follows:<br />

1) <strong>WOW</strong> Brand Core Value (Value Proposition): Better <strong>City</strong>.<br />

<strong>WOW</strong> must reflect the hopes and dreams <strong>of</strong> people who<br />

want a better quality <strong>of</strong> life by designing a city for a better<br />

tomorrow.<br />

2) กลุ่มเป้าหมายที่สำาคัญของงานประกอบด้วย กลุ่มหน่วยงานภาครัฐ<br />

และหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาคธุรกิจ อาทิ อสังหา-<br />

ริมทรัพย์ เทคโนโลยี นักออกแบบ สถาปนิก ผู้สนใจงานออกแบบ และ<br />

ประชาชนและสังคมไทย โดยคาดหวังให้งาน <strong>WOW</strong> มีบทบาทสำาคัญ<br />

ตั้งแต่การมีส่วนร่วมในการกำาหนดนโยบายของประเทศ การสร้างการ<br />

เชื่อมโยงทางธุรกิจ การให้ความรู้และแรงบันดาลใจ และการให้คุณค่า<br />

ต่อการพัฒนาเมือง<br />

2) The main target groups <strong>of</strong> the event are government<br />

agencies and local government agencies, business agencies<br />

such as real estate, technology, designers, architects, design<br />

enthusiasts, and people and Thai society. <strong>WOW</strong> is expected<br />

to play an important role, from participating in national policy<br />

formulation and creating business links to providing education,<br />

inspiration, and value to the city’s development.<br />

Photo Reference<br />

COPYRIGHT© Baramizi Lab Co., Ltd.


<strong>WOW</strong> RESEARCH AND DEVELOPMENT<br />

23<br />

3) องค์ประกอบที่สำาคัญที่งาน <strong>WOW</strong> ต้องมี<br />

- People Engagement การสร้างความมีส่วนร่วมใน<br />

ทุกๆ ภาคส่วน<br />

- Foresight การมีเนื้อหาเทรนด์เผยแพร่ผ่าน Trend Forum/<br />

Trend Exhibition และ Trend Book ที่บอกถึงทิศทางที่สำาคัญ<br />

ต่อการพัฒนาเมือง<br />

- Future <strong>of</strong> Hope การมีนวัตกรรมหรือบริษัทชั้นนำาด้าน<br />

เทคโนโลยีของการบริหารจัดการเมืองเพื่อทำาให้เมืองในฝันของทุกคน<br />

เกิดได้จริง<br />

- Forming Digital Twin การหลอมรวมโลกของกายภาพเข้ากับ<br />

โลกของดิจิทัล ตลอดจนโลกแห่งความงาม (Aesthetic) กับโลกแห่ง<br />

วิศวกรรม (Engineering)<br />

3) Important elements that <strong>WOW</strong> must have:<br />

- People Engagement - creating participation<br />

in all sectors<br />

- Foresight - the presence <strong>of</strong> trend content published<br />

through Trend Forum/ Trend Exhibition and Trend Book<br />

pointing out essential directions for urban development.<br />

- Future <strong>of</strong> Hope - having an innovation or technologyleading<br />

company in city management to make everyone’s<br />

dream city come true.<br />

- Forming Digital Twin - merging the physical world with the<br />

digital world, as well as the aesthetic and engineering world.


24<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

4) กลยุทธ์การบริหารประสบการณ์แบรนด์ (Brand Experience Management)<br />

แนวทางการออกแบบประสบการณ์ของ <strong>WOW</strong> คือ Wisdom and<br />

Fun Experience ที่มาในรูปแบบของ Festival หรืองานเทศกาลโดยมี<br />

องค์ประกอบที่สำาคัญที่ควรมีจัดลำาดับเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ Hook, Must<br />

have และ Fulfill<br />

และทั้งหมดนี้คือจุดเริ่มต้น การรับฟังเสียงผู้คนที่เกี่ยวข้อง การค้นหา<br />

Unmet Needs ที่เป็น Missing Piece สำาคัญ และหลอมรวมไอเดียสู่<br />

การจินตนาการถึงเป้าหมายปลายทางสุดท้ายที่สร้างประโยชน์ให้ผู้คน<br />

ให้กลายเป็นกลยุทธ์แบรนด์ ซึ่งเปรียบเหมือนเป้าหมายทางการออกแบบ<br />

งานเทศกาลสำาคัญในครั้งนี้<br />

4) Brand Experience Management – <strong>WOW</strong>’s experience<br />

design approach is a Wisdom and Fun Experience that<br />

comes in the form <strong>of</strong> a festive event or a festival with essential<br />

elements ranked into 3 groups: Hook, Must have, and Fulfill.<br />

These are all the beginning. Listen to the voices <strong>of</strong> those<br />

involved, find the Unmet Needs which are the key Missing<br />

Pieces, and merge all ideas into imagining an end goal that<br />

benefits people into a brand strategy. This is the key design<br />

goal <strong>of</strong> the Festival.<br />

Photo Reference<br />

COPYRIGHT© Baramizi Lab Co., Ltd.


<strong>WOW</strong> RESEARCH AND DEVELOPMENT<br />

25<br />

Photo Reference<br />

COPYRIGHT© Baramizi Lab Co., Ltd.


26<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Thematic<br />

Pavilion<br />

Inside the Benchakitti Museum, an old tobacco factory<br />

turned new public urban space, is where the Thematic<br />

Pavilion, the main exhibition space <strong>of</strong> ‘<strong>WOW</strong>: <strong>Wonder</strong><br />

<strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong>,’ is located. The exhibition features<br />

content from Baramizi Lab’s research data, with d63<br />

and Cloud-floor contributing to the design <strong>of</strong> the<br />

space. The experience-based exhibition invites<br />

viewers to share their ideas and aspirations for the<br />

city <strong>of</strong> the future in ten years through the presentation<br />

<strong>of</strong> various living-related matters such as residential<br />

Text: ASA <strong>WOW</strong><br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects<br />

under Royal Patronage and Cloud-Floor except as noted


<strong>WOW</strong> THEMATIC PAVILION<br />

27<br />

spaces, modes <strong>of</strong> transportation, all the way to the<br />

financial aspect, working and studying, being a part<br />

<strong>of</strong> a community, and how people spend their free time<br />

and take care <strong>of</strong> their physical and mental well-being.<br />

Through this main exhibition, opinions and inputs<br />

reflect varying individual needs. The information has<br />

been distributed to various urban development networks<br />

to assist future developments in making cities<br />

more livable. Since the development <strong>of</strong> a ‘city’ is<br />

everybody’s business, any speculated trends or tendencies<br />

are merely a forecast. The reality derived<br />

from us stakeholders, on the other hand, is a tangible<br />

future that we can all help envision.<br />

01<br />

พื้นที่นิทรรศการหลัก<br />

Thematic Pavilion<br />

ออกแบบโดยทีม D63<br />

และ Clound-floor<br />

พื้้นที่่นิที่รรศการหลัักของงาน ‘<strong>WOW</strong> อัศจรรย์์เมืืองน่าอย์่’ หร้อ Thematic<br />

Pavilion จัดแสดงอย์่ในบริเวณอาคารพื้ิพื้ิธภััณฑ์์เบญจกิติิที่่ปรับปรุงจากโรงงาน<br />

ผลิิติย์าส่บเดิมื ซึ่่ งส่วนนิที่รรศการหลัักน่มีีเน้อหาจัดแสดงจากข้อมููลว ิจัย์โดย์ที่่มื<br />

Baramizi Lab แลัะร่วมืออกแบบพื้้นที่่โดย์ ที่่มื D63 แลัะที่่มื Cloud-floor ในร่ปแบบ<br />

นิที่รรศการเชิิงประสบการณ์ ที่่เชิิญชิวนทีุ่กคนร่วมืแลักเปลั่ย์นความค ิดแลัะความื<br />

ต้้องการว่าเมืืองของเราจะเป็ นอย่่างไรในอนาคตอ ีก 10 ปี ข้างหน้า ผ่านการนำาเสนอ<br />

ประเด็นของการอย์่อาศัย์ในด้านต่่างๆ ได้แก่ ที่่อย์่อาศัย์ การเดินที่าง การบริโภัค<br />

การเงิน การที่ำางาน การเรีียน การเข้าสังคมื การใช้้เวลัาว่างแลัะการด่แลจ ิติใจ<br />

การด่แลส ุขภัาพื้ โดย์การแลักเปลั่ย์นความค ิดเห็นผ่านพื้้นที่่นิที่รรศการหลัักน่<br />

จะเป็ นภัาพื้สะที่้อนความืติ้องการของแต่่ลัะบุคคลัที่่แติกต่่างกันไป แลัะข้อมื่ลัเหล่่าน่<br />

จะถููกส่งต่่อให้ทีุ่กเคร้อข่าย์พื้ัฒนาเมืืองได้เห็นความืติ้องการ แลัะเป็ นโย์ชิน์เพื่่อนำาไป<br />

พื้ัฒนาเมืืองของเราให้น่าอย์่ติ่อไปในอนาคติ เพื้ราะ ‘เมืือง’ เป็ นเร้องของ ‘ทีุ่กคน’<br />

แนวโน้มืในอนาคติที่่มีีการคาดการณ์กันนันเป็ นเพื้่ย์งการพื้ย์ากรณ์ ส่วนเร้องจริง<br />

จะเกิดข่ นจริงจากเราทีุ่กคนที่่เป็ นผ่้มื่ส่วนได้ส่วนเส่ย์มืาร่วมืวาดภัาพื้อนาคติ<br />

นันร่วมก ัน


28<br />

ภายใน Thematic Pavilion ออกแบบให้ทุกคนมาร่วมสร้าง<br />

ฉากทัศน์แห่งอนาคตของเมืองในประเทศไทย อีก 10 ปี<br />

ข้างหน้า ไปด้วยกัน กับกิจกรรม Shaping Our Future<br />

Together เพื่อหาคำาตอบว่าเมืองในอุดมคติของคุณจะมี<br />

หน้าตาเป็นอย่างไร และผู้คนจะใช้ชีวิตกันอย่างไร โดย<br />

เนื้อหาแบ่งออกเป็น<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

With ‘Shaping Our Future Together,’ the thematic<br />

pavilion invites everyone to imagine and create the<br />

future scenario <strong>of</strong> urban spaces in Thailand in the<br />

next ten years. The activity aims to find answers<br />

that will help paint a clearer picture <strong>of</strong> everyone’s<br />

ideal city and how their lives will be. The exhibition’s<br />

featured contents are divided into:<br />

Future Urban Persona<br />

ชวนค้นหาว่าคุณเป็นคนแบบไหนในเมืองแห่งอนาคต โดย<br />

นำาเสนอผลจากการวิจัยที่ศึกษาคนไทยในอนาคตกับความ<br />

ต้องการที่มีต่อเมืองน่าอยู่ ซึ่งพบว่าสามารถจำาแนกลักษณะ<br />

ของคนออกเป็น 6 รูปแบบที่มีทัศนคติในการใช้ชีวิต ความ<br />

สนใจ การตื่นตัวต่ออนาคต และความต้องการการพัฒนา<br />

รูปแบบเมืองที่แตกต่างกัน<br />

9 Life-dimensions<br />

Consumer Behavior & Expectation Trend in<br />

2032: Impact on 9 Human Life-Dimensions<br />

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างและการ<br />

เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีใหม่ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง<br />

ของผู้บริโภคและสังคมในทั้ง 9 มิติของการใช้ชีวิตอย่างไร<br />

ทั้ง Live Work/Consume/Finance/Learn/Socialize/<br />

Entertain/Commute/Healthcare ซึ่งสำารวจความเห็นของ<br />

ผู้เข้าชมว่าเทรนด์ของความคาดหวัง และพฤติกรรมอะไร<br />

บ้างที่ต้องการให้เกิดขึ้นในเมืองที่อาศัยอยู่มากที่สุด เพื่อ<br />

นำาเสนอความเป็นไปได้ในอนาคตในทั้ง 9 มิติ<br />

อุโมืงค์เวลัา Introduction About Change<br />

การคาดการณ์แนวโน้มโดยเกิดจากการเฝ้าจับตาการเปลี่ยน<br />

แปลงผ่านอุโมงค์เวลาของประเทศไทย จากวันนี้ถึงปี 2032<br />

การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบและโครงสร้างของประเทศไทย<br />

จะเป็นไปอย่างไรบ้าง และจะส่งผลต่อชีวิตของเราอย่างไร<br />

Real Estate & Urban Design<br />

เพื่อต่อเติมภาพของเมืองและประเทศไทยในอนาคตให้<br />

ชัดเจนมากขึ้น ผ่านการจัดแสดงข้อมูล 55 โครงการพัฒนา<br />

ที่ดิน พัฒนาย่าน และพัฒนาเมืองที่กำาลังดำาเนินการหรือ<br />

ที่กำาลังจะเกิดขึ้น<br />

การพื้ัฒนาโครงการดีเพื้่ย์งอย์่างเด่ย์วไมื่ได้….<br />

เมื้องติ้องดีด้วย์<br />

แนวคิดการพัฒนาเมืองในระดับสากล การพัฒนาระดับ<br />

โครงสร้างพื้นฐานของเมืองเพื่อคุณภาพชีวิต การใช้ชีวิตที่มี<br />

ประสิทธิภาพมากขึ้น และแนะนำาหน่วยงานผู้พัฒนาแนวคิด<br />

เพื่อเพิ่มสมรรถนะทางการแข่งขันให้กับเมืองในระยะยาว<br />

Future Urban Persona<br />

Explore your identity in the future world; the exhibition<br />

is based on research that looks at future generations<br />

<strong>of</strong> Thai people and their desires for a livable<br />

city. The findings present six personas, each with<br />

their attitudes toward life, interests, awareness, and<br />

desires for the future <strong>of</strong> urban spaces and developments.<br />

9 Dimensions <strong>of</strong> Human Life<br />

Consumer Behaviors & Speculated Trends<br />

<strong>of</strong> 2032: Impacts on the 9 Dimensions <strong>of</strong><br />

Human Life<br />

Structural changes and technological advancements<br />

have significantly impacted society and<br />

the nine dimensions <strong>of</strong> human life: living, working,<br />

consumption, finance, learning, socializing, entertainment,<br />

commuting, and access to healthcare.<br />

This part <strong>of</strong> the exhibition explores viewers’ perspectives<br />

to determine what trends, expectations,<br />

and behaviors they seek in the most livable city <strong>of</strong><br />

the future to present various possibilities across all<br />

nine dimensions.<br />

The Time Tunnel: Introduction to Changes<br />

A trend forecast based on a close look into<br />

Thailand’s time tunnel from the present time to<br />

the year 2032 predicts how Thailand’s systematic<br />

and structural changes will play out and affect<br />

people’s ways <strong>of</strong> life.<br />

Real Estate & Urban Design<br />

The exhibition highlights 55 ongoing and upcoming<br />

real estate development, neighborhood building,<br />

and urban development projects to enhance further<br />

the envisioned image <strong>of</strong> the future <strong>of</strong> urban spaces<br />

and Thailand.<br />

Behind every high-quality project<br />

development are high-quality cities<br />

and infrastructures<br />

This exhibition section presents internationally<br />

recognized urban development concepts,


<strong>WOW</strong> THEMATIC PAVILION<br />

29<br />

ร่วมืออกแบบเมื้องในอุดมืคติิ<br />

เมื่อเห็นโอกาสและความเป็นไปได้แล้ว เมืองน่าอยู่ในอุดมคติ<br />

ของแต่ละคนจะมีคุณสมบัติอย่างไร เป็นกิจกรรมสรุปผลที่<br />

จะถูกแปลงผลออกมาเป็นภาพเมืองในฝันของผู้เข้าชมทุกคน<br />

ผ่านการร่วมสร้างภาพด้วยเครื่องมือ Midjourney และได้<br />

รับภาพโดยการสนับสนุนการพิมพ์จาก Canon กลับไปเป็น<br />

ที่ระลึกด้วย<br />

infrastructural developments <strong>of</strong> liveable cities for<br />

improving people’s quality <strong>of</strong> life, and more efficient<br />

ways <strong>of</strong> living, along with suggestions for policymakers<br />

and thinkers to strengthen a city’s long-term<br />

competitive ability.<br />

Co-Creating an Ideal <strong>City</strong><br />

Given all the opportunities and possibilities, what<br />

is each person’s ideal city made <strong>of</strong>? The exhibition<br />

concludes by summarizing and processing the<br />

entire experience into each viewer’s vision <strong>of</strong> a<br />

dream city via an image generation process using<br />

the Midjourney device. With the assistance <strong>of</strong><br />

Canon, an image is printed for each viewer to take<br />

home as a souvenir.<br />

2<br />

3<br />

02-03<br />

แนวคิดการออกแบบ<br />

ของ Clound-floor ที่เน้น<br />

ความเป็นอุโมงค์เวลาของ<br />

การพัฒนาเมืองในอนาคต


30<br />

4


31<br />

04<br />

บรรยากาศของ Pavilion<br />

ที่จัดแสดงไว้ภายในอาคาร<br />

พิพิธภัณฑ์เบญจกิติที่<br />

ปรับปรุงจากโรงงานผลิต<br />

ยาสูบเดิม เป็นโครงเหล็ก<br />

ที่คลุมด้วยผ้าสีสันตาม<br />

corporate identity (CI)<br />

ของงาน ASA <strong>WOW</strong>


32<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

5<br />

05<br />

การจัดแสดงภายใน<br />

ข้อมูลเนื้อหาจากงานวิจัย<br />

ของ Baramizi Lab<br />

06<br />

แนวคิดการออกแบบ<br />

ของนิทรรศการเชิง<br />

ประสบการณ์ที่พยายาม<br />

ให้ผู้เข้าชมมีส่วนร่วมกับ<br />

การแลกเปลี่ยนความคิด<br />

เห็นของเมืองในอนาคต<br />

6<br />

นอกจากนี้ ยังมีส่วนจัดแสดงนิทรรศการ ‘<strong>WOW</strong> Future<br />

city exhibition’ ที่ชวนมองถึงอนาคตของการอยู่อาศัย<br />

ว่าจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ซึ่งในช่วงเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา<br />

การก้าวกระโดดของเทคโนโลยี ทำาให้ชีวิตความเป็นอยู่ของ<br />

คนเมืองเปลี่ยนแปลงไปมาก ทั้งเรื่องความสะดวกของกิจวัตร<br />

ประจำาวัน การทำางานจากที่ไหนก็ได้ในโลก ไปจนถึงความ<br />

น่ากลัวของการเข้าถึงข้อมูลและความเป็นส่วนตัว การเชื่อม-<br />

โยงผู้คนบนโลก ความสามารถในการเข้าถึงของ device<br />

ขนาดเล็กที่ทุกคนสามารถเป็นเจ้าของได้ ไปจนถึงระดับ<br />

Space Technology การทำางานของดาวเทียมในอวกาศที่<br />

เชื่อมต่อและ Monitor พื้นที่ บอกเรื่องราวต่างๆ รายงาน<br />

ข้อมูล ใช้วิเคราะห์เพื่อวางแผนคลี่คลายปัญหาของอนาคต<br />

ไว้ล่วงหน้า ในยุคต่อไปของการแข่งขันเพื่อศักยภาพเศรษฐกิจ<br />

ประเทศมหาอำานาจได้ออกเดินทางเพื่อครอบครองทรัพยากร<br />

ไปไกลถึงนอกโลกแล้ว<br />

Included as a part <strong>of</strong> the curatorial program is<br />

‘<strong>WOW</strong> Future <strong>City</strong>,’ the exhibition that invites<br />

viewers to imagine how people’s lifestyles and<br />

ways <strong>of</strong> living will change in the future. The technological<br />

advances that have occurred in recent<br />

years have significantly impacted how people live<br />

in cities. They range from the ease and routine <strong>of</strong><br />

daily life to the ability to work from anywhere, to the<br />

threats and risks posed by the invasion <strong>of</strong> private<br />

information, how people around the world stay<br />

connected, people’s ability to access technological<br />

devices, all the way to space technology, where<br />

satellites not only connect and monitor different<br />

parts <strong>of</strong> the globe but also report data and information<br />

that can be used to help plan solutions for<br />

future problems.Powerful nations will begin to hunt<br />

for resources in outer space in the coming era <strong>of</strong><br />

competitive economic potential.


07<br />

พื้นที่จัดแสดงผลงานการ<br />

พัฒนาเมือง ที่ได้รับรางวัล<br />

ASA <strong>WOW</strong> AWARD <strong>2022</strong><br />

<strong>WOW</strong> THEMATIC PAVILION<br />

New space economy เป็นแนวคิดที่ว่านวัตกรรมอวกาศ<br />

จะชี้นำารูปแบบชีวิตของผู้คนในอนาคต และหนึ่งในกุญแจ<br />

สำาคัญของเรื่องนี้คือ แร่หายากที่ชื่อว่า ‘Rare Earth’ กลุ่ม<br />

ธาตุโลหะหายาก 17 ชนิด Rare Earth ถูกนำามาใช้เป็น<br />

ส่วนประกอบในการผลิตอุปกรณ์เทคโนโลยีมากมาย ไม่ว่า<br />

เป็นชิปคอมพิวเตอร์ ชิปโทรศัพท์ อุปกรณ์ใยแก้วนำาแสง<br />

เครื่องยนต์ของเครื่องบิน อุตสาหกรรมพลังงาน รวมถึง<br />

อาวุธต่างๆ รวมทั้ง ชุดอวกาศ อาหารอวกาศ โครงการ<br />

นวัตกรรมด้านวัสดุของอนาคต นวัตกรรมการสื่อสารล้ำ ายุค<br />

จาก Hua wai เทคโนโลยี หุ่นยนต์ สิ่งประดิษฐ์ และโครงการ<br />

platform จรวดต้นแบบ เปิดโอกาสการเรียนรู้วิธีใช้ประโยชน์<br />

จากเทคโนโลยีอวกาศที่ทุกคนเข้าถึงได้<br />

โดยในนิทรรศการนี้ มีองค์กรพันธมิตรที่ร่วมนำาเทคโนโลยี<br />

อวกาศมาแสดงในงานหลากหลาย อาทิ กองทัพอากาศ/<br />

บริษัท ไทยคม จำากัด (มหาชน)/สำานักงานพัฒนาวิทยา-<br />

ศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช)/สำานักงานพัฒนา<br />

เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)/ National<br />

Aeronautics and Space Administration (NASA) and<br />

SERVIR/จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย/สถาบันเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง/Asian Disaster<br />

Preparedness Center (ADPC)/U.S. Space & Rocket<br />

Center (USSRC)/โรงเรียนอัสสัมชัญ/Future STEAM Corp.<br />

33<br />

The concept <strong>of</strong> the new space economy revolves<br />

around how space innovations will determine the<br />

possible ways people will live in the future. A group<br />

<strong>of</strong> seventeen metallic elements known as ‘Rare<br />

Earth’ is one <strong>of</strong> the keys to the success <strong>of</strong> the new<br />

space economy. These seventeen elements have<br />

produced numerous technological parts and equipment,<br />

including computer and telephone ships,<br />

fiber optic equipment, and airplane engines. The<br />

elements are also in high demand by the power<br />

and arms industries, as well as in the production<br />

<strong>of</strong> space suits, space food, future materials, and<br />

cutting-edge communication innovations, ranging<br />

from Huawei products to artificial intelligence and<br />

robotic technologies to rocket prototype platforms<br />

that allow everyone to access, learn about, and<br />

benefit from space technology.<br />

The exhibition not only features a wide range <strong>of</strong><br />

space technologies but also brings together allied<br />

organizations, including the Air Force, Thaicom<br />

Public Company Limited, the National Science and<br />

Technology Technology Development Agency, the<br />

Geo-Informatics and Space Technology Development<br />

Agency (GISTDA), the National Aeronautics<br />

and Space Administration (NASA), and SERVIR,<br />

Chulalongkorn University, King Mongkut Institute<br />

<strong>of</strong> Technology Ladkrabang, the Asian Disaster<br />

Preparedness Center (ADPC), the U.S. Space &<br />

Rocket Center (USSRC), Assumption College, and<br />

Future STEAM Corp.<br />

fb.com/ASA<strong>WOW</strong><br />

7


34<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Happy<br />

Ground<br />

—<br />

Happy<br />

Hour<br />

Text: ASA <strong>WOW</strong><br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


<strong>WOW</strong> HAPPY GROUND-HAPPY HOUR<br />

35<br />

This event was planned to explore nature’s wonders through<br />

various joyful activities in Benchakitti Forest Park, to gain<br />

a healthy and peaceful spirit for mental, physical, and daily<br />

behaviors. Organized by ASA and Amarin Group, <strong>WOW</strong>—<strong>Wonder</strong><br />

<strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> values the relationship between people, animals,<br />

water, and forests, presenting <strong>WOW</strong> Happy Ground—Happy<br />

Hour as one <strong>of</strong> the key pillars <strong>of</strong> the festival through activities<br />

that explore the quality <strong>of</strong> life <strong>of</strong> city people through creative<br />

sensorial experiences—eating, playing, talking and chatting,<br />

viewing art, and listening to the sounds <strong>of</strong> nature. The modest<br />

and ordinary things in the garden scene with trees in the middle<br />

<strong>of</strong> the pond became an extraordinary miracle that made one<br />

love and cherish the creatures around them more. It will slow<br />

the speed <strong>of</strong> hectic urban life and allow one to live according to<br />

the up-and-down phenomenon <strong>of</strong> the sun in the city. With the<br />

help <strong>of</strong> network partners and designers, the event organizer,<br />

and various private agencies, each activity in the Happy<br />

Ground—Happy Hour in more than 20 areas scattered around<br />

the Benchakitti Forest Park aimed to bring happiness back to<br />

Bangkok city life.<br />

สำำรวจความอััศจรรย์์ขอังธรรมชาติิผ่่านกิิจกิรรมคนเมือังในสำวนป่่ าเบญจกิิติิ<br />

เพื่่อัสำ่งเสร ิมสุุขภาวะทางจิติใจ ร่างกิย์ และพื่ฤติิกิรรมป่ระจำวัน ASA และ<br />

Amarin Group ในฐานะผ่้จัดงาน <strong>WOW</strong> อััศจรรย์์เมือังน่อัย์้่ ท่ให้้ความสำำคัญ<br />

กัับความสััมพื่ันธ์ระหว ่างคน สััตว ์ นำ และป่่ า จึงนำเสำนอั <strong>WOW</strong> Happy Ground<br />

- Happy Hour เป็็ นห้นึ งในกิิจกิรรม Key Pillars ในเทศกิล ผ่่านกิิจกิรรมท่ชวน<br />

สำำรวจคุณภาพชีีว ิติท่ด่ขอังคนเมือังผ่่านกิรสร ้างป่ระสำบกิรณ์กิิน เล่น พื่้ด-คุย์<br />

ด้งานศิลป่ะ และฟัั งเสำ่ย์งธรรมชาติิ ความธรรมดาขอังกิิจวัติรป่ระจำวันในฉกิ<br />

ขอังสำวน และต้้นไม้้กลางบึงนำ ท่อัจจะกิลย์เป็็ นสำิงอััศจรรย์์ ใหม ่ท่ทำให้้เรรักิ<br />

และห้วงแห้นสำิงม่ช่วิติรอับขงมกิขึ น นาฬิิกิช่วิติท่เร่งร่บในเมือังท่หม ุนชลง<br />

และไดใชช่วิติไป่ติมป่รกิฏกิรณ์ขึ น-ลงขอังแสำงอาท ิติย์์ ในเมือัง โดย์ในแต่่ละ<br />

กิิจกิรรมยัังไดรับความร่วมมือัจกิภค่เครือข ่ย์และนักิอัอักิแบบ นักจ ัดกิิจกิรรม<br />

และหน ่วย์งานเอักิชนท่ห้ลกิห้ลย์ มร่วมสร ้างสำรรค์พื้้นท่ความสุุขขอังคนเมือัง<br />

กว ่า 20 จุด กิระจย์อัย์้่ภย์ในสำวนป่่ าเบญจกิิติิ


36<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Local to the Table<br />

Designer: HAS design and research<br />

กิจกรรมสำารวจความหลากหลายของวัตถุดิบในการทำาอาหารจากหลาก-<br />

หลายวัฒนธรรมที่ประกอบกัน เป็นสำารับทั้งที่คุ้นเคยและแปลกใหม่<br />

สำาหรับคนเมือง พร้อมร่วมชิมอาหารคาว-หวานที่จะสลับหมุนเวียน<br />

ไม่ซ้ำากันในแต่ละวันท่ามกลางบรรยากาศสวนป่า-บึงน้ำา<br />

The event explores the variety <strong>of</strong> culinary ingredients from<br />

various cultures that comprise a new menu that <strong>of</strong>fers both<br />

familiar and exotic tastes and experiences. Different savory<br />

and sweet dishes will be served and rotated each day in the<br />

setting <strong>of</strong> a forest park by the lake.<br />

(การตกแต่งของจุดนี้สร้างสรรค์ด้วยสีธรรมชาติ สีจระเข้ เป็ นมิตรกับสิ ่งแวดล้อม<br />

ผลิตจากหินปูน ธรรมชาติ)<br />

Honey<br />

& Hidden bar<br />

Designer: Junesekino Architect and Design<br />

กิจกรรม Talk and Sip 1 สอนชิมน้ำาผึ้งป่ากว่า 130 รสชาติจากนักสะสม<br />

น้ำาผึ้งไทย คุณเบนซ์ วุฒิชัย อินทร์ประยงค์ ผู้ก่อตั้งน้ำ าผึ้งบำารุงสุข เรียนรู้<br />

นิเวศทางธรรมชาติผ่านรสชาติอันหลากหลายของน้ำาผึ้งที่พบในชุมชน<br />

ต่างๆ จาก 4 ภาคของไทย ให้รู้ว่าน้ำาผึ้งไม่ได้มีแค่ความหวานกับหอม<br />

แต่ยังมีความซับซ้อนใน รสชาติ รสสัมผัส และกลิ่น<br />

กิจกรรม Talk and Sip 2 ชวนชิมและฟังเรื่องราวของ mocktail สูตร<br />

เฉพาะ พร้อมร่วมสนทนากับ คุณก๊อตจิ ธีรดนย์ ดิสระ จาก Sugar Ray<br />

ถึงการทำาบาร์ในเมืองกรุง และ passion ในเครื่องดื่มสู่การเตรียมตัว ใน<br />

เวทีการแข่งขันผสมเครื่องดื่ม<br />

‘Honey is more than just about flavor and aroma; it also<br />

represents complexity in taste, texture, and scent.’ At this<br />

bar, visitors can sample over 130 flavors <strong>of</strong> wild honey from<br />

a Thai honey collector and Bamrung Suk Honey founder,<br />

Wuttichai Inprayong, and explore the natural ecology through<br />

the diverse tastes <strong>of</strong> honey found in four areas <strong>of</strong> Thailand.<br />

Taste a one-<strong>of</strong>-a-kind mocktail and learn about its background<br />

and recipe. Join Gotji, Teeradon Disra, <strong>of</strong> Sugar Ray<br />

were in a discussion on opening a bar in the city and his passion<br />

for cocktails that has led him to the competition stage.<br />

BIO*LUMINESCEN<br />

Designer: Khopfa Chanpensri X YIMSAMER<br />

‘The meeting <strong>of</strong> creatures to witness the<br />

flowers <strong>of</strong> sustainability - pollination.’<br />

ส่วนจัดแสดงศิลปะการจัดวางไฟนำาเสนอเรื่องราวของเหล่าฝูงสิ่งมีชีวิต<br />

กำาลังโบยบินและมุ่งหน้าสู่ดอกไม้ แห่งความยั่งยืนซึ่งตั้งอยู่ภายในสวน<br />

เบญจกิติ กรุงเทพฯ ดอกไม้นี้พร้อมที่จะให้เหล่าสิ่งมีชีวิตได้มาเก็บ และ<br />

กระจายเกสรแห่งความยั่งยืน เป็นการสื่อสารเชิงสัญลักษณ์ถึงการเผย<br />

แพร่อุดมการณ์แห่งความสมบูรณ์ และการมีชีวิตชีวาของพื้นที่สวน<br />

ใจกลางกรุงเทพฯ<br />

Swarms <strong>of</strong> creatures are flying towards the Sustainable<br />

Flower, located in Benchakitti Park, Bangkok. This flower is<br />

ready for cross-pollination, which symbolizes the dissemination<br />

<strong>of</strong> exuberance and the vibrant garden in the center <strong>of</strong><br />

the city.<br />

ORI ALIVE:<br />

Land <strong>of</strong> Livings<br />

Designer: XD49<br />

งานจัดแสดงแสงและเสียงสื่อถึงดินแดนของ ‘อัศจรรย์เมืองน่าอยู่’<br />

จาก <strong>WOW</strong> x Origin ที่ปลุก ORI หรือ เนินดินในบริเวณ Wetland ทั้ง 9<br />

ในพื้นที่ของสวนเบญจกิติ ให้กลายเป็นสิ่งมีชีวิตตอนกลางคืนที่อยู่เป็น<br />

ฝูงละ 3 ตัว และชอบเสียงกลองเป็นชีวิตจิตใจ หากเดินไปผ่านสามารถ<br />

ตีกลองเพื่อเรียกความสนใจและ เล่นหรือถ่ายรูปกับ ORI ได้ แนวคิด<br />

ในการสร้างแลนด์มาร์กนี้ขึ้นเพราะสวนเบญจกิตินี้ไม่เพียงรองรับแค่<br />

มนุษย์ แต่ยังเป็นบ้านถาวรของสิ่งมีชีวิตน้อยใหญ่ การรวมตัวกันของ<br />

คนรักเมืองจึงเป็นเสมือนการร่วมมือ กันทำาให้เมืองน่าอยู่ ปลุกสวนป่า<br />

ให้มีชีวิตและทักทายผู้คนเสมือนกำาลังอยู่ในนิทานที่เกิดขึ้นบนโลกแห่ง<br />

ความจริงผ่านภาพ เสียง และ แสงที่อยู่รายล้อม<br />

Through the nine ORI wetland hills in Benchakitti Park, the<br />

light and sound exhibition portrays the wonders <strong>of</strong> a livable<br />

city, which not only welcomes citizens but also serves as a<br />

permanent home for all living beings. The gathering <strong>of</strong> city<br />

lovers represents a commitment to working together to make<br />

the city more livable and to bring the forest to life. The park’s<br />

designed visuals, lighting, and sound will greet visitors with<br />

a real-life fairy tale ambiance.<br />

(การตกแต่งของจุดนี้สร้างสรรค์ด้วยสีธรรมชาติ สีจระเข้ เป็ นมิตรกับสิ ่งแวดล้อม ผลิตจาก<br />

หินปูน ธรรมชาติ ปลอดภัยไร้สารพิษ)


<strong>WOW</strong> HAPPY GROUND-HAPPY HOUR<br />

37<br />

01<br />

Benchakitti Rain Forest<br />

Observatory ศาลาและ<br />

หอสังเกตการณ์กลาง<br />

สวนป่า ออกแบบโดย<br />

HAS design and research<br />

1


38<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

2


<strong>WOW</strong> HAPPY GROUND-HAPPY HOUR<br />

Perfect Circle<br />

Challenge<br />

Thepoke.co.uk<br />

39<br />

การขยับตัวแต่น้อยของคนในเมือง อาจทำาให้ศักยภาพของร่างกายเรา<br />

ลดลง! <strong>WOW</strong> ชวนมาเช็คประสาท สัมผัส ประลองทักษะการเหวี่ยงแขน<br />

เป็นวงกลม กิจกรรมยอดฮิตที่ถูกแชร์ล้านวิวบนโลกออนไลน์ ที่ดูจะ แสน-<br />

ง่าย แต่ตามสถิติ 10 คน สามารถทำาวงกลมได้แค่ 1 เท่านั้น Let’s the<br />

battle begins!<br />

<strong>City</strong> Screening<br />

Designer: MakeAscene<br />

จุดแวะพัก และรวมตัวชมภาพยนตร์และสารคดีที่จุดประกายการใช้ชีวิต<br />

คนเมือง ในแง่มุมต่างๆ อาทิ Mori, the Artist’s Habitat ภาพยนตร์สร้าง<br />

จากเรื่องจริงของศิลปินชาวญี่ปุ่น Kumagai Morikazu ที่ ไม่ออกนอกบ้าน<br />

เลยเป็นเวลากว่า 30 ปี และใช้เวลาในบ้านเฝ้ามองสิ่งเล็กๆ น้อยๆ ในสวน<br />

เพื่อเป็นแรง บันดาลใจในการสร้างงาน<br />

<strong>City</strong> Screening is a stopover and gathering spot for people to<br />

watch movies and documentaries that reignite different aspects<br />

<strong>of</strong> urban life. Mori, the Artist’s Habitat, is a film based<br />

on the true story <strong>of</strong> a Japanese artist, Kumagai Morikazu,<br />

who has not left his home in more than 30 years and spends<br />

his time indoors, gazing at the elements in the garden for<br />

inspiration for his creations, and is one <strong>of</strong> the highlights.<br />

Houses <strong>of</strong><br />

Worry-Free<br />

Designer: Atom Design / AR: Keen Collective<br />

จุดจัดแสดง ‘บ้านน่าอยู่’ ที่จะทำาให้ทุกคนอยู่ในสภาวะ ‘หายห่วง<br />

คลายกังวล’ ด้วยการจำาลองกิจกรรม ชีวิตประจําวันในบ้าน 3 หลัง<br />

ของคนเมืองผ่านเทคโนโลยี Augmented Reality (AR)<br />

The ‘livable home’ exhibit point aimed to put visitors in a state<br />

<strong>of</strong> ‘worry and anxiety-free.’ It employs augmented reality (AR)<br />

technology to recreate daily routines in three metropolitan<br />

houses.<br />

3<br />

<strong>WOW</strong> encourages the city dwellers to put their physical<br />

flexibility to the test by swinging your arms to draw a circle,<br />

a popular online challenge that has been viewed and shared<br />

millions <strong>of</strong> times. Even though it looks easy, only one out <strong>of</strong><br />

every ten participants can make a proper circle. Let’s the<br />

battle begins!<br />

Cluddle Flied<br />

Designer: Big knit<br />

ศิลปะการจัดวางงานถัก Knitting ขนาดใหญ่ โอบอุ้มการมาพบปะ<br />

สังสรรค์กันของผู้คนในพื้นที่ สาธารณะผ่านการออกแบบกระบวนการ<br />

ผลิตด้วยการใช้วัสดุเหลือใช้อย่างเสื้อยืดเก่า และไหมพรม reuse มา<br />

สร้างสรรค์เป็นผลงานที่นั่งในสวน งานตกแต่งต้นไม้ เนินดอกไม้ และ<br />

กิจกรรมถักนิตติ้งยักษ์!<br />

The installation art in the form <strong>of</strong> a huge knitted piece, which<br />

embodies the idea <strong>of</strong> gathering in public space, was designed<br />

and created from waste materials such as discarded t-shirts<br />

and used yarn. With our knitting activities, the visitors were<br />

invited to make garden seats and plant and flower decorations<br />

together!<br />

02<br />

ซุ้ม ‘Worry Free Home :<br />

WFH บ้าน หาย ห่วง’<br />

โดย บริษัท ทีคิวเอ็ม<br />

อินชัวร์รันส์ โบรคเกอร์<br />

จำากัด และ บริษัท บิลค์ วัน<br />

กรุ๊ป จำากัด (BUILK ONE<br />

GROUP)<br />

03<br />

ศิลปะงานถัก Knitting<br />

จากวัสดุเหลือใช้<br />

ออกแบบโดย Big knit


40<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Giant Art Court<br />

Saratta.space<br />

ส่วนจัดแสดงภาพศิลปะขนาดใหญ่ จากผลงานของศิลปินรับเชิญชื่อดัง<br />

ได้แก่ NUTDAO, Lolay & Family, Noppanan, Tuna Dunn, Try2benice<br />

และ Wisut (Mamuang) และภาพจากการประกวด ถ่ายภาพ ASA Photo<br />

Contest ที่มารวมกันพูดเรื่องเมืองน่าอยู่ผ่านภาพ คน ต้นไม้ เมือง และ<br />

Mass Transit<br />

Giant Art Court is an open art gallery featuring works by wellknown<br />

artists such as NUTDAO, Lolay & Family, Noppanan,<br />

Tuna Dunn, Try2benice, and Wisut (Mamuang), as well as<br />

photographs from the ASA Photo Contest. It is also a forum for<br />

addressing livability issues across a variety <strong>of</strong> topics.<br />

TOYTING<br />

เมืองหลวงน่าอยู่<br />

4<br />

โชว์ LIVE ART โดย Roman Ninja & Family, และ Kon to Mor บน<br />

ศิลปะการจัดวางชุด ‘ต้อยติ่ง เป๊าะแป๊ะ’ Anada x Embassy เลือก<br />

สัญลักษณ์ต้อยติ่ง มาสื่อถึง ‘เมืองหลวงน่าอยู่’ เพราะเป็น เมล็ดพันธุ์<br />

ธรรมชาติหาได้ทั่วไป มักถูกนำามาเป็นของเล่นสร้างรอยยิ้มและความสุข<br />

ได้ง่าย<br />

Toyting is a live art performance by Roman Ninja & Family and<br />

Kon to Mor that takes place in collaboration with the installation<br />

art ‘Toy Ting Poe Pae.’ Waterkanon, or ‘Toy Ting,’ was<br />

chosen as a symbol to represent the ‘livable capital city’ as it<br />

is a natural toy that quickly inspires smiles and happiness.<br />

Hear the Unheard<br />

Sound<br />

Designer: Supermachin<br />

พื้นที่การจัดวางทางเสียง เพื่อเปิดให้เราได้ฟังและโอบรับความหลาก-<br />

หลายที่เกิดขึ้นในเมืองจากทั้งคน และสิ่งมีชีวิตนานา <strong>WOW</strong> × Hear &<br />

Found จึงนำาประสบการณ์ทางเสียงของกลุ่มชาติพันธุ์ ธรรมชาติ สรรพ-<br />

สัตว์ มาสร้างประสบการณ์เมืองน่าอยู่ในสวนป่า<br />

The sound installation allows one to listen to individuals and<br />

all living beings while celebrating the city’s diversity. <strong>WOW</strong><br />

x Hear & Found combines the sounds <strong>of</strong> ethnic groups,<br />

nature, and animals to create a livable city in the forest park<br />

<strong>of</strong> Benchakitti.<br />

(งานนี้มีเทปคาสเซ็ทมาให้ฟังด้วย)<br />

5


<strong>WOW</strong> HAPPY GROUND-HAPPY HOUR<br />

41<br />

Shiny Planets<br />

& the Sun Flower<br />

เมื่อดอกทานตะวันคือพวกเราทุกคน <strong>WOW</strong> X SC ASSET จับมือกันนำา<br />

เสนอการจัดวางงาน Mirror ball และ Sun Flower Installation ขนาดใหญ่<br />

ที่ถูกวางไว้คู่กันเพื่อสะท้อนเรื่องราววิถีชีวิตคนเมือง และการร่วมมือกัน<br />

เพื่อสร้างเมืองที่น่าอยู่และสุขภาวะที่ดีขึ้น<br />

Sunflowers are us! <strong>WOW</strong> and SC Asset were working together<br />

to show the huge Mirror Ball and Sun Flower installation<br />

art. These pieces <strong>of</strong> art are placed next to each other to reflect<br />

the urban lifestyle, with the goal <strong>of</strong> making cities better and<br />

making people feel better.<br />

6<br />

04-07<br />

นิทรรศการกลางสวนที่เปิด<br />

ให้ประชาชนทั่วไปเข้าชม<br />

ได้ฟรีตลอดช่วงวันจัดงาน<br />

7


42<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

08<br />

‘Gravity painter’<br />

ผ้า hologram ยาว 32 เมตร<br />

โดย PHTAA Living Design<br />

ที่ถูกขึงกลางสวน เพื่อทำา<br />

หน้าที่เป็นเครื่องมือในการ<br />

ระบายสีลงบนผลงานของ<br />

ศิลปิน Jirayu Koo


<strong>WOW</strong> HAPPY GROUND-HAPPY HOUR<br />

43<br />

8


44<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Drip Painting<br />

with CARE<br />

Experimental LIVE ART หรือ งานศิลปะแนวทดลองที่ทุกคนมีส่วนร่วม<br />

สร้างผ่านกระบวนการหยดสีที่ ปราศจากกลิ่นฉุน ไม่เป็นอันตรายจาก<br />

TOA เพื่อให้เกิด Marble effect ตามธรรมชาติ ชิ้นงานที่ได้ใน แต่ละจุด<br />

จะประกอบร่างกลายเป็นผลงานที่ศิลปินนักวาดภาพประกอบ Jirayu Koo<br />

ได้รังสรรค์ขึ้นเป็น พิเศษสําหรับงานนี้<br />

Drip Painting with CARE is an experimental live art form where<br />

anyone can make their own work <strong>of</strong> art using TOA’s odor-free<br />

and nontoxic paint and dripping techniques to achieve a natural<br />

marble effect. The pieces collected at each station will be<br />

combined into artwork created exclusively for this event by<br />

illustrator Jirayu Koo<br />

Seed Soil Soul<br />

Designer: N7A<br />

เมื่อดินมีชีวิตและเป็นอาหารของต้นไม้ การเรียนรู้วิธีปรุงอินทรีย์วัตถุ<br />

ให้เกิดดินจึงสำาคัญ และเป็นพื้นฐาน เพื่อให้เข้าใจต้นไม้ที่ปลูก <strong>WOW</strong> X<br />

Big Trees & Friends ป่าล้อมเมือง ชุมชนพูนสุข สมาคมรุกขกรรมไทย<br />

จึงรวมตัวกันเพื่อจัดกิจกรรมรู้จักเมล็ดพันธุ์ เข้าใจดิน รู้ใจต้นไม้ และปิด<br />

ท้ายด้วยการร่วมเป็นนักดูแล ตัดแต่งต้นไม้ในเมืองให้ถูกหลัก ‘เพราะ<br />

ต้นไม้ปลอดภัย คนก็ปลอดภัย’<br />

Soil is an essential food source for plants; thus, learning how<br />

to mix organic matter serves as the foundation for understanding<br />

the planted trees. <strong>WOW</strong> x Big Trees & Friends, <strong>City</strong><br />

Forest, Poonsuk Planet, and Thai Arboriculture Association<br />

have collaborated to arrange an activity that provided knowledge<br />

about seeds, soil ecology, tree comprehension, and<br />

how to become an arborist as it is believed that ‘people are<br />

safe if trees are safe.’<br />

Observation<br />

Signs by <strong>WOW</strong><br />

Designer: UNPLAN<br />

Sponsored by: ThaiBev and SC Asset<br />

ร่วมสังเกตการณ์ธรรมชาติไปกับเทศกาล ‘อัศจรรย์เมืองน่าอยู่’ ด้วย<br />

การเก็บเกร็ดความรู้บนป้ายข้อมูล และอุปกรณ์ดีไซน์พิเศษเพื่อเข้าใจ<br />

ความสัมพันธ์ระหว่างสัตว์น้ำา ป่า และนิเวศอื่นๆ ในสวนเบญจกิติ<br />

Join in the natural observation activities as part <strong>of</strong> ‘<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong><br />

<strong>Well</strong>-being’ festival by gathering information from observation<br />

directory boards and using our specially designed devices to<br />

learn about the relationships between animals, water, forests,<br />

and the ecosystems <strong>of</strong> Benchakitti Park.<br />

Solar Life<br />

Designer: MultiStudio<br />

Sponsored by: SCG Solar Ro<strong>of</strong> Solutions<br />

ศิลปะอุโมงค์ Solar Kaleidoscope ปิดผิวภายนอกด้วยวัสดุกระจกทั้ง<br />

ส่วนงานจัดแสดงเพื่อเป็นการ ผนวกรวมเป็นส่วนหนึ่งกับสภาพแวดล้อม<br />

ภายนอก ภายในฉายภาพที่ให้ผู้เข้าชมวาดได้เอง พร้อมภาพ video visual<br />

ที่สะท้อนมุมมองดีๆ จากธรรมชาติ ทั้งนี้ ยังมีส่วนจัดแสดงการติดตั้ง<br />

และระบบการทำางาน ของชุดโซลาร์เซลล์อย่างง่ายที่เป็นส่วนหนึ่งของ<br />

พลังงานในอุโมงค์ เมื่อพลังงานแสงอาทิตย์สามารถเข้า กับไลฟ์สไล์ของ<br />

ยุคได้อย่างไม่ยากเย็น ผู้เชี่ยวชาญที่ตอบทุกโจทย์ของพลังงานไฟฟ้าใน<br />

บ้าน จึงชวนมาเปิดมุมมองใหม่ในการ ‘เปลี่ยน’ มาใช้พลังงานสะอาด<br />

The Solar Kaleidoscope Tunnel Art’s exterior is covered<br />

entirely with glass and blends perfectly with its surroundings.<br />

Inside, visitors’ drawings are shown, together with video<br />

visuals <strong>of</strong> scenic vistas <strong>of</strong> nature. A simple version <strong>of</strong> the<br />

solar cell system that powers the tunnel is also available to<br />

be observed.<br />

09<br />

SCG Solar Ro<strong>of</strong><br />

Solutions ซุ้มงาน<br />

แสดงศิลปะ จาก<br />

‘พลังงานสะอาด’


<strong>WOW</strong> HAPPY GROUND-HAPPY HOUR<br />

45<br />

9


46<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

10<br />

ภาพคุณชัชชาติ สินธิพันธุ์<br />

และคุณไพทยา บัญชากิติคุณ<br />

ระหว่างเดินชมงาน<br />

11<br />

บรรยากาศกิจกรรมนั่งชม<br />

ดนตรีกลางสวนยามค่ำาคืน<br />

10<br />

Making Friends<br />

with Butterfly<br />

กิจกรรมเรียนรู้เกี่ยวกับวงจรชีวิตของผีเสื้อจากจุลฟาร์ม ตั้งแต่เป็น<br />

ไข่หนอนที่แม่ผีเสื้อวางบนต้นไม้ ตัวหนอน ดักแด้ สู่การเป็นผีเสื้อที่<br />

เป็นห่วงโซ่สำาคัญของระบบนิเวศและพันธุ์ไม้ พร้อมกิจกรรมสำาหรับ<br />

ครอบครัว เช่น เลี้ยงหนอนผีเสื้อ เพนท์ปีกกระดาษ และให้น้ำาหวาน<br />

ผีเสื้อ กิจกรรมเดินถ่ายภาพ ที่นักสำารวจมาชวนร่วมหามุมมอง ‘มินิมอล’ และ<br />

Through family activities like raising caterpillars, painting<br />

paper wings, and feeding butterflies, the visitors will learn<br />

about the life cycle <strong>of</strong> butterflies, from the stage <strong>of</strong> larvae<br />

eggs laid on countless trees by mother butterflies to the<br />

stage <strong>of</strong> caterpillars and pupae, before becoming butterflies,<br />

one <strong>of</strong> the most important species <strong>of</strong> ecosystems.<br />

Photo Walk<br />

Activities<br />

‘Exploring <strong>Wonder</strong> Park’ by Minimal<br />

Gallery x National Geographic Thailand<br />

หัด@ลุยสวน by หัด Street x National Geographic<br />

Thailand<br />

แนว ‘สตรีท’ ในเทศกาล <strong>WOW</strong> เพื่อมองหาความอัศจรรย์ของความเรียบ-<br />

ง่ายแต่หลากหลายในสวนป่ากลางเมือง พร้อมแบ่งปันเทคนิคที่อาจนำาไป<br />

สู่การเปลี่ยนมุมมองในการถ่ายภาพแบบเดิม<br />

Guests were invited to join the pr<strong>of</strong>essional photographers in<br />

the mission <strong>of</strong> finding the street views <strong>of</strong> the <strong>WOW</strong> festival,<br />

where wonders <strong>of</strong> simplicity and variety in the urban forest<br />

park are hiding. It is also a great opportunity to learn new<br />

techniques that may lead to new perspectives on traditional<br />

photography.


<strong>WOW</strong> HAPPY GROUND-HAPPY HOUR<br />

47<br />

Street<br />

Performance<br />

for <strong>WOW</strong><br />

Designer: N7A<br />

กิจกรรมความบันเทิงจากกลุ่มศิลปินไทยที่มาแต่งเติมบรรยากาศ<br />

เทศกาลในสวนช่วงปลายปี อาทิ การแสดงดนตรี และสอนเต้นสวิงใน<br />

สวนโดยครูสุ และครูแพท The Stumbling Swingout รวมถึง Circus<br />

Art & Magic Performance จากกลุ่มเทศกาลละครกรุงเทพ หรือ Bangkok<br />

Theatre Festival (BTF)<br />

Thai artists put on events for recreation at the end <strong>of</strong> the year<br />

that would add a festival ambiance to the park. These activities<br />

include music performances, swing dance lessons in<br />

the garden by the Stumbling Swingout, and the Circus Art &<br />

Magic Performance by the Bangkok Theater Festival. <strong>WOW</strong><br />

Art & Design market.<br />

<strong>WOW</strong> Art<br />

& Design Market<br />

พื้นที่ตลาดที่รวบรวมร้านค้าแนวอาร์ตแอนด์ดีไซน์ส่วนหนึ่งจาก Bangkok<br />

Art Biennale BKK รวมไปถึงสินค้าประเภทอาหาร ต้นไม้ และสินค้า<br />

จากชุมชนสร้างสรรค์ มาไว้เป็นส่วนสำาคัญอีกจุดของเทศกาลเพื่อตอบ-<br />

โจทย์มิติการใช้ชีวิตในเมือ<br />

<strong>WOW</strong> Art & Design market is another key component <strong>of</strong> the<br />

festival that brings together the Bangkok Art Biennale BKK’s<br />

art and design products, as well as food, plants, and goods<br />

from the creative communities<br />

11


48<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

<strong>City</strong> Co-<br />

Creation<br />

Text: ASA <strong>WOW</strong><br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


<strong>WOW</strong> CITY CO-CREATION<br />

49<br />

Co-create the Pathumwan neighborhood with<br />

Pathum <strong>WOW</strong>! <strong>WOW</strong> <strong>City</strong> Co-Creation reimagines<br />

and rediscovers the urban district through a collaborative<br />

approach that brings together multiple<br />

sectors to envision and take part in the discussion<br />

in an attempt to turn Pathumwan <strong>of</strong> Bangkok’s<br />

city center into a more livable neighborhood, and<br />

an ideal place to live, work and learn. The project<br />

coincides with the new Bangkok governor’s walkable<br />

city and green city policies. The Pathumwan neighborhood<br />

revival is a revision and expansion <strong>of</strong> the<br />

250 Bangkok project, which was first conceived in<br />

2014 and aimed to interconnect the potential for<br />

urban development <strong>of</strong> areas around sky train and<br />

subway stations, as well as the city’s main roads,<br />

into “quarters inside urban blocks,” the development<br />

<strong>of</strong> a network <strong>of</strong> walkable routes, and small public<br />

green spaces scattered throughout the neighborhood.<br />

ร่่วมสร้้างย่่านปทุุมวัน ส่ ปทุุม <strong>WOW</strong>! เป็ นกิิจกิร่ร่มร่่วมสร้้างย่่านด้้วย่แนวคิิด้<br />

<strong>City</strong> Co-Creation ทุ่หลาย่ภาคส ่วนได้้ม่โอกิาสมาร่่วมคิิด้-ร่่วมหารืือ ให้ย่่าน<br />

ปทุุมวัน อันเป็ นพื้้นทุ่ศููนย์์กิลางกิลางเมืองของกิรุ่งเทุพื้มหานคิร่ ส่เมืองทุ่น่าอย่่-<br />

น่าทำำางาน-น่าเร่่ย่นรู้้ สอด้คิล้องกัับนโย่บาย่เมืองเดิินได้้และเมืองส่เขีียวของ<br />

ผู้้ว ่าร่าชกิาร่กิรุ่งเทุพื้มหานคิร่ สำาหรัับแนวคิิด้กิาร่ฟื้้ นฟื้่ย่่านปทุุมวันเป็ นกิาร่<br />

ทุบทุวนและต่่อย่อด้จากิโคิร่งกิาร่กิรุ่งเทุพื้ฯ 250 ทุ่จัด้ทุำาไว้ต่ังแต่่ปี พื้.ศู. 2557<br />

ทุ่มุ่งเชือมโย่งศัักิย่ภาพื้กิาร่พื้ัฒนาพื้้นทุ่ร่อบสถานีีรถไฟื้ฟื้้ าและริิมถนนสาย่หลักิ<br />

ส่ “พื้้นทุ่ชุมชนด้้านในของบล็อกิ” กิาร่พื้ัฒนาโคิร่งข่าย่กิาร่เดิินเท้้าและสร้้างพื้้นทุ่<br />

ส่เขีียวสาธาร่ณะขนาด้เล็กิกิร่ะจายทั่่วย่่าน


50<br />

กิจกรรม <strong>City</strong> Co-Creation workshop จึงเป็นส่วนหนึ่งของ<br />

ASA <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> โดยสมาคมสถาปนิกสยามฯ และกรุงเทพ-<br />

มหานคร ที่ผสานเข้ากับกิจกรรมการเรียนการสอนของ<br />

นิสิตหลักสูตรสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตยกรรม-<br />

ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ UDDC สมาคม<br />

สถาปนิกผังเมือง PNUR, WE!PARK, BIGTREE และ<br />

สำานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)<br />

ในการจัดกิจกรรม <strong>City</strong> Co-Creation Workshop ได้รับเกียรติ<br />

จาก รศ.ดร.จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาส รองอธิการบดี<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เอื้อเฟื้อสถานที่และให้เกียรติ<br />

ร่วมเปิดงาน ร่วมด้วยคุณไพทยา บัญชากิติคุณ อุปนายก<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ และประธานจัดงานเล่าถึงงาน<br />

ASA <strong>WOW</strong> และความสำาคัญของโครงการ <strong>City</strong> Co-Creation<br />

ปทุมวัน-ปทุม <strong>WOW</strong> และ ผศ.ดร.ปริญญ์ เจียรมณีโชติชัย<br />

นายกสมาคมสถาปนิกผังเมือง นำาเสนอศักยภาพ โอกาส<br />

และความสำาคัญของย่านปทุมวันทั้งนี้ในกิจกรรม มีผู้เข้าร่วม<br />

กระบวนการร่วมสร้างสรรค์กว่า 60 คน จาก 16 องค์กร<br />

อันประกอบด้วยหน่วยงานภาครัฐ เช่น กรุงเทพมหานคร<br />

สำานักบริหารระบบกายภาพ และสถาบันการขนส่ง จาก<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ ่ม<br />

CU WALK สำานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA) องค์กร<br />

จากภาคเอกชนและประชาสังคม เช่น เพจ ACCESSIBILITY<br />

IS FREEDOM, ORIGIN PROPERTY, LANDOMETER<br />

MUVMI FUTURETALES LAB BY MQDC, BARAMIZI<br />

และตัวแทนชุมชนในย่าน จากชุมชนย่านสะพานเขียว<br />

มัสยิดอินโดนีเซีย และประชาชนทั่วไปผู้สนใจที่ลงทะเบียน<br />

จากออนไลน์<br />

นอกจากนี้ ส่วนหนึ่งในกิจกรรม ASA <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong>: <strong>City</strong><br />

Co-Creation ยังมีการประกวดรางวัลการออกแบบร่วม<br />

สร้างย่านปทุมวัน ด้วยโจทย์ ‘เมืองเดินได้-เดินดี’ และ<br />

ได้มอบรางวัลไปภายในวันงาน โดยคุณชยพล สิทธิกรวรกุล<br />

ได้รับรางวัลชนะเลิศ ผลงานการออกแบบพื้นที่ถนนกรุงเกษม<br />

ส่วนคุณณัฏฐธิดา กาวี และคุณดรัลรัตน์ อุทโท ได้รับรางวัล<br />

รองชนะเลิศอันดับ 1 ผลงานการออกแบบพื้นที่ถนนเจริญเมือง<br />

และทีมคุณณัฐนิชกุล วนิชพิสิฐพันธ์ คุณรุจิเรข ผูกพัน และ<br />

คุณอภิสรา อรรฆนิพัทธ์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2<br />

ผลงานการออกแบบพื้นที่สุขุมวิทซอย 10-15<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

The <strong>City</strong> Co-Creation workshop is considered<br />

a part <strong>of</strong> ASA <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong>, co-hosted by the Association<br />

<strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage<br />

and the Bangkok Metropolitan Administration. The<br />

activity is integrated into the curriculum <strong>of</strong> Chulalongkorn<br />

University’s Faculty <strong>of</strong> Architecture’s Urban<br />

Architecture program, with participation from<br />

UDDC, the Thai Urban Designers Association,<br />

PNUR, WE!PARK, BIGTREES, and the Thai Health<br />

Promotion Foundation.<br />

The <strong>City</strong> Co-Creation Workshop welcomed<br />

Associate Pr<strong>of</strong>essor Dr. Jittisak Thammaphonpilart,<br />

Vice Dean <strong>of</strong> Chulalongkorn University, who not only<br />

lent space for the event but also attended the opening<br />

day as one <strong>of</strong> the honorable guests. Also present<br />

was Paithaya Banchakittikhun, vice president <strong>of</strong><br />

the Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal<br />

Patronage and chairman <strong>of</strong> the steering committee,<br />

who expressed the importance <strong>of</strong> ASA <strong>WOW</strong> and<br />

projects such as the <strong>City</strong> Co-Creation: Pathumwan-<br />

Pathum <strong>WOW</strong>. Assistant Pr<strong>of</strong>essor Dr. Prinn Jienmaneechotechai,<br />

President <strong>of</strong> the Thai Urban Designers<br />

Association, spoke at the workshop about<br />

Pathumwan’s potential, opportunities, and significance.<br />

Over 60 participants from 16 organizations<br />

attended the workshop, including the Bangkok<br />

Metropolitan Administration, Chulalongkorn University’s<br />

Office <strong>of</strong> Physical System Management and Institute<br />

<strong>of</strong> Transportation, the Department <strong>of</strong> Regional<br />

and Urban Planning <strong>of</strong> Chulalongkorn University’s<br />

Faculty <strong>of</strong> Architecture, the Department <strong>of</strong> Electrical<br />

Engineering from Chulalongkorn University’s Faculty<br />

<strong>of</strong> Engineering, CU Walk, and DEPA. Also joining the<br />

activity were organizations and representatives from<br />

the private and public sectors, such as Accessibility<br />

is Freedom, Origin Property, Landometer, Muvmi<br />

Futuretales Lab by MQDC, BARAMIZI, and representatives<br />

from local neighborhoods such as Saphan<br />

Kheaw Bridge Community and Indonesian Mosque<br />

Community. Interested individuals were also welcome<br />

to participate in the workshop through online<br />

registration.<br />

The design competition for Pathumwan neighborhood<br />

creation with the theme ‘Good Walk, Walkable<br />

<strong>City</strong>’ was also included as a part <strong>of</strong> ASA <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong>:<br />

<strong>City</strong> Co-Creation. At the awarding ceremony, the<br />

winners were announced, with Chayaphol Sitthikornworakul’s<br />

design <strong>of</strong> Krungkasem Road winning the<br />

grand prize. The first runner-up was Nattathida Kawee<br />

and Daranrat Utto’s design <strong>of</strong> Charoen Mueng Road,<br />

while the second runner-up was given to Natchanikul<br />

Wanichpisitphan, Rujirek Pookphan and Apisara<br />

Akkanophat for their reimagination <strong>of</strong> urban space<br />

on Soi Sukhumvit 10–15 Street.<br />

01<br />

บรรยากาศกิจกรรม<br />

Workshop<br />

02<br />

ภาพคุณไพทยา<br />

บัญชากิติคุณ บนเวที<br />

ระหว่่างเล่าถึงที่มาของ<br />

งาน ASA <strong>WOW</strong>


<strong>WOW</strong> CITY CO-CREATION<br />

51<br />

2<br />

1<br />

3<br />

4<br />

03-04<br />

บรรยากาศการร่วม<br />

ระดมความคิดสร้างสรรค์<br />

ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม<br />

Workshop<br />

05<br />

ประธานจัดกิจกรรม<br />

ทุกท่านร่วมถ่ายภาพหมู่<br />

กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม<br />

Workshop<br />

5


52<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

FORUM<br />

Every development would create change,<br />

as we know, especially in the development <strong>of</strong><br />

the ‘urban’ level; every change will naturally<br />

affect the stakeholders in the ecosystem<br />

that form the city’s constituents. There is no<br />

exception, even when the ‘city’ is <strong>of</strong> a diversity<br />

<strong>of</strong> people and dwellers. Developing a city that<br />

sustainably meets various needs can not be<br />

caused by just one person but arises from the<br />

joint planning <strong>of</strong> different groups <strong>of</strong> people<br />

within that city, and do it systematic.<br />

Text: Asst. Pr<strong>of</strong>. Dr. Pechladda Pechpakdee and Kullaphut Seneevong Na Ayudhaya


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

53<br />

One <strong>of</strong> the main activities <strong>of</strong> the <strong>WOW</strong>-<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong><br />

<strong>2022</strong> Festival, a wonderful, livable city event - is <strong>WOW</strong> FORUM<br />

exchange platform. The Forum aims to reflect diverse perspectives<br />

from all sectors <strong>of</strong> the city on various factors to pass on<br />

the change and/or affected by urban development by emphasizing<br />

how all elements that are constituents are related to<br />

each other as well as reflecting visions, attitudes, including<br />

listening to the voices <strong>of</strong> many people who think differently.<br />

How are all factors that are constituents related to each<br />

other? It is one <strong>of</strong> the mechanical concepts that determine the<br />

direction <strong>of</strong> urban development <strong>of</strong> the 20 th century that can<br />

help find solutions to complex problems in cities with different<br />

contexts.<br />

<strong>WOW</strong> FORUM opens up an exchange platform for ideas, information,<br />

knowledge, and work experience from city activists<br />

throughout the 5 days <strong>of</strong> the festival, with 5 main themes<br />

consisting <strong>of</strong> Into the <strong>City</strong>/ People and the <strong>City</strong>/ Co-Creation<br />

for Future <strong>City</strong>/ Enjoy the <strong>City</strong>/ Into the Future. These sessions<br />

demonstrate not only what the city is facing and how it is<br />

today but invite each other to question the future <strong>of</strong> the city<br />

together - how can we as citizens cope with those changes?<br />

เราคงปฏิิเสธไม่่ได้้ว่่าในทุุกการพััฒนา ย่่อม่สร้างการเปลี่่ย่นแปลี่ง โด้ย่เฉพัาะการพััฒนาในระดัับ ‘เมืือง’ ทุุกการเปลี่่ย่นแปลี่ง<br />

นันย่่อมส ่งผลี่กระทุบต่่อผ้มีีส ่ว่นเก่ย่ว่ข้้องในระบบนิเว่ศทุ่ก่อตััวร ่ว่ม่กันเป็ นองค์ประกอบข้องเมืือง รว่ม่ทุังเม่ือ ‘เมืือง’ คือ<br />

พัืนทุ่แห่่งคว่าม่ห่ลี่ากห่ลี่าย่ข้องผ้คน การจะพััฒนาเมืืองทุ่ต่อบโจทุย่์คว่าม่ต่้องการทุ่ห่ลี่ากห่ลี่าย่อย่่างย่ังยืืนนัน คงไม่่ได้้<br />

เกิดขึ้้ นจากเพั่ย่งบุคคลี่ใดบ ุคคลี่ห่น้ ง แต่่เกิดขึ้้ นจากว่างแผนร่ว่ม่กันข้องกลีุ่่ม่คนทุ่ต่่างๆ ภาย่ในเมืืองนันๆ อย่่างเป็ นระบบ<br />

ในเทุศกาลี่ <strong>WOW</strong>-<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong> อัศจรรย่์เม่ืองน่าอย่้่ ห่น้ งในกิจกรรม่ห่ลี่ักข้องงาน คือ <strong>WOW</strong> FORUM<br />

เว่ทุ่แลี่กเปลี่่ย่น สะทุ้อนมุ่ม่ม่องทุ่ห่ลี่ากห่ลี่าย่จากทุุกภาคส่ว่นข้องเม่ือง ต่่อปั จจัย่ด้้านต่่างๆ ทุ่จะส่งต่่อการเปลี่่ย่นแปลี่ง แลี่ะ<br />

ห่รือได้้รับผลี่กระทุบจากการพััฒนาเม่ือง โด้ย่การเน้นให่้เห่็นว่่าทุุกปั จจัย่ทุ่ลี่้ว่นเป็ นองค์ประกอบซ้ งกันแลี่ะกันม่่คว่าม่สัม่พัันธ์<br />

ต่่อกันอย่่างไร อีกทุั้งการสะทุ้อนว่ิสัย่ทุัศน์ ทุัศนคต่ิ รว่ม่ทุั้งการรับฟั งเส่ย่งข้องห่ลี่าย่คนทุ่คิด้ต่่าง เป็ นห่น้ งในแนว่คิด้เชิงกลี่<br />

ไกการกาห่นด้ทุิศทุางข้องการพััฒนาเม่ืองแห่่งศต่ว่รรษทุ่ 21 ทุ่จะสาม่ารถช่ว่ย่ห่าคาต่อบข้องโจทุย่์ทุ่สลี่ับซับซ้อนในเม่ืองทุ่ม่่<br />

บริบทุทุ่แต่กต่่างกันได้้<br />

<strong>WOW</strong> FORUM จ้งเปิ ดพื้้นทุ่แลี่กเปลี่่ย่นให้้กับแนว่คว่ามค ิด้ ข้้อม่้ลี่ คว่าม่ร้้ แลี่ะประสบการณ์์การทุางานจากผ้ข้ับเคลื่่อน<br />

เรืองเมืือง ต่ลี่อด้ระย่ะเว่ลี่า 5 วัันข้องงานเทุศกาลี่ ใน 5 ธ่ม่ห่ลี่ัก ประกอบด้้ว่ย่ Into the <strong>City</strong>/People and the <strong>City</strong>/<br />

Co-Creation for Future <strong>City</strong>/Enjoy the <strong>City</strong>/Into the Future ทุ่ไม่่เพั่ย่งบอกเลี่่าถึงสิ่งทุ่เป็ นอย่้่ในว่ันนี้ แต่่ชว่นกันต่ั้ง<br />

คำถาม่กับอนาคต่ข้้างห่น้าข้องเม่ืองไปพัร้อม่กัน ว่่าเราในฐานะพัลี่เม่ืองจะรับม่ือกับการเปลี่่ย่นแปลี่งเห่ลี่่านั ้นอย่่างไรได้้บ้าง


54<br />

Into the <strong>City</strong><br />

23 November <strong>2022</strong><br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

เวที <strong>WOW</strong> Forum <strong>2022</strong> เริ่มต้นด้วย ‘Introduction to <strong>City</strong> 101’ โดย<br />

รศ.ดร.พนิต ภู่จินดา เปิดการเสวนาแรกของวันโดยเน้นให้เห็นว่า เมือง คือ<br />

ศูนย์รวมเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่มารวมกัน แล้วเชื่อมกับเมืองอื่นๆ ระหว่าง<br />

กัน และมีพัฒนาการขึ้นเรื่อยๆ หน้าที่ของรัฐคือเป็นผู้สนับสนุนความพร้อม<br />

ในการพัฒนา (facilitator) และผู้กำาหนดกรอบกติการพัฒนา (regulator)<br />

และโลกในอนาคตสาธารณูปการต่างๆ จะเปลี่ยนเป็นสาธารณูปโภค คือ<br />

บริการต่างๆ ของรัฐจะเข้าสู่ระบบออนไลน์ เมืองจะมีความเป็นธรรมมากขึ้น<br />

จากการเปิดเผยข้อมูลและการใช้เทคโนโลยี และเมื่อการเข้าถึงเทคโนโลยี<br />

ที่ดีทำาให้การทำางานจากที่ไหนก็ได้ ทำาให้ประเทศไทยได้โอกาสจากกลุ่ม<br />

digital nomads และเมืองต้องกำาหนดภาพลักษณ์เฉพาะ (branding) เพื่อ<br />

สร้างโอกาสและความแตกต่างในการพัฒนา<br />

‘Open Government Data’ นำาเสนอตัวอย่างรูปธรรมของการนำาข้อมูลมา<br />

ใช้ในการตัดสินใจและวางแผนพัฒนาเมือง โดยคุณอาสา สุขขัง ผู้อำ านวยการ<br />

กองสารสนเทศระบายน้ำา กล่าวถึงสภาพภูมิศาสตร์ของกรุงเทพมหานครที่<br />

ต่ำากว่าระดับน้ำาทะเล โดยได้มีการแบ่งโซนปิดล้อม เพื่อจัดการน้ำ า 3 โซน ตาม<br />

ระบบ polder system คือการจัดกลุ่มเป็นหลุมๆ ของที่ดิน ในโซนกรุงเทพ-<br />

ตะวันตก กรุงเทพชั้นใน และกรุงเทพฯตะวันออก สำานักการระบายน้ำา ได้มี<br />

การเปิดเผยข้อมูลในการบริหารจัดการน้ำา และมีการเชื่อมข้อมูล ทำา dashboard<br />

ที่ประชาชนทั่วไป สามารถติดตามได้ และความคาดหวังในอนาคต<br />

คือการพัฒนาเทคโนโลยี โดยการใช้ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI คำ านวณควบคุม<br />

เพื่อลด human error และสร้างทางเลือกในการเดินทาง ให้สะดวกสบาย<br />

ยิ่งขึ้น เพื่อหลีกเลี่ยงเส้นทาง น้ำาท่วมวิกฤต<br />

คุณเทพพร จำาปานวน นายกเทศบาลตำาบลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด<br />

เล่าการทำางานของเทศบาลตำาบลอาจสามารถที่นำาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ใน<br />

การบริหารจัดการชุมชนเมือง ทำาให้สามารถสื่อสารโดยตรงกับประชาชน<br />

ได้สะดวก ลดขั้นตอนการทำาจดหมาย การเดินทาง โดยที่ทั้งประชาชนและ<br />

เทศบาลต่างมีข้อมูลอยู่ในมือ โดยเทศบาลได้ติดสติ๊กเกอร์ที่หน้าบ้านให้<br />

ประชาชนได้ร้องเรียน และเข้าถึงข้อมูลอย่างว่องไว เช่น การร้องเรียนเรื่อง<br />

น้ำาประปาไม่ได้มาตรฐาน ภายหลังได้มีการพัฒนาคุณภาพน้ำาและแสดงค่า<br />

มาตรฐานให้ประชาชนมั่นใจว่าน้ำาประปาดื่มได้ และมีระบบอัจฉริยะ โดย<br />

ไม่ต้องส่งเจ้าหน้าที่ไปจดเลข เก็บค่าประปา แต่ใช้ระบบไอโอทีส่งไปยัง<br />

gateway ของเทศบาล และสามารถรู้ตำาแหน่งท่อแตกรั่ว ตรวจสอบได้ถึง<br />

ปริมาณการใช้น้ำาในแต่ละบ้าน และประชาชนสามารถสแกนคิวอาร์โค้ด<br />

ชำาระค่าประปาได้เลย โดยได้รับความช่วยเหลือจากกระทรวงดิจิทัลเพื่อ<br />

เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งระบบทั้งหมดน่าจะเสร็จสมบูรณ์ภายในกุมภาพันธ์<br />

พ.ศ. 2566<br />

Photo Reference<br />

1-4. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage<br />

The <strong>WOW</strong> Forum <strong>2022</strong> started with ‘Introduction to <strong>City</strong> 101’<br />

by Assoc. Pr<strong>of</strong>. Dr. Panit Pujinda, who opened the day’s first talk<br />

by emphasizing that a city is a center <strong>of</strong> expertise that comes<br />

together, connects with other cities, and then continues to<br />

develop. The government has to support development as a<br />

facilitator and regulator. In the future, public facilities will become<br />

public utilities, and government services will go online.<br />

The city will be fairer and more equal in terms <strong>of</strong> information<br />

disclosure and the use <strong>of</strong> technology. And when access to good<br />

technology makes working possible from anywhere, Thailand<br />

can gain opportunities from digital nomads. The city must establish<br />

a specific image, or ‘brand’ to create opportunities and<br />

differentiate in city development.<br />

‘Open Government Data’ presents concrete examples <strong>of</strong> how<br />

data can be used in decision-making and urban development<br />

planning by Asa Sukkhang, Director <strong>of</strong> the Drainage Information<br />

Division. He described Bangkok’s geography, which is below<br />

sea level, and how the city was divided into enclosed zones<br />

to manage water in three zones based on the polder system,<br />

which is divided into holes <strong>of</strong> land in the western Bangkok<br />

zone, inner Bangkok zone, and eastern Bangkok zone. The<br />

department has disclosed information on water management.<br />

A data connection is created to make a dashboard that the<br />

general public can track. The future expectations are the<br />

development <strong>of</strong> technology using artificial intelligence or AI<br />

to calculate control, reduce human error, and create alternative<br />

travel options to be more comfortable and avoid the critical<br />

flooding route.<br />

Thepporn Champanava, Mayor <strong>of</strong> the Municipality <strong>of</strong> Atsamat<br />

Subdistrict, Roi Et Province, shared the work <strong>of</strong> the sub-district<br />

municipality that brings technology to use in the management<br />

<strong>of</strong> urban communities, making it possible to communicate<br />

directly with the public conveniently and reducing the process<br />

<strong>of</strong> making letters, travel. By doing so, citizens and municipality<br />

both have information in hand. The municipality, in addition, has<br />

posted a sticker in front <strong>of</strong> the house for people to complain and<br />

gain quick access to information, such as complaints about substandard<br />

tap water. Later, the quality <strong>of</strong> the water was developed,<br />

and the standard was shown to assure the public that tap water<br />

was drinkable. The municipality also provides an intelligent<br />

system, so there is no need to send <strong>of</strong>ficials to write down water<br />

bill numbers. Instead, use the IoT system to send data to the<br />

municipal gateway and to know the location <strong>of</strong> the leaking pipe<br />

and the amount <strong>of</strong> water used in each home. The municipal<br />

members can scan the QR code to pay for water bills immediately<br />

with assistance from the Ministry <strong>of</strong> Digital Economy and<br />

Society. The entire system is expected to be completed by<br />

February 2023.


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

55<br />

1<br />

3<br />

2<br />

4


56<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

ส่วน ดร.วสันต์ ภัทรอธิคม ผู้พัฒนาแพลตฟอร์ม ‘Traffy Fondue’ ชี้ให้เห็น<br />

ประโยชน์ของการเปิดเผยข้อมูลต่างๆ ของเมืองจะส่งเสริมให้เกิดความร่วม-<br />

มือจากภาคส่วนต่างๆ และแตกยอดแนวคิดการทำางานในการพัฒนาเมือง<br />

แก้ปัญหาเมืองได้หลากหลายมากขึ้น โดยทั้งภาครัฐในกรุงเทพมหานคร<br />

และต่างจังหวัด ภาควิชาการ และภาคธุรกิจอย่างสตาร์ทอัพ ที่สามารถนำา<br />

ข้อมูลไปใช้ เพื่อพัฒนาธุรกิจ และอุดช่องว่างการทำางานที่เกิดขึ้นในเมือง<br />

ส่วนสำาหรับนิยามของเมืองน่าอยู่นั้น มีความหลากหลายจากความแตกต่าง<br />

ของแต่ละคน เมืองที่ดีจึงเป็นเมืองที่ควรมีความสามารถรองรับความหลาก<br />

หลายของผู้คน และกิจกรรมการอยู่อาศัย ซึ่งเทคโนโลยี จะมาช่วยรองรับ<br />

5<br />

ความหลากหลายตรงนี้ได้<br />

ในหัวข้อ ‘Reshaping cities with visionary companies’ เป็นการนำาเสนอ<br />

ให้เห็นบทบาทของการให้บริการด้านข้อมูลและพื้นที่จากภาคเอกชนที่ส่งผล<br />

ซึ่งกันต่อการใช้ชีวิตของคนเมืองในปัจจุบัน โดยมีคุณฐิตารีย์ อุดมกิจธนสาร<br />

จาก Grab Thailand ที่ยกตัวอย่างเมืองต่างๆ ที่มีความแตกต่างของนิยาม<br />

ความสุขของแต่ละเมือง เช่น ประเทศภูฏาน เน้นการมีความสุขธรรมชาติ<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศสิงคโปร์ เน้นการพัฒนานวัตกรรมนำามา<br />

สู่ความสุข ปัจจุบันเทคโนโลยีมาเปลี่ยนวิถีชีวิตมนุษย์ และ Grab เป็นส่วน<br />

หนึ่งที่เข้ามาช่วยเชื่อมระบบนิเวศเมืองทั้งสี่ร้อยแปดสิบเมือง ในแปดประเทศ<br />

แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งการเดินทางและการรับประทานอาหาร<br />

โดยมุ่งตอบสนองให้การใช้ชีวิต เมืองสะดวกสบายมากขึ้น ซึ่งต้องเข้าใจ<br />

พฤติกรรมมนุษย์ตั้งแต่ตื่นนอนยันเข้านอน เข้าใจภูมิสังคมแต่ละแห่ง เสาะ-<br />

แสวงหาร้านท้องถิ่นที่มีความเฉพาะเจาะจงในแต่ละสถานที่ ซึ่งเป็นเสน่ห์ของ<br />

เมือง ทั้งประเทศไทยและในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Grab เข้ามา<br />

เป็นส่วนหนึ่งในการค้นหาอาหารและการเดินทาง โดย Grab เริ่มกลายเป็น<br />

คำากริยา ของผู้คนเมืองในการค้นหาสิ่งเหล่านี้ เช่น วันนี้ Grab อะไรดีเหมือน<br />

กับที่ Google กลายเป็นคำากิริยาในการค้นหาข้อมูลของคนทั่วโลก ซึ่งแสดง<br />

ถึงเทคโนโลยีได้หลอมรวมเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตมนุษย์และสังคม<br />

คุณศารณีย์ บุญฤทธิ์ธงไชย จาก Google Thailand ชี้ให้เห็นถึงบทบาทของ<br />

กูเกิล คือการจัดระเบียบข้อมูล ให้เข้าถึงง่าย และสะดวกสบายที่สุด ในเรื่อง<br />

เมืองก็เช่นกัน Google ได้ทำาการจัดระเบียบเมืองให้เข้าใจง่าย ผ่านแผนที่<br />

ผ่านข้อมูล เช่น Google และปัจจุบัน มี Google Environmental Insights<br />

Explorer ทำาให้สังคม เข้าใจถึงการปล่อยคาร์บอนภายในเมือง การเปรียบ<br />

เทียบระหว่างการเดินทาง อาคาร ว่าสิ่งใดจะปล่อยคาร์บอนได้มากกว่ากัน<br />

ซึ่งจะช่วยให้การวางแผนผังเมืองและแก้ปัญหาได้ง่ายขึ้น ยกตัวอย่างเช่น<br />

การค้นหาข้อมูลเที่ยวบินสำาหรับเดินทาง Google จะช่วยแสดงให้เห็นเส้น<br />

ทางที่ปล่อยคาร์บอนแตกต่างกัน ให้ผู้บริโภคได้ใช้ข้อมูลตัดสินใจเลือก<br />

เปรียบเทียบ ทั้งมิติราคาและมิติสิ่งแวดล้อม ทำาให้ผู้ประกอบการต้องคำานึง<br />

ประเด็นนี้ด้วยจากข้อมูลต่างๆ เหล่านี้ ยกตัวอย่างเช่น เมือง Yokohama<br />

ประเทศญี่ปุ่น ได้นำามาใช้สอนนักเรียนในเรื่อง zero carbon city ในระดับ<br />

องค์กร Google ได้ตั้งพันธกิจเป็นองค์กรที่เป็น carbon neutral ตั้งแต่ปี 2017<br />

และมุ่งหมายสู่ net zero การใช้พลังงานหมุนเวียน ในปี 2030 คุณศารณีย์<br />

ยังได้ยกประเด็นที่น่าขบคิดจาก Google CEO อย่างคุณพิชัย ซุนดา ผู้ให้<br />

มุมมองว่าในอดีตและปัจจุบันมนุษย์มีความสุขที่ได้อยู่ในกระแสและการ<br />

เชื่อมต่อ ในอนาคตพวกเขามีความสุขที่ได้หลุดออกจากกระแสและการ<br />

เชื่อมต่อเช่นกัน Google จึงพยายามเข้าใจมนุษย์ โดยมีการพัฒนาแอป-<br />

พลิเคชันช่วยอำานวยความสะดวก สร้างสุขภาวะที่ดี (well-being) ให้กับ<br />

มนุษย์ได้<br />

7<br />

6


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

57<br />

Dr. Wasan Pattara-atikom, the developer <strong>of</strong> the ‘Traffy Fondue’<br />

platform, pointed out the benefits <strong>of</strong> disclosing information<br />

about the city, which will encourage cooperation from various<br />

sectors and generate diverse ideas for working in urban<br />

development to solve a wide variety <strong>of</strong> issues. The government<br />

sector in Bangkok and other provinces, the academic sector,<br />

and the business sector, like startups, can use the information<br />

to develop businesses and fill work gaps in the city. As for the<br />

definition <strong>of</strong> a livable city, there are a variety <strong>of</strong> ways to define<br />

each person’s differences. A good city is one that should have<br />

the ability to accommodate a variety <strong>of</strong> people and living activities,<br />

and technology will help support the diversity here.<br />

8<br />

The theme ‘Reshaping cities with visionary companies’ presents<br />

the role <strong>of</strong> information services and private space in the interconnectedness<br />

<strong>of</strong> today’s urban lifestyles. Thitaree Udomkitthanasarn<br />

from Grab Thailand gave examples <strong>of</strong> different cities with<br />

different definitions <strong>of</strong> happiness. For instance, Bhutan focuses<br />

on having natural happiness, while the USA and Singapore<br />

focus on developing innovations that lead to happiness. Today<br />

technology has changed human life, and Grab is a part <strong>of</strong> that<br />

ecosystem that helps connect the ecosystem <strong>of</strong> more than four<br />

hundred and eighty cities in eight countries in Southeast Asia,<br />

either for travel or dining, by focusing on responding to life in<br />

the city and making it more comfortable. To achieve that, one<br />

must understand human behavior from waking up to going to<br />

bed, understand each social landscape, and constantly search<br />

for local shops specific to each location, which are the charm<br />

<strong>of</strong> the city. In Thailand and Southeast Asia, Grab has become<br />

a part <strong>of</strong> the search for food and travel. It has become a verb<br />

for urban people to search for these things, like Google has<br />

become a verb for people worldwide. It shows that technology<br />

has integrated into human life and society.<br />

Photo Reference<br />

5-9. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage<br />

9<br />

Saranee Boonritthongchai from Google Thailand pointed out<br />

that the role <strong>of</strong> Google is to organize information for easy access<br />

and comfort. In terms <strong>of</strong> cities as well, Google has organized<br />

cities to be easy to understand. Through data maps such as<br />

Google and now Google Environmental Insights Explorer, the<br />

public can understand the carbon emissions within cities, comparing<br />

travel and building, which emit more carbon. This will<br />

make it easier for city planning and problem-solving. For example,<br />

a Google search for flight information will help reveal routes<br />

with different carbon emissions and enable consumers to use<br />

the information to make comparisons regarding price and environmental<br />

concerns. In light <strong>of</strong> this information, entrepreneurs<br />

must also consider this issue. For example, in Yokohama, Japan,<br />

students are taught about zero-carbon cities. At the corporate<br />

level, Google has been committed to becoming carbon neutral<br />

since 2017 and aiming for net zero renewable energy by 2030.<br />

Saranee also brought up an intriguing point made by Google<br />

CEO Sundar Pichai, who stated that humans are happy to be<br />

in the flow and connected in the past and present. In the future,<br />

they’re happy to break away from trends and connections, so<br />

Google also tries to understand humans by developing an application<br />

to facilitate comfort and create good health for humans.


58<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

10<br />

11<br />

12<br />

13


ส่วนในช่วงสุดท้ายของวันเป็นพิธีเปิดงานเทศกาล <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong>: WONDER<br />

OF WELL-BEING CITY <strong>2022</strong> ‘อัศจรรย์เมืองน่าอยู่’ อย่างเป็นทางการ<br />

โดยคุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้กล่าวถึงรายละเอียด<br />

โครงการว่าทางสมาคมฯ ได้วางแผนงานไว้นานนับ 3 ปี และเมื่อสถานการณ์<br />

โควิดซาลง จึงสามารถจัดงานนี้ได้เพื่อให้คนได้มาพบปะกันอีกครั้ง โดยเน้น<br />

ความหลากหลายในระดับเมือง ไม่เพียงแต่สถาปนิกเท่านั้น แต่ได้ดึงภาค<br />

ส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อมาร่วมสนทนา แสดงผลงานอนาคตของเมืองที่มี<br />

สุขภาวะ และพร้อมรับมือกับภัยพิบัติต่างๆ นอกจากนี้ยังได้รับเกียรติจาก<br />

รศ.ดร.ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานในพิธี<br />

เปิดงานการจัดงาน <strong>WOW</strong> ในครั้งนี้ โดยถือเป็นนิมิตหมายของพื้นที่สาธารณะ<br />

ที่มีคุณภาพ ซึ่งเมืองจะมีความน่าอยู่ได้ มีสุขภาวะที่ดีได้ จะต้องมีพื้นที่<br />

สาธารณะที่มีคุณภาพ เพื่อให้เราสามารถจัดแสดงความรู้และเปิดให้คนเข้า<br />

มาร่วมกิจกรรม และได้ยกตัวอย่างถึงพื้นที่โรงงานยาสูบที่เดิมมีบทบาทใน<br />

การผลิตยาสูบ ปัจจุบันเป็นพื้นที่ใจกลางเมือง ก็จัดว่าเป็นการปรับเปลี่ยน<br />

จากพื้นที่ของหน่วยงานภาครัฐให้ได้มีการพัฒนาเป็นพื้นที่สวนที่มีสุขภาวะ<br />

เป็นการเปลี่ยนแปลงที่มีความยืดหยุ่น และสร้างคุณภาพการอยู่อาศัยในเมือง<br />

ส่วนคุณกรณ์ จาติกวณิช ผู้มีความฝันอยากเป็นสถาปนิก เพราะเป็นอาชีพที่<br />

มีความสร้างสรรค์ อิสระ มีผลงานจับต้องได้ที่ยาวนาน ได้ยกความแตกต่าง<br />

ของคำาว่า wow กับคำาว่า well being เป็นคนละประเด็นกัน ความ wow มี<br />

ขึ้นเพื่อสร้างความแตกต่าง สร้างภาพลักษณ์ แต่ความมีสุขภาวะ หรือ well<br />

being เป็นองค์ประกอบที่ทำาให้คนในเมืองมีความสุขน่าประทับใจ สิ่งที่ควร<br />

จะต้องเกิดขึ้นคือ ทั้ง wow และ well being ต้องถูกพัฒนาไปด้วยกัน อย่างไร<br />

ก็ตาม ยังมีความท้าทายเชิงเศรษฐศาสตร์คือผลกำาไร ที่จะทำาอย่างไรให้<br />

ผู้ประกอบการเห็นชอบและมีอุดมการณ์พัฒนาเมืองในทางเดียวกัน การ<br />

หาความสมดุลของการพัฒนาจึงเป็นเรื่องท้าทายเพื่อให้ทุกคนได้อยู่อาศัย<br />

ร่วมกันอย่างมีความสุข<br />

<strong>WOW</strong> FORUM<br />

59<br />

At the end <strong>of</strong> the first day was the <strong>of</strong>ficial opening <strong>of</strong> the<br />

festival <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong>: WONDER OF WELL-BEING <strong>2022</strong>, by<br />

Chana Sumpalang, President <strong>of</strong> the Association <strong>of</strong> Siamese<br />

Architects under Royal Patronage. He spoke about the project<br />

details that the ASA had been planning for 3 years. When<br />

the COVID-19 situation recovered, the ASA made the event<br />

possible and brought back the opportunity for people to meet<br />

again. He also emphasized that <strong>WOW</strong> would look at a city at<br />

a diverse level, not only in the circles <strong>of</strong> architects but also in<br />

various related sectors, to join the conversation. The event<br />

will showcase the future <strong>of</strong> a liveable and healthy city ready<br />

to deal with disasters.<br />

The ASA was honored by Assoc. Pr<strong>of</strong>. Dr. Chadchart Sittipunt,<br />

Governor <strong>of</strong> Bangkok, who presided over the event’s opening<br />

ceremony, which is an excellent sign. The governor addressed<br />

the fact that, to be livable and healthy, a city must have quality<br />

public space so that people can share knowledge and participate<br />

in activities. He gave the example <strong>of</strong> thwe old tobacco<br />

factory area that used to play a role in tobacco production but<br />

is now a city center area. It is transforming from a government<br />

agency into a wonderful park. It’s a good example <strong>of</strong> resilience<br />

and improves the quality <strong>of</strong> living in the city.<br />

Korn Chatikavanij, the former Minister <strong>of</strong> Finance, was another<br />

honorable guest. He said he dreamed <strong>of</strong> being an architect<br />

because it is a pr<strong>of</strong>ession that is creative, independent, and<br />

produces lasting, tangible work. He raised the difference<br />

between <strong>WOW</strong> and <strong>Well</strong>-being, implying different issues.<br />

Wow is meant to make a difference, to create an image, but<br />

happiness or well-being is an element that makes city people<br />

happy and delightful. What should happen is that both <strong>WOW</strong><br />

and <strong>Well</strong>-being must be developed hand in hand. However,<br />

there is an economic challenge regarding pr<strong>of</strong>itability: how<br />

can we make entrepreneurs agree and have the ideology <strong>of</strong><br />

urban development in the same way? Therefore, finding a<br />

good balance in development is a challenge for everyone to<br />

make the city a better and happier place to live.<br />

Photo Reference<br />

10-13. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


60<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

“This event is a good sign <strong>of</strong> creating<br />

good public space. I think a city will be<br />

livable and healthy; we need quality<br />

public spaces where all <strong>of</strong> us can come<br />

and share our knowledge and connect<br />

without borders.”<br />

Chadchart Sittipunt<br />

Governor <strong>of</strong> Bangkok<br />

14<br />

Photo Reference<br />

14. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

61


62<br />

People and the <strong>City</strong><br />

24 November <strong>2022</strong><br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

เมื่อเราเริ่มต้นพิจารณาองค์ประกอบของปัจจัยสำาคัญที่มีผลต่อการพัฒนา<br />

เมือง จะพบว่าทรัพยากรมนุษย์คือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่มีความสำาคัญที่สุด<br />

เมื่อมนุษย์ได้รับการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพย่อมส่งผลต่อความเปลี่ยน<br />

แปลงของเมืองอย่างยั่งยืน ในหัวข้อ ‘People and the <strong>City</strong>’ จะพาเราไป<br />

สำารวจถึงมิติต่างๆ ของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับเมือง ทั้งในมิติเชิงโครงสร้าง<br />

มิติของชุมชน วัฒนธรรม และมิติทางด้านปัจเจก ที่ล้วนเกี่ยวเนื่องต่อการ<br />

พัฒนาเมืองในอนาคต<br />

หัวข้อแรกเป็นการฉายภาพแนวโน้มของทิศทางเทรนด์แห่งอนาคตภายใต้<br />

ธีมเรื่อง ‘Future Lab’ จากทีมงาน Baramizi Group โดย อ.ประดิษฐ์<br />

รัตนวิจิตราศิลป์ นำาเสนอประเด็นในหัวข้อ ‘Megatrend Impact on<br />

Consumer & Business in 2030’ ที่อธิบายถึงการเปลี่ยนกระบวนทัศน์<br />

(Paradigm Shift) ของมนุษยชาติ ภายหลังจากการปฏิวัติทางเทคโนโลยี<br />

ดิจิตัล (Digitalization) ที่เปลี่ยนแปลงสังคมมนุษย์ในเชิงโครงสร้าง<br />

ที่ส่งผลให้นวัตกรรมใหม่ๆ ได้เข้าไปสู่ผู้บริโภคอย่างรวดเร็ว สิ่งเหล่านี้<br />

ส่งผลต่ออุดมการณ์ จิตสำานึก ความคิด และวิถีชีวิต ตัวอย่างเช่น ความ<br />

เปลี่ยนแปลงด้านการจ้างงานที่เปลี่ยนแปลงไปสู่รูปแบบใหม่ การทำางาน<br />

ในรูปแบบองค์กรที่เปลี่ยนไปสู่การทำางานแบบยืดหยุ่น ความเปลี่ยนแปลง<br />

ด้านพฤติกรรมของผู้บริโภคจากการบริโภคสินค้าที่ขึ้นอยู่กับรสนิยม<br />

ของแต่ละยุคสมัย (Generation) ไปสู่การบริโภคตามความต้องการของ<br />

ปัจเจกบุคคล เนื่องจากการเข้าถึงเทคโนโลยีที่มีเสรีภาพส่งผลต่อรสนิยม<br />

การอุปโภคบริโภค ที่ก่อให้เกิดตลาดเฉพาะตัว (Niche Market) และมี<br />

ความซับซ้อนมากขึ้น ซึ่งตลาดจะต้องสอบสนองต่ออัตลักษณ์เฉพาะของ<br />

ปัจเจกบุคคลที่จะทวีบทบาทเข้มข้นมากยิ่งขึ้นในทุกๆ สาขาวิชาชีพ<br />

ในลำาดับต่อมา คุณปรมา ทิพย์ธนทรัพย์ Chief Trend & Research Officer<br />

ได้มาร่วมพูดคุยในหัวข้อ ‘Xperience Design Future Trend for Property<br />

Sector 2023-2025’ สำารวจมิติของเทรนด์สำาหรับตลาดอสังหาริมทรัพย์<br />

ในระยะใกล้และระยะกลาง ซึ่งได้ทำาการวิจัยตลาดเพื่อเฟ้นหาโมเดลสำาหรับ<br />

การสร้างความเข้าใจ โดยอาศัยกรอบความคิดในด้านทัศนคติการใช้ชีวิต<br />

มิติความต้องการเมืองในอุดมคติ จนสามารถสังเคราะห์แนวโน้มทิศทาง<br />

ได้ 4 รูปแบบ คือ 1. Value for Business นวัตกรรมด้านธุรกิจ 2. Value<br />

for people นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ 3. Value for city นวัตกรรม<br />

ที่เกี่ยวกับเมือง 4. Value for earth นวัตกรรมที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ซึ่ง<br />

ในแต่ละด้านนั้นมีนวัตกรรมต่างๆ ที่ได้หยิบยกมาแลกเปลี่ยนบนเวที<br />

สามารถกล่าวโดยสรุปได้ว่า แนวโน้มในระยะใกล้-กลาง คือการทำาความ<br />

เข้าใจต่อโลกนวัตกรรมในปัจจุบันเพื่อต่อยอดการพัฒนาธุรกิจ แนวโน้ม<br />

ในระยะไกล คือการปรับตัวต่อการพัฒนา วางแผนและนโยบายให้กับการ<br />

บริหารองค์กร<br />

Photo Reference<br />

15-18. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage<br />

Human resources are the most important fundamental factor<br />

<strong>of</strong> all the key factors affecting city development. When humans<br />

are developed efficiently, it will result in sustainable changes in<br />

the city. The topic <strong>of</strong> the <strong>WOW</strong> Forum on 24 November <strong>2022</strong>-<br />

‘People and the <strong>City</strong>’ - took us to explore various perspectives<br />

<strong>of</strong> humans related to the city - structural, community, cultural,<br />

and individual, all related to the future development <strong>of</strong> our city.<br />

The first topic was a projection <strong>of</strong> the future trends under the<br />

theme ‘Future Lab’ from the Baramizi Group by Ajarn Pradit<br />

Ratanawijitrasilp, on the title ‘Megatrend Impact on Consumer<br />

& Business in 2030’. It explains the paradigm shift <strong>of</strong> humanity<br />

after the Digitalization or digital revolution that changes human<br />

society down to its structure. As a result, innovations quickly<br />

reach consumers, affecting ideologies, consciousness, perspectives,<br />

and way <strong>of</strong> life. For example, a recruiting process<br />

has shifted to various new models, working in an organization<br />

has gone to flexible working or agile <strong>of</strong>fice, and consumer<br />

behaviors have moved from consuming products that depend<br />

on the tastes <strong>of</strong> each generation to consumption according<br />

to individual needs. Since access to technology with freedom<br />

affects consumer tastes, which creates niche markets and<br />

becomes more complex, the market will have to respond to<br />

the unique identity <strong>of</strong> the individual, which will play a more<br />

significant role in every pr<strong>of</strong>ession.<br />

Porama Tiptanasup, Chief Trend & Research Officer, joined<br />

in a discussion on the topic ‘Xperience Design Future Trend for<br />

Property Sector 2023-2025’ to explore the trends for real estate<br />

sectors in the near and medium term <strong>of</strong> time. The market research<br />

to find models for understanding based on the ideal<br />

city’s life attitude, desires, and needs can be synthesized into<br />

4 trends - 1. Value for the business - business innovation<br />

2. Value for the people - human-related innovation 3. Value<br />

for the city - urban innovation 4. Value for the earth - environmental<br />

innovation. To summarize, trends in the near-medium term<br />

are to understand the current world <strong>of</strong> innovation to develop the<br />

business further. The long-distance one is to adapt to development,<br />

planning, and policies for the organization’s management.<br />

‘<strong>City</strong> Dev Talks’ discusses how to drive the city through<br />

work processes with various sectors. Pornnaris Chuanchaisit,<br />

Chairman <strong>of</strong> the National Charter, said city development planning<br />

in Thailand <strong>of</strong>ten needs more participation from many<br />

sectors, but there are a few models which are successful. One<br />

<strong>of</strong> those examples is the model <strong>of</strong> Khon Kaen Province as the<br />

first model city, with the process <strong>of</strong> exchanging ideas and research<br />

for the joint development <strong>of</strong> the city with contributions <strong>of</strong><br />

academic departments, the private sector, and the public sector.<br />

Also, the case <strong>of</strong> Phuket Province, which employs a new urban


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

63<br />

15<br />

16<br />

17<br />

18


64<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

‘<strong>City</strong> Dev Talks’ เป็นการเสวนาในเรื่องของการขับเคลื่อนเมืองผ่าน<br />

กระบวนการทำางานโดยภาคส่วนต่างๆ โดยคุณพรนริศ ชวนไชยสิทธิ์<br />

ประธานกฎบัตรแห่งชาติ กล่าวว่าการวางแผนพัฒนาเมืองจากประสบการณ์<br />

ในเมืองไทยมักประสบปัญหาจากการขาดกระบวนการมีส่วนร่วมของ<br />

หลายภาคส่วน จึงได้ยกกรณีตัวอย่างความสำาเร็จจากต้นแบบของจังหวัด<br />

ขอนแก่นในการเป็นเมืองต้นแบบเมืองแรก ที่มีกระบวนการแลกเปลี่ยน<br />

ความคิด วิจัย เพื่อพัฒนาเมืองร่วมกันของภาควิชาการ ภาคเอกชน และ<br />

ภาครัฐ และกรณีของจังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นมิติใหม่ของกระบวนการพัฒนา<br />

เมืองที่น่าจับตามอง ในขณะที่ อ.ฐาปนา บุญยประวิตร นายกสมาคมการ<br />

ผังเมืองไทย ได้แลกเปลี่ยนในเรื่องของเกณฑ์การออกแบบด้านสภาพ-<br />

แวดล้อมเมืองและชุมชน ด้วยการนำาเกณฑ์ Leadership in Energy and<br />

Environmental Design (LEED) มาใช้ในการกำาหนดบทบาทและหน้าที่<br />

ของแต่ละภาคส่วนของการพัฒนาเมือง ส่วนคุณภูษิต ไชยฉ่ำา กลุ่มนัก-<br />

พัฒนาเมืองระยอง และคุณนพดล ธรรมวิวัฒน์ จากกลุ่มนักพัฒนาเมือง<br />

สระบุรี และ ดร.สุวันชัย แสงสุขเอี่ยม ผู้แทน สมุทรสาครพัฒนาเมือง<br />

(วิสาหกิจเพื่อสังคม) นำาประสบการณ์การพัฒนาเมืองของตนมาร่วม<br />

แลกเปลี่ยน โดยมองว่าการจัดตั้งบริษัทพัฒนาเมืองจะเป็นกลไกสำาคัญ<br />

ที่ช่วยขับเคลื่อนแผนและนโยบายเมือง ที่ไม่ใช่เพียงแต่ภาครัฐ แต่เป็น<br />

การบูรณาการเชิงรุกของภาคประชาสังคม และภาคเอกชน โดยมีภาค<br />

วิชาการเป็นส่วนสนับสนุน ในขณะที่คุณทิพรัตน์ นพลดารมย์ ที่ปรึกษา<br />

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) กล่าวถึงมิติการพัฒนา<br />

อสังหาริมทรัพย์สำาหรับทุกคนว่าเป็นประเด็นที่มีความสำาคัญมากที่สุด<br />

เนื่องจากความมั่นคงของที่อยู่อาศัยจะช่วยรับประกันคุณภาพชีวิตขั้น<br />

พื้นฐานของมนุษย์ รัฐจำาเป็นต้องมุ่งส่งเสริม โดยนำากรณีศึกษาโครงการ<br />

บ้านมั่นคง มาร่วมแบ่งปันรูปแบบของการพัฒนาชุมชนทั้งในมิติทาง<br />

นิตินัยและพฤตินัย และรศ.ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม ได้สำาทับถึงรูปแบบ<br />

การพัฒนาเมืองแห่งศตวรรษใหม่จำาเป็นต้องรับฟังเสียงทุกภาคส่วน และ<br />

คำานึงถึงทุกปัจจัยแวดล้อมที่ทวีความซับซ้อนในปัจจุบัน<br />

19<br />

ในหัวข้อ ‘Silom where everyone enjoys’ คุณอรฤดี ณ ระนอง ได้นำา-<br />

เสนอประวัติศาสตร์สังคม วัฒนธรรม และด้านเศรษฐกิจของย่านสีลม<br />

จากพื้นที่พาณิชยกรรมที่สัมพันธ์กับย่านท่าเรือ และสถานทูตของต่างชาติ<br />

มาสู่ย่านพาณิชยกรรมที่สำาคัญของกรุงเทพฯ โดยดำาเนินการศึกษา วิจัย<br />

เพื่อหาแนวทางการออกแบบพัฒนาย่านสีลม ผ่านการปรับปรุงภูมิทัศน์<br />

เมืองให้สอดรับกับวิถีชีวิตของผู้ใช้สอยพื้นที่ ทั้งการเพิ่มพื้นที่สีเขียว การ<br />

ปรับปรุงทางเท้าบาทวิถี โดยเป็นการพัฒนาร่วมกับระหว่างภาคเอกชน<br />

ภาควิชาการ ผ่านกลุ่ม SHMA และภาครัฐคือ กรุงเทพมหานคร<br />

20<br />

ส่วน ‘Young Co-creation’ คือช่วงเสวนาที่ชวนสำารวจกิจกรรมของ<br />

คนรุ่นใหม่กับการพัฒนาเมือง โดย คุณทัศนวรรณ บรรจง ผู้อำานวยการ<br />

มูลนิธิการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองไทย (Rethink Urban Space) และ<br />

คุณฤทัยธัมม์ โสฬส เป็นตัวแทนจากโครงการริทัศน์ได้ร่วมแลกเปลี่ยน<br />

กิจกรรมที่เกิดขึ้นจากการระดมความคิดของเยาวชน ที่ร่วมกันออกแบบ<br />

การแก้ปัญหาการเดินทาง สภาพแวดล้อม อาหาร และขยะของเมือง<br />

คุณยศพล บุญสม จาก We!park ได้นำาเสนอโครงการการขับเคลื่อนพื้นที่<br />

สีเขียวให้กับเมือง ที่ร่วมงานกับสำานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม<br />

สุขภาพ (สสส.) และกรุงเทพมหานคร ด้วยการเปลี่ยนแนวคิดการพัฒนา<br />

พื้นที่รกร้าง (Gray Area) ของเมืองให้เป็นพื้นที่ที่มีความสำาคัญต่อ<br />

21


22<br />

<strong>WOW</strong> FORUM<br />

65<br />

development process, could be an interesting case study.<br />

Ajarn Thapana Bunyapravitra, President <strong>of</strong> the Thai Association<br />

for Town Planning, exchanged design criteria for urban and<br />

community environments by applying Leadership in Energy and<br />

Environmental Design (LEED) measures to determine the roles<br />

and responsibilities <strong>of</strong> each sector <strong>of</strong> urban development. As<br />

for Phusit Chaicham from Rayong <strong>City</strong> Development, Noppadol<br />

Thamwiwat from Saraburi <strong>City</strong> Development, and Dr. Suwanchai<br />

Sangsukiam, the representative <strong>of</strong> ‘Samut Sakhon <strong>City</strong> Development’<br />

(Social Enterprise) presented their own urban development<br />

experiences in each province. Establishing a city development<br />

company could be an essential mechanism that helps drive city<br />

plans and policies that is not just the government. Still, it is a<br />

proactive integration <strong>of</strong> civil society and the private sector, with<br />

the academic sector as support. Tipparat Noppaladarom,<br />

Advisor to Community Organizations Development Institute<br />

(Public Organization), mentioned that real estate development is<br />

one <strong>of</strong> the most important issues for everyone since the strength<br />

and security <strong>of</strong> housing will ensure the essential quality <strong>of</strong> life<br />

<strong>of</strong> city dwellers and it is for the government to promote this. A<br />

case study <strong>of</strong> the Baan Mankong Project was shared to demonstrate<br />

the model <strong>of</strong> community development both legally and<br />

practically. Assoc. Pr<strong>of</strong>. Dr. Pun Thiangburanatham emphasized<br />

that the model <strong>of</strong> urban development in the new century requires<br />

listening to the voices <strong>of</strong> all sectors and considering all factors<br />

in today’s ever-increasing complexity.<br />

23<br />

On the topic ‘Silom where everyone enjoys’, Ornruedee Na-<br />

Ranong presented the social, cultural, and economic history <strong>of</strong><br />

the Silom neighborhood, from the commercial area associated<br />

with the port area and foreign embassies to the important commercial<br />

district <strong>of</strong> Bangkok nowadays. The research studies<br />

aim to set up guidelines for designing and developing the Silom<br />

district by improving the urban landscape to match the lifestyles<br />

<strong>of</strong> users living in the area through increasing the green area<br />

sidewalk improvement and improving the urban landscape in<br />

line with the lifestyle <strong>of</strong> the occupants. It is a joint development<br />

between the private sector, the academic sector through the<br />

SHMA group, and the public sector, which is Bangkok Metropolitan<br />

Authority.<br />

Photo Reference<br />

19-24. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage<br />

24<br />

‘Young Co-creation is a session to explore the activities <strong>of</strong> the<br />

new generation and urban development, started with the two<br />

speakers, Thatsanavanh Banchong, Director <strong>of</strong> the Thai Civic<br />

Education Foundation (Rethink Urban Space) and Ruedhaidham<br />

Soros, Representatives from the ‘RTUS’ Project, shared activities<br />

arising from the brainstorming with the youth and collaborating<br />

with them to design and find solutions to the issues <strong>of</strong><br />

travel, environment, food, and waste in the city. Yossapon Boonsom<br />

from We!park presented a project to drive green spaces<br />

for the city in collaboration with the Thai Health Promotion<br />

Foundation (ThaiHealth) and the Bangkok Metropolitan Administration<br />

by transforming the concept <strong>of</strong> developing wasteland<br />

(Gray Area) <strong>of</strong> the city into an area vital to the ecosystem such<br />

as a health garden, public park, urban farm or Green Link,<br />

connecting green spaces with the city’s infrastructure system.


66<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

25<br />

26<br />

27<br />

28<br />

29


ระบบนิเวศ ในการสร้างสวนสุขภาพ สวนสาธารณะ สวนรับน้ำา Urban Farm<br />

หรือ Green Link เชื่อมต่อพื้นที่สีเขียวกับระบบโครงสร้างพื้นฐานของเมือง<br />

เนื่องจากสวนสาธารณะเป็นเวทีที่ทำาหน้าที่เป็นกลไกกลางในการเชื่อมโยง<br />

ทรัพยากรมนุษย์กับพื้นที่ชุมชน ในขณะเดียวกันกระบวนการสร้างสวน<br />

สามารถเกิดขึ้นมาได้จากรูปแบบต่างๆ ที่ไม่ใช่เพียงภาครัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้น<br />

จากภาคเอกชน หรือภาคประชาสังคมที่มีที่ดิน และมีเจตจำานงร่วมกัน<br />

ส่วน ม.ล.จิรทิพย์ เทวกุล นักวิจัยและสถาปนิกของศูนย์บริการวิจัยและ<br />

ออกแบบของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และตัวแทน<br />

กลุ่มยังธน ที่ใช้รูปแบบการพัฒนาแบบอาสาสมัคร ในการจัดกิจกรรมใน<br />

พื้นที่บริเวณย่านธนบุรี ผ่านการทำากิจกรรมออนไลน์ และในพื้นที่ (Area<br />

Based) ในขณะที่คุณวิภาวี กิตติเธียร กลุ่มพัฒนาเมืองที่เน้นการสร้าง<br />

กระบวนการมีส่วนร่วมและพัฒนาเมืองในมิติต่างๆ ได้นำาเสนอกิจกรรม<br />

จากโครงการ Mayday ที่ดำาเนินการด้านการสื่อสาร เพื่อพัฒนาระบบขนส่ง<br />

สาธารณะ ผ่านการออกแบบป้ายรถเมล์ ที่รอรถเมล์ และการจัดทำาแผนที่<br />

รวมไปถึงการขยายผลไปสู่จังหวัดต่างๆ เช่น จังหวัดเชียงใหม่ หรืออำาเภอ<br />

หาดใหญ่ โดยเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นจากการจัดทำากระบวนการมีส่วน<br />

ร่วมของผู้ใช้งานขนส่งสาธารณะจริง<br />

สำาหรับหัวข้อสุดท้ายของวัน ‘Music and city’ เป็นการสำารวจบทบาทของ<br />

ดนตรีกับเมือง งานมหรสพ เทศกาลดนตรี ที่เกิดขึ้นภายในเมืองเป็นหนึ่ง<br />

ในเสน่ห์ที่หลอมรวมอยู่ในวัฒนธรรมของเมือง เริ่มต้นเสวนาโดย<br />

คุณโอม ปัณฑพล ประสารราชกิจ จากวง Cocktail ได้เปิดประเด็นเสวนา<br />

ถึงความสำาคัญของดนตรีในมิติทางวัฒนธรรมร่วมสมัย และได้ตั้งข้อ<br />

สังเกตถึงความสำาคัญของบทบาทภาครัฐที่จำาเป็นต้องช่วยสนับสนุนศิลปิน<br />

ไทยให้ขยายฐานตลาดไปสู่ต่างประเทศมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็มีความ<br />

เห็นว่ารัฐควรส่งเสริมการสร้างเวทีให้กับศิลปิน ซึ่งในปัจจุบันเวทีดังกล่าว<br />

มีน้อยและอุตสาหกรรมดนตรีร่วมสมัยผูกอยู่กับกลไกตลาดของธุรกิจ<br />

บันเทิงและธุรกิจเครื่องดื่มและสถานบริการ ในขณะที่คุณพล หุยประเสริฐ<br />

บริษัท H.U.I. กล่าวเสริมว่ากระบวนการส่งเสริมศิลปินไทยในทุกมิติควร<br />

เป็นกลไกที่สำาคัญที่ควรเกิดขึ้นจากการวางยุทธศาสตร์โดยภาครัฐ ดังเช่น<br />

กรณีของการส่งเสริมอุตสาหกรรมดนตรีในประเทศเกาหลีใต้ ที่เกิดขึ้นจาก<br />

การวางยุทธศาสตร์ในการสนับสนุนของรัฐอย่างเป็นระบบ และหากเกิด<br />

กลไกที่รัฐช่วยสนับสนุนให้เกิดเวทีดนตรีสาธารณะ หรือกิจกรรมดนตรี<br />

ของเมือง จะช่วยสร้างให้เกิดกระบวนการขับเคลื่อนวัฒนธรรมของเมือง<br />

ผ่านงานศิลปะ ที่ช่วยสร้างแรงบันดาลใจ และขับเคลื่อนวัฒนธรรมและ<br />

เศรษฐกิจได้หลากหลายกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน<br />

จากภาพรวมของเสวนาภายใต้ธีม ‘People and the <strong>City</strong>’ นี้ จะเห็นได้ว่า<br />

นอกเหนือจากการพัฒนาเมืองในมิติกายภาพนั้น การพัฒนาทรัพยากร<br />

มนุษย์ในเมืองจำาเป็นต้องดำาเนินการควบคู่กันในทุกมิติ ทั้งในด้านปัจจัย<br />

พื้นฐาน การมีที่อยู่ ที่ทำากิน การมีสาธารณูปโภคที่ดี การเดินทางขนส่ง<br />

มวลชนที่สะดวก ปลอดภัย มีสวนสาธารณะ และมีพื้นที่ให้ได้แสดงออก<br />

ในเชิงวัฒนธรรม ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ซึ่งล้วนเป็น<br />

สิ่งสำาคัญในการพัฒนาเมืองสู่พรมแดนที่มีความซับซ้อนและท้าทายใหม่ๆ<br />

ในอนาคต<br />

<strong>WOW</strong> FORUM<br />

67<br />

Yossapol emphasized that a public park is a place that acts as<br />

a central mechanism to link humans with community areas, and<br />

planning or building a park is a process that can be done in many<br />

forms not only by the government but can be made possible by<br />

the private sector or civil society with land or a common intention.<br />

M.L. Jiratip Devakula, researcher and architect <strong>of</strong> the Research<br />

and Design Service Center <strong>of</strong> King Mongkut Institute <strong>of</strong> Technology<br />

Thonburi and representatives <strong>of</strong> Young-Thon Group that<br />

uses a voluntary development model in organizing activities<br />

in the Thonburi area through online and area-based activities.<br />

While Vipavee Kittitien, an urban development activist, focuses<br />

on creating a process <strong>of</strong> participation and city development at<br />

various levels. Vipavee presented activities from the Mayday<br />

Project that operates in communication to develop public transport<br />

through the design <strong>of</strong> bus stops, bus waiting areas, and<br />

mapping. Arise from the actual public transport user participation<br />

process; these projects also expand to other provinces such as<br />

Chiang Mai or Hat Yai district.<br />

The final topic <strong>of</strong> the day, ‘Music and city’, explores the hidden<br />

role <strong>of</strong> music in the city. The parades and music festivals in the<br />

city are one <strong>of</strong> the most integral aspects <strong>of</strong> the city’s culture. The<br />

talk, started by Ohm Panthapol Prasarnrajkit from the Cocktail<br />

band, opened up a discussion on the importance <strong>of</strong> music in<br />

contemporary culture. He remarked on the government’s role in<br />

supporting Thai artists to expand their market bases abroad. At<br />

the same time, the government should promote the creation <strong>of</strong> a<br />

platform for artists. Currently, there are few such arenas, and the<br />

modern music industry is tied to the market forces <strong>of</strong> the entertainment<br />

and beverage businesses and service establishments.<br />

On the other Pol, Phon Huiprasert from H.U.I. added that promoting<br />

Thai artists at all levels can be essential and should come<br />

from the government’s strategy. One interesting example is the<br />

case <strong>of</strong> the music industry in South Korea, which arises from a<br />

systematic state support strategy. A mechanism supported by<br />

the government to create a public music platform or music events<br />

in the city will help drive the city’s culture through art and inspire<br />

and drive a broader range <strong>of</strong> cultures and economies.<br />

‘People and the <strong>City</strong>’, in summary, has demonstrated that in<br />

addition to physical development for a city, such as infrastructures<br />

and others, human resource development is equally<br />

significant and needs to be carried out in parallel at all levels,<br />

whether fundamental factors, places to live, good utilities, convenient<br />

and safe public transportation, parks and cultural and<br />

recreational spaces. It can be achieved through the participation<br />

process <strong>of</strong> all sectors, which are all important in developing<br />

the city into a new complex and challenging frontier in the future.<br />

Photo Reference<br />

25-29. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


68<br />

Co-Creation for Future<br />

<strong>City</strong> Future <strong>City</strong><br />

25 November <strong>2022</strong><br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

ในส่วนช่วงต้นของธีม Co-Creation for Future <strong>City</strong> เริ่มต้นด้วยการฉาย<br />

ภาพ ‘Future <strong>City</strong>’ จากมุมมองของวิทยากรในหลายสาขา เริ่มต้นด้วย<br />

Space Tech for <strong>City</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong>s โดย คุณกฤษณ์ คุณผลิน บริษัท Future<br />

STEAM ผู้แทนศูนย์อวกาศและจรวดแห่งชาติสหรัฐฯ และศูนย์ข้อมูลข่าว-<br />

สาร NASA (ประจำาประเทศไทย) ฉายภาพให้เห็นว่าเทคโนโลยีอวกาศจะ<br />

ช่วยเมืองได้ ด้วยโครงข่ายการวางระบบดาวเทียมที่เห็นความเป็นไปของ<br />

เมืองเช่น การใช้พลังงาน การใช้ไฟฟ้าจากเมืองยามค่ำาคืน การเคลื่อนไหว<br />

เดินทางภายในเมือง ด้วยเทคโนโลยี GIS ได้แก่ 1. การเก็บข้อมูล (information<br />

collection) 2. เรียลไทม์และในอดีต 3. ความสามารถในการ<br />

วิเคราะห์ประมวลผล ความสามารถในการวิเคราะห์ 4. การเชื่อมโครงข่าย<br />

ข้ามองค์กรในเวลาเดียวกันกัน (Networking across issues and organizations<br />

at the same time) 5. ความสามารถในการเตรียมพร้อมแนวทาง<br />

แก้ปัญหา (Ability to provide solutions) เช่น เครื่องมือ cropmonitoring.<br />

eos.com ช่วยภาคการเกษตรในการเข้าใจพื้นที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก<br />

ในอนาคต เครื่องมือเหล่านี้จะเห็นชัดมากขึ้นในการบริหารจัดการเมืองที่<br />

ซับซ้อน และจะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีอวกาศกับเมืองมีความสัมพันธ์กัน<br />

อย่างมาก อย่างการติดตั้งโครงข่ายดาวเทียม LEO (Leo Earth Orbit) มี<br />

หลักการทำางานสำาคัญที่เกี่ยวข้องกับเมือง คือ GPS การนำาทางเดินทางที่<br />

แม่นยำา ระบบการเดินทาง (Logistics) แบบไร้รอยต่อ มีโดรนเข้ามาช่วย<br />

มี IOT ข้อมูล อุปกรณ์ต่างๆ เชื่อมโยงกัน มี HOI (Human <strong>of</strong> Internet)<br />

ข้อมูลร่างกายถูกส่งประมวลผลจัดการผ่านดาวเทียม ช่วยในการดูแล<br />

รักษา EOS (Earth Observation system) หรือแม้กระทั่งภาพเมืองแบบ<br />

Real time ผ่านรังสีอินฟราเรดที่ช่วยป้องกันอัคคีภัยจากการตรวจสอบ<br />

คลื่นรังสีที่ฉับไวแม่นยำา เทคโนโลยี Tele medicine เชื่อมต่อข้อมูลคนไข้<br />

และโรงพยาบาลอย่างแม่นยำา ช่วยในการรักษาพยาบาลที่แม่นยำาสูง การ<br />

เตือนภัยพิบัติและเตรียมความพร้อม (Disaster warning and preparedness)<br />

การจัดการการจราจรโดยระบบ (Traffic management) โดยใช้ปัญญา-<br />

ประดิษฐ์ (AI) บริหารจัดการในเมือง และการรักษาความปลอดภัยในพื้นที่<br />

(Security)<br />

30<br />

31<br />

32


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

69<br />

The theme <strong>of</strong> co-creation for the future city began with projections<br />

<strong>of</strong> the ‘future city’ from various perspectives <strong>of</strong> speakers<br />

in various fields, beginning with Space Tech for <strong>City</strong> <strong>Well</strong>-<br />

<strong>Being</strong>s by Krit Kunplin from Future STEAM and Representative<br />

<strong>of</strong> the US National Space and Rocket Center, who described<br />

how space technology could help cities, with a network <strong>of</strong><br />

satellite systems that track overviews <strong>of</strong> cities such as power<br />

consumption, electricity from the city at night, and movement<br />

within the city with GIS technology, which are - 1. Information<br />

collection2. Real-time and the past 3. Analysis and processing<br />

capabilities Analysis ability 4. Networking across issues and<br />

organizations at the same time 5. Ability to provide solutions<br />

33<br />

One <strong>of</strong> the examples is crop-monitoring.eos.com, which helps<br />

the agricultural sector understand the suitable areas for future<br />

cultivation. These tools are increasingly evident in managing<br />

complex cities, and it can be seen that space technology and<br />

the city are very closely related. For example, the installation<br />

<strong>of</strong> the LEO (Leo Earth Orbit) satellite network provides some<br />

significant working principles related to the city, like GPS,<br />

accurate travel navigation, seamless logistics systems assisted<br />

by drones, IOT, information, connected devices, and HOI<br />

(Human <strong>of</strong> the Internet), where body data is processed and<br />

managed via satellite, assisting in the maintenance <strong>of</strong> the EOS<br />

(Earth Observation System), or even real-time city images<br />

through infrared rays that help prevent fires from fast, precise<br />

radiation detection; telemedicine technology that accurately<br />

connects patient and hospital information helps in providing<br />

highly accurate medical care; disaster warning and preparedness;<br />

traffic management using artificial intelligence (AI); and<br />

urban management and security in the area.<br />

Photo Reference<br />

30-34. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage<br />

34<br />

Pr<strong>of</strong>. Dr. Atch Sreshthaputra from the Faculty <strong>of</strong> Architecture<br />

at Chulalongkorn University presented on the topic ‘The Future<br />

<strong>of</strong> Green Architecture,’ saying that green architecture, or green<br />

building, is a concept that has been around for over a decade.<br />

In the past and present, many buildings used a lot <strong>of</strong> steel,<br />

glass, and cement, which meant they had a large carbon footprint.<br />

The difference in real estate carbon emissions is that<br />

a house’s carbon footprint comes from building materials. In<br />

contrast, the carbon footprint <strong>of</strong> an <strong>of</strong>fice building is based<br />

on energy consumption. The zero carbon building concept can<br />

be achieved by various factors: building with less embodied<br />

energy or recycled materials, using local materials that reduce<br />

transportation, selfsufficient design, saving space, sharing<br />

facilities, modular or prefabrication or knock-down construction<br />

that reduces waste or scrap, designing to save energy<br />

during use, producing renewable energy, saving water, reducing<br />

wastewater emissions, reducing methane emissions, using


70<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

35<br />

36<br />

37<br />

38<br />

Photo Reference<br />

35-38. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

71<br />

ศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย กับหัวข้อ The Future <strong>of</strong> Green Architecture ที่นำาเสนอให้<br />

เห็นว่า Green architecture หรืออาคารเขียวเป็นแนวคิดที่มีมานานร่วม<br />

สิบปี โดยในอดีตและปัจจุบันมีอาคารที่ใช้เหล็ก กระจก ซีเมนต์มาก ซึ่ง<br />

หมายถึงอาคารที่มี carbon footprint มากด้วย ความแตกต่างของการ<br />

ปล่อยคาร์บอนในงานอสังหาริมทรัพย์คือ carbon footprint ของบ้านมา<br />

จากวัสดุก่อสร้าง แต่ carbon footprint ของอาคารสำานักงานจะเป็นการ<br />

ใช้พลังงาน แนวคิดอาคารคาร์บอนเป็นศูนย์ สามารถทำาได้โดยการสร้าง<br />

อาคารด้วยวัสดุที่มี embodied energy น้อยหรือวัสดุรีไซเคิล การใช้วัสดุ<br />

พื้นถิ่นที่ลดการขนส่ง การออกแบบพอเพียง ประหยัดพื้นที่ และแชร์สิ่ง-<br />

อำานวยความสะดวก การก่อสร้าง modular หรือ prefab หรือ knock down<br />

ลดขยะหรือเศษวัสดุ การออกแบบให้ประหยัดพลังงานระหว่างการใช้สอย<br />

และผลิตพลังงานทดแทน การประหยัดน้ำาลดการปล่อยน้ำาเสีย ลดการ<br />

ปล่อยมีเธน การใช้พลังงานสะอาด เพื่อ <strong>of</strong>fset การปล่อยคาร์บอนจาก<br />

การใช้พลังงาน การใช้วัสดุที่เป็น carbon sink เช่น ไม้จากป่าปลูก<br />

ดร.พิชญะ จันทรานุวัฒน์ นายกสมาคมผู้ตรวจสอบอาคาร (BSA) กับหัวข้อ<br />

Move Fire Safety to Smart <strong>City</strong> with Digital Technology โดยระบบเพลิง<br />

ไหม้กับดิจิทัลเทคโนโลยีนั้นมีข้อคำานึงคือ เมื่อเกิดอัคคีภัยมีข้อจำากัดในการ<br />

จัดการ คือเวลา ซึ่งดิจิทัลแพลตฟอร์มสามารถช่วยได้ online platform<br />

service ซึ่งมีข้อมูลการบริหารจัดการอาคารเป็นข้อมูลที่ต้องเปิดเผยไม่ใช่<br />

เฉพาะช่าง เพราะเป็นความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินผู้ใช้อาคาร แพลท-<br />

ฟอร์มนี้จะสามารถช่วยการอพยพหนีไฟ แต่ละบุคคลเมื่อเกิดอัคคีภัย ระบบ<br />

การดูแลรักษาสภาพของตัวตรวจจับอัคคีภัย การตรวจสอบดูแลต้องสามารถ<br />

เข้าถึงได้แบบเปิดเผยทั้งจากผู้ใช้อาคารและเจ้าหน้าที่บรรเทาสาธารณภัย<br />

หัวข้อ Future <strong>of</strong> Smart Building Technology for Cities Life โดย<br />

คุณกฤษฎา สาธุกิจชัย จากบริษัท Netizen และ Trandar Acoustic<br />

พูดถึง Smart <strong>City</strong> ว่ามีองค์ประกอบ คือ 1. แพลทฟอร์มโปรแกรมหรือกลุ่ม<br />

ของโปรแกรมที่ได้รับการประยุกต์ออกแบบเพื่อใช้ทำางาน (Application<br />

S<strong>of</strong>tware Platform) 2. ข้อมูล (Data) และ 3. โครงสร้างพื้นฐานการ<br />

สื่อสาร (Communication Infrastructure) โดยเมืองในอนาคตจะใส่ใจกับ<br />

พลังงานแสงอาทิตย์ (solar energy) การเดินทางสัญจร (Transportation)<br />

มีรูปแบบเปลี่ยนแปลงไป เช่น รูปแบบ ลิฟท์ขนรถส่วนตัว ทางเข้าบ้าน<br />

ที่รองรับการสัญจรทางอากาศ (Drone) ได้ การใส่ใจกับวัสดุศาสตร์ที่ใช้<br />

ก่อสร้างและง่ายต่อการดูแลรักษา (Building material and science)<br />

อาคารที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ แต่การปลูกต้นไม้ต้องการเทคโนโลยีเข้า<br />

มารองรับในการดูแลและอยู่ร่วมกันในระยะยาว ตลอดจนการเป็นมิตร<br />

กับสัตว์เลี้ยง (Natural friendly building) การนำาหุ่นยนต์หรือปัญญา-<br />

ประดิษฐ์มาใช้ทุกแห่งหน เช่น การขนส่ง การบริการ ซึ่งส่งผลต่อการ<br />

ออกแบบที่รองรับหุ่นยนต์ในอนาคต (Robot (AI) everywhere) การ<br />

ยืนยันตัวตนทางชีวภาพ (Hybrid bio recognition) เช่น การควบคุม<br />

ความปลอดภัยในการเข้าถึงอาคาร การดูแล ผู้สูง ผู้พิการในอาคาร มี<br />

ระบบปฏิบัติการประมวลระบบข้อมูลต่างๆในพื้นที่ (Dashboard) โดย<br />

ความยั่งยืน (Sustainability) เป็นประเด็นที่สำาคัญตามสามเสาหลัก<br />

คือ สภาพแวดล้อม สังคม และระบบเศรษฐกิจ ซึ่งปัจจุบันอย่างในยุโรป<br />

ได้ให้ความสำาคัญกับหลักการ 3Z ได้แก่ การปล่อยคาร์บอนเป็นศูนย์<br />

(Zero Carbon emission) การปล่อยของเสียเป็นศูนย์ (Zero waste)<br />

clean energy to <strong>of</strong>fset carbon emissions from energy use,<br />

and using carbon sink materials such as wood from planted<br />

forests.<br />

In ‘Move Fire Safety to Smart <strong>City</strong> with Digital Technology’,<br />

Dr. Pichaya Chantranuwat, President <strong>of</strong> the Building Inspectors<br />

Association (BSA), talked about the fire system and digital technology<br />

with several issues that need to be considered. When<br />

there is a fire, there is a limitation in management, which is time,<br />

and digital platforms can help. The online platform service that<br />

contains building management information must be open, not<br />

known only among technicians, because it means the safety<br />

<strong>of</strong> life and property. This platform will help with individual fire<br />

evacuation in the event <strong>of</strong> a fire. The fire detector maintenance<br />

system must be monitored and accessible to both building<br />

occupants and the mitigation team.<br />

Kridsada Satukijchai from Netizen and Trandar Acoustic discussed<br />

the ‘Future <strong>of</strong> Smart Building Technology for <strong>City</strong> Life.’<br />

Smart cities are made up <strong>of</strong>: 1. application s<strong>of</strong>tware platforms;<br />

2. data; and 3. communication infrastructure. The city <strong>of</strong> the<br />

future will pay more attention to solar energy. Transportation will<br />

change tremendously. Possible scenarios are a private car lift<br />

model, an entrance to the house that can support air traffic like<br />

a drone, intelligent building materials and science, buildings that<br />

are friendly to nature, but planting trees requires technology<br />

to fund long-term care and coexistence as well as being petfriendly,<br />

and the use <strong>of</strong> robots or artificial intelligence everywhere,<br />

such as transportation and services, which will affect<br />

the design that supports robots in the future. There is more use<br />

<strong>of</strong> hybrid biorecognition, such as for building access security<br />

control and care for the elderly and disabled in the building.<br />

There is an operating system to process various information systems<br />

like Dashboard. Sustainability is an important issue based<br />

on three pillars: the environment, society, and the economy.<br />

Currently, as in Europe, the 3 Z principles are emphasized: zero<br />

carbon emissions, zero waste, and zero inequality. To conclude,<br />

ESG, or the concept <strong>of</strong> sustainable organizational development,<br />

which stands for Environment, Social, and Governance and<br />

focuses on doing business concerning these three primary<br />

responsibilities, will play a role in every organization and will be<br />

considered by investors around the world as one <strong>of</strong> the main<br />

concepts for investment consideration.<br />

The next session was presented by Jullakiat Sinchaichukiat<br />

from Baramizi Group on the theme <strong>of</strong> ‘Green Transformation.’ It<br />

emphasizes climate change’s green transformation as a current<br />

global threat. So ‘going green’ is not an option, but it’s a solution<br />

everyone must realize, execute, and turn into an opportunity.<br />

Humans generally change through crises and visions, so being<br />

up-to-date with green has to be a shift starting with a vision.<br />

Whether in the agricultural or business sectors, organizations<br />

must begin with the transition to green. Those who cannot catch<br />

up with the changing paradigm will be included in global rules<br />

for corporations or companies that cannot engage in business<br />

activities that thrive alongside tackling climate change. According


72<br />

และความไม่เท่าเทียมเป็นศูนย์ (Zero inequality) และได้สรุปตอนท้ายว่า<br />

ESG หรือ แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาขององค์กรอย่างยั่งยืน ซึ่งย่อมาจาก<br />

Environment Social และ Governance ที่ให้ความสำาคัญกับการทำาธุรกิจที่<br />

คำานึงถึงความรับผิดชอบ 3 ด้านหลัก คือ สิ่งแวดล้อม สังคม และการกำากับ<br />

ดูแลโดยรัฐ ปัจจุบัน ESG จะเข้ามามีบทบาทในทุกองค์กร และได้รับความ<br />

นิยมจากนักลงทุนทั่วโลกเนื่องจากเป็นแนวคิดที่ใช้ประกอบการพิจารณาลงทุน<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

to McKinsey and Company, today’s green building business has<br />

grown second only to the transportation business. It is, therefore,<br />

a good opportunity for the real estate sector. Green transformation<br />

is not just CSR or image but must change products, processes,<br />

and people, and change at the green school or climate school<br />

level. It is a process <strong>of</strong> change and cultivation, like planting<br />

powerful seeds for our children.<br />

คุณจุลเกียรติ สินชัยชูเกียรติ จาก Baramizi group กับหัวข้อ Green Transformation<br />

ที่เน้นถึงการเปลี่ยนสู่ความเป็นกรีน (Green transformation)<br />

ว่ามีที่มาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change) เป็นภัย<br />

คุกคามระดับโลก ดังนั้นเรื่อง ‘Green’ ไม่ใช่ทางเลือก แต่เป็นทางรอดที่<br />

ต้องทำา และทำาให้กลายเป็นโอกาส โดยทั่วไปแล้วมนุษย์เปลี่ยนแปลงจาก<br />

วิกฤตและวิสัยทัศน์ ดังนั้นความเป็นกรีนที่ทันต่อเหตุการณ์จึงต้องเป็นการ<br />

เปลี่ยนแปลงจากวิสัยทัศน์ องค์กรจึงต้องเริ่มจากการเปลี่ยนแปลงสู่ความ<br />

เป็น Green ไม่ว่าจะเป็นภาคเกษตรกร ภาคธุรกิจ ซึ่งเกิดการกีดกันจาก<br />

กติกาของโลกสำาหรับองค์กรหรือธุรกิจที่ไม่สามารถเข้าสู่การดำาเนินกิจกรรม<br />

ทางธุรกิจที่เติบโตคู่กับการแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

จากข้อมูลของ McKinsey and Company ระบุว่าธุรกิจอาคารเขียวเติบโต<br />

เป็นอันดับสองรองจากธุรกิจการคมนาคมขนส่ง จึงเป็นโอกาสของภาคธุรกิจ<br />

อสังหาริมทรัพย์ Green transformation จึงไม่ใช่แค่ CSR หรือภาพลักษณ์<br />

ซึ่งต้อง เปลี่ยนแปลง product/process/people และการเปลี่ยนในระดับ<br />

green school/climate school เป็นการเปลี่ยนแปลง การปลูกฝัง เพาะ-<br />

เมล็ดพันธุ์ต่อเด็กที่ทรงพลัง<br />

Future Material Tech โดยคุณธิติ ศรีรัตนา ผู้อำานวยการฝ่ายนวัตกรรม<br />

และเทคโนโลยี สีจระเข้ เล่าถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สีจระเข้ที่สามารถดูดซับ<br />

คาร์บอนไดออกไซด์ได้ เช่นเดียวกับหลักการของต้นไม้ โดยใช้เทคโนโลยี<br />

ปูนหมักจากปูนขาวร่วมกับเทคโนโลยี graphene ซึ่งมีคุณสมบัติทำาให้เกิด<br />

การยึดเกาะพื้นผิวได้ดี ไม่มีฝุ่นแบบสีจากปูนขาวเดิม ซึ่งวิธีการใช้สีปูนหมัก<br />

เป็นกรรมวิธีที่ใช้ในโบราณสถานที่มีคุณสมบัติในการตรึงก๊าซคาร์บอนได-<br />

ออกไซด์ เมื่อรวมกับคุณสมบัติของกราฟีนที่นำาไฟฟ้าและความร้อนได้<br />

ดีกว่าทองแดง 6 เท่า จึงทำาให้สีชนิดนี้มีแรงยึดเกาะดี ไม่มีการปล่อยสาร<br />

ฟอมัลดีไฮด์หลังการทา สีนี้ยังสามารถดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้อีก<br />

ด้วย ความท้าทายของนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สีดังกล่าวนี้จึงเป็นตัวอย่างของ<br />

ภาคธุรกิจที่ต่อเนื่องจากที่คุณจุลเกียรติได้ชี้ให้เห็นถึง Green Transformation<br />

คือการดำาเนินกิจกรรมทางธุรกิจที่เติบโตคู่กับการแก้ปัญหาการเปลี่ยน-<br />

แปลงสภาพภูมิอากาศ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยไม่เป็นอันตราย อีกทั้ง<br />

ยังมีมาตรฐานรับรองจากหน่วยงานวัสดุต่างๆ เพื่อรับรองความเป็น Green<br />

จากผลการทดลองว่าการทาสีมีคุณสมบัติเทียบเท่ากับการปลูกต้นไม้ และ<br />

เข้ากับเกณฑ์อาคารเขียว<br />

ในหัวข้อ The Standardize <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> Material โดย คุณศิริพงค์<br />

วิมานทอง จาก Harmony group พูดถึงมนุษย์และอาคารมีส่วนสร้าง<br />

คาร์บอนไดออกไซด์ และการปรับอากาศในอาคารเป็นสิ่งที่สิ้นเปลืองพลัง-<br />

งานสูงมาก รวมถึงผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในอาคาร มักมีการปล่อยสารพิษจาก<br />

การระเหยในอาคาร หรือ VOC: Volatile Organic Compounds หมายถึง<br />

กลุ่มสารประกอบอินทรีย์ที่ระเหยเป็นไอได้ง่าย กระจายตัวไปในอากาศได้<br />

ในอุณหภูมิและความดันปกติ วัสดุก่อสร้างจึงควรคำานึงถึงการปลดปล่อย<br />

Thiti Sriratana, Director <strong>of</strong> Innovation and Technology at Jorakay<br />

corporation Company Limited, talked about Future Material Tech,<br />

which is about developing new paint products that can absorb<br />

carbon dioxide effectively, similar to a tree, using lime mortar<br />

technology combined with graphene technology. The new paint<br />

has good surface adhesion properties, and there is no colored<br />

dust from the original lime. The method <strong>of</strong> using fermented<br />

cement paint is a process used in ancient buildings that can fix<br />

carbon dioxide, which, when combined with graphene’s 6 times<br />

better conductivity than copper, makes the paint have good<br />

adhesive properties. There is no formaldehyde release following<br />

application. This challenge <strong>of</strong> paint innovation is an example<br />

<strong>of</strong> a continuous business sector that Chulakiat has previously<br />

pointed out about ‘green transformation’—conducting business<br />

activities that grow together with solving climate change problems<br />

and are environmentally friendly without harm. There are also<br />

standards certified by various material agencies based on<br />

experiments demonstrating that painting is equivalent to tree<br />

planting and meets the green building criteria.<br />

In ‘The Standardize <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> Material,’ Siripong Vimarnthong<br />

from Harmony Group talks about how humans and buildings<br />

contribute to creating carbon dioxide. Building air conditioning<br />

is very energy-intensive, and various products in buildings frequently<br />

emit toxic substances from volatile indoors, or VOC,<br />

which refers to a group <strong>of</strong> volatile organic compounds that are<br />

easily dispersed in the air at normal temperature and pressure.<br />

Construction materials should therefore be considered in terms<br />

<strong>of</strong> the release <strong>of</strong> toxic substances that affect indoor air quality.<br />

Water use must take into account zero discharge, i.e., future<br />

buildings will not release wastewater to the public, while wastewater<br />

must be recycled for reuse. In addition, it should also<br />

consider the design <strong>of</strong> lighting that makes building users comfortable,<br />

no more, no less, since the light comes with the heat<br />

load in the building. A building can use Low-E or insulated glass<br />

or other controllable indoor and outdoor shade applications,<br />

including a design that considers the state <strong>of</strong> mind. For example,<br />

noise within the building, or noise criteria, is a noise control in a<br />

residential building that affects the health <strong>of</strong> residents from both<br />

outside and inside noise, which means architects or owners must<br />

consider various elements such as the floor, wall, and ceiling. The<br />

<strong>Well</strong> Standard certifies materials that have passed the standard,<br />

such as recycled materials, materials that are harmless to health,<br />

alternative materials for natural materials that have sound properties,<br />

a long-lasting life cycle, reduce energy consumption during<br />

use, reduce waste, and use renewable energy.


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

73<br />

39<br />

40<br />

41<br />

42<br />

43<br />

Photo Reference<br />

39-43. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


74<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

สารพิษที่มีผลต่อคุณภาพอากาศในอาคาร การใช้น้ำาต้องคำานึงถึงการปล่อย<br />

ของเสียเป็นศูนย์ (zero discharge) คือ อาคารในอนาคตจะไม่ปล่อยน้ำาเสีย<br />

สู่สาธารณะ แต่ต้องสามารถนำาน้ำาเสียไปรีไซเคิลเพื่อกลับมาใช้ประโยชน์<br />

ใหม่ นอกจากนี้ยังควรการคำานึงถึงการออกแบบแสงที่ทำาให้ผู้ใช้อาคารอยู่<br />

สบายไม่มากไม่น้อยเกินไป เนื่องจากแสงมาพร้อมกับภาระความร้อนใน<br />

อาคาร สามารถใช้กระจก Low-E หรือ Insulated Glass หรือการใช้ร่มเงา<br />

จากในและนอกอาคารที่สามารถควบคุมได้ รวมถึงการออกแบบที่คำานึง<br />

ถึงสภาวะจิตใจ อย่างเสียงรบกวนภายในอาคาร (Noise criteria) เป็น<br />

การควบคุมเสียงในอาคารอยู่อาศัย ทั้งจากเสียงข้างนอก และเสียงภายใน<br />

อาคารที่มีผลต่อสุขภาวะผู้อยู่อาศัย ซึ่งต้องคำานึงถึง พื้น ผนัง ฝ้า โดย<br />

<strong>Well</strong> Standard มีการเลือกใช้วัสดุที่ผ่านมาตรฐาน อันประกอบด้วย มี<br />

ส่วนประกอบจากวัสดุรีไซเคิล วัสดุที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ วัสดุ<br />

ทดแทนวัสดุธรรมชาติ มีคุณสมบัติทางด้านเสียง มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน<br />

(Life cycle) ลดการใช้พลังงานในช่วงการใช้งาน ลดของเสีย และการใช้<br />

พลังงานหมุนเวียน<br />

Xperience Design Trend<br />

for Future Living<br />

Baramizi Lab นำาเสนอศึกษาผลการวิจัยเพื่อหาแนวทางออกแบบสร้าง-<br />

สรรค์นวัตกรรมให้แก่ผู้ประกอบการในกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ และกลุ่ม<br />

นักออกแบบสถาปนิก โดยร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการหา<br />

Xperience Design Future Trends for Property Sector เพื่อธุรกิจอสังหา-<br />

ริมทรัพย์ประจำาปี 2023-2025 โดย คุณปรมา ทิพย์ธนทรัพย์ และทีมวิจัย<br />

จากศูนย์วิจัยเทรนด์และคอนเซปต์แห่งอนาคต Baramizi Lab นำาเสนอ 10<br />

Outstanding trends ดังนี้<br />

44<br />

1. BIODIVERSE WELL-LIVING ประสบการณ์สุขภาพดีท่าม<br />

กลางความหลากหลายทางชีวภาพ ไม่ได้เน้นมนุษย์เป็นศูนย์กลาง<br />

แต่เพียงอย่างเดียวแต่เป็นการคำานึงถึงระบบนิเวศที่ดีของการพัก<br />

อาศัย ทั้งมนุษย์และธรรมชาติ<br />

2. THE SERENEXURIOUS การสร้างประสบการณ์ความนิ่สงบ<br />

เข้าถึงจิตวิญญาณเพื่อสร้างสมดุล โดยออกแบบสเปซในบ้านให้<br />

รู้สึกผ่อนคลาย ดึงตัวตนออกจากความกังวลใจ นำาสู่การตรึกตรอง<br />

และความสงบสู่จิตวิญญาณ<br />

3. ALL-IN-HOME ประสบการณ์ของบ้านที่รองรับทุกมิติการ<br />

ใช้ชีวิต คือการใช้เทคโนโลยีเชื่อมต่อกับประสบการณ์ พฤติกรรม<br />

กิจกรรมในบ้าน<br />

4. ACTIVE-AGING EXTENDED ซึ่งช่วงผู้สูงวัยจะมี 3 ช่วง คือ<br />

ผู้สูงวัยที่ยังสามารถทำากิจกรรมต่างๆ ได้เอง ผู้สูงอายุที่เริ่มอยู่กับ<br />

บ้าน และผู้สูงอายุที่เริ่มป่วยจนติดเตียง จึงเป็นเทรนด์การออกแบบ<br />

บ้าน โครงการอสังหาริมทรัพย์ และเมืองที่ช่วยยืดช่วงเวลาที่ผู้สูงวัย<br />

ยังสามารถทำากิจกรรมต่างๆ ได้เองให้ยาวนานขึ้น<br />

5. RENT I/O (Instead <strong>of</strong>) OWN PHENOMENA คนรุ่นใหม่มี<br />

แนวคิดยอมรับที่จะเช่าแทนการเป็นเจ้าของ<br />

45<br />

Photo Reference<br />

44-48. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

75<br />

46<br />

Xperience Design Trend<br />

for Future Living<br />

Baramizi Lab presented research to find innovative design<br />

solutions for entrepreneurs in the real estate sector, architects,<br />

and designers, in collaboration with Chulalongkorn University,<br />

in the search for Xperience Design Future Trends for the Property<br />

Sector for the real estate business <strong>of</strong> the years 2023–2025. In<br />

the session, Porama Thiptanasub and the research team from<br />

Baramizi Lab’s Future Trends and Concepts Research Center<br />

presented 10 outstanding trends as follows:<br />

1. BIODIVERSE WELL-LIVING<br />

a healthy living experience amid biodiversity, not focusing<br />

only on humans as the center but considering the<br />

good ecosystem <strong>of</strong> living both man and nature.<br />

2. THE SERENEXURIOUS<br />

Creating a peaceful experience and reaching out to the<br />

soul to achieve balance by designing a relaxed space<br />

in the house and removing the inner self from anxiety<br />

into reflection and soul peace<br />

3. ALL-IN-HOME<br />

An experience <strong>of</strong> a home that supports all dimensions<br />

<strong>of</strong> living, integrating technology to connect with experiences,<br />

behaviors, and activities in the home.<br />

47<br />

4. ACTIVE-AGING EXTENDED<br />

There are 3 phases for the elderly: the elderly who can<br />

do activities alone, older people starting to stay at home,<br />

and the elderly who became sick until they were stuck in<br />

bed. It is, therefore, a new trend in home design, real<br />

estate projects, and a city that extends the time that the<br />

elderly can do their activities.<br />

5. RENT I/O (Instead <strong>of</strong>) OWN PHENOMENA<br />

The new generation has the concept <strong>of</strong> accepting rent<br />

instead <strong>of</strong> owning.<br />

6. REAL ESTATE AS A SERVICE<br />

Creating lifelong customers by transforming the business<br />

model to identify new gaps in future residents’ lifestyles<br />

and consider service as support in terms <strong>of</strong> living, working,<br />

and living will result in long-term business continuity.<br />

7. AI ASSISTANCE<br />

Using artificial intelligence to help with activities, behaviors,<br />

living, and changing the use <strong>of</strong> space in the house.<br />

48<br />

8. NET ZERO AGENDA<br />

This is one <strong>of</strong> the targets for research and development<br />

investment in making houses that do not burden the city<br />

or the environment, such as water treatment, bringing<br />

clean energy, and using renewable energy in the project.


76<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

49<br />

51<br />

50<br />

Photo Reference<br />

49-52. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage<br />

52


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

77<br />

6. REAL ESTATE AS A SERVICE สร้าง Life-Long Customer<br />

ด้วยการทรานส์ฟอร์มโมเดลธุรกิจหาช่องว่างใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นใน<br />

ไลฟ์สไตล์ผู้อยู่อาศัยในอนาคต แล้วคิดบริการมารองรับ ด้านการ<br />

อยู่อาศัย ทำางาน ใช้ชีวิต พื่อนำาไปสู่ธุรกิจต่อเนื่องระยะยาว<br />

7. AI ASSISTANCE การนำาปัญญาประดิษฐ์มาช่วยเหลือใน<br />

กิจกรรมพฤติกรรม การอยู่อาศัยและเปลี่ยนแปลงการใช้พื้นที่ในบ้าน<br />

8. NET ZERO AGENDA เป็นหนึ่งเป้าหมายในการลงทุนวิจัยและ<br />

พัฒนา ในการทำาบ้านที่ไม่สร้างภาระแก่เมืองและสิ่งแวดล้อม เช่น<br />

การบำาบัดน้ำา การนำาพลังงานสะอาด พลังงานหมุนเวียนใช้ใน<br />

โครงการ<br />

9. HUMANITY RESILIENCE ที่อยู่อาศัยที่สามารถรับมือกับนํ้า-<br />

ท่วมหรืออยู่กับนํ้าท่วมได้ การเลือกใช้วัสดุที่ช่วยปกป้องจากภัย<br />

พิบัติต่างๆ การนำานวัตกรรมที่คาดการณ์ถึงสภาพภัยพิบัติอื่นๆ<br />

ที่อาจเกิดขึ้น<br />

10. NEW FRONTIER การวิจัยและพัฒนาเพื่อการต่อยอดเทคโน-<br />

โลยีอวกาศมาแก้ปัญหาบนพื้นโลก<br />

Co-Creation <strong>City</strong><br />

ในธีม ‘Co-Creation for Future <strong>City</strong>’ นี้ หัวข้อ Co-Creation นับเป็นอีก<br />

ประเด็นหลักของงานเสวนา <strong>WOW</strong> Forum <strong>2022</strong> และเป็นหนึ่งในแนวคิด<br />

เชิงกลไกการกำาหนดทิศทางของการพัฒนาเมือง ที่เปิดโอกาสให้กับความ<br />

หลากหลายของคนในเมืองได้ร่วมแสดงความคิดเห็นต่อการพัฒนาเมือง<br />

นำามาซึ่งโอกาสใหม่ที่หน่วยงานของรัฐและเอกชนจะสามารถสร้างมูลค่า<br />

ทางเศรษฐกิจไปพร้อมกับรวมภาคส่วนต่างๆ เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนา<br />

เมืองที่มีคุณภาพ<br />

วงเสวนาในหัวข้อนี้จึงเริ่มต้นด้วย <strong>City</strong> Co-Creation กรณีศึกษาย่านปทุมวัน<br />

พระโขนง และบางนา โดย ผศ.ดร.นิรมล เสรีสกุล ผู้อำานวยการศูนย์ UDDC<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงความหลาก-<br />

หลายของย่านปทุมวัน ในการพัฒนาพื้นที่นี้จะไร้ประโยชน์ ถ้าขาดการเชื่อม<br />

ต่อกันในการพัฒนา ให้เป็นพื้นที่เมืองเดินได้เดินดี เนื่องจากการเดินเป็นการ<br />

กระจายความมั่งคั่ง ยกตัวอย่างเช่นกรุงปารีส มีร้านค้าย่อยตามถนน ที่มี<br />

จำานวนผู้ค้าสูง เป็นอันดับต้นๆของโลก ถนนและทางเดินที่ดีทำาให้เมืองเกิด<br />

ความเท่าเทียม และเมืองควรมีพื้นที่รองรับผู้คนให้ฟื้นฟูได้ในภาวะวิกฤต<br />

และได้อ้างอิงถึงการศึกษาแนวโน้มของเมืองในอนาคตจาก Baramizi Lab<br />

<strong>2022</strong> มี 3 ประเด็นที่สำาคัญ คือ 1. การเดินทาง-seamless-affordablepredictive<br />

2. สุขภาพ-self-care-preventive 3. การเรียนรู้-life-longupskill-reskill<br />

และได้ยกตัวอย่างถึงประสบการณ์การศึกษาเมือง กรุงเทพฯ<br />

250 ได้มีการกำาหนดกลยุทธ์เมืองเดินได้ และเกิดรูปแบบ co-creation<br />

แบบ 4P Model คือ Public-Private-People-Partnership ทั้งภาครัฐ<br />

ประชาชน เอกชน ร่วมกันเป็นเครือข่ายการพัฒนาเมือง ตลอดจนตัวอย่าง<br />

การพัฒนาพื้นที่พระโขนง บางนา ย่านปทุมวัน ล้วนแต่เป็นการสร้างความ<br />

ร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ ที่หลากหลายในพื้นที่เมือง<br />

9. HUMANITY RESILIENCE<br />

Housing that can withstand or live through floods by<br />

using materials that protect against various disasters and<br />

introducing innovation that anticipates other potential<br />

catastrophic conditions.<br />

10. NEW FRONTIER<br />

Research and development to extend space technology<br />

to solve problems on earth.<br />

Co-Creation <strong>City</strong><br />

Co-Creation is a central theme <strong>of</strong> the <strong>WOW</strong> Forum <strong>2022</strong> and<br />

is one <strong>of</strong> the concepts that shapes the direction <strong>of</strong> urban development.<br />

It provides an opportunity for a variety <strong>of</strong> people in the<br />

city to share their opinions on the city’s development. It brings<br />

new opportunities for the government and private sectors to<br />

create economic value while integrating various sectors as part<br />

<strong>of</strong> quality urban development.<br />

The discussion on this topic began with <strong>City</strong> Co-Creation, a<br />

case study in the Pathum Wan, Phra Khanong, and Bang Na<br />

areas by Asst. Pr<strong>of</strong>. Dr. Niramon Serisakul, Director <strong>of</strong> the<br />

UDDC Center, Faculty <strong>of</strong> Architecture, Chulalongkorn University.<br />

Dr. Niramon discussed the variety <strong>of</strong> the Pathumwan area. Developing<br />

this area is useless if there is a lack <strong>of</strong> connection in<br />

the development <strong>of</strong> a walkable urban area because walking is<br />

the distribution <strong>of</strong> wealth. Paris, for example, is filled with small<br />

shops along the road with a high number <strong>of</strong> traders and is<br />

ranked one <strong>of</strong> the tops in the world. Good roads and walkways<br />

equal cities, and cities should have space to accommodate<br />

people to recover in times <strong>of</strong> crisis. Referring to the study <strong>of</strong><br />

future urban trends from Baramizi Lab <strong>2022</strong>, there are 3 important<br />

issues: 1. Travel: smooth, inexpensive, and predictable.<br />

2. Health: self-care and preventive 3. Learning: lifelong upskilling<br />

and reskilling<br />

An example <strong>of</strong> the experience <strong>of</strong> studying the city <strong>of</strong> Bangkok<br />

250, a walkable city strategy has been established together<br />

with the co-creation <strong>of</strong> the 4P model: public-private-peoplepartnership.<br />

Other good examples <strong>of</strong> the development are Phra-<br />

Khanong, Bang Na, and Pathum Wan, all created by cooperation<br />

from various sectors in the urban area.<br />

Dr. Niramon, Preechaya Nawarat from PNUR Urban Architect,<br />

and Adisak Guntamuanglee, an urban data scientist at the<br />

Faculty <strong>of</strong> Architecture at Chulalongkorn University, have studied<br />

the Pathumwan area. Because the data from the city data center<br />

found that it is a central area for both business sectors and<br />

education and learning, formal and informal, Adisak said this<br />

area is home to 35 medical facilities and various communities<br />

along alleys that still need to be reached. The information and<br />

issues bring new opportunities for quality urban development.<br />

Preechaya proposed development guidelines for the Pathumwan<br />

area by opening, modifying, and fusing diversity.


78<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

ทั้ง ผศ.ดร.นิรมล คุณปรีชญา นวราช จาก PNUR Urban Architect และ<br />

คุณอดิศักดิ์ กันทะเมืองลี้ Urban Data Scientist คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ให้ความสนใจกับย่านปทุมวัน เนื่องจากข้อมูล<br />

จากศูนย์ข้อมูลเมืองพบว่า เป็นพื้นที่ศูนย์กลางทั้งภาคธุรกิจ การศึกษา<br />

เรียนรู้ทั้งในระบบและนอกระบบ คุณอดิศักดิ์กล่าวว่าพื้นที่นี้เป็นแหล่งรวม<br />

สถานที่รักษาพยาบาลถึง 35 แห่ง และมีชุมชนต่างๆ ตามตรอกซอกซอยที่<br />

ยังเข้าถึงได้ยาก ข้อมูลและประเด็นต่างๆ เหล่านี้จะนำามาซึ่งโอกาสใหม่ใน<br />

การพัฒนาเมืองที่มีคุณภาพ ส่วนคุณปรีชญา ได้เสนอแนวทางการพัฒนา<br />

พื้นที่ย่านปทุมวัน จากการเปิด ปรับ เปลี่ยน และหลอมรวมความหลากหลาย<br />

เข้าด้วยกัน ในส่วนสุดท้าย ผศ.ดร.นิรมล ได้สรุปหลักการพัฒนาพื้นที่ไว้<br />

ดังนี้ 1. ทลาย super block 2. เชื่อมโยงพื้นที่ด้านในบล็อก 3. พัฒนาโครง-<br />

ข่ายการเดินทาง 4. เพิ่มพื้นที่สีเขียวสาธารณะ<br />

ในช่วงสุดท้ายเป็นวงเสวนาแลกเปลี่ยนประเด็น Co-Creation <strong>City</strong> ร่วมกัน<br />

ของผู้ร่วมเสวนาจากหลายภาคส่วนนั้น ได้สะท้อนมุมมองของการพัฒนาที่<br />

สำาคัญในหลายประเด็น อันประกอบด้วย<br />

54<br />

ดร.ชวพล จริยาวิโรจน์ ผู้บริหารระดับสูงจาก Huawei Thailand กับมุมมอง<br />

ของ ‘สมาร์ทซิตี้’ กับการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ กับสมองของเมือง ตั้งแต่<br />

สุขภาพระดับบุคคล อุปกรณ์ต่างๆสามารถสื่อสารกันได้เป็นระบบนิเวศ<br />

(ecosystem) ส่งผ่านข้อมูลหากันได้ทั้งหมดเพื่อการบริหารจัดการเมือง ใน<br />

ขณะที่คุณประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต CEO Ananda Development เชื่อว่า<br />

กรุงเทพสามารถพัฒนาเทียบชั้นกับกรุงลอนดอน จากศักยภาพหลากหลาย<br />

เช่น การรักษาพยาบาลชั้นดี การศึกษาระดับโรงเรียนนานาชาติชั้นดี มีผู้คน<br />

ที่จิตใจดี อย่างไรก็ตาม เมืองไทยยังขาดคนในระดับปฏิบัติการเชี่ยวชาญ<br />

(technician) หรืออาชีวะ จึงควรหาแผนพัฒนาร่วมกันกับมหาวิทยาลัย เพื่อ<br />

สร้างคนที่ทำางานเป็นระบบ มีประสิทธิภาพมาพัฒนาเมือง และเห็นว่าพื้นที่<br />

บางนาเป็นที่หมายตาของนักลงทุน และที่อยู่อาศัย พื้นที่บริการ ศูนย์การค้า<br />

ระดับดี เป็นพื้นที่น่าส่งเสริมการพัฒนา โดยมีความเชื่อมั่นว่ากรุงเทพฯ มี<br />

ศักยภาพ และต้องทำาให้กรุงเทพไร้รอยต่อกับปริมณฑลเพื่อการพัฒนาที่<br />

เชื่อมโยง ส่วนคุณสมสกุล แสงสุวรรณ ประธานเจ้าหน้าที่สายงานออกแบบ<br />

ผลิตภัณฑ์ Origin ในฐานะนักพัฒนานั้นมองว่า ‘เมืองน่าอยู่’ นั้นทำ าได้<br />

แน่นอน แต่จะต้องมองประเด็นให้หลากหลาย แต่ละหน่วยงานจะต้องทำางาน<br />

อย่างไรให้เต็มศักยภาพ ขึ้นอยู่กับว่าเมืองน่าอยู่นั้น ถูกตีโจทย์ไว้อย่างไร<br />

55<br />

ผศ.ดร. นิรมล เสรีสกุล ผู้อำานวยการศูนย์การออกแบบและพัฒนาเมือง<br />

UDDC ให้ความเห็นต่อการพัฒนาเมืองที่ผ่านมาว่าอาจจะขาดแค่โอกาส จาก<br />

ประสบการณ์การทำางานของ UDDC หรือเครือข่ายภาคี ที่ได้ร่วมทำางานไม่มี<br />

ที่ไหนที่ปราศจากความกระตือรือร้น ทุกภาคส่วนสนใจที่อยากจะพัฒนา<br />

ขับเคลื่อน และผู้บริหารกรุงเทพมหานครชุดนี้ ก็ได้เปิดโอกาสสร้างแพลต-<br />

ฟอร์มที่มีความหลากหลายในหลายมิติ จึงถือเป็นโอกาสที่ดีที่จะร่วมกัน<br />

พัฒนาเมือง ร่วมกัน ส่วนมุมมองของ รศ.ดร.สิงห์ อินทรชูโต หัวหน้าคณะ<br />

ที่ปรึกษา ศูนย์วิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน (RISC) ได้ให้ความสำ าคัญ<br />

กับ WELL-BEING CITY MEANS FUTURE-READY CITY และมองว่าเมือง<br />

ที่พร้อมสำาหรับอนาคต คือเราต้องรู้ว่า เมืองจะไม่ function ไม่มีสุขภาวะ<br />

(well being) นั้นมาจากเรื่องอะไรบ้าง โดยต้องหา 3 เสาหลักแห่งความ<br />

ยั่งยืนมาดูร่วมกันหลักการพิจารณาเมืองพลวัต (resilience city) เพื่อหา<br />

แนวทางการพัฒนาที่เหมาะกับแต่ละเมือง<br />

56


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

79<br />

In the last part, Dr. Niramon summarized the principles <strong>of</strong> area<br />

development as follows:<br />

1. Breaking the superblock<br />

2. Connecting the area within the block<br />

3. Developing the travel network<br />

4. Adding public green space<br />

57<br />

58<br />

In the group discussion session, participants from various<br />

sectors reflected on the perspectives <strong>of</strong> important developments<br />

in a variety <strong>of</strong> Co-Creation <strong>City</strong> issues, including: Dr. Chawapol<br />

Jariyawiroj, a senior executive from Huawei Thailand, presented<br />

his perspective <strong>of</strong> a ‘smart city’ by connecting various devices<br />

to the city’s brain from the perspective <strong>of</strong> individual health.<br />

Devices can communicate with each other as an ecosystem,<br />

transmitting information to each other for the management <strong>of</strong> the<br />

city. Prasert Taedullayasatit, the CEO <strong>of</strong> Ananda Development,<br />

believed that Bangkok could be developed compared to London,<br />

seeing that Bangkok has various potentials, such as good medical<br />

care, good international school education, and good-hearted<br />

people. Yet Thailand still needs more people at the operational<br />

level, whether experts, technicians, or vocational workers, so it<br />

should find a joint development plan with the university to create<br />

systematic and efficient people to develop the city. He also saw<br />

the Bangna area as a target for investors and housing, a good<br />

shopping center, and a service area. It is an area that should<br />

promote development. Bangkok has good potential and must<br />

make it seamless with its interconnected perimeter for growth.<br />

Somsakul Sangsuwan, Chief Product Origin Property <strong>of</strong> Design<br />

Officer, as a developer, views ‘Living <strong>City</strong>’ as definitely possible<br />

but must look at various issues, like how each agency can work<br />

to reach its full potential. After all, it depends on how we define<br />

the meaning <strong>of</strong> a livable city.<br />

Asst. Pr<strong>of</strong>. Dr. Niramon Seriesakul, director <strong>of</strong> the Center for<br />

Urban Design and Development (UDDC), commented on the<br />

past urban development that may have only lacked opportunities.<br />

From the experience <strong>of</strong> the UDDC or associate network, there<br />

is no place without enthusiasm. All sectors are interested in<br />

developing, driving, and managing. The new administrative team<br />

<strong>of</strong> the Bangkok Metropolitan Administration has already opened<br />

up the opportunity to create a platform that is diverse on many<br />

levels. So this is an excellent opportunity to develop the city<br />

together. According to Assoc. Pr<strong>of</strong>. Dr. Singh Intrachooto, the<br />

head <strong>of</strong> the advisory the Sustainable Research and Innovation<br />

for Sustainability Center (RISC), a well-being city means a futureready<br />

city, and we need to know where the city’s well-being<br />

comes from. To find a suitable development approach for each<br />

city, we must identify the three pillars <strong>of</strong> sustainability and<br />

consider the resilience city principle.<br />

Photo Reference<br />

54-58. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


80<br />

คุณกฤษดา สาธุกิจชัย ผู้ก่อตั้ง Netizen, Trandar and Harmony เสริมว่า<br />

ประเทศไทยมีการพูดคุยเรื่อง Smart <strong>City</strong> กันมาหลายปีแล้ว แต่ยังขาดเพียง<br />

แพลตฟอร์มที่จะมารองรับข้อมูลให้เชื่อมโยงกัน ตลอดจนการ implement<br />

ข้อมูลและเทคโนโลยี ที่จะนำามาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในขณะที่<br />

คุณธีรนันท์ กรศรีทิพา รองกรรมการผู้จัดการ สายงานพัฒนาธุรกิจรีเทล<br />

บริษัท เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) เน้นถึง<br />

smart city คือเมืองที่ตอบโจทย์การใช้ชีวิตคน สังคมผู้สูงอายุในอนาคต<br />

การเดินทาง พื้นที่สาธารณะสำาหรับการใช้งานและการเข้าถึงเศรษฐกิจของ<br />

ชุมชนในพื้นที่ การสร้างระบบนิเวศที่เข้าใจความหลากหลายและมองเห็น<br />

ภาพรวมในทิศทางเดียวกัน<br />

จากประสบการณ์ของบริษัท สยามพิวรรธน์ จำ ากัด คุณนราทิพย์ รัตตประดิษฐ์<br />

ในฐานะรองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสสายงานปฏิบัติการ ได้แลกเปลี่ยน<br />

ถึงกลยุทธ์ในการทำาธุรกิจเรื่อง Co-Creation และ Shared Value ที่ทาง<br />

บริษัทได้ลงมือทำาเพื่อพัฒนาเมืองและชุมชนแวดล้อม ซึ่งทำาให้คนในพื้นที่<br />

ชุมชนได้มีส่วนร่วม และรู้สึกอยากพัฒนา เพื่อให้พื้นที่ชุมชนได้เป็นพื้นที่ที่<br />

น่าอยู่ยิ่งขึ้นได้ และคุณสุณัฏฐา พงษ์เจริญ ผู้อำ านวยการวิจัยด้านการคาด-<br />

การณ์อนาคต FutureTales Labs by MQDC ย้ำาถึงความสำาคัญของการที่<br />

เมืองในอนาคตต้องเริ่มจากคน เพราะคนคือจุดศูนย์กลางของเมือง ดังนั้น<br />

เมืองในอนาคตต้องตอบโจทย์แก่คนที่อยู่อาศัย<br />

ในส่วนช่วงท้ายของวันโดยบุคลากรจากทางภาครัฐ อาทิ คุณศานนท์<br />

หวังสร้างบุญ ในฐานะรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ชี้ถึงประเด็นที่ว่า<br />

จะทำาอย่างไรให้ข้อมูลต่างๆ ได้ถูกนำามาร่วมใช้แก้ปัญหาได้จริง ช่วยลด<br />

ความเหลื่อมล้ำาทางการศึกษา และการเข้าถึงทรัพยากรต่างๆ โดยเป็นเรื่อง<br />

สำาคัญมากที่ Smart <strong>City</strong> ต้อง Smart สำาหรับทุกคน และเข้าถึงได้ทุกคน<br />

ทำาให้ผู้คนรู้สึกรัก รู้สึกเป็นเจ้าของเมือง และมีส่วนร่วม นอกจากนี้<br />

คุณวราวุธ ศิลปะอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยกรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดล้อม ยังเน้นย้ำาอีกด้วยว่า เมืองในอนาคตต้องคิดถึงการวางแผน<br />

เพื่อบรรเทาภัยพิบัติ (Mitigation) และการปรับเปลี่ยน (Adaptation)<br />

โดยยกตัวอย่างการปรับเปลี่ยนวิสัยทัศน์ของสิงคโปร์จาก Garden <strong>City</strong> สู่<br />

<strong>City</strong> in the Garden หรือเมืองในสวน เพื่อยกระดับสู่ความเป็นธรรมชาติ<br />

มากขึ้น กรุงเทพก็ควรต้องตระหนักถึงการสร้างเมืองให้สอดคล้องกับความ<br />

เป็นไปของธรรมชาติ และสรุปถึงความสำาคัญของ Co-Creation คือการ<br />

ทำางานร่วมกันสู่ความเป็นไปได้<br />

ปิดท้ายของเวทีเสวนาในธีม ‘Co-Creation for Future <strong>City</strong>’ คุณชนะ<br />

สัมพลัง ในฐานะนายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึง<br />

กล่าวถึงความสำาคัญของเวทีแลกเปลี่ยนใน <strong>WOW</strong> Forum นี้ว่าเป็นจุดเริ่ม<br />

ต้นที่น่าสนใจมาก เพราะเป็นโอกาสที่หน่วยงานสำาคัญๆ ทั้งภาคเอกชน<br />

และจากกรุงเทพมหานคร รวมถึงทุกๆ ท่านที่มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน<br />

เมือง ได้มาร่วมพูดคุยร่วมเป็น Partners ที่จะมาผลักดันให้เมืองน่าอยู่ขึ้น<br />

ในอนาคต<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Kridsada Satukijchai, founder <strong>of</strong> Netizen, Trandar, and Harmony,<br />

added that Thailand has been talking about smart cities for<br />

years, yet there is a lack <strong>of</strong> a platform to support data integration<br />

and the implementation <strong>of</strong> data and technology to be used<br />

for maximum benefit.<br />

While Teeranan Kornsritipha, Deputy Managing Director Retail<br />

Business Development Division, Frasers Property (Thailand)<br />

PCL, focused on a smart city that meets the needs <strong>of</strong> people’s<br />

lives, a future aging society, travel, public space for use, and<br />

access to the local community economy, It is important to create<br />

an ecosystem that understands diversity and sees the big picture<br />

in the same direction.<br />

From the experience <strong>of</strong> Siam Piwat, Narathip Rattapradit, as<br />

Senior Vice President <strong>of</strong> Operations, exchanged business<br />

strategies on co-creation and shared value. He said the company<br />

has done a lot to develop the city and communities, which<br />

allows people in the community to participate and feel like<br />

participating so that the community area can become a more<br />

livable area. Sunattha Pongcharoen, Director <strong>of</strong> Future Forecast<br />

Research, emphasized the importance <strong>of</strong> starting with people<br />

in the future city because people are the center <strong>of</strong> the city, so<br />

the city <strong>of</strong> the future must meet the needs <strong>of</strong> its dwellers.<br />

At the end <strong>of</strong> the session, there were presentations by government<br />

executives. Sanon Wangsrangboon, Deputy Governor <strong>of</strong><br />

Bangkok, pointed out the issue <strong>of</strong> what to do to provide various<br />

information that has been used together to solve real problems,<br />

help reduce educational inequality, and provide access to resources.<br />

It’s imperative that a smart city be smart for everyone<br />

and accessible to everyone to make people feel loved, feel like<br />

city owners, and participate.<br />

In addition, Varawut Silpa-archa, Minister <strong>of</strong> Natural Resources<br />

and Environment, also emphasized that future cities must concern<br />

with mitigation and adaptation planning. A good example<br />

is Singapore, where it transforms the vision <strong>of</strong> the Garden <strong>City</strong><br />

into the <strong>City</strong> in the Garden to uplift the city and give it a more<br />

natural spirit. In the same vein, Bangkok should be aware <strong>of</strong> the<br />

significance <strong>of</strong> designing a city based on natural possibilities.<br />

He finally spoke about the importance <strong>of</strong> co-creation, which is<br />

working together toward making things possible together.<br />

At the end <strong>of</strong> the ‘Co-Creation for the Future <strong>City</strong>’ forum, Chana<br />

Sumpalung, President <strong>of</strong> the Association <strong>of</strong> Siamese Architects<br />

under Royal Patronage, mentioned the importance <strong>of</strong> the exchange<br />

platform in the <strong>WOW</strong> Forum, which is a fascinating<br />

starting point as it is an opportunity for important agencies, both<br />

private sector and from Bangkok, including everyone involved in<br />

driving the city, to join the conversation as a team. This will push<br />

forward efforts to make the city a better place in the future for all.<br />

Photo Reference<br />

59. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

81<br />

59<br />

“On behalf <strong>of</strong> the Association <strong>of</strong><br />

Siamese Architects, I truly hope<br />

this event will be a stimulus in<br />

terms <strong>of</strong> economy, knowledge <strong>of</strong><br />

what being a good urban citizen is,<br />

and how to combine knowledge<br />

from different organizations to<br />

come together and bring about<br />

integration that will show us<br />

directions <strong>of</strong> development <strong>of</strong> a<br />

livable city in various possible<br />

ways.”<br />

Chana Sumpalung<br />

President, The Association <strong>of</strong> Siamese<br />

Architects under Royal Patronage


82<br />

Enjoy the <strong>City</strong><br />

26 November <strong>2022</strong><br />

ภาพถ่ายภูมิทัศน์เมือง งานกราฟิตี เทศกาลประจำาเมือง ลักษณะทาง<br />

สถาปัตยกรรมของเมือง สิ่งเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งขององคาพยพที่ประกอบ<br />

กันขึ้นมาเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้เมืองมีชีวิต งานเสวนา <strong>WOW</strong> Forum ใน<br />

ธีม ‘Enjoy the <strong>City</strong>’ จึงพาเราไปร่วมสนทนากับกลุ่มคนทำางานจากหลาย<br />

แวดวงถึงความสำาคัญและทิศทางแนวโน้มของศาสตร์ต่างๆ ที่จะช่วยกัน<br />

ขับเคลื่อนสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจให้กับเมืองที่เราอยู่อาศัย<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Photo and <strong>City</strong><br />

เริ่มต้นด้วยเรื่อง ‘Photo and <strong>City</strong>’ การมองเมืองผ่านภาพถ่าย โดยมี<br />

คุณกันตพัฒน์ พฤฒิธรรมกูล เจ้าของเพจ ‘กอล์ฟมาเยือน’ ได้ร่วมแลก<br />

เปลี่ยนในมิติของการเป็นนักถ่ายภาพภูมิทัศน์ของเมือง ก่อนที่จะผันตัวมา<br />

ทำางานด้านการสร้างสรรค์คอนเทนต์ (Content Creator) ที่นำาเสนอเมือง<br />

ผ่านรูปถ่ายภูมิทัศน์ระหว่างความเก่ากับความใหม่ ระหว่างมรดกทาง<br />

ประวัติศาสตร์กับการพัฒนาเมืองเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจและแสดงออก<br />

ผ่านภาพถ่ายเมืองได้ ในขณะที่คุณวีระพล สิงห์น้อย (Beer Singnoi)<br />

เจ้าของเพจถ่ายภาพสถาปัตยกรรม และทำางานถ่ายภาพสถาปัตยกรรม<br />

สมัยใหม่ (Modernism Architecture) ภายใต้เพจ foto_momo ได้นำา<br />

เอาประสบการณ์ในการถ่ายภาพสถาปัตยกรรมมาร่วมแลกเปลี่ยน โดย<br />

คุณวีระพลมองว่าภาพถ่ายเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่ทรงพลังในการสร้าง<br />

ความเข้าใจต่อเมือง เป็นสื่อกลางที่ใช้สื่อสารระหว่างผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง<br />

ในหลายๆ ภาคส่วนได้เป็นอย่างดี แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องพึงระลึกว่า<br />

ภาพถ่ายอาจไม่ใช่ตัวแทนของปัญหาทั้งหมด ส่วนคุณคุณโต้ วิรุนันท์<br />

ชิตเดชะ และคุณตุลย์ หิรัญญลาวัลย์ จากโรงเรียนสังเคราะห์แสง ที่แบ่ง<br />

ปันประสบการณ์ของการจัดหลักสูตรให้กับนักถ่ายภาพ และผู้ที่สนใจ<br />

พัฒนางานถ่ายภาพไปสู่การใช้ภาพถ่ายเป็นหนึ่งในกระบวนการสร้าง<br />

การมีส่วนร่วมให้กับชุมชน ผ่านกิจกรรมภาพถ่ายชุมชนในพื้นที่เมืองเก่า<br />

สงขลา ผ่านมุมมองของช่างภาพและคนในชุมชน และกิจกรรมฟิล์มม้วน<br />

แรกให้กับเด็กๆ ในชุมชนเมืองเก่าระยอง เป็นกิจกรรมที่ใช้การถ่ายภาพ<br />

เป็นเครื่องมือสร้างความเข้าใจต่อชุมชน<br />

61<br />

60<br />

62


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

83<br />

Urban landscape photography, graffiti, festive events, and<br />

architectural features <strong>of</strong> the city are all part <strong>of</strong> the urban<br />

fabrics that make up the city’s life. ‘Enjoy the <strong>City</strong>’ the theme<br />

<strong>of</strong> <strong>WOW</strong> Forum, brings up a discussion with pr<strong>of</strong>essionals<br />

and people from various circles about their importance and<br />

direction, and trends in various sciences that will help drive<br />

society, culture, and economy for the city we live.<br />

63<br />

Photo and <strong>City</strong><br />

The Forum started with the story ‘Photo and <strong>City</strong>’, looking<br />

at the city through photographs. Kattapat Golf Phutthamkul,<br />

shared his experience as an urban landscape photographer<br />

before turning to a content creator, presenting the city through<br />

landscape photographs <strong>of</strong> the old and the new, the old historical<br />

heritage and new urban development and express it through<br />

urban photography.<br />

While Beer Singnoi, the architecture photographer who works<br />

on modern architecture photography under the foto_momo<br />

page, brings his experiences in architectural photography to<br />

share. Beer sees photography as one <strong>of</strong> the most powerful tools<br />

for understanding the city, a medium to communicate between<br />

people involved in many areas. Yet, according to Beer, we must<br />

remember that photos may be one <strong>of</strong> many tools to present the<br />

whole problem.<br />

64<br />

Toh Virunan Chiddaycha and Tul Hiranyalawan from the School<br />

<strong>of</strong> Photographic Arts share their experience <strong>of</strong> organizing courses<br />

with photographers and those interested in developing the photography<br />

to use as one <strong>of</strong> the processes to create participation<br />

for the community. Some <strong>of</strong> their works are community photo<br />

activities in the old city <strong>of</strong> Songkhla through the perspectives<br />

<strong>of</strong> photographers and people in the community, and the first<br />

film roll for children project in the old town Rayong, which is an<br />

activity using photography as a tool to create understanding for<br />

the community.<br />

Baan Yue Dee<br />

‘<strong>Well</strong>-being house solution- Baan Yue Dee’ was presented by<br />

Wutthipon Meesamart, who introduced a paint technology<br />

that protects volatile organic compounds from the growth <strong>of</strong><br />

fungi, bacteria, and viruses through interior paints from TOA.<br />

This paint product material developed from a bio-based<br />

product is one <strong>of</strong> the new interior paint innovations that TOA<br />

has developed recently.<br />

65<br />

Photo Reference<br />

60-65. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


84<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Baan Yue Dee<br />

‘<strong>Well</strong>-being house solution- บ้านอยู่ดี’ โดยคุณวุฒิพงษ์ มีสมรรถ<br />

ได้นำาเสนอเทคโนโลยีสีที่ปกป้องสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile<br />

organic compound) การเติบโตของเชื้อรา แบคทีเรีย และไวรัสผ่าน<br />

นวัตกรรมสีทาอาคารภายในจาก TOA ที่ใช้วัสดุชีวภาพ (Bio-based<br />

product) เป็นหลัก ได้อธิบายถึงคุณสมบัติเด่นของนวัตกรรมสีทาภายใน<br />

ใหม่ที่ทาง TOA ได้พัฒนาขึ้น<br />

Graffiti<br />

ส่วนในการเสวนาเรื่อง ‘Graffiti’ คุณณกรณ์ สุภาเกตุ (Nagon Foolfame)<br />

สนทนาถึงเสน่ห์ของงานศิลปะกราฟิตีที่มีต่อเมือง โดยยกตัวอย่างของพื้นที่<br />

งานสตรีทอาร์ต (Street Art) ในเชียงใหม่ ซึ่งเกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์<br />

ของศิลปินท้องถิ่น ซึ่งนอกจากความสวยงามแล้วคุณค่าของงานกราฟิตีต่อ<br />

การพัฒนาคุณภาพของเมือง ผ่านการตั้งคำาถามที่คมคาย ชวนให้ผู้ชม<br />

ที่เดินผ่านได้ขบคิดต่อปัญหาเชิงโครงสร้างของสังคม กลายเป็นหนึ่งใน<br />

เอกลักษณ์ของศิลปะกราฟิตีที่มอบให้กับเมือง คุณวิทยา เอมาวัฒน์ เสริม<br />

ว่าคุณค่าของงานกราฟิตีที่เหมาะสมจะช่วยพัฒนาพื้นที่รกร้างของเมือง<br />

(Brownfield land) เพราะศิลปะประเภทนี้อยู่กับพื้นที่สาธารณะไม่เก็บค่าชม<br />

เป็นงานศิลปะที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด โดยหยิบยกกรณีศึกษาที่<br />

เยอรมนี งานกราฟิตีบนกำาแพงเบอร์ลิน ที่งานศิลปะกราฟิตีได้กลายเป็น<br />

ส่วนหนึ่งของมรดกทางประวัติศาสตร์โลก ขณะที่คุณหฤษฎ์ ธรรมประชา<br />

(Infinite riot) กล่าวเสริมถึงการใช้กราฟิตีเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ<br />

เมืองและอนุรักษ์มรดกทางสถาปัตยกรรมของเมือง ผ่านกรณีศึกษา หมู่บ้าน<br />

สายรุ้ง (Rainbow Village) ที่ประเทศไต้หวัน ซึ่งศิลปะประเภทนี้สามารถ<br />

รักษาหมู่บ้านจากการถูกรื้อถอน และเปลี่ยนโฉมหมู่บ้านท้องถิ่นให้กลาย<br />

เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สร้างรายได้ขึ้นมา<br />

Travel<br />

ในหัวข้อเกี่ยวกับ ‘Travel’ นั้น คุณพลอยไพลิน ตั้งประภาพร (Pigkaploy)<br />

เล่าถึงแรงบันดาลใจของการเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ ทั่วโลก โดยอาศัย<br />

สื่อสังคมออนไลน์เป็นเครื่องมือในการสร้างความเข้าใจระหว่างกัน สร้าง<br />

ความเคารพวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียม ผ่านการศึกษาเรียนรู้ด้วย<br />

การท่องเที่ยว เช่นเดียวกับคุณวรฉัตร ธำารงวรางกูร (เฉียง ไปอยู่ไหนมา)<br />

ที่เล่าเรื่องราวระหว่างการเดินทาง พบกับประสบการณ์แปลกใหม่ จาก<br />

การเดินทาง ซึ่งพบว่าเราดำารงอยู่ในยุคสมัยที่การเดินทางท่องเที่ยวเกิดขึ้น<br />

ได้ง่ายและสะดวกมากขึ้น ส่งผลโดยตรงต่อประสบการณ์ของนักเดินทาง<br />

และสะท้อนกลับมายังเมืองที่เราอาศัยอยู่ ในขณะที่คุณยลภัทร รุจิธรรมกุล<br />

(Airchitect) ผู้ถ่ายทอดเอกลักษณ์ของเมืองผ่านเส้นสายสถาปัตย์ ที่มอง<br />

ว่าการเข้าใจบริบทของเมือง องค์ประกอบของเมือง รูปแบบทางสถาปัตย-<br />

กรรม จะเกิดขึ้นได้จากการพินิจ พิจารณา จากการเดินเท้าในเมือง ใช้ระบบ<br />

ขนส่งมวลชนสาธารณะ จะช่วยสร้างความเข้าใจต่อเมืองที่ไม่ใช่เพียงแค่<br />

ผิวเผิน<br />

Graffiti<br />

In the session on ‘Graffiti’, Nagon Supagate (Nagon Foolfame)<br />

talked about the charm <strong>of</strong> graffiti art in the city. He gave an<br />

example <strong>of</strong> local artists creating a street art space in Chiang-<br />

Mai. Apart from the aesthetic, the value <strong>of</strong> the work to the development<br />

<strong>of</strong> the city’s quality through witty questioning invites<br />

viewers to think about the structural problems <strong>of</strong> society. It has<br />

become one <strong>of</strong> the signatures <strong>of</strong> graffiti art given to the city.<br />

Witthaya Emawat added that the value <strong>of</strong> the exemplary graffiti<br />

work would help develop the urban wasteland (Brownfield land)<br />

since graffiti art is in public space and does not collect fees.<br />

It is a work <strong>of</strong> art that is closest to the people. He brought up a<br />

case study in German graffiti on the Berlin Wall, where graffiti<br />

art has become part <strong>of</strong> the world’s historical heritage. The last<br />

speaker <strong>of</strong> the session, Harid Thamapacha (Infinite riot), added<br />

that graffiti could drive the city’s economy and preserve the<br />

city’s architectural heritage, as in the case <strong>of</strong> Rainbow Village<br />

in Taiwan. Graffiti art has helped save the village from being<br />

demolished and eventually transformed a local town into a<br />

tourist destination that generates income for the community.<br />

Travel<br />

Ploypailin Thangprabhaporn (Pigkaploy) shared with audiences<br />

the inspiration <strong>of</strong> traveling to different places around the world,<br />

relying on social media as a tool to create mutual understanding,<br />

as well as to culminate respect for culture and customs through<br />

education. Worachat Cheang Thamrongwarangkura told the<br />

stories <strong>of</strong> his journey, where he gained new experiences from<br />

travel. He found that we live in an era where traveling is much<br />

easier and more convenient, a nd it directly affects the traveler’s<br />

experience and reflects the city in which we live. While Yolaphat<br />

Rujithamkul (Airchitect), who conveys the identity <strong>of</strong> the city<br />

through his line drawings <strong>of</strong> architecture, said that understanding<br />

the context <strong>of</strong> the city, architecture in the city, and urban fabrics<br />

can be possible from the consideration <strong>of</strong> walking in the city, or<br />

the use <strong>of</strong> public transport will help create a deeper understanding<br />

<strong>of</strong> the city, not just superficial.<br />

Design the Future<br />

‘Design the Future’ is a discussion session on the new solutions<br />

to facade design. It aims towards new directions and guidelines<br />

for designing for the future. Phaithaya Banchakitikun, the managing<br />

director and partner <strong>of</strong> Atom Design, views user empathy as<br />

crucial as environmental concerns. From his experience designing<br />

the building envelope, he opted for an attractive design and<br />

pattern, easy and quick to build, and mainly using flexible, reusable<br />

materials. The architect likes to explore new materials such<br />

as aluminum composite. While Ploy Harisadhi Leelayuwapan, the<br />

co-founder <strong>of</strong> PHTAA Living Design, came up with a presentation,<br />

‘Living with Pattern’, where the studio widely experiments with<br />

the design <strong>of</strong> building envelopes concerning a relationship with<br />

the context <strong>of</strong> the city. These patterns <strong>of</strong> the building envelope can<br />

be developed flexibly from the project owner’s story, for example,<br />

whether it is for a tailor shop or hotels in the city center.


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

85<br />

67<br />

68<br />

69 70<br />

72<br />

71<br />

Photo Reference<br />

67-72. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


86<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Design the Future<br />

‘Design the future’ อีกช่วงเสวนาเพื่อร่วมกันหาแนวทางการออกแบบ<br />

เปลือกอาคาร (Facade Design) ต่อทิศทางและแนวทางใหม่ในการออกแบบ<br />

เพื่ออนาคต โดยคุณปอย ไพทยา บัญชากิติคุณ (Managing director and<br />

partner atom design) มองว่าการคำานึงถึงผู้ใช้สอยสถาปัตยกรรม (User<br />

Empathy) เป็นสิ่งที่สำาคัญควบคู่ไปกับการคำานึงถึงระบบนิเวศวิทยา ซึ่งจาก<br />

ประสบการณ์การออกแบบเปลือกอาคาร ผู้ออกแบบเลือกใช้การออกแบบ<br />

แบบแผน (pattern) ที่ดึงดูดไปพร้อมกับการสร้างง่าย สร้างได้เร็ว และใช้<br />

วัสดุที่มีความยืดหยุ่นสามารถนำามาใช้ใหม่ได้ โดยผู้ออกแบบเลือกใช้วัสดุ<br />

รูปแบบใหม่เช่น อลูมิเนียมคอมโพสิต (Aluminum Composite) ในขณะที่<br />

คุณพลอย หฤษฎี ลีละยุวพันธ์ (Co-founder PHTAA living design) มา<br />

แลกเปลี่ยนภายใต้ชื่อ ‘Living with pattern’ ที่ใช้งานเชิงทดลองในการ<br />

ออกแบบเปลือกอาคารให้มีความสัมพันธ์ต่อบริบทโดยรอบของเมือง ซึ่ง<br />

รูปแบบสามารถพัฒนาได้จากเรื่องราวของผลิตภัณฑ์ของเจ้าของโครงการ<br />

ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบเปลือกอาคารสำาหรับร้านตัดสูท หรือโรงแรม<br />

กลางใจเมือง<br />

Entertainment & <strong>City</strong> Light<br />

ในช่วงเสวนาสุดท้ายของวัน ‘Entertainment & city light’ โดยคุณพงศ์สิริ<br />

เหตระกูล จาก Timeout เล่าถึงการจัดกิจกรรมที่ช่วยให้เกิดความสนุก<br />

ขึ้นในเมือง ที่จะนำามาซึ่งการหลั่งใหลของผู้คนจากทั่วทุกสารทิศ เพื่อขับ<br />

เคลื่อนเศรษฐกิจ โดยยกกรณีศึกษา เช่น การจัดกิจกรรม Vivid city ที่<br />

เมือง Sydney กิจกรรม South by Southwest ที่เมือง Austin รัฐ Texas<br />

และงาน Awakening Bangkok ที่กรุงเทพฯ ที่ชี้ให้เห็นว่าการจัดเทศกาล<br />

เมือง เวทีสำาหรับจัดงานศิลปะและการออกแบบแสงสีขึ้นในเมือง เป็นหนึ่ง<br />

ในเครื่องมือที่ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจขึ้นได้ ซึ่งปรากฏการณ์นี้เป็นแม่<br />

เหล็กดึงดูดคนให้เข้ามามีส่วนร่วมโดยอาศัยมรดกทางวัฒนธรรมทางย่าน<br />

เป็นพื้นฐาน<br />

73<br />

เมืองยังมีมิติของความสลับซับซ้อนที่เกี่ยวโยงสัมพันธ์ต่อกันในหลายระดับ<br />

ความมีชีวิตชีวาที่เกิดขึ้นมาจากผลผลิตทางวัฒนธรรมจากยุคสมัยของเรา<br />

เปรียบได้กับลมหายใจที่เกื้อหนุนให้เมืองมีชีวิต จิตใจ มีความรู้สึก ไม่ได้<br />

เป็นแต่เพียงการดำารงอยู่ของลักษณะทางกายภาพ แต่คือเวทีที่อนุญาตให้<br />

เกิดบทสนทนาแห่งความแตกต่างหลากหลาย และสิ่งนี้คือความสนุกของ<br />

เสรีภาพที่เกิดขึ้นภายใต้เมืองของเรา<br />

74<br />

76<br />

Photo Reference<br />

73-78. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

87<br />

“The challenge is having Wow and<br />

<strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> together in the same<br />

place. Development and improvement<br />

<strong>of</strong> the original tobacco factory<br />

to be this Queen Sirikit Convention<br />

Center, to be the Benjakitti Forest<br />

Park, is a good example <strong>of</strong> the<br />

balance <strong>of</strong> both the Wow and <strong>Well</strong>-<br />

<strong>Being</strong> as one - to be an inspiration<br />

for everyone and hopes for the people<br />

about the direction <strong>of</strong> our city’s<br />

development.”<br />

Korn Chatikavanich<br />

Former Minister <strong>of</strong> Finance<br />

Entertainment & <strong>City</strong> Light<br />

In the last talk <strong>of</strong> the day, ‘Entertainment & <strong>City</strong> Light’, Pongsiri<br />

Hetrakul from Timeout explains events and activities that help<br />

make the city more fun and bring a good mass <strong>of</strong> crowds from<br />

all areas to drive the city economy. Such famous case studies<br />

are the Vivid <strong>City</strong> event in Sydney, the South by Southwest event<br />

in Austin, Texas, and the Awakening Bangkok event in Bangkok.<br />

These events indicate that the city festival, stage for art, and<br />

lighting design in the city are some <strong>of</strong> the tools that can drive<br />

the economy. This phenomenon is a magnet to attract people to<br />

participate based on the cultural heritage <strong>of</strong> the neighborhood.<br />

78<br />

Cities also have complex dimensions that are interrelated at<br />

many levels. The liveliness produced by these cultural products<br />

<strong>of</strong> our time is like the breath that keeps the city alive, mentally<br />

and emotionally, not merely the existence <strong>of</strong> its physical characteristics.<br />

It is a platform that allows dialogue <strong>of</strong> diversity. It is<br />

nothing but the joy <strong>of</strong> freedom that takes place in our city.


88<br />

Into the Future<br />

27 November <strong>2022</strong><br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

<strong>WOW</strong> Forum ในธีม ‘Into the Future’ ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2565<br />

ชวนเราตั้งคำาถามต่อบทบาท หน้าที่ และประสบการณ์จากการดำาเนินการ<br />

ในหัวข้อที่สำาคัญต่อการขับเคลื่อนเมือง เช่น ต้นไม้ในเมือง ระบบขนส่ง<br />

ภายในเมือง การศึกษาของพลเมือง และบทบาทของสำานักงานเศรษฐกิจ<br />

สร้างสรรค์ ถึงสถานการณ์ ทิศทาง และแนวโน้มของเมืองในปัจจุบัน รวม<br />

ถึงวิสัยทัศน์ของสิ่งที่จะเกิดในอนาคต<br />

การเสวนาเริ่มต้นด้วย ‘Trees in the city’ โดย ผศ.ดร.พรเทพ เหมือนพงษ์<br />

อาจารย์ประจำาภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตร-<br />

ศาสตร์ ที่ชี้ให้เห็นถึงความสำ าคัญของต้นไม้ในฐานะองค์ประกอบหนึ่งของเมือง<br />

และการปลูกต้นไม้ในเมืองเป็นเรื่องของการวางแผนล่วงหน้า โดยหยิบยก<br />

เอากรณีศึกษาการดูแลต้นไม้จากที่ต่างๆ ทั่วโลกที่มีประสบการณ์ รวมถึง<br />

กระบวนการดูแลรักษาต้นไม้ทั้งในมิติกายภาพและในเชิงสังคมผ่านการอบรม<br />

รุกขกรในระดับนานาชาติ ในขณะที่คุณสันติ โอภาสปกรณ์กิจ ผู้แทนเครือข่าย<br />

ต้นไม้ในเมือง BIG Trees ได้เล่าถึงที่มาการก่อตั้งสมาคมรุกขกรรมไทย และ<br />

กระบวนการการฝึกอบรมรุกขกร เพื่อสร้างบุคคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจใน<br />

การดูแลรักษาต้นไม้ ตามคำาแนะนำาของผู้เชี่ยวชาญด้านต้นไม้จากต่างประเทศ<br />

และการขับเคลื่อนให้การดูแลต้นไม้เป็นวาระที่สำ าคัญ ส่วนคุณปาจริยา มหา-<br />

กาญจนะ ผู้แทนจากกรุงเทพมหานคร ปิดท้ายการเสวนาในประเด็นนี้ด้วย<br />

นโยบายปลูกต้นไม้ล้านต้น และนโยบายรุกขกรประจำ าเขตในปัจจุบัน ที่จำาเป็น<br />

ต้องมีการปลูกต้นไม้อย่างมียุทธศาสตร์ มีการติดตามผลประเภทของต้นไม้<br />

ที่ปลูกผ่านการกำาหนดพิกัด และมีการจัดทำาคู่มือปลูกต้นไม้ที่ทำ าร่วมกับภาคี<br />

เครือข่าย<br />

79<br />

ในหัวข้อ ‘Creativity in the city’ คุณพิชิต วีรังคบุตร จาก CEA (Creative<br />

Economy Agency) นำาเสนอถึงบทบาทของสำานักงานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ใน<br />

การดำาเนินการ เพื่อขับเคลื่อนแนวนโยบายที่ภาครัฐต้องการกระตุ้นกิจกรรม<br />

ของย่านโดยอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นภาคีภาประชา-<br />

สังคม ภาควิชาการ ภาคเอกชน และชุมชนท้องถิ่น ในการใช้กิจกรรมสร้าง-<br />

สรรค์เป็นตัวนำาร่องให้เกิดการกระตุ้นกิจกรรมในพื้นที่ ซึ่งกิจกรรมที่เกิด<br />

ขึ้นมาจำาเป็นจะต้องให้ความสำาคัญต่อคนเป็นอันดับแรก เนื่องจากทรัพยากร<br />

มนุษย์เป็นหัวใจสำาคัญของการพัฒนาเมือง ในจุดนี้ความคิดสร้างสรรค์จึงเป็น<br />

สื่อกลางในการเชื่อมโยงคน เข้ากับพื้นที่และสินทรัพย์ ในด้านการดำ าเนินการ<br />

สำานักงานเศรษฐกิจสร้างสรรค์จัดทำาฐานข้อมูล (Database) เพื่อใช้เก็บข้อมูล<br />

ในการศึกษาความเปลี่ยนแปลงเชิงสถิติ เพื่อทราบผลของดัชนีชี้วัดที่ เกิดขึ้น<br />

หลังการดำาเนินกิจกรรม โดยพื้นที่นำาร่องที่สำานักงานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ได้<br />

จัดทำากิจกรรม คือ พื้นที่ย่านเจริญกรุง ที่ใกล้กับที่ตั้งของ านักงาน สำ (อาคาร<br />

ไปรษณีย์กลางบางรัก) หรือกิจกรรมที่สร้างความพยายามทดลอง (Sandbox<br />

project) ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบป้ายรถเมล์ โครงการตลาดน้อย โครงการ<br />

Bangkok Design Week ในพื้นที่ทองหล่อ-เอกมัย เขตพระนคร ฯลฯ ท้ายที่สุด<br />

แล้วกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์เมืองล้วนเป็นงานเชิงทดลองที่มี<br />

ลักษณะเฉพาะตัวตามบริบทแวดล้อมที่แปรเปลี่ยนไป แต่จำาเป็นต้องได้รับ<br />

การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาต่อยอดการทดลองสร้างสรรค์นั้น<br />

81<br />

80


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

89<br />

The <strong>WOW</strong> Forum themed ‘Into the Future’ on November 27, <strong>2022</strong>,<br />

invited audiences to question the roles, responsibilities, and experiences<br />

<strong>of</strong> city dwellers, reflecting on topics that are vital to<br />

driving the city, such as urban trees, urban transport system civic<br />

education and the roles <strong>of</strong> the Creative Economy Agency about<br />

the current situation, direction and trend <strong>of</strong> the city, including a<br />

vision <strong>of</strong> what will happen in the future.<br />

82<br />

The discussion started with ‘Trees in the <strong>City</strong>’ by Asst. Pr<strong>of</strong>. Dr.<br />

Pornthep Meunpong, lecturer at the Department <strong>of</strong> Forestry,<br />

Faculty <strong>of</strong> Forestry, Kasetsart University, points to the importance<br />

<strong>of</strong> trees as an element <strong>of</strong> the city and that planting trees in cities is<br />

a matter <strong>of</strong> planning. The speaker also picked up several interesting<br />

case studies <strong>of</strong> tree care worldwide, with experiences including<br />

preserving trees in physical and social dimensions through<br />

international arborist training. Santi Opaspakornkij from the BIG<br />

Trees urban tree network talked about the origin <strong>of</strong> the Thai Arboretum<br />

Association and arborist training process to create personnel<br />

with knowledge and understanding <strong>of</strong> tree preservation<br />

according to the advice <strong>of</strong> tree experts from abroad and the drive<br />

to make tree care a critical agenda. Pajariya Mahakanjana, the<br />

representative from Bangkok Metropolitan Authority, ended the<br />

discussion on this issue with a million tree planting policies and<br />

current local arborist policies requiring strategic tree planting.<br />

The types <strong>of</strong> trees planted are tracked through the determination<br />

<strong>of</strong> coordinates, and there is a guide to growing trees made in<br />

collaboration with network partners.<br />

83<br />

Photo Reference<br />

79-84. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage<br />

84<br />

On the topic <strong>of</strong> “Creativity in the <strong>City</strong>”, Pichit Virankabutra from<br />

CEA (Creative Economy Agency) presented the role <strong>of</strong> the Creative<br />

Economy Agency in operation to drive the policy that the government<br />

wants to stimulate the district’s activities through the cooperation<br />

<strong>of</strong> network partners whether it is a civil society partner,<br />

academic sector, private sector, and local communities. Using<br />

creative activities as a pilot to stimulate activities in the area needs<br />

to give importance to people as the topmost priority. Because,<br />

after all, human resources are the heart <strong>of</strong> urban development. At<br />

this point, creativity is a medium for connecting people to the area<br />

and assets in terms <strong>of</strong> operations. CEA has created a database<br />

to collect data for statistical change studies to know the results<br />

<strong>of</strong> the indicators that occur after the activity. The pilot area that<br />

the CEA has so far organized activities is Charoen Krung which<br />

is close to the location <strong>of</strong> the CEA <strong>of</strong>fice (Bang Rak Grand Postal<br />

Building) or activities that create experimental efforts (Sandbox<br />

project), whether it is the design <strong>of</strong> a bus stop, Talat Noi Project,<br />

Bangkok Design Week Project in Thonglor-Ekkamai area, Phra<br />

Nakhon District, etc. Ultimately, all urbanization-related activities<br />

are experimental works that are unique following changing contexts.<br />

But it also needs to be measured and evaluated to develop<br />

further that creative experiment.


90<br />

‘Education for better city’ เป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของวิทยากร<br />

ด้านการศึกษาจากภาคส่วนอื่นๆ นอกเหนือจากภาครัฐ อาทิ คุณคริสติยา<br />

เจียรวัติวงศ์ และ คุณนภัส ชิ้นศิริกุล จาก Saturday school องค์กรที่มุ่งส่ง<br />

เสริมการศึกษานอกห้องเรียนให้กับนักเรียน และบุคคลากรทางการศึกษา<br />

โดยพัฒนาผ่านการจัดกิจกรรมที่น่าดึงดูด และเป็นเวทีให้กับการแลกเปลี่ยน<br />

ระหว่างพี่เลี้ยง นักเรียน และครูที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม คุณชลิพา ดุลยากร<br />

จาก Inskru ร่วมแลกเปลี่ยนถึงปัญหาของการเรียนการสอน ที่มุ่งสร้างแรง-<br />

บันดาลใจให้กับครูที่อยู่ในระบบการศึกษาซึ่งมีภาระงานมากกว่าการสอน<br />

ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการสอนนักเรียน โดย Inskru เป็นแพลทฟอร์ม<br />

ชุมชนกลางในการแบ่งปันไอเดียการสอน ในส่วนของคุณชยพร ตันติสุขารมย์<br />

จาก Skooldio เป็นภาคเอกชนที่มุ่งสร้างกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต<br />

(Live-long learning) ตามความสนใจ ในแขนงต่างๆ เช่น ความรู้ทาง<br />

ด้านการเงิน การเขียนโปรแกรม การออกแบบ การวิเคราะห์ข้อมูล การ<br />

พัฒนาแพลทฟอร์มให้กับโรงเรียน เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ผ่านทักษะที่<br />

จำาเป็นนอกเหนือจากการศึกษาในระบบ เมื่อมองในมิติของเมืองแล้วจะพบ<br />

ว่าด้วยเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การพัฒนาทักษะที่จำาเป็น<br />

ในโลกดิจิตอลเป็นสิ่งที่มีความสำาคัญในการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ที่อาศัย<br />

อยู่ในเมือง ภาคส่วนเอกชนที่มาร่วมเสวนาในช่วงนี้เป็นส่วนหนึ่งของการ<br />

เติมเต็มช่องว่างให้กับกลไกของการพัฒนาทักษะของคนภายในเมือง<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

‘Education for a Better <strong>City</strong>” is an exchange <strong>of</strong> experiences <strong>of</strong><br />

educational speakers from other sectors in addition to the government<br />

one. Guest speakers are Kristiya Jiarawattiwong and Napas<br />

Chinsirikul from Saturday School Foundation. This organization<br />

aims to promote education outside the classroom for students and<br />

educational personnel developed through engaging activities and<br />

a platform for exchanges between mentors, students, and teachers<br />

interested in participating in the activity. Chalipa Dulyakorn from<br />

Inskru, a central community platform for sharing teaching ideas,<br />

shared the problems <strong>of</strong> teaching and learning, aimed to inspire<br />

teachers in the education system whose workload beyond teaching<br />

affects the effectiveness <strong>of</strong> their routine teaching jobs. While Chayaporn<br />

Tantisukarom from Skooldio, a private sector that aims to<br />

create a process <strong>of</strong> Live-long learning based on interests in various<br />

fields such as financial knowledge, programming, design, data<br />

analysis, school platform development, to develop human resources<br />

through necessary skills beyond formal education. When looking at<br />

the multi layers <strong>of</strong> the city, one will find that technology is changing<br />

rapidly. Developing the skills needed in the digital world is thus<br />

essential in developing the human potential <strong>of</strong> city dwellers. The private<br />

sectors participating in this session are part <strong>of</strong> filling the gaps<br />

in the skills development mechanism <strong>of</strong> those who live in the city.<br />

ในหัวข้อการเสวนาสุดท้ายคือเรื่อง ‘Mobility in the city’ ดร.กฤษดา<br />

กฤตยากีรณ CEO (founder team) MuvMi มาร่วมแลกเปลี่ยนในเรื่อง<br />

การสัญจรระยะสั้น (Micro Transit) เนื่องจากข้อจำากัดของการขนส่ง<br />

มวลชนในเมืองใหญ่ที่การเดินทางมีรอยต่อระหว่างที่พักอาศัยกับสถานี<br />

ขนส่งมวลชนส่งผลให้ผู้โดยสารจำาเป็นต้องใช้การสัญจรระยะสั้นเป็นตัวจ่าย<br />

เข้าสู่ระบบ (Feeder system) MuvMi จึงออกแบบรถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าที่เป็นมิตร<br />

ต่อสิ่งแวดล้อม ออกแบบซอฟแวร์ สำาหรับแอพพลิเคชั่นในการโดยสาร<br />

ร่วมกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดขึ้นมา ในขณะที่คุณ Taty Azman Head<br />

<strong>of</strong> government & public affairs (Malaysia, Thailand) BEAM บริษัท<br />

ผู้ให้บริการการสัญจรระยะสั้น ด้วยรูปแบบสกู๊ตเตอร์ไฟฟ้า จักรยานยนต์-<br />

ไฟฟ้า และจักรยานไฟฟ้า ก่อตั้งในสหรัฐอเมริกา มีสำ านักงานใหญ่ที่สิงคโปร์<br />

และดำาเนินกิจการในประเทศแถบเอเชียแปซิฟิก ซึ่งในไทยบริษัท BEAM ได้<br />

เริ่มดำาเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2564 ในภูเก็ต เชียงใหม่ และกรุงเทพฯ (โดย<br />

นำาร่องในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า<br />

เจ้าคุณทหารลาดกระบัง) ด้วยลักษณะเด่นของการเดินทางด้วยสกู๊ตเตอร์<br />

ไฟฟ้า หรือจักรยานยนต์ไฟฟ้าที่เหมาะสมต่อเมืองขนาดใหญ่ที่มีลักษณะ<br />

‘ซูเปอร์บล็อก’ (Superblocks) ระบบถนนไม่สัมพันธ์กับระบบขนส่งมวลชน<br />

ทางรางที่เกิดขึ้นใหม่ มีซอยตันจำ านวนมาก ทำาให้ธุรกิจการพัฒนาการสัญจร<br />

ระยะสั้นเป็นหนี่งในนวัตกรรมของการสัญจรยุคใหม่ ที่กำาลังเติบโตขึ้นและ<br />

ตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ในขณะเดียวกันการพัฒนาเทคโนโลยี<br />

ทั้งในด้านกายภาพ และด้านซอฟแวร์ได้ช่วยส่งเสริมให้นวัตกรรมการขนส่งนี้<br />

เป็นที่น่าจับตามอง เพื่อเติมเต็มข้อจำากัดที่ท้าทายไปพร้อมกับการพัฒนา<br />

คุณภาพชีวิตของคนภายในเมืองไปพร้อมกัน<br />

เมืองแห่งศตวรรษต่อไปจะขับเคลื่อนไปด้วยฐานของการใช้ความคิดสร้าง-<br />

สรรค์ การทดลองเรียนรู้ การเปิดโอกาสให้เกิดความเป็นไปได้ใหม่ๆ ภายใต้<br />

สภาพแวดล้อมที่เกื้อหนุนให้บุคคลากรในเมืองเติบโตอย่างยั่งยืน ก้าวย่าง<br />

ต่อไปของเมืองจึงเป็นสิ่งที่น่าจับตามองต่อพัฒนาการของการเติบโตซึ่งย่อม<br />

ต้องเผชิญกับความท้าทายและอุปสรรคใหม่ๆ ที่เราไม่เคยประสบมาก่อน<br />

The last topic <strong>of</strong> discussion on 27 January was ‘Mobility in the <strong>City</strong>’.<br />

Dr. Krisada Kritayakirana, CEO (founder team) <strong>of</strong> MuvMi joined to<br />

share some ideas on short-distance traffic (Micro Transit). Due to<br />

the limitations <strong>of</strong> mass transit in big cities where there is a connection<br />

between the residence and the mass transit station, resulting<br />

in passengers needing to use short-distance traffic as a payer into<br />

the system (Feeder system). MuvMi has designed an environmentally<br />

friendly electric tuk tuk and a s<strong>of</strong>tware design for applications<br />

in passenger sharing to achieve maximum efficiency. The next<br />

speaker, Taty Azman, Head <strong>of</strong> Government & Public Affairs (Malaysia,<br />

Thailand) <strong>of</strong> short-distance travel company BEAM, presented<br />

the electric scooter model electric moped and electric bike. Founded<br />

in the United States with a Singapore headquarters and operates<br />

in Asia-Pacific countries, including Thailand, BEAM has been<br />

operating since 2021 in Phuket, Chiang Mai, and Bangkok (with a<br />

pilot at Chulalongkorn University and King Mongkut’s Institute <strong>of</strong><br />

Technology Ladkrabang). BEAM sees traveling with an electric<br />

scooter or an electric motorcycle as suitable for a large city with<br />

characteristics <strong>of</strong> ‘Superblocks’ where the road system is not quite<br />

in line with the emerging mass transit system and there are many<br />

dead-end alleys. This makes the short-distance mobility development<br />

business one <strong>of</strong> the innovations <strong>of</strong> modern mobility that is<br />

growing and responding to market demands. At the same time, the<br />

development <strong>of</strong> technology in both the physical and s<strong>of</strong>tware has<br />

helped to promote this transportation innovation one to watch as a<br />

tool to fulfill challenging limitations while improving the quality <strong>of</strong><br />

life <strong>of</strong> the city residents at the same time.<br />

Undoubtedly, the city <strong>of</strong> the next century will be driven by a platform<br />

<strong>of</strong> creativity and learning experiments, opening up new possibilities<br />

in an environment that supports city dwellers to grow sustainably.<br />

Therefore, the next step for the city is an eye-opening growth development<br />

that will come along with new challenges and obstacles<br />

that we have never experienced before.


<strong>WOW</strong> FORUM<br />

91<br />

85<br />

86<br />

87<br />

Photo Reference<br />

85-88. The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage<br />

88<br />

ผศ.ด้ร.<br />

เพัชรลี่ัด้ด้า เพั็ชรภักด้่<br />

เป็ นอาจารย์ประจำาคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

ผังเมืองและนฤมิตศิลป์<br />

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม<br />

มีความสนใจในเรื่อง<br />

การเมืองและการพัฒนา<br />

เมือง โดยจบการศึกษา<br />

ด้าน Development<br />

Studies จาก School<br />

<strong>of</strong> Politics and International<br />

Studies, The<br />

University <strong>of</strong> Leeds, UK<br />

มีประสบการณ์ ในด้านการ<br />

ศึกษาวิจัยและวางแผน<br />

พัฒนาเมืองให้กับ กรมโยธา<br />

ธิการและผังเมือง การเคหะ<br />

แห่งชาติ เทศบาลต่างๆ และ<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

กุลี่พััชร์ เสน่ว่งศ์<br />

ณ์ อยุ่ธย่า<br />

ปั จจุบันเป็ นนักวิจัยที่<br />

บริษัท NPPN Company<br />

และนักศึกษาปริญญาเอก<br />

สาขาสถาปั ตยกรรมพื้นถิ ่น<br />

คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร สนใจ<br />

ศึกษามรดกทางวัฒนธรรม<br />

และขณะนี้กำาลังทำาวิจัย<br />

เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม<br />

สรรค์สร้างในพื้นที่ภูมิทัศน์<br />

วัฒนธรรมมลายู<br />

Asst. Pr<strong>of</strong>. Dr.<br />

Pechladda Pechpakdee<br />

is an instructor at the<br />

Faculty <strong>of</strong> Architecture,<br />

Urban Design, and<br />

Creative Arts at Mahasarakham<br />

University.<br />

She has worked on city<br />

development plans<br />

with Thailand’s Department<br />

<strong>of</strong> Public Works<br />

and Town and Country<br />

Planning, the National<br />

Housing Authority, a<br />

number <strong>of</strong> municipal<br />

governments, and the<br />

Bangkok Metropolitan<br />

Administration.<br />

Kullaphut Seneevong<br />

Na Ayudhaya<br />

is a researcher at NPPN<br />

Company and a Ph.D.<br />

candidate in Silpakorn<br />

University’s faculty <strong>of</strong><br />

architecture’s verna<br />

cular architecture program.<br />

He has a passion<br />

for cultural heritage and<br />

is currently conducting<br />

research about the<br />

built environment <strong>of</strong><br />

the Malay cultural<br />

landscape.


92<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

<strong>Wonder</strong><br />

<strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<br />

<strong>Being</strong><br />

Awards<br />

Text: ASA <strong>WOW</strong><br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

93<br />

The <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> Awards,<br />

hosted by the Association <strong>of</strong> Siamese<br />

Architects under Royal Patronage,<br />

are initiated to bring recognition to<br />

projects related to the development <strong>of</strong><br />

urban spaces, people’s quality <strong>of</strong> life,<br />

and well-being. The award hopes to<br />

promote various aspects <strong>of</strong> sustainable<br />

urban development as well as<br />

support and publish projects developed<br />

by the government, private, and<br />

public sectors, enabling them to serve<br />

as models for the development <strong>of</strong> the<br />

country’s and city’s well-being.<br />

รางวััล <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> Awards โดยสมาคมสถาปนิิกสยามฯ<br />

จััดขึ้้ นิเพื่่อเชิิดชููโครงการที่่เก่ยวัขึ้้องกับการพื่ัฒนิาเม่อง พื่ัฒนิาคุณภาพื่<br />

ชีีวิิต และควัามเป็ นิอยูขึ้องผูู้้คนิ สงเสริมให้้เกิดควัามยังยืืนในม ิติตางๆ<br />

พื่ร้อมทั้้งสนัับสนุุนิ และเผู้ยแพื่รโครงการที่่ม่การพื่ัฒนิาโดยห้นิวัยงานิ<br />

ภาครัฐ ภาคเอกชินิและชุุมชินิ เพื่่อให้้เป็ นิโครงการตัวัอยางที่่สร้าง<br />

แรงบันิดาลใจัที่่ด่ให้้กับการพื่ัฒนิาคุณภาพื่ชิ่วัิตควัามเป็ นิอยูขึ้อง<br />

บ้านิเม่องและประเที่ศ


94<br />

หลักเกณฑ์การมอบรางวัลพิจารณาจากโครงการที่พัฒนารูปแบบทางด้าน<br />

กายภาพ เช่น อาคาร ที่อยู่อาศัย และโครงการที่พัฒนาคุณภาพชีวิตความ<br />

เป็นอยู่ของประชาชนด้านสังคม วัฒนธรรมและองค์ความรู้ โดยแบ่งประเภท<br />

การพิจารณาออกเป็น โครงการจากภาคเอกชน และโครงการจากภาครัฐ ใน<br />

ประเภทต่างๆ ได้แก่ 1.อาคาร/กลุ่มอาคาร 2.ย่าน/ชุมชน 3.เมือง 4.พื้นที่<br />

สาธารณะ และ 5.พื้นที่พิเศษ โดยได้มีการมอบรางวัลโครงการต่างๆ ไป<br />

ภายในงาน <strong>WOW</strong> เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2565<br />

สำาห้รับคณะกรรมการตัดสินิรางวััล <strong>WOW</strong> Awards ประกอบด้วัย<br />

1. รศ.ดร.ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ อุปนายกสภาสถาปนิก (ACT)<br />

2. คุณชาคริต จันทร์รุ่งสกุล ประธานกรรมการบริหาร<br />

และผู้ก่อตั้งบริษัท ไฟร์ วัน วัน จำากัด<br />

3. คุณสาธิต กาลวันตวานิช ผู้ก่อตั้งบริษัท Phenomena,<br />

Propaganda, Studio Avocado<br />

4. รศ.ดร.พนิต ภู่จินดา นายกสมาคมนักผังเมืองไทย (TCPS)<br />

5. ผศ.ดร.ปริญญ์ เจียรมณีโชติชัย นายกสมาคมสถาปนิก<br />

ผังเมืองไทย (TUDA)<br />

6. คุณนำาชัย แสนสุภา นายกสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย<br />

(TALA)<br />

7. คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรม-<br />

ราชูปถัมภ์ (ASA)<br />

รายชิ่อโครงการต่างๆ ที่่ได้รับรางวััล มีดังนิ่<br />

1. เดอะ ฟอเรสเทียส์ โดย MQDC<br />

2. สินธร วิลเลจ<br />

3. พาร์ค สีลม<br />

4. สามย่าน มิตรทาวน์<br />

5. ธรรมาศรม<br />

6. ดิ เอ็มดิสทริค<br />

7. ถนนคนเดินสยามสแควร์<br />

8. คลองผดุงกรุงเกษม<br />

9. บ้านราคาประหยัดเพื่อคนไร้บ้านในชุมชนคลองเตย<br />

10. สวนผักคนเมืองเชียงใหม่<br />

11. โครงการพัฒนาพื้นที่ริมคลองแม่ข่าและลำ าน้ำาสาขาอย่างรอบด้าน<br />

12. โครงการปรับปรุงฟื้นฟูย่านคลองโอ่งอ่าง<br />

13. โครงการคลองเตยลิงก์<br />

14. ต่อยอดแสงหลวง<br />

15. DECAAR โดย SCG ร่วมกับ ชุมชนโชฎึก<br />

16. หาดใหญ่เมืองน่าอยู่<br />

17. สระบุรีพัฒนาเมือง<br />

18. สวนเบญจกิติ<br />

19. สนามปั่นจักรยาน ‘เจริญสุขมงคลจิต’<br />

20. อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

21. สวนลอยฟ้าเจ้าพระยา<br />

22. สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)<br />

23. กลุ่มบิ๊กทรีส์ / เครือข่ายต้นไม้ในเมือง / สมาคมรุกขกรรมไทย<br />

24. สมาคมเรารักสีลม<br />

25. กลุ่ม We!Park<br />

26. ศูนย์วิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน<br />

27. ศูนย์วิจัยนวัตกรรมการแพทย์โยธี<br />

28. Urban Recognition : มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

29. ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ โดย MQDC<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

The judging criteria consider projects with outstanding physical<br />

development, ranging from residential buildings to other architectural<br />

projects, that improve social, cultural, and intellectual aspects <strong>of</strong><br />

people’s quality <strong>of</strong> life. The works are categorized into projects from<br />

the private and public sectors -<br />

1. Building / Building Complex 2. Neighborhood / Community<br />

3. Urban Area 4. Public Space 5. Special Space<br />

The Awarding ceremony was held as part <strong>of</strong> the <strong>WOW</strong> Festival on<br />

November 23, 2023.<br />

The Members <strong>of</strong> the <strong>WOW</strong> Awards’ judging panel are:<br />

1. Associate Pr<strong>of</strong>essor Dr. Khaisri Paksukchareon,<br />

Vice President <strong>of</strong> the Architect Council <strong>of</strong> Thailand (ACT)<br />

2. Shakrit Chanroongsakul, Chief Executive Officer<br />

and founder <strong>of</strong> Fire One One Company Limited<br />

3. Satit Kanwantawanich, founder <strong>of</strong> Phenomena,<br />

Propaganda, Studio Avocado<br />

4. Associate Pr<strong>of</strong>essor Dr. Panit Phuchinda, the<br />

President <strong>of</strong> the Thai <strong>City</strong> Planners Society (TCPS)<br />

5. Assistant Pr<strong>of</strong>essor Prin Jienmaneechotechai, the<br />

President <strong>of</strong> the Thai Urban Designers Association (TUDA)<br />

6. Namchai Sansupha, the President <strong>of</strong> the Thai<br />

Association <strong>of</strong> Landscape Architects (TALA)<br />

7. Chana Samphalang, the President <strong>of</strong> the Association<br />

<strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage (ASA)<br />

The Winner Project are:<br />

1. The Forestias by MQDC<br />

2. Sindhorn Village<br />

3. Park Silom<br />

4. Samyan Mitrtown<br />

5. Learning Community <strong>of</strong> Mindfulness Healing<br />

6. THE EM DISTRICT<br />

7. Siam Square Walink Street<br />

8. Phadung Krungkasem Canal<br />

9. Economical Housing for Homeless People<br />

in Klongtoey Community<br />

10. Chiang Mai Urban Farm<br />

11. The development <strong>of</strong> areas around the Mae Kha Canal<br />

and Distributary Channels<br />

12. Ong Ang Canal Urban Space Development<br />

13. Klongtoey Link<br />

14. ‘Lost and Found’ the Missing Moment Experience<br />

15. DECCAR by SCG x Choduek Community<br />

16. Hat Yai Livable <strong>City</strong><br />

17. Saraburi <strong>City</strong> Development<br />

18. Benchakitti Park<br />

19. Happy and Healthy Bike Lane<br />

20. Chulalongkorn University Centenary Park<br />

21. Chao Phraya Sky Park<br />

22. Community Organizations Development Institute<br />

(Public Organizations)<br />

23. Big Trees Project Foundation / Urban Tree Networks /<br />

Thai Arboriculture Association (TAA)<br />

24. We Love Silom Association<br />

25. We!Park<br />

26. Research & Innovation for Sustainability Center; RISC<br />

27. Yothi Medical Innovation District<br />

28. Urban Recognition: Silpakorn University<br />

29. FutureTales LAB by MQDC


The Forestias<br />

by MQDC<br />

Bang Phli, Samut Prakan<br />

WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

95<br />

Developer and Designer:<br />

Magnolia Quality Development<br />

Corporation Limited<br />

Foster + Partners Limited<br />

Architect 49 Limited<br />

TK Studio Company Limited<br />

เดอะ ฟอเรสเทียส์ เกิดขี้นจากวิสัยทัศน์ที่จะสร้างพรีเมียร์โมเดล ที่เหมาะ<br />

กับทุกคน ทุกเจเนอเรชั่น ทุกเพศทุกวัย สัตว์ทุกชนิดในโครงการ รวมไป<br />

ถึงธรรมชาติและ จะเป็นเมืองแห่งความสุขต้นแบบของโลก ภายใต้รูปแบบ<br />

Theme Project โมเดลแรกของโลกที่จะสร้างนิยาม ของความสุขที่แท้จริง<br />

โดยเน้นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตและธรรมชาติและระบบนิเวศที่สมดุล<br />

เป็นโครงการเมืองที่ตอบโจทย์ทุกไลฟ์สไตล์ ด้วยสิ่งอำานวยความสะดวก<br />

ที่หลากหลายและพื้นที่กิจกรรมส่วนกลางที่ทุกๆ คนสามารถเข้ามาร่วม<br />

ใช้ชีวิตด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น โครงการที่อยู่อาศัย ร้านค้า พื้นที่สำานักงาน<br />

โรงแรม 6 ดาว ศูนย์การแพทย์และสุขภาพ ศูนย์วัฒนธรรมชุมชน สถาบัน<br />

การศึกษา และพื้นที่สีเขียวอันเป็นธรรมชาติ เพื่อสร้างสังคมแห่งความสุข<br />

และมีคุณภาพ และความยั่งยืนให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง<br />

The Forestias was created with the goal <strong>of</strong> creating an ideal premier<br />

model for everyone, regardless <strong>of</strong> generation, age, animal,<br />

or nature. It will be the world’s prototype city <strong>of</strong> happiness under<br />

the theme project, the world’s first model defining true happiness<br />

by emphasizing the coexistence <strong>of</strong> living beings and nature in a<br />

well-balanced ecosystem. The project is a city within a city that<br />

answers all questions, an urban project that meets all lifestyles<br />

with a variety <strong>of</strong> facilities and common area activities where everyone<br />

can come and live together—a residential project, shops,<br />

<strong>of</strong>fice space, a 6-star hotel, medical and healthcare facilities, a<br />

community cultural center, an academy, and ample natural green<br />

areas—to create a society <strong>of</strong> happiness where quality and sustainability<br />

indeed go hand in hand.<br />

mqdc.com


96<br />

Sindhorn Village<br />

Pathum Wan, Bangkok<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer and Designer:<br />

Siam Sindhorn Company Limited<br />

Plan Architect Company Limited<br />

สินธร วิลเลจ เป็นโครงการพัฒนาที่ดินแบบผสมผสานระดับซูเปอร์ลักชัวรี<br />

บนพื้นที่ 42 ไร่ บนพื้นที่หลังสวน ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อสร้างมาตรฐานใหม่<br />

ของวงการอสังหาริมทรัพย์ไทยและความเป็นเลิศด้านคุณภาพการอยู่อาศัย<br />

ใจกลางกรุงเทพฯ ประกอบด้วยอสังหาริมทรัพย์ระดับไฮเอนด์ ได้แก่<br />

อาคารพักอาศัย 5 หลัง โรงแรมระดับ 5 ดาว 3 แห่ง อาคารสำานักงาน<br />

1 หลัง และพื้นที่ค้าปลีก 1 แห่ง<br />

โครงการได้รับการพัฒนาโดยสถาปนิกและวิศวกรชาวไทยที่เข้าใจวิถีชีวิต<br />

เมืองไทยอย่างแท้จริง และโครงสร้างโดยรวมยังสามารถอยู่ได้นานถึงร้อยปี<br />

พร้อมการออกแบบที่คำานึงถึงความปลอดภัยจากแผ่นดินไหวและมีระบบ<br />

ป้องกันน้ำาท่วมที่มีประสิทธิภาพ อาคารทั้งหมดมีพื้นที่ธรรมชาติสูงสุดโดย<br />

มีอัตราส่วนอาคารที่มีความหนาแน่นต่ำา ซึ่งหมายถึงการจัดสรรพื้นที่สีเขียว<br />

เพิ่มขึ้นสองเท่า เมื่อเทียบกับมาตรฐานที่ยอมรับกันทั่วไป ด้วยพื้นที่สวน<br />

กว่า 3 ไร่ การพัฒนาที่เป็นเอกลักษณ์นี้นอกจากเป็นการเฉลิมฉลอง Life<br />

in the park อาคารทั้งหมดยังเป็น ‘อาคารสีเขียว’ ที่ได้รับการรับรอง LEED<br />

วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้งหมดที่ใช้ในโครงการได้รับการรับรอง<br />

ประสิทธิภาพสูงสุด<br />

Sindhorn Village is the super luxury mixed-use development project<br />

on 42 rai on Langsuan area, which aims to set a new standard<br />

<strong>of</strong> the Thai real estate industry and excellence for quality <strong>of</strong> living<br />

in the heart <strong>of</strong> Bangkok. It comprises high-end properties, including<br />

five residential buildings, three five-star hotels, one <strong>of</strong>fice<br />

building, and one retail space.<br />

The project has been developed by Thai architects and engineering<br />

entities who truly understand Thai cities’ lifestyles. The overall<br />

structure can last up to 100 years, with earthquake resistance to<br />

counter the region’s high-risk seismic rating as well as an effective<br />

flood defense system. All buildings feature maximum natural areas<br />

with a low-density building ratio. This translates to a generous<br />

‘double the allocation <strong>of</strong> green space’ as compared to accepted<br />

standards. With over 3 rai <strong>of</strong> gardens, this inimitable development<br />

is a celebration <strong>of</strong> Life in the park. All buildings are also ‘green<br />

building’ with LEED certification. All eco-friendly materials utilized<br />

at the project are certified for maximum efficiency.<br />

sindhornvillage.com


The Park Silom<br />

Bang Rak, Thailand<br />

WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

97<br />

Developer and Designer:<br />

Nye And Rgp Development Company Limited<br />

HB Design Company Limited<br />

โครงการ พาร์ค สีลม เป็นโครงการอาคารสำานักงานและร้านค้าเชิงพาณิชย์<br />

(Mixed-use) ระดับพรีเมียม มีความสูง 39 ชั้น บนพื้นที่ 6 ไร่ ใจกลางถนน<br />

สีลม พัฒนาภายใต้แนวคิด ‘New Breed <strong>of</strong> Silom’ ที่คำานึงถึงผู้คน ชุมชน<br />

และการใช้ชีวิตของทุกคนในย่านสีลม โดดเด่นด้วยสวนสีเขียวบริเวณด้าน<br />

หน้าโครงการ ขนาดใหญ่กว่า 1 ไร่ สำาหรับเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจให้กับคน<br />

ในย่านสีลม<br />

ในส่วนของร้านค้า โครงการพาร์ค สีลม ได้ร่วมมือกับ ‘สยามพิวรรธ์’ สร้าง<br />

One <strong>of</strong> a kind ‘Retail Experience’ พัฒนาพื้นที่ค้าปลีกกว่า 5 ชั้นภายใน<br />

โครงการ ครอบคลุมเนื้อที่กว่า 10,000 ตารางเมตร เพื่อนำาเสนอรูปแบบ<br />

และคอนเซ็ปต์ที่แปลกใหม่ พร้อมส่งมอบประสบการณ์และความสุขให้กับ<br />

ผู้มาเยือน โครงการพาร์ค สีลม เพียบพร้อมด้วยสิ่งอำ านวยความสะดวก และ<br />

สิ่งอำานวยความสุขครบครัน เป็นจุดศุนย์รวมของไลฟ์สไตล์ที่หลากหลาย<br />

สามารถใช้ชีวิตในแต่ละวันได้อย่างสมดุล<br />

The Park Silom is a premium mixed-use <strong>of</strong>fice building and commercial<br />

project with 39 floors on six rai in the heart <strong>of</strong> Silom Road.<br />

It is developed under the concept <strong>of</strong> ‘A New Breed <strong>of</strong> Silom’ that<br />

takes into account people, communities, and the lives <strong>of</strong> everyone<br />

in the Silom area. It is distinctive with a green garden in front <strong>of</strong><br />

the project, larger than one rai to be a place to relax for people in<br />

the Silom area.<br />

For the shops and commercial zone, the project has collaborated<br />

with ‘Siam Piwat’ to create a one-<strong>of</strong>-a-kind ‘Retail Experience’ to<br />

develop more than five floors within the project, covering an area<br />

<strong>of</strong> more than 10,000 square meters, with new styles and concepts<br />

to deliver joyful experiences to the visitors. Equipped with full<br />

utilities and facilities, the project aims to be the center <strong>of</strong> various<br />

lifestyles and enable the dwellers and residents to live each day<br />

in balance.<br />

parksilom.com<br />

facebook.com/ParkSilom


98<br />

Samyan Mitrtown<br />

Pathum Wan, Bangkok<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer:<br />

Frasers Property (Thailand)<br />

Public Company Limited<br />

สามย่าน มิตรทาวน์ เป็นโครงการมิกซ์ยูสภายใต้แนวคิด ‘คลังแห่งอาหารและ<br />

การเรียนรู้’ โดยเฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ ประเทศไทย ที่มีการออกแบบพื้นที่<br />

ส่วนต่างๆ ของอาคารให้ตอบโจทย์กับผู้ใช้งานทุกเพศทุกวัย ผ่านแนวคิดที่<br />

ต้องการสร้างพื้นที่ให้เป็น place making ด้วยตำ าแหน่งที่ตั้งโครงการบริเวณ<br />

หัวมุมถนนพญาไท-พระราม 4 และการเชื่อมต่อการเดินทางได้อย่างสะดวก<br />

‘ผ่านอุโมงค์เชื่อมมิตร’ อุโมงค์ใต้ดินที่เชื่อมระหว่างโครงการและสถานีรถไฟฟ้า<br />

ใต้ดินสถานีสามย่าน<br />

ภายในโครงการยังมีโซน SAMYAN CO-OP พื้นที่ co-learning space ที่เปิด<br />

ให้บริการฟรี 24 ชั่วโมง สำาหรับการเป็นแหล่งเรียนรู้ไม่รู้จบ ของคนทุกวัย<br />

ตลอดจนการให้ความสำาคัญไปถึงเรื่องของการเป็นมิตรกับผู้ใช้งาน ชุมชน<br />

และสิ่งแวดล้อม จึงทำาให้โครงการมิกซ์ยูสแห่งนี้ ได้รับการรับรองมาตรฐาน<br />

ประหยัดพลังงาน LEED ระดับ GOLD และได้รับรางวัล Thailand Energy<br />

Awards 2021 ซึ่งเป็นเครื่องยืนยัน ความเป็นมิตรแบบครบวงจรของโครงการ<br />

Samyan Mitrtown is a mixed-use project under the concept <strong>of</strong> a<br />

‘Food and Learning Storehouse’ developed by Frasers Property<br />

Thailand. The project accommodates various design areas to meet<br />

the needs <strong>of</strong> users <strong>of</strong> all genders and ages through the idea <strong>of</strong><br />

creating space as place-making since the location <strong>of</strong> the project<br />

is at the corner <strong>of</strong> Phayathai-Rama 4 Road with convenient travel<br />

connections through the ‘friendly tunnel’, an underground tunnel<br />

connecting the project and the Sam Yan MRT station.<br />

Also in the project is the Samyan CO-OP Zone, a co-learning<br />

space open 24 hours a day for free as an endless source <strong>of</strong> learning<br />

for people <strong>of</strong> all ages, as well as giving importance to user<br />

friendliness for the users, community, and environment. As a result,<br />

this mixed-use project was certified with LEED energy saving<br />

standards at the GOLD level and received the Thailand Energy<br />

Awards 2021, confirming the project’s all-around friendliness.<br />

samyan-mitrtown.com<br />

facebook.com/SAMYANMITRTOWN


Dharmasharam<br />

Bang Khen, Bangkok<br />

WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

99<br />

Developer and Designer:<br />

Sathira Dhammasathan<br />

Deca Atelier Company Limited<br />

แนวคิดที่เป็นแกนหลักและธงนำาสำาคัญในการทำางานทั้งออกแบบและก่อสร้าง<br />

รวมถึงการใช้อาคารธรรมาศรมนี้ คือความตั้งใจที่จะรับใช้และ เยียวยสังคม<br />

โดยการหลีกเลี่ยงที่จะเบียดเบียนธรรมชาติ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้<br />

มากถึงมากที่สุด การลดละด้วยการใช้พื้นที่อยู่อาศัย ที่ปราศจากเครื่องปรับ<br />

อากาศ (Air Condition) เพื่อตอบโจทย์ทั้งลดปริมาณความร้อนและการ<br />

ถ่ายเทระบายอากาศได้ดี จึงเป็นกุญแจสำาคัญ ของการออกแบบทั้งภายนอก<br />

และภายในอาคารธรรมาศรมหลังนี้<br />

ผนังภายนอกได้รับการออกแบบให้เป็นเปลือกห่อหุ้มอาคารเพื่อป้องกันแสง<br />

แดดและความร้อน ไม่ให้เข้าถึงพื้นที่ภายใน แต่ในเวลา เดียวกันทําหน้าที่<br />

ท้ังถ่ายเทอากาศและระบายความร้อน เพื่อความสบายให้ผู้อยู่อาศัยภายใน<br />

อาคาร ด้วยงานออกแบบที่มีลักษณะโดดเด่น เป็นเอกลักษณ์ที่ออกแบบให้<br />

เปลือกของอาคารมีท้ังส่วนปิดทึบและเปิดโล่ง ที่หลากหลายทั้งขนาดและ<br />

ลวดลายของซีเมนต์บล็อกช่องลม ที่ออกแบบและผลิตมาเป็นการเฉพาะให้<br />

กับอาคารธรรมาศรม เพื่อจุดประสงค์ต้องการตอบสนองแนวคิดการใช้<br />

อาคารแบบ ‘สุขง่าย ใช้น้อย’ ของ คุณแม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต ผู้นําชุมชน<br />

แห่งการเรียนรู้ เสถียรธรรมสถาน<br />

The critical concept that is at the core and flagship <strong>of</strong> both design<br />

and construction work, including the use <strong>of</strong> this Dharmasharam<br />

building, is to serve and heal society by avoiding harming nature<br />

and being environmentally friendly as much as possible. There are<br />

also ideas <strong>of</strong> less possession and minimal living by using living<br />

spaces without air conditioning to meet the needs <strong>of</strong> both reducing<br />

the amount <strong>of</strong> heat and having good ventilation. It is, therefore,<br />

the key to the design <strong>of</strong> the exterior and interior <strong>of</strong> this project.<br />

The exterior wall <strong>of</strong> the building was designed to protect the interior<br />

from sunlight and heat while also allowing air transfer and<br />

providing cooling for the comfort <strong>of</strong> the users. The design has a<br />

distinctive and unique look; the building shells have both closed<br />

and open areas, with various sizes and patterns <strong>of</strong> cement block<br />

vents designed and manufactured specifically for the project. This<br />

noble design aims to reflect the use <strong>of</strong> the building as ‘simple<br />

happiness, use less,’ as in the teachings <strong>of</strong> Mae Chee Sansanee<br />

Sthirasuta, the leader <strong>of</strong> the learning community at Sathira Dhammasathan<br />

Meditation Center.<br />

sdsweb.org<br />

facebook.com/people/DECA-ATELIER-CoLtd


100<br />

The EM District<br />

Khlong Toei, Bangkok<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer:<br />

The Mall Group<br />

เดอะมอลล์ กรุ๊ป เป็น บริษัทชั้นนำาในวงการค้าปลีกไทย ซึ่งได้สร้างศูนย์-<br />

การค้าที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ ในโครงการ ‘THE EM DISTRICT’<br />

อันประกอบด้วย THE EMPORIUM, THE EMQUARTIER และโครงการ<br />

ล่าสุด THE EMSPHERE ซึ่งเป็นโครงการที่ต้องการนำาเสนอความแปลก<br />

ใหม่ ทันสมัยให้กับย่านสุขุมวิทใจกลาง กรุงเทพมหานคร เป็นมิติใหม่แห่ง<br />

ย่านธุรกิจการค้าในอนาคตที่ยิ่งใหญ่และ สมบูรณ์แบบ เพื่อสร้างปรากฏการณ์<br />

ย่านการค้า แหล่งธุรกิจ และศูนย์ความบันเทิง แห่งใหม่ ที่แปลกใหม่ ทันสมัย<br />

และยิ่งใหญ่ระดับโลก เป็นพลังขับ เคลื่อนสำาคัญ ที่จะยกระดับกรุงเทพ-<br />

มหานครและ ประเทศไทยสู่การเป็นศูนย์กลางเวทีการค้าระดับโลก นำามา<br />

ซึ่งความสำาเร็จและ ความภาคภูมิใจให้กับคนไทย<br />

The Mall Group is a leading company in the Thai retail industry<br />

that has created an internationally renowned shopping center in<br />

the project ‘The Em District,’ consisting <strong>of</strong> The Emporium, The<br />

Emquartier, and the latest project, The Emsphere, which is a project<br />

that wants to present a modern novelty for the Sukhumvit area<br />

in the heart <strong>of</strong> Bangkok. The project aims to bring new dimensions<br />

to the future big and perfect business district to create a phenomenon<br />

<strong>of</strong> exotic, modern, and world-class commercial districts,<br />

business districts, and entertainment centers. It is a vital driving<br />

force that will elevate Bangkok and Thailand to be the center<br />

<strong>of</strong> the world trade arena, bringing success and pride to the Thai<br />

people.<br />

themallgroup.com


Siam Square<br />

Walking Street<br />

Pathum Wan, Bangkok<br />

WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

101<br />

Developer:<br />

Property Management <strong>of</strong><br />

Chulalongkorn University<br />

Siam Square Walking Street คือพื้นที่ส่วนหนึ่งของศูนย์การค้าแนวราบ<br />

ใจกลาง ย่านการค้าและการศึกษา Siam Square ที่มีการขับเคลื่อนทั้งเรื่อง<br />

Trend Setter, Learning Experience แหล่งการเรียนรู้ไม่จำากัด และการ<br />

สร้างความสนุกสนานและ แปลกใหม่ รวมถึงการการเชื่อมโยงทุกพื้นที่ของ<br />

ทุก generation ให้เป็นหนึ่งเดียวกัน โดยเปิดพื้นที่ถนนซอย 7 แกนกลาง<br />

Walking Street ให้เป็นพื้นที่ Event Space สำาหรับจัดกิจกรรมสร้างสรรค์<br />

ความบันเทิง และเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถ เข้ามามีส่วนร่วมในพื้นที่ได้<br />

ไม่ว่าจะเป็นการแสดงดนตรี การเต้น การโชว์ performance ต่างๆ พร้อม<br />

ส่งเสริมย่านเศรษฐกิจรวมถึงร่วมสนับสนุน การสร้างโอกาสให้ธุรกิจร้านค้า<br />

ต่างๆ ให้ขับเคลื่อนด้วยความแข็งแรงไปด้วยกัน<br />

Siam Square Walking Street is part <strong>of</strong> Siam Square, the low-rise<br />

shopping center in the heart <strong>of</strong> Bangkok. The project is a new<br />

refurbishment <strong>of</strong> the Siam Square area, a famous commercial and<br />

educational district driven by trendsetters, learning experiences,<br />

unlimited learning resources, and the creation <strong>of</strong> fun and novelty,<br />

as well as connecting all areas <strong>of</strong> every generation to be one. By<br />

opening the area <strong>of</strong> Soi 7, which is the center <strong>of</strong> Walking Street,<br />

this new refurbishment has turned it into an event space for entertainment<br />

activities. It allows everyone to participate in the area,<br />

whether it’s music performances, dance performances, or various<br />

performances. It also promotes the economic district and creates<br />

opportunities for businesses in the area to grow together.<br />

cu100.chula.ac.th<br />

facebook.com/SiamSquareOfficial


102<br />

Phadung<br />

Krungkasem Canal<br />

Phra Nakhon, Bangkok<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer and Designer:<br />

Bangkok Metropolitan Administration<br />

Landprocess Company Limited<br />

<strong>City</strong> Planning and Urban Development<br />

Department (BMA), Chulalongkorn<br />

University<br />

ในอดีต คลองผดุงกรุงเกษมขุดสร้างขึ้นเพื่อการขยายเมืองชั้นที่ 3 ตั้งแต่<br />

สมัยรัชกาลที่ 4 ปัจจุบันยังเป็นคลองกลางเมืองที่เชื่อมต่อ ล้อ-ราง-เรือ ได้<br />

(การสัญจรทางรถ รถไฟฟ้า และเรือโดยสาร) แต่พื้นที่รองรับการเดินเท้า<br />

กลับไม่เอื้อต่อการสัญจร อีกทั้งยังไม่มีทางจักรยาน ที่เอื้อต่อการสร้าง<br />

โครงข่ายเส้นทางจักรยาน และยังคล้ายเป็นคลองที่ถูกลืม แม้ว่ามีชุมชน<br />

ตลอดจนบริบทของพื้นที่ที่น่าสนใจ<br />

ช่วงแรกที่มีการปรับภูมิทัศน์นี้เป็นช่วงที่ 2 ย่านหัวลำาโพง จากสะพาน<br />

เจริญสวัสดิ์ ถึงสะพานกษัตริย์ศึก และการมองคลองในหลายมิติ ทั้งการ<br />

เป็นพื้นที่สาธารณะ ประวัติศาสตร์เชื่อมโยงเมือง แหล่งชุมชน และเชิงนิเวศ<br />

วิทยาคลอง (Ecology) นี้เอง ทำาให้เกิดแนวคิดพัฒนาและการ จัดการพื้นที่<br />

เชิงกายภาพอย่างไร้รอยต่อ ส่วนที่เชื่อมต่อกับแหล่งชุมชน มีการปรับปรุง<br />

ทางลาดที่เป็นมิตรกับผู้ใช้ และเพิ่มจุดทางข้ามทางม้าลาย รวมถึงทำาทาง<br />

เดินลอดใต้สะพานกษัตริย์ศึก มีทางเดินข้ามไปฝั่งโบ๊เบ๊ได้ ช่วยเชื่อมคน<br />

เข้ากับคลองได้ง่ายและปลอดภัยขึ้น<br />

Text: The Cloud, Parichat Kamward<br />

Since King Rama IV’s reign, the Phadung Krung Kasem Canal has<br />

been excavated to expand the third-tier city. Nowadays, it is still<br />

a popular canal in the city that can connect traffic by car, electric<br />

train, and passenger boat, but the pedestrian walkways are not so<br />

good. There is also no bike path that is conducive to the construction<br />

<strong>of</strong> a bike network. It’s like a forgotten canal, although there is<br />

a community as well as the context <strong>of</strong> the area <strong>of</strong> interest.<br />

The first part <strong>of</strong> this landscape refurbishment was the second part<br />

<strong>of</strong> the Hua Lamphong area, from Charoen Sawat Bridge to Kasat<br />

Suek Bridge. It was an approach that thoroughly looked at canals<br />

in many aspects, both as a historical public space feature connecting<br />

the city, the community, and the canal ecology. This led to<br />

the seamless development <strong>of</strong> concepts and area management. The<br />

part that connects to community resources is user-friendly ramps,<br />

which are being improved and added as a pedestrian crossing<br />

point, including building a walkway under the Kasat Suek Bridge<br />

and a walkway to Bo-Be Market, to help connect people to the<br />

canal easier and safer.<br />

main.bangkok.go.th<br />

citydata.in.th/khlong-phadung-krung-kasem


WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

Economical Housing<br />

for Homeless People in<br />

Klongtoey Community<br />

Bangkok, Thailand<br />

103<br />

Developer and Designer:<br />

Vin Varavarn Architects<br />

Company Limited<br />

โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการปรับปรุงซ่อมแซมที่อยู่อาศัยให้กับ<br />

ผู้ด้อยโอกาสในกรุงเทพฯ และอีก 25 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสนับสนุน<br />

โครงการจิตอาสา ตามพระบรมราโชบายของรัชกาลที่ 10 โดยต้ังแต่ปี<br />

พ.ศ. 2562-2565 โครงการ ได้สร้างบ้านมาแล้วท้ังสิ้นจํานวน 87 หลัง<br />

โดย 47 หลังสุดท้ายเป็นการทำางานร่วมกันของทีมสถาปนิก Vin Varavarn<br />

Architects ร่วมกับกองทัพภาคที่ 1 จากการประสานงาน และสนับสนุน<br />

งบประมาณ โดยมูลนิธิเจริญโภคภัณฑ์ (CPF) โดยสังเขปโครงการมีวิธี<br />

การคัดเลือกบ้านจากความสมัครใจ ของคนในชุมชนลงชื่อเข้าร่วม ซึ่งมี<br />

บ้านทรุดโทรมต้องการปรับปรุงซ่อมแซมบ้านบนพื้นที่เดิม<br />

บ้านแต่ละหลังในโครงการมีพื้นที่ที่ดินที่แตกต่างกัน มีจำ านวนสมาชิกผู้อยู่-<br />

อาศัยที่หลากหลาย นอกจากเรื่องการออกแบบแล้ว ต้องคำ านึงถึง เรื่องวิธีการ<br />

ทำางานร่วมกับทีมทหารช่าง และวิธีการเขียนแบบที่รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ<br />

ภายใต้ตัวแปรของงบประมาณ เวลาที่จำากัด การก่อสร้าง ที่ยากลำาบาก และ<br />

ความต้องการของชุมชน สิ่งสำาคัญคือความเข้าใจบนพื้นฐานมาตรวัตรที่<br />

แตกต่าง<br />

This project is part <strong>of</strong> a residential renovation project for underprivileged<br />

people in Bangkok and 25 other provinces in the central<br />

region to support volunteer projects according to the royal policy<br />

<strong>of</strong> King Rama 10. From 2019 to <strong>2022</strong>, the project has built 87<br />

houses, <strong>of</strong> which the last 47 were a collaboration between the<br />

Vin Varavarn Architects team and the First Army Region, with help<br />

and financial support from the Charoen Pokphand Foundation<br />

(CPF). The selection criteria were based on a voluntary approach<br />

where people in the community whose house is dilapidated and<br />

who want to renovate the house on their land can join the project.<br />

Each house in the project has a different land area and a wide<br />

variety <strong>of</strong> resident members. In addition to the design, the project<br />

team also needs to consider how to work with the military engineering<br />

team and how to deliver fast, efficient construction drawings<br />

under the constraints <strong>of</strong> budget, time, construction methods, and<br />

community needs. It is essential to understand the basis <strong>of</strong> these<br />

different measures.<br />

facebook.com/VinVaravarnArchitectsLimited


104<br />

Chiang Mai<br />

Urban Farm<br />

Mueang Chiang Mai, Chiang Mai<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer and Designer:<br />

Chiang Mai Municipality<br />

Friend <strong>of</strong> Chiangmai Urban Farm<br />

Jaibaan Studio Company Limited<br />

โครงการสวนผักคนเมืองเชียงใหม่ Chiangmai Urban Farm ได้ถูกริเริ่ม<br />

ขึ้นจากภาคีความร่วมมือหลากหลายภาคส่วน ร่วมกับชุมชน และเทศบาล<br />

นครเชียงใหม่ ในการเปลี่ยนพื้นที่รกร้างที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์กลางเมืองของ<br />

หน่วยงานรัฐ ให้กลายเป็นพื้นที่สร้างความมั่นคง ทางด้านอาหารสำาหรับ<br />

ชุมชนเมืองในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด และยังเป็นพื้นที่สาธารณะ<br />

สีเขียวในเมืองรูปแบบใหม่<br />

ความสำาเร็จของโครงการนี้ได้สร้างต้นแบบรูปธรรมสำาคัญ ในการสร้าง<br />

พื้นที่สาธารณะสีเขียวจากการริเริ่มของภาคประชาสังคมและชุมชน ใน<br />

การเรียกร้อง ร่วมแรงร่วมใจกันลงมือทำา จนเกิดการผลักดันในการนำา<br />

ที่สาธารณะประโยชน์ของรัฐที่ไม่ได้ถูกใช้ มาสร้างประโยชน์สาธารณะ<br />

เพื่อสร้างพื้นที่หยืดหยุ่นทางสังคมในการรองรับความไม่แน่นอนของการ<br />

เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น<br />

The Chiang Mai Urban Farm project has been initiated by various<br />

sectors together with the community and Chiang Mai municipality,<br />

to transform the government’s unused wasteland in the city center<br />

into a facility for food security in urban communities during the<br />

COVID-19 pandemic. It is also a new type <strong>of</strong> urban green public<br />

space.<br />

The success <strong>of</strong> this project has created an important concrete<br />

prototype in creating green public spaces from civil society and<br />

community initiatives coming together, working together, and<br />

bringing public benefits out <strong>of</strong> unused, vacant, and waste areas.<br />

Finally, the project has established itself as a socially resilient<br />

space to accommodate the uncertainty <strong>of</strong> the changes that may<br />

occur.<br />

facebook.com/ChiangmaiUrbanFarm


Development<br />

Planning <strong>of</strong> Mae Kha<br />

Canal and Network<br />

Mueang Chiang Mai, Chiang Mai<br />

WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

105<br />

Developer and Designer:<br />

Chiang Mai Municipality<br />

Imagine MaeKha<br />

Jaibaan Studio Company Limited<br />

โครงการพัฒนาพื้นที่ริมคลองแม่ข่าและลำ าน้ำาสาขาอย่างรอบด้านนี้ เป็นการ<br />

ร่วมกันผลักดันให้เกิดการพัฒนา คลองแม่ข่าและโครงข่ายคลองในเมืองและ<br />

ชุมชนโดยรอบ เพื่อให้พื้นที่คลองแม่ข่าซึ่งเป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์ในอดีต<br />

และเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์สำาคัญในการพัฒนาเมืองในอนาคต กลายเป็นพื้นที่<br />

แห่งความหวังในการพัฒนาเมืองในอนาคตในด้านต่างๆ เช่น การบริหารการ<br />

จัดการน้ำาเสียของเมือง การจัดการพื้นที่สาธารณะของเมือง ควบคู่ไปกับการ<br />

วางแผนการจัดการที่อยู่อาศัยชุมชน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ<br />

ไปพร้อมกัน และให้สอดคล้องกับโอกาสการพัฒนาเมืองในอีก 10 ปีข้างหน้า<br />

ปัจจุบันได้เกิดการพัฒนาภูมิทัศน์สองฝั่งคลองระยะทางรวม 755 เมตร เพื่อ<br />

เปิดพื้นที่สาธารณะของเมือง ซึ่งเป็นโครงการนำ าร่องในระยะแรกในการสร้าง<br />

ความมั่นใจให้เกิดขึ้นกับชุมชนและสาธารณชน โครงการในระยะต่อไป<br />

Development Planning <strong>of</strong> the Mae Kha Canal and Network is a<br />

collaborative project to push forward the development <strong>of</strong> the Mae<br />

Kha Canal and the canal network in the city and surrounding communities.<br />

The Canal is a historical and essential strategic area for<br />

future urban development. It has become a promising community<br />

for future urban development, including managing the city’s wastewater,<br />

city public space, and new community housing. These aim<br />

to improve the quality <strong>of</strong> life and the economy and align with the<br />

urban development plan for the next ten years.<br />

Currently, landscapes on both sides <strong>of</strong> the Canal have been developed<br />

for a total distance <strong>of</strong> 755 meters to open up the city’s<br />

public areas. It is a pilot project in the early stages to build confidence<br />

in the community and the public for the projects in the next<br />

phase.<br />

facebook.com/ImagineMaeKha


106<br />

Ong Ang Canal Urban<br />

Space Development<br />

Phra Nakhon, Bangkok<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer:<br />

Bangkok Metropolitan Administration<br />

คลองโอ่งอ่างเป็นคลองโบราณสถานที่ขุดขึ้นมาตั้งแต่สร้างกรุงรัตนโกสินทร์<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 1 ได้รับการขึ้นทะเบียนโดยกรมศิลปากร เป็นโบราณสถาน<br />

ระดับชาติ ในอดีตบริเวณพื้นที่ริมคลองเป็นชุมชนการค้าริมน้ำาดั้งเดิมเชื่อม<br />

ต่อย่านการค้าสำาคัญของกรุงเทพฯ มีแหล่งมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องได้และ<br />

จับต้องไม่ได้จำานวนมาก รูปแบบการค้าได้มีการขยายตัวจนเกิดการปลูก-<br />

สร้างสิ่งรุกล้ำาพื้นที่ตลอดทั้ง 2 ฝั่งคลอง จนพื้นที่ชุมชนริมคลองถูกแทนด้วย<br />

ร้านค้าแผงลอยที่หนาแน่นและแออัด โครงสร้างที่รุกล้ำาคลองกีดขวางทางน้ำา<br />

ทำาให้น้ำาไม่สามารถไหลผ่านได้ คลองกลายเป็นพื้นที่ระบายน้ำาเสียและเป็น<br />

ที่ทิ้งขยะของอาคารบ้านเรือนริมคลอง จึงเป็นโอกาสที่สำาคัญในการฟื้นฟู<br />

ชุมชนริมคลองโอ่งอ่างให้กลับมามีชีวีตชีวาให้สอดคล้องกับการพัฒนาเมือง<br />

ในอนาคต<br />

กรุงเทพมหานครได้ดำาเนินการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสร้างจนเสร็จ<br />

เรียบร้อยในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 และได้มีการจัดทำา ผังแม่บทฟื้นฟู<br />

ชุมชนริมคลองโอ่งอ่างผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน<br />

ดำาเนินงานปรับปรุงฟื้นฟูพื้นที่ตามแบบการปรับปรุงภูมิทัศน์ และการจัด<br />

กิจกรรมในพื้นที่ชุมชนคลองโอ่งอ่าง ประกอบด้วย ปรับปรุงระบบสาธาร-<br />

ณูปโภค ปรับปรุงภูมิทัศน์เพื่อฟื้นฟูอัตลักษณ์และส่งเสริม คุณค่ามรดก<br />

วัฒนธรรม สร้างพื้นที่กิจกรรมให้ชุมชน สร้างเครือข่ายการบริหารจัดการ<br />

พื้นที่โดยประชาคมย่านคลองโอ่งอ่าง และได้มี การจัดกิจกรรมประเพณี และ<br />

กิจกรรมทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เช่น กิจกรรมถนนคนเดินคลองโอ่งอ่าง<br />

กิจกรรมสตรีทอาร์ต เทศกาลลอยกระทง เทศกาลดีวาลี เป็นต้น<br />

Ong Ang Canal is an ancient canal excavated since the Rattanakosin<br />

period <strong>of</strong> King Rama I’s reign. It has been registered by the<br />

Fine Arts Department as a national historic site. In the past, the<br />

area along the canal was a traditional waterfront trading community,<br />

connecting major commercial areas <strong>of</strong> Bangkok. There are<br />

many cultural heritage sites, and the form <strong>of</strong> trade has expanded<br />

to the point that construction has encroached on both sides <strong>of</strong> the<br />

canal until the community area along the canal has been replaced<br />

by dense and crowded stalls. The structure encroaching on the<br />

canal obstructs the waterway, preventing it from flowing. The canal<br />

became a wastewater drainage area and a dumping ground for the<br />

houses along the canal. It is, therefore, a significant opportunity to<br />

revitalize communities along the Ong Ang Canal and bring them<br />

back to life in line with future urban development.<br />

The Bangkok Metropolitan Administration completed the demolition<br />

<strong>of</strong> buildings and structures in October 2015 and has prepared<br />

a master plan to rehabilitate communities along the Ong Ang Canal<br />

with participation from many sectors. The development and rehabilitation<br />

<strong>of</strong> the area according to the landscape improvement plan<br />

and organizing activities in the Khlong Ong Ang community area<br />

consist <strong>of</strong> improving the utility system, refurbishing the landscape<br />

to restore identity and promote cultural heritage values, creating<br />

an activity area for the community, establishing a network <strong>of</strong> area<br />

management by the community in the Khlong Ong Ang area, and<br />

organizing traditional and creative economic activities such as the<br />

Khlong Ong Ang Walking Street event, street art activities, Loi<br />

Krathong Festival, Diwali Festival, etc.<br />

main.bangkok.go.th


Klongtoey Link<br />

Hat Yai, Songkhla<br />

WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

107<br />

Developer and Designer:<br />

Songkhla Urban Lab<br />

‘คลองเตย’ เป็นคลองที่พาดผ่านเมืองในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ความ<br />

ยาวประมาณ 11 กิโลเมตร มีความกว้างไม่มากนัก เดิมเป็นแหล่งระบาย<br />

น้ำาเสีย ต่อมาเทศบาลนครหาดใหญ่ได้มีโครงการรวบรวมและแยกท่อระบาย-<br />

น้ำาเสียไม่ให้ไหลลงสู่คลองเตย บางพื้นที่มีการสร้างสวนหย่อมและพื้นที่<br />

สาธารณะคร่อมคลองเตย กระนั้น การพัฒนาคลองเตยก็มิได้มีทิศทางใน<br />

การตอบโจทย์ การใช้ประโยชน์อย่างเป็นองค์รวม<br />

‘Klong Toey’ is a canal that runs through the city in Hat Yai municipality<br />

with a length <strong>of</strong> about 11 kilometers and not much width. It<br />

used to be a wastewater drainage station. Later, Hat Yai Municipality<br />

initiated a project to collect and separate sewer pipes so<br />

they do not flow into the canal. Some areas have gardens and<br />

public spaces to cover the canal. However, the development <strong>of</strong><br />

Klong Toey does not have a direction to meet the utilization needs<br />

with a holistic approach.<br />

facebook.com/citylabthailand


108<br />

‘Lost and Found’<br />

the Missing Moment<br />

Experience<br />

Mueang Chiang Mai, Chiang Mai<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer and Designer:<br />

Faculty <strong>of</strong> Architecture, Chiang Mai University<br />

College <strong>of</strong> Arts, Media and Technology,<br />

Chiang Mai University<br />

การทดลองนวัตกรรมแสงกับองค์เจดีย์หลวงนี้ ทําให้ศาสนาและเทคโนโลยี<br />

มาพบกันจนเกิดเป็นความงามล้ำาสมัย ด้วยการฉายแสงเลเซอร์เติมไปใน<br />

บริเวณส่วนยอดขององค์เจดีย์หลวงที่หายไป โดยเป็นการใช้ปรากฏการณ์<br />

แสงเติมรูปทรง และสัดส่วนความสูงให้กับองค์เจดีย์หลวง ด้วยเทคนิคการ<br />

ฉายอุโมงค์แสง ให้เกิดเป็นเส้นรอบรูปไปที่องค์เจดีย์ เพื่อแสดงสัดส่วนและ<br />

ความสูงของเจดีย์ที่สมบูรณ์ ทําให้คนเชียงใหม่มีโอกาสได้ย้อนไปสัมผัส<br />

ความสง่างาม ขององค์เจดีย์หลวงในอดีตอีกครั้ง หลังจากที่ไม่มีใครเคยเห็น<br />

มากว่า 500 ปี<br />

This Light Innovation Experiment project at the Chedi Luang has<br />

brought technology to meet religion in creating modern beauty.<br />

This light phenomenon fulfilled the shape and proportion <strong>of</strong> the<br />

Chedi by casting a light tunnel to form a perimeter towards the<br />

Chedi to show the proportion and height <strong>of</strong> the entire pagoda<br />

by projecting a laser on the missing top <strong>of</strong> the Chedi Luang. The<br />

project has allowed Chiang Mai residents to relive the elegance<br />

<strong>of</strong> the Chedi Luang in the past, which had been hidden for nearly<br />

500 years.<br />

uniserv.cmu.ac.th


WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

DECAAR by SCG x<br />

Choduek Community<br />

Samphanthawong, Bangkok<br />

109<br />

Developer:<br />

The Siam Cement Public Company Limited<br />

(SCG; SET: SCC)<br />

ชุมชนโชฎึก ชุมชนดั้งเดิมในย่านเมืองเก่ามีพื้นที่จำ ากัดเพียง 0.50 ไร่ ประสบ<br />

ปัญหาใช้พื้นที่ได้ไม่เต็มศักยภาพ ไม่สามารถสร้าง ประโยชน์ต่อส่วนรวม<br />

อย่างแท้จริง DECAAR by SCG จึงได้ริเริ่มโครงการ พัฒนาสวนชุมชนโชฎึก<br />

ผนึกกำาลังกับ art4d, We!Park และปั้นเมือง ระดมความคิดและสร้างทีม<br />

สถาปนิกคนรุ่นใหม่ที่มีจิตสาธารณะมาร่วมกันออกแบบ โดยได้รับเกียรติ<br />

จากคุณวสุ วิรัชศิลป์ จาก VaSLab Architecture และคุณมนัสพงษ์ สงวน-<br />

โรจนวุฒิ จาก Hypothesis รับหน้าที่เป็นที่ปรึกษาให้กับทีมสถาปนิก<br />

ขณะเดียวกันนั้น DECAAR by SCG ก็ได้ค้นพบศักยภาพและความเป็นไป<br />

ได้ใหม่ๆ ของวัสดุตกแต่งฟาซาดที่มีอยู่หลากหลาย ซึ่งได้นำามาใช้เป็น<br />

วัสดุหลักในการออกแบบครั้งนี้ รวมถึงพัฒนาโซลูชั่นการจบงานและดีเทล<br />

การติดตั้ง เพื่อสร้างสรรค์พื้นที่ชุมชน ให้มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว สวยงาม<br />

ปลอดภัย และเป็นพื้นที่สำาหรับผู้ใช้งานในชุมชนอย่างแท้จริง<br />

Choduk Community is an old neighborhood in the old city area,<br />

with a limited space <strong>of</strong> only half a rai. It is facing the problem <strong>of</strong><br />

not using the site to its full potential and not truly benefiting the<br />

public. The Choduk Community Park Development Project was<br />

then started by DECAAR by SCG with the help <strong>of</strong> art4d, We!Park,<br />

and Punmuang. The group came up with ideas and put together<br />

a team <strong>of</strong> young, public-minded architects to design the projects,<br />

with two top architects, Vasu Virajsilp from VaSLab Architecture<br />

and Manaspong Sanguanrotjanawut from Hypothesis, working<br />

with the architect team as consultants.<br />

In this project, DECAAR by SCG has also discovered new potential<br />

and possibilities <strong>of</strong> various façade materials, which were used<br />

as the primary material in the design, including new solutions for<br />

finishing work and installation details that help create this community<br />

space to be unique, beautiful, safe, and indeed a space for<br />

users in the community.<br />

decaarbyscg.com


110<br />

Hat Yai Livable <strong>City</strong><br />

Hat Yai, Song Kla<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer:<br />

Depa Thailand<br />

Smart <strong>City</strong> Thailand Office<br />

Hat Yai Municipality<br />

เมืองน่าอยู่ น่าเที่ยว น่าลงทุน ด้วยสร้าง สาน เสริม ทุนและศักยภาพทั้งใน<br />

และนอกพื้นที่ โดยนโยบายพัฒนาเทศกาล นครหาดใหญ่ 9 ประการ ได้แก่<br />

การแก้ปัญหาเร่งด่วน เช่น โครงสร้างพื้นฐาน ความสะอาด และจราจร,<br />

การบริหารภาครัฐ ยกระดับการบริหารที่ดี สร้างทีมเข้มแข็ง, ยกระดับ<br />

เศรษฐกิจ ด้วยการส่งเสริมการท่องเที่ยวและอาชีพ, การพัฒนาสถานบัน<br />

การบริการสาธารณสุข และระบบแพทย์ฉุกเฉิน, สถานศึกษา 4.0 ศาสนา<br />

และวัฒนธรรม, การควบคุมและสร้างความปลอดภัยให้กับโครงสร้างพื้นฐาน<br />

สาธารณูปโภค, สร้างความร่วมมือด้านการดูแล ทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดล้อม, ป้องกัน บรรเทา และสาธารณภัย, และการพัฒนาเทคโนโลยี<br />

และ logistics ในชีวิตประจำาวัน<br />

A livable city that is appealing to visitors and worth investing in<br />

by constructing, sustaining, and expanding capital and potential<br />

both within and outside the area. The following nine Hat Yai<br />

<strong>City</strong> Festival Development Policies will be implemented: solving<br />

urgent problems such as infrastructure, cleanliness, and traffic;<br />

improving public and governmental administration; raising the<br />

level <strong>of</strong> good management; building a strong team; and boosting<br />

the economy, promoting tourism and careers, developing public<br />

health service institutions and emergency medical systems, educational<br />

institutions 4.0, religion and culture, controlling and securing<br />

public infrastructure, building cooperation in natural resources<br />

and environment protection, prevention, relief, and disaster, and<br />

developing technology and logistics in everyday life.<br />

citydata.in.th/hatyai


Saraburi :<br />

A place to visit and<br />

get an extraordinary<br />

experience<br />

Saraburi, Thailand<br />

WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

111<br />

Developer:<br />

Saraburi <strong>City</strong> Development Company Limited<br />

เมืองไม่ใช่แค่ผืนดินที่ให้คนได้มาอยู่อาศัยรวมกัน แต่เมืองเป็นเหมือนสิ่งมี-<br />

ชีวิต ซึ่งประกอบไปด้วยผู้คนในเมืองที่ต้องทำาหน้าที่หล่อเลี้ยง ชีวิตของเมือง<br />

ร่วมกัน ถ้าผู้คนในเมืองไม่ช่วยและร่วมมือกันทำาให้เมืองมีเศรษฐกิจที่ดี มี<br />

ความมั่นคง ไม่ช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและ สุขภาวะที่ดี ไม่ร่วมกัน<br />

ทำาให้สังคมปลอดภัยน่าอยู่ มีมิตรไมตรีต่อกัน ไม่ร่วมกันสร้าง และบ่มเพาะ<br />

เยาวชนคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ มีศักยภาพที่จะช่วยดูแลและสร้างสรรค์เมือง<br />

ให้เป็นเมืองที่น่าอยู่ของทุกคนในอนาคต ผู้คนก็คงไม่อยากอยู่ในเมืองนั้นอีก<br />

ต่อไป และค่อยๆ ย้ายออก และในที่สุดถ้าเมืองปราศจากผู้คนเมืองก็จะตาย<br />

กลายเป็นเมืองร้างไปในที่สุด<br />

สระบุรีพัฒนาเมืองเกิดจากกลุ่มคนเล็กๆในเมืองที่ไม่อยากเห็นเมืองที่ตัวเอง<br />

เกิด เมืองที่ตัวเองอยู่และเมืองที่คาดหวังให้ลูกหลาน อยู่ในเมืองนี้ร่วมกัน<br />

อย่างมีความสุขต่อๆ ไป ต้องกลายเป็นเมืองร้างในอนาคต โครงการนี้จึง<br />

ชวนให้คนในเมืองช่วยกันคิด ช่วยกันทำา ช่วยกันพัฒนาสระบุรีให้เป็นเมือง<br />

น่าอยู่อย่างยั่งยืนเพื่อชาวสระบุรีและเพื่อลูกหลานต่อไป<br />

A city is not just a land where people can live together but is like<br />

a living thing that consists <strong>of</strong> people in the city who have to work<br />

together to support the life <strong>of</strong> the city. People in the city should<br />

help and collaborate to ensure the city’s economy and stability,<br />

as well as to help each other preserve the environment and good<br />

health and join together to make society safe and liveable. <strong>City</strong><br />

dwellers should foster a new generation <strong>of</strong> quality youth with the<br />

potential to help maintain and create a livable city for all in the<br />

future. Only then would people want to stay in that city and not<br />

move out. If the city is devoid <strong>of</strong> people, it will eventually die and<br />

become a deserted city.<br />

Saraburi has been developing its city as a result <strong>of</strong> a small group<br />

<strong>of</strong> people who do not want to see the city where they were born<br />

and live, as well as the city that expects children to live happily in<br />

this city. It must not become a deserted city in the future. This city<br />

development project invites locals to join forces and collaborate<br />

to make Saraburi a more sustainable city for the future.<br />

sbcd.co.th


112<br />

Benjakitti Park<br />

Khlong Toei, Bangkok<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer:<br />

The Treasury Department, Ministry <strong>of</strong> Finance<br />

สวนเบญจกิติ เป็นสวนสาธารณะในเมืองที่ตั้งอยู่ในพื้นที่โรงงานยาสูบเดิม<br />

ของกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง มีพื้นที่ครอบคลุม 450 ไร่ (720,000<br />

ตารางเมตร) ประกอบด้วยสวนเบญจกิติ 130 ไร่ สวนป่าเบญจกิติ เฟสหนึ่ง<br />

61 ไร่ และสวนป่าเบญจกิติ เฟสสอง-สาม 259 ไร่ หลังจากย้ายโรงงาน<br />

ยาสูบแล้ว ก็มีการพัฒนาพื้นที่ดังกล่าวให้กลายเป็นสวนสาธารณะในเมือง<br />

ของกรุงเทพฯ<br />

สวนเบญจกิติ จัดตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์<br />

พระบรมราชินีนาถ ครบ 60 พรรษา โดยพระราชทานนามสวนว่า เบญจกิติ<br />

ตามชื่อของพระองค์ ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำาเนินไปพัฒนาสวนสาธารณะ<br />

แห่งแรกให้เป็นสวนป่าในเมืองเชื่อมกับสวนเบญจกิติ<br />

แนวคิดการออกแบบสวนป่าเบญจกิติ คือ ประการแรก ตามพระวิสัยทัศน์<br />

ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความ<br />

เข้าใจของประชาชนเกี่ยวกับระบบนิเวศ ป่าไม้ อุทกวิทยา และสิ่งแวดล้อม<br />

แก่ชุมชนเมือง ประการที่สอง เพื่อเป็น ‘ความคิดริเริ่ม’ ของการพัฒนา<br />

อุทยานเชิงนิเวศ และประการสุดท้าย เพื่อให้บริการชุมชนเมืองและรักษา<br />

ระบบนิเวศสิ่งแวดล้อมของเมือง คงปริมาตรน้ำ าให้อยู่ที่ 128,000 ลูกบาศก์-<br />

เมตร ในฤดูฝนและสามารถผลิตน้ำาสะอาดได้ 1,600 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน<br />

Benjakitti Park is an urban park located in The former Tobacco<br />

factory area, owned by the Treasury Department, Ministry <strong>of</strong><br />

Finance. The site covers 450 Rais (720,000 sq.m.), 130 Rais <strong>of</strong><br />

Benjakitti Lake Park, 61 Rais <strong>of</strong> Benjakitti Forest Park phase 1, and<br />

259 Rais <strong>of</strong> Benjakitti Forest Park phase 2-3. After the Tobacco<br />

factory was relocated, the site was developed to become an urban<br />

park in Bangkok.<br />

Benjakitti Park was established to celebrate the 60th Birthday <strong>of</strong><br />

Her Majesty Queen Sirikit, The Queen Mother, given the Park name<br />

‘Benjakitti’ after her. Her Majesty went to The Park’s first development,<br />

The Urban Forest Park linked to the Benjakitti Lake Park.<br />

The design concepts <strong>of</strong> the Benjakitti Forest Park were, Firstly,<br />

Following Her Majesty’s visions to improve public understanding<br />

and knowledge about the ecology, forest, hydrology, and environment<br />

<strong>of</strong> the urban community. Secondly, To become an ‘Initiative’<br />

<strong>of</strong> Ecological Park Development. Lastly, To serve the urban communities<br />

and preserve the ecological environment <strong>of</strong> the city,<br />

retaining the 128,000 cubic meters <strong>of</strong> water in the rainy season<br />

and producing clean water 1,600 cubic meters/day.<br />

treasury.go.th


Happy and Healthy<br />

Bike Lane<br />

Bang Phli, Samut Prakan<br />

WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

113<br />

Developer and Designer:<br />

Cycling Track Management Social Enterprise<br />

Company Limited<br />

สนามปั่นจักรยาน ‘เจริญสุขมงคลจิต’ หรือในชื่อ ‘HAPPY AND HEALTHY<br />

BIKE LANE’ เกิดขึ้นจากวิสัยทัศน์ของธนาคารไทยพาณิชย์ ที่ต้องการแสดง<br />

ความความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility) คำานึงถึง<br />

ประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ใส่ใจ<br />

เรื่องการออกกำาลังกายและดูแลสุขภาพเพิ่มมากขึ้น สามารถเข้าถึงสถานที่<br />

ออกกำาลังกาย ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐานระดับสากลโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์จึงได้ร่วมมือกับบริษัท อากาศยานไทย จํากัด (มหาชน)<br />

พัฒนาโครงการลู่ปั่นจักรยานที่ได้มาตรฐานบริเวณโดยรอบ ท่าอากาศยาน<br />

สุวรรณภูมิ โดยสร้างสิ่งอํานวยความสะดวกภายในบริเวณ ประกอบด้วย ลู่ปั่น<br />

จักรยานระยะทาง 23.5 กิโลเมตร ลู่ปั่นระยะสั้น/ลู่วิ่ง ระยะทาง 1.5 กิโลเมตร<br />

ลู่ปั่นจักรยานสำาหรับเด็ก ระหว่างอายุ 4-12 ปี สนามปั่นจักรยานขาไถ<br />

(Balance Bike) สำาหรับเด็กเล็กอายุไม่เกิน 5 ขวบ ศูนย์ออกกําลังกายกลาง-<br />

แจ้ง และศูนย์พยาบาลประจําตลอดเวลา<br />

The cycling field, ‘Charoen Suk Mongkon Jiit’ or ‘HAPPY AND<br />

HEALTHY BIKE LANE’ arose from the vision <strong>of</strong> Siam Commercial<br />

Bank as a Corporate Social Responsibility (CSR) project. The<br />

project considers the community and societal benefits <strong>of</strong> encouraging<br />

people <strong>of</strong> all genders and ages to pay more attention to<br />

exercise and health and to have free access to a safe and internationally<br />

standard fitness facility.<br />

The Siam Commercial Bank has cooperated with Thai Aircraft<br />

PCL to develop a bicycle lane project around Suvarnabhumi<br />

Airport that meets international standards by building facilities<br />

within the area. The program consists <strong>of</strong> a 23.5-kilometer bicycle<br />

lane, a 1.5-kilometer short-distance track or running track, a bicycle<br />

track for children between 4 and 12 years old, a balance bike for<br />

young children under five years old, and a 24-hour outdoor fitness<br />

center and medical center.<br />

hhblbikelane.com<br />

facebook.com/hhblbikelane


114<br />

Chulalongkorn<br />

University<br />

Centenary Park<br />

Pathum Wan, Bangkok<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer and Designer:<br />

Property Management <strong>of</strong> Chulalongkorn<br />

University<br />

N7A architects Company Limited<br />

Landprocess Company Limited<br />

เนื่องในโอกาสที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยก่อตั้งครบรอบ 100 ปี นอกจาก<br />

การจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง ความพิเศษหนึ่ง ที่สร้างความ<br />

ภาคภูมิใจไม่แพ้กันคือการมอบพื้นที่กว่า 30 ไร่ใจกลางเมืองเพื่อสร้างเป็น<br />

สวนสาธารณะ มอบให้แก่คนกรุงเทพฯ แนวคิดที่แตกต่างสะท้อนสู่สวน<br />

สาธารณะ ที่ไม่เหมือนใคร<br />

หน้าที่แรกของอุทยาน 100 ปีจุฬาฯ คือกักเก็บน้ำาทุกหยดไว้ใช้ พื้นที่โดย<br />

รวมของสวน จึงถูกยกขึ้นจนลาดเอียงเพื่อให้น้ำาฝนไหลมารวมกัน ที่สระ<br />

รับน้ำาด้านหน้าสุด (Retention Pond) รวมถึงไหลลงด้านข้างที่มีส่วนพื้นที่<br />

ชุ่มน้ำา (Wetland) ไว้รองรับน้ำา ขณะที่บริเวณอื่นซึ่งเป็น ผืนดินก็มีทั้งสนาม-<br />

หญ้าและต้นไม้ช่วยดูดซับน้ำา ส่วนที่เป็นปูน ก็ใช้วัสดุอย่างคอนกรีตรูพรุน<br />

(Porous concrete) แทนคอนกรีตปกติที่น้ำา ซึมสู่ดินไม่ได้ และถ้ามีน้ำา<br />

เหลือบนพื้น น้ำานั้นจะไหลไปสู่สวนน้ำาฝน (Rain Garden) ทางระบายน้ำาที่<br />

ไม่ได้มีการวางท่อ แต่เป็นทางที่เรียงรายด้วยไม้พุ่มและพืชคลุมดิน ต้นไม้<br />

เล็กๆ ซึ่งช่วยซับน้ำา<br />

Text: นิตยสารบ้านและสวน<br />

On the occasion <strong>of</strong> the 100th anniversary <strong>of</strong> the establishment<br />

<strong>of</strong> Chulalongkorn University, the country’s oldest university, in<br />

addition to organizing various activities to celebrate this special<br />

occasion, the university has given more than 30 rai <strong>of</strong> land in the<br />

heart <strong>of</strong> Bangkok to create a public park. Different unique concepts<br />

are reflected in the uniqueness <strong>of</strong> the park.<br />

The Chulalongkorn University Centenary Park’s most important<br />

job is to gather every drop <strong>of</strong> water for use. Therefore, the overall<br />

area <strong>of</strong> the garden was raised to a slope to allow rainwater to flow<br />

to the retention pond and down to the side where there is a wetland<br />

to support the water. In contrast, other areas, which are soil parcels,<br />

also include lawns and trees that help absorb water. In the<br />

landscape, where it is cement or hardscape, landscape architects<br />

use materials such as porous concrete instead <strong>of</strong> normal ones<br />

that are water impervious to the soil. If water is left on the ground,<br />

it flows into the rain garden, which is a non-piped drainage channel<br />

lined with shrubs and ground cover, as well as small trees that<br />

absorb water well.<br />

cu100.chula.ac.th/cu-centenary-park


Chao Phraya<br />

Sky Park<br />

Phra Nakhon, Bangkok<br />

WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

115<br />

Developer and Designer:<br />

Bangkok Metropolitan Administration<br />

<strong>City</strong> Planning and Urban Development<br />

Department (BMA), Chulalongkorn University<br />

Urban Design Development Center (UDDC),<br />

Chulalongkorn University<br />

Chakdao Navacharoen<br />

Kotchakorn Voraakhom<br />

สวนลอยฟ้าเจ้าพระยา (Chao Phraya Sky Park) สะพานคนเดินข้ามแม่น้ำา<br />

เจ้าพระยา แลนด์มาร์คแห่งใหม่ของคนกรุงเทพฯ ถือเป็นสวนลอยฟ้าแห่ง<br />

แรกของประเทศไทยและสวนลอยฟ้าข้ามแม่น้ำาแห่งแรกของโลก ที่ตั้งของ<br />

สวนลอยฟ้าเจ้าพระยานั้นเดิมคือ ‘โครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน’ ที่เป็นโครงการ<br />

รถไฟฟ้าโครงการแรกของประเทศไทย<br />

ด้านภูมิสถาปัตยกรรมนั้นมุ่งเน้นการใช้งาน บำารุงรักษาง่าย เลือกใช้พันธุ์<br />

พืชที่เหมาะสมกับสภาพอากาศของกรุงเทพฯ และไม่ใช้ต้นไม้ใหญ่ เพื่อ<br />

ลดน้ำาหนักโครงสร้างและลดอันตรายจากกิ่งไม้-ใบไม้ เพื่อความปลอดภัย<br />

ของผู้ใช้จราจรบนสะพานพระปกเกล้า พืชบนสวนลอยฟ้า ยังมีประโยชน์<br />

กับแมลงและระบบนิเวศโดยรวมด้วยและกรุงเทพมหานครได้เปิดประกวด<br />

ให้ตั้งชื่อสวนสาธารณะลอยฟ้าดังกล่าวและตัดสินคัดเลือกใช้ชื่อว่าสวน-<br />

ลอยฟ้าเจ้าพระยา (Chao Phraya Sky Park) โดยเปิดให้ใช้บริการเมื่อ<br />

เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563<br />

Chao Phraya Sky Park is a pedestrian bridge over the Chao Phraya<br />

River and a new landmark in Bangkok. The project is considered<br />

the first sky garden in Thailand and the first sky garden across the<br />

river in the world. The location <strong>of</strong> this sky garden was originally<br />

the Lavalin Electric Train Project, the first electric train project in<br />

Thailand.<br />

The landscape architects working on the project are considering<br />

how people will use it, how easy it will be to maintain it, which<br />

plants will thrive in Bangkok’s climate, and whether or not to plant<br />

large trees in order to reduce the weight <strong>of</strong> the structure and the<br />

danger that tree branches and leaves pose to people driving on<br />

the Phra Pok Klao Bridge. The plants in the sky garden also benefit<br />

insects and the ecosystem as a whole, and the Bangkok Metropolitan<br />

Administration opened a contest to name the sky park and<br />

decided to choose the name Chao Phraya Sky Park. It was <strong>of</strong>ficially<br />

opened to the public in June 2020.<br />

main.bangkok.go.th<br />

Credit: Bangkok Tourism Division


116<br />

Community<br />

Organizations<br />

Development<br />

Institute<br />

Bangkok, Thailand<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer and Designer:<br />

Community Organizations Development Institute<br />

(CODI)<br />

โครงการพัฒนาชุมชนจากการมีส่วนร่วมระหว่าง พอช. องค์กรชุมชน และ<br />

ภาคีนักออกแบบร่วมกันออกแบบวางผังชุมชน ที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตความ<br />

ต้องการและความสามารถในการจ่ายของผู้มีรายได้น้อยและคนไร้บ้าน ให้<br />

ได้สิทธิ์ในการมีที่อยู่อาศัย อย่างถูกต้องและมั่นคงในระยะยาว โดยชุมชนเป็น<br />

ผู้ดำาเนินการพัฒนาโครงการด้วยชุมชนเอง และ พอช.สนับสนุนกระบวนการ<br />

ศึกษาและออกแบบ อุดหนุนงบประมาณในการพัฒนา และสนับสนุนสินเชื่อ<br />

ระยะยาว<br />

1. โครงการชุมชนเย็นอากาศ 2 Community Affordable Housing<br />

364 ครัวเรือน พัฒนาชุมชนแออัดในย่านกลางเมือง: ATOM<br />

Design<br />

2. โครงการชุมชนบ้านครัว พลิกฟื้นย่านเก่าในเมือง พัฒนา<br />

ชุมชนประวัติศาสตร์ ต่อยอดสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์: สถาบัน<br />

อาศรมศิลป์<br />

3. โครงการศูนย์พัฒนาศักยภาพคนไร้บ้านปทุมธานี-บ้านพูนสุข<br />

ที่พักพิงที่กระตุ้นให้คนไร้บ้านพัฒนาตนเองและกลับสุ่สังคม<br />

Text: Pitirat Yoswattana<br />

This community development project is a collaboration <strong>of</strong> CODI,<br />

community organizations, and designer partners jointly designing<br />

a community plan for the lifestyles, needs, and affordability <strong>of</strong><br />

low-income and homeless people so that they have the right to<br />

have a place to live legally and more securely in the long term.<br />

The community is in charge <strong>of</strong> developing the project on its own,<br />

while CODI helps with the study and design <strong>of</strong> the process,<br />

subsidizes the budget for development, and provides long-term<br />

loans.<br />

1. The Yen Akat 2 Community Affordable Housing Project<br />

- will help 364 families build slums in the middle <strong>of</strong> the<br />

city. ATOM Design<br />

2. The Baan Krua Community Project - aims to revitalize<br />

an old city neighborhood and build up historical communities<br />

as an extension <strong>of</strong> the creative economy.<br />

3. Pathum Thani Homeless Potential Development Center<br />

Project - Baan Poonsuk, a shelter that encourages<br />

homeless people to develop themselves and return to<br />

living a normal life in society.<br />

en.codi.or.th


WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

Big Trees Project<br />

foundation / Urban Tree<br />

Network / Thai Arboriculture<br />

Association (TAA)<br />

Bangkok, Samut Prakan<br />

117<br />

Developer and Designer:<br />

Big Trees Group<br />

กลุ่มบิ๊กทรีส์ เกิดจากการรวมตัวกันของคนที่มีอาชีพแตกต่างกัน แต่มี<br />

อุดมการณ์ร่วมกันในเรื่องสิ่งแวดล้อมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า เรานำ าทักษะ<br />

ที่หลากหลายร่วมกันสร้างเครือข่ายเพื่อสร้างความตระหนัก ปลูกฝังความ<br />

เข้าใจ ร่วมทำาหน้าที่ปลูกดูแล รักษาโรค ตัดแต่งปกป้องต้นไม้ใหญ่ ผ่านการ<br />

จัดการด้านรุขกรรมในการสร้างพื้นที่สีเขียวที่ยั่งยืนให้กับเมืองและพื้นที่อื่นๆ<br />

Big Trees was formed by a combination <strong>of</strong> people with different<br />

occupations who shared a common ideology in regard to the environment<br />

and a desire for a better quality <strong>of</strong> life. The foundation<br />

brings a wide range <strong>of</strong> skills together to create a network to raise<br />

awareness, cultivate understanding, and participate in the duty <strong>of</strong><br />

planting, taking care <strong>of</strong>, healing, pruning, and protecting big trees<br />

through the management <strong>of</strong> sustainable green spaces for cities<br />

and other areas.<br />

Bigtreesthai.com/th<br />

facebook.com/BIGTreesProject


118<br />

We Live Silom<br />

Association<br />

Bangkok, Thailand<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer:<br />

We Love Silom Association<br />

โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนสีลม เกิดจากการให้ความสำาคัญกับย่าน<br />

เศรษฐกิจสำาคัญแห่งแรกของกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นถนนสายธุรกิจที่มีประวัติ<br />

ความเป็นมายาวนาน เป็นศูนย์กลางธุรกิจและการค้า ตลอดจนเป็น<br />

Financial District ที่มีอาคารสำานักงาน ธนาคาร บริษัทขนาดใหญ่<br />

สถานฑูต และบริษัทหลักทรัพทย์ชั้นนำามากมาย จนได้สมญานามว่า<br />

Wall Street <strong>of</strong> Thailand<br />

นอกจากนี้ สีลม ยังเป็นเป็นย่านที่มีการรวมตัวของคนหลากหลายอาชีพ<br />

หลากหลายช่วงวัย และยังเป็นศูนย์รวมความแตกต่างของวัฒนธรรม<br />

กลายเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นดึงดูดให้ผู้คนเข้ามาใช้ชีวิตในพื้นที่แห่งนี้<br />

ไหลเวียนเข้ามาทำากิจกรรมตลอดทั้งวัน ทำาให้ย่านสีลม จำาเป็นต้องรับมือ<br />

และมีการปรับปรุงการจัดการพื้นที่ ทัศนียภาพโดยรอบที่ส่งผลต่อความ<br />

สะดวกสบาย และความปลอดภัยของผู้คนในพื้นที่แห่งนี้<br />

The Silom Road landscape improvement project was born from<br />

the focus on Bangkok’s first major economic district, a business<br />

street with a long history. It is the center <strong>of</strong> business, trade, and<br />

finance in Thailand. It has a lot <strong>of</strong> high-rise <strong>of</strong>fice buildings, banks,<br />

large corporations, embassies, and securities firms, which is why<br />

it is called the Wall Street <strong>of</strong> Thailand.<br />

Silom is also a neighborhood with people <strong>of</strong> different ages and<br />

jobs, and it is also where different cultures meet. People flow in<br />

for activities throughout the day, causing the Silom area to need<br />

to cope, manage the area, and improve the surrounding scenery<br />

that affects the comfort and safety <strong>of</strong> people in the community.<br />

www.iurc.eu/wp-content/uploads/2021/08/4.4_<br />

Business-Talk_We-Love-Silom_Ornruedi-Na-Ranong.pdf


We! Park<br />

Bangkok, Thailand<br />

WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

119<br />

Developer:<br />

Bangkok Metropolitan Administration<br />

ThaiHealth Promotion Foundation<br />

TALA Thai Association <strong>of</strong> Landscape Architects<br />

WE!PARK – WE CREATE PARK!<br />

แพลตฟอร์มเพื่อการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวในเมืองอย่างมีส่วนร่วมนี้<br />

ได้เริ่มตั้งแต่แนวคิดในการดำาเนินงานที่เห็นถึงศักยภาพ ของพื้นที่ทิ้งร้างซึ่ง<br />

มีกระจัดกระจายอยู่ทั่วเมืองจากการขยายตัวที่ไม่เป็นระบบ กระบวนการ<br />

สร้างพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ที่จะไม่กลับไป เป็นที่รกร้าง จากการมีส่วนร่วม<br />

ของชุมชน ความพยายามในการสร้างการ มีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนอย่างมี<br />

คุณภาพ ภายใต้นโยบาย Green Bangkok 2030 ตลอดจนการทดลองไอเดีย<br />

และพัฒนากระบวนการดูแลสวนร่วมกับคนในพื้นที่ โดยเฉพาะด้านการสร้าง<br />

กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ก่อให้เกิดรายได้หมุนเวียนในชุมชน เพื่อเป็นเงินทุน<br />

ในการบริหารจัดการและดูแลสภาพสวนด้วยตัวชุมชนเอง<br />

ในปีที่ผ่านมาได้มีการตั้งเป้าหมาย Green Bangkok 2030 ซึ่งจะพัฒนาเมือง<br />

กรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองสีเขียวตามมาตรฐาน ระดับนานาชาติให้ได้<br />

ใน 10 ปี ซึ่งยึดหลักเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลก หรือ WHO ว่าเมืองที่ดี<br />

จะต้องมีพื้นที่สีเขียวต่อประชากรอยู่ที่ 10 ตารางเมตร/คน และคนในเมือง<br />

จะต้องเข้าถึงพื้นที่สีเขียวได้ในระยะ 400 เมตร ซึ่งในกรณีของกรุงเทพฯ<br />

หมายถึงการสร้างสวนขนาดเล็ก กระจายอยู่ในทุกเขต ทุกย่าน ทั่วทั้งเมือง<br />

และเชื่อมกันเป็นโครงข่าย<br />

WE!PARK is a platform for the collaborative development <strong>of</strong> green<br />

urban public spaces, based on a business model that recognizes<br />

the potential <strong>of</strong> abandoned areas scattered throughout the city<br />

as a result <strong>of</strong> unsystematic growth.The project is creating a new<br />

green space that will not return to wasteland through community<br />

participation efforts to generate participation in every process<br />

with quality under the Green Bangkok 2030 policy. WE!PARK<br />

also experiments with ideas and develops garden and landscape<br />

maintenance processes with local people, especially in creating<br />

economic activities that generate revolving income in the community<br />

to fund the management and maintenance <strong>of</strong> the park by itself.<br />

In the past year, Green Bangkok 2030 has been set up to develop<br />

Bangkok into a green city according to international standards<br />

within ten years. The policy is based on the World Health Organization<br />

(WHO) criteria that a good city must have a green area per<br />

population <strong>of</strong> 10 square meters per person, and its dwellers must<br />

be able to access green areas within 400 meters. In the case <strong>of</strong><br />

Bangkok, this means establishing small gardens in every district,<br />

every neighborhood, and throughout the city, all <strong>of</strong> which are linked<br />

as a network.<br />

wepark.co<br />

facebook.com/wecreatepark


120<br />

Research<br />

& Innovation for<br />

Sustainability<br />

Center; RISC<br />

Bangkok, Thailand<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer and Researcher:<br />

Research & Innovation for Sustainability<br />

Center; RISC<br />

ศูนย์วิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน (Research & Innovation for<br />

Sustainability Center; RISC) บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวลอปเมนต์<br />

คอร์ปอเรชั่น จำากัด (MQDC) เป็นศูนย์ค้นคว้าและพัฒนาที่เน้นนวัตกรรม<br />

ด้านคุณภาพชีวิตแห่งแรกของเอเชีย ประกอบด้วยเครือข่ายนักวิจัย นวัตกร<br />

ผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งผู้ผลิต เพื่อให้เกิดนวัตกรรมที่หลากหลายที่สามารถ<br />

ต่อยอดไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต และสุขภาวะของสิ่งมีชีวิต ทุกชีวิต<br />

ในโลก รวมไปถึงการฟื้นฟูและรักษาสภาพแวดล้อมให้อยู่ในสมดุล เอื้อ<br />

ต่อการใช้ชีวิตของทุกสรรพสิ่งได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพ และยั่งยืน<br />

ผลงานวิจัยที่ศึกษาและค้นคว้าขึ้น ไม่เพียงเพื่อนำามาใช้เฉพาะกับโครงการ<br />

ต่างๆ ขององค์กรเท่านั้น แต่ยังพร้อมเปิดพื้นที่วิจัยนี้ให้กับทุกคน ทุกองค์กร<br />

ที่สนใจด้านการพัฒนาและก่อสร้างอย่างยั่งยืน เสมือนห้องค้นคว้าของ<br />

ประชาชน บุคคลภายนอกได้เข้ามาเรียนรู้ นำาไปประยุกต์ใช้จริง เพื่อยก<br />

มาตรฐานความเป็นอยู่ให้กับวงการอสังหาริมทรัพย์ ตลอดจนสร้างนวัตกรรม<br />

ต่างๆ เพื่อช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต<br />

The Research and Innovation for Sustainability Center (RISC)<br />

<strong>of</strong> Magnolia Quality Development Corporation Limited (MQDC)<br />

is the first research and development center in Asia to focus<br />

on improving the quality <strong>of</strong> life. It is a network <strong>of</strong> researchers,<br />

innovators, experts, and manufacturers who work together to<br />

come up with new ideas that can be used to improve the lives<br />

and well-being <strong>of</strong> all living things on earth. It also wants to bring<br />

the environment back into balance and keep it that way so that<br />

it can support the lives <strong>of</strong> all living things in terms <strong>of</strong> quality and<br />

sustainability.<br />

The research results that have been studied and performed<br />

are not used only for MQDC projects but are also available to<br />

everyone, including every organization interested in sustainable<br />

development and construction. RISC would function as a public<br />

research laboratory where people from outside the real estate<br />

industry could come to learn and put their knowledge into<br />

practice—to raise living standards for the industry and create<br />

innovations to help solve problems that affect our quality <strong>of</strong> life.<br />

risc.in.th


Yothi Medical<br />

Innovation District<br />

Bangkok, Thailand<br />

WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

121<br />

Developer and Researcher:<br />

Yothi Medical Innovation District<br />

ย่านนวัตกรรมการแพทย์โยธี คือพื้นที่ตั้งบริเวณถนนโยธี อยู่ระหว่างถนน<br />

ราชวิถี และถนนศรีอยุธยา เชื่อมต่อกับถนนพระราม 6 และถนนพญาไท เพราะ<br />

ถนนโยธีแห่งนี้เป็นที่ตั้งของศูนย์การแพทย์ สถาบันการแพทย์และโรงพยาบาล<br />

ของรัฐ และมหาวิทยาลัย ชั้นนำาของไทยหลายแห่งในพื้นที่บริเวณนั้นมาเป็น<br />

เวลายาวนาน เสมือนหนึ่งเป็นดั่ง Medical Academy District ของกรุงเทพ<br />

ที่สำาคัญ จึงเป็นที่มาของการริเริ่มยกระดับย่านศูนย์การแพทย์แห่งนี้ ขึ้นเป็น<br />

‘ย่านนวัตกรรมการแพทย์โยธี’<br />

ย่านนวัตกรรมการแพทย์โยธีแห่งนี้ เกิดขึ้นและดําเนินงานภายใต้ความร่วมมือ<br />

ของพันธมิตร 3 กระทรวง หลักแห่งระบบการศึกษาไทย ได้แก่ กระทรวง<br />

การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงสาธารณสุข และ<br />

กระทรวงศึกษาธิการ มีเป้าหมายร่วมกันคือนำ าพา ประเทศไปสู่โอกาสและ<br />

ความสำาเร็จแห่งอนาคต บนแผนพัฒนาพื้นที่ต้นแบบในการพัฒนานวัตกรรม<br />

ด้านการแพทย์ของประเทศเป็นหลัก ซึ่งจะเป็นธงนำ าในการขับเคลื่อนเศษฐกิจ<br />

ประเทศ ควบคู่ไปกับการเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการบริการเทคโนโลยีการ<br />

แพทย์ ที่ทันสมัยของประชาชนได้<br />

Yothi Medical Innovation District is located on Yothi Road between<br />

Rajavithi and Sri Ayutthaya Road, connected to Rama 6 and Phayathai<br />

Road. Yothi Road has been the location <strong>of</strong> the medical<br />

centers, many leading public medical institutions and hospitals,<br />

and universities in that area for decades. It is also known as a<br />

significant medical academy district in Bangkok. So that was the<br />

starting point <strong>of</strong> the initiative to upgrade this medical center area<br />

to be the ‘Yothi Medical Innovation District’.<br />

Yothi Medical Innovation District occurs and operates under the<br />

cooperation <strong>of</strong> alliances from the 3 main ministries <strong>of</strong> the Thai<br />

education system, namely the Ministry <strong>of</strong> Higher Education,<br />

Science, Research and Innovation, the Ministry <strong>of</strong> Public Health,<br />

and the Ministry <strong>of</strong> Education. The common goal is to lead the<br />

country to future opportunities and success based on the model<br />

area development plan to primarily develop medical innovation in<br />

the country, which will be the leading flag in driving the country’s<br />

economy while also increasing people’s access to modern medical<br />

technology services.<br />

ymid.or.th<br />

facebook.com/YMID<strong>of</strong>ficial


122<br />

Urban Recognition:<br />

Silpakorn University<br />

Bangkok, Thailand<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Developer and Researcher:<br />

Assistant Pr<strong>of</strong>essor Supitcha Tovivich, Ph.D.<br />

งานพัฒนาฟื้นฟูชุมชน เป็นตัวอย่างงานออกแบบทางสถาปัตยกรรมที่เรา<br />

เห็นกันได้บ่อยๆ โดยเฉพาะในชุมชนเล็กๆ ที่มักมีคนนอกพื้นที่ เข้าไปช่วย<br />

ปรับปรุงให้สวยงามน่ามอง แต่บ่อยครั้ง สิ่งที่ตามมามักเป็นประเด็นถกเถียง<br />

ระหว่างคนนอก ต้ังแต่สถาปนิก นักผังเมือง นักออกแบบ กับคนในพื้นที่<br />

ผู้อยู่อาศัย ที่ตั้งคําาถามกับงานที่ไม่ได้ช่วยแก้ไขปัญหาใดๆ ให้ชุมชน ซ้ำายัง<br />

อาจเข้าไปเปลี่ยนวิถีชีวิตเดิมให้เสน่ห์สูญหายไป ทําให้งานพัฒนาชุมชน<br />

เป็นงานที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องไม่เพียงต้องใช้ทักษะในการออกแบบเท่าน้ัน<br />

แต่ต้องเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์และเข้าใจสิ่งที่ชุมชนต้องการอย่างแท้จริง ซึ่ง<br />

เป็นทักษะที่อาศัยองค์ความรู้ร่วมกันระหว่างคนนอกและคนในพื้นที่<br />

สิ่งที่โครงการนี้พยายามทําคือใช้ design process ชวนให้คนเข้ามามี<br />

ปฏิสัมพันธ์กัน การฟังเสียงความต้องการของชุมชนและดึงชุมชน เข้ามา<br />

มีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ การสนับสนุนให้เกิดความตระหนักรู้ในคุณค่าของ<br />

ชุมชนตนเอง และการสนับสนับสนุนให้เกิด sense <strong>of</strong> place ของ ชุมชน<br />

ที่ชัดเจนยิ่งขึ้น<br />

Community rehabilitation development is an example <strong>of</strong> architectural<br />

design we <strong>of</strong>ten see today, especially in small communities.<br />

When people outside the area or neighborhood go in to help improve<br />

it to be beautiful and attractive, what follows is <strong>of</strong>ten a point<br />

<strong>of</strong> debate between outsiders among architects, urban planners,<br />

designers, and community members. This raises questions and<br />

works that do little to help the community solve its problems.In<br />

addition, they may change the original way <strong>of</strong> life, so the place’s<br />

charm has been lost along the way. It causes community development<br />

projects to require not only the stakeholders’ design skills<br />

but also interaction and an understanding <strong>of</strong> what the community<br />

really needs. This skill relies on the knowledge shared between<br />

outsiders and people in the community.<br />

This project uses the design process to invite people to interact<br />

with each other, listen to the community’s needs, and pull the community<br />

out and get fully involved. The project has raised awareness<br />

<strong>of</strong> the value <strong>of</strong> the people in the community and supported a vivid<br />

sense <strong>of</strong> place in the community.<br />

su.ac.th/th/faculty-architecture.php


FutureTales LAB<br />

by MQDC<br />

Prakanong, Bangkok<br />

WONDER OF WELL-BEING AWARDS<br />

123<br />

Developer:<br />

Magnolia Quality Development<br />

Corporation Limited<br />

FutureTales Lab เป็นศูนย์อนาคตวิทยาที่จัดตั้งโดยบริษัท Magnolia Quality<br />

Development Corporation (MQDC) ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชั้นนำ าของไทย<br />

โดยเน้นไปที่การศึกษา วิเคราะห์ และระบุสัญญาณและตัวขับเคลื่อนของการ<br />

เปลี่ยนแปลง และทำาให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับความรู้และเครื่องมือในการ<br />

ตัดสินใจสำาหรับการวางแผนสู่อนาคตที่ดีขึ้น ห้องปฏิบัติการ FutureTales<br />

Lab นี้ ใช้การศึกษาอนาคตและการคาดการณ์ เพื่อตรวจสอบอนาคตของการ<br />

ใช้ชีวิต การทำางาน การเรียนรู้ การพักผ่อน การเคลื่อนไหว และความยั่งยืน<br />

นักวิจัยของ FutureTales Lab ทำาการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสำารวจและร่วมสร้าง<br />

สถานการณ์ในอนาคตที่เป็นไปได้และน่าจะเป็น โดยมีส่วนร่วมในความร่วม-<br />

มือด้านการวิจัยทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ และอำ านวยความสะดวก<br />

ให้นักอนาคตวิทยาจากหน่วยงานราชการ ธุรกิจ สถาบันการศึกษา และคน<br />

ทุกรุ่น ร่วมสร้างอนาคตที่ดีและน่าอยู่ นับตั้งแต่ก่อตั้งในเดือนมกราคม 2563<br />

FutureTales Lab ได้ตีพิมพ์รายงานวิจัยฉบับพิเศษร่วมกับ ARUP Foresight<br />

and Innovation เรื่อง ‘Future <strong>of</strong> Urbanization and The Greater Bangkok<br />

2050’ และ ‘Futures and Beyond - Navigating Thailand toward 2030’<br />

กับสำานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA)<br />

FutureTales Lab by MQDC is a private futurology center set up by<br />

top Thai property developer, Magnolia Quality Development Corporation<br />

(MQDC). The center focuses on studying, analyzing, and<br />

identifying signals and drivers <strong>of</strong> change, and equipping stakeholders<br />

with knowledge and decision-making tools for planning<br />

toward better futures. The lab utilizes future studies and foresight<br />

methodologies to investigate the futures <strong>of</strong> living, work, learning,<br />

leisure, mobility, and sustainability.<br />

FutureTales Lab’s researchers conduct data analysis to explore<br />

and co-build scenarios <strong>of</strong> possible and probable futures. We<br />

engage in national and international research collaborations and<br />

facilitate futurologists from government agencies, businesses,<br />

educational institutions, and all generations to co-structure preferable<br />

and livable futures. Since its establishment in January<br />

2020, FutureTales Lab has published a featured research report<br />

in collaboration with ARUP Foresight and Innovation on ‘Future<br />

<strong>of</strong> Urbanization and The Greater Bangkok 2050’, and ‘Futures<br />

and Beyond - Navigating Thailand toward 2030’ with National<br />

Innovation Agency (NIA).<br />

futuretaleslab.com


124<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

<strong>2022</strong><br />

Photo<br />

Contest<br />

Text: ASA <strong>WOW</strong><br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Photo Contest<br />

125<br />

<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Photo Contest: <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong> <strong>Being</strong>, hosted by<br />

the Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage in<br />

collaboration with Phot<strong>of</strong>ile and Thai Minimal Photo (Julaphap<br />

Minimal), is part <strong>of</strong> the <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Festival. The first <strong>of</strong> the two<br />

categories <strong>of</strong> the contest is ‘<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> Thailand, <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong><br />

Livable Cities.’ The category looks for photographs that capture<br />

the city from original and unique perspectives to discover images<br />

encapsulating the urban charm and way <strong>of</strong> life. The second category<br />

features works that capture the ‘spirit <strong>of</strong> the <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Festival’<br />

and the joy and stunningly lush surroundings <strong>of</strong> Benchakitti<br />

Park, depicting the wonder <strong>of</strong> livable cities. The contest includes<br />

46 awards totaling over THB 770,000 in prize money and is<br />

open to works by amateur and pr<strong>of</strong>essional photographers and<br />

interested individuals. The judging criteria encompass the concepts<br />

and meanings behind each captured image and its interesting<br />

compositions and creativity.<br />

โครงการประกวดภาพถ่่าย ‘อััศจรรย์เมืือังน่่าอัย่’ จัดโดย สมืาคมืสถ่าปนิิกสยามื ใน่พระบรมืราชููปถััมภ ์ ร่วมก ับ<br />

โฟโต้้ ไฟล์์ แล์ะจุล์ภาพ minimal โดยเป็ นส ่วน่หน่่ งขอังกิจกรรมืงาน่เทศกาล์ <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> ทังน่้ร่ปแบบการ<br />

ประกวดแบ่งอัอักเป็ น่ 2 ประเภท โดยประเภทท้ 1 ในห ัวข้อั ‘เมืือังไทยอััศจรรย์เมืือังน่่าอัย่’ การมือังวิถีีมุุมืเมืือังแบบ<br />

ใหม่่ ไม่่ใช่่อย ่างท้เคยเห็น่เพือค ้น่หาภาพท้ถ่่ายทอัดถึึงบรรยากาศ แล์ะวิถ่้ชู้วิต้ขอังเมืือังใน่มืุมืมือังท้แปล์กใหม่่อััศจรรย์<br />

ท้สุด ส่วน่ประเภทท้ 2 ในห ัวข้อั ‘ภาพถ่่ายบรรยากาศภายใน่งาน่ <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong>’ ท้แสดงอัอักถึึงความืสนุุกสน่าน่<br />

รืน่รมย ์ขอังงาน่เทศกาล์ภายใน่สวน่เบญจกิติิท้สวยงามื สะท้อัน่มืุมืมือังความือััศจรรย์ขอังเมืือังท้น่่าอัย่ ซึ่่ งทัง<br />

สอังประเภทเป็ น่การชิิงเงิน่รางวัล์รวมืทังสิน่กว่า 46 รางวัล์ มููลค ่ารวมื 770,000 บาท แล์ะเปิ ดรับภาพถ่่ายจาก<br />

ช่่างภาพมืือัสมััครเล่่น่ หรือัมืือัอัาชีีพแล์ะบุคคล์ทัวไปท้สน่ใจ โดยมีีเกณฑ์์ ใน่การตััดสิน่ ท้พิจารณาจากแน่วคิดแล์ะ<br />

ความืหมืายขอังภาพ อังค์ประกอับภาพท้น่่าสน่ใจ แล์ะความค ิดสร้างสรรค์ ใน่การถ่่ายภาพ<br />

The judges are:<br />

1. Nithi Sthapitanonda<br />

National Artist, Architectural Arts<br />

2. Chana Sumpalung<br />

President <strong>of</strong> the Association <strong>of</strong> Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

3. Wiwat Kulchan<br />

Former President <strong>of</strong> the Photographic Society <strong>of</strong><br />

Thailand under the Royal Patronage <strong>of</strong> His Majesty<br />

the King<br />

4. Asst. Pr<strong>of</strong>. Dr. Chawan Koonphiphat<br />

Head <strong>of</strong> Department <strong>of</strong> Imaging and Printing<br />

Technology Faculty <strong>of</strong> Science Chulalongkorn<br />

University<br />

5. Suwicha Premchaichuen<br />

Executive Director, Photo File Co., Ltd.<br />

สำาหรับกรรมืการต้ัดสิน่ผู้ทรงคุณวุฒิภาพถ่่ายใน่ครั้งน่้ ประกอับด้วย<br />

1. น่ิธิ สถ่าปิ ต้าน่น่ท์<br />

ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม<br />

2. ชูน่ะ สัมืพล์ัง<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

3. วิวัฒน่์ กุล์จัน่ทร์<br />

อดีตนายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

4. ผศ. ดร.ชูวาล์ คูร์พิพัฒน่์<br />

หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีภาพและการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

5. สุวิชูา เปรมืใจชูืน่<br />

กรรมการบริหาร บริษัท โฟโต้ไฟล์ จำากัด


126<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> Thailand, <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> Livable Cities<br />

<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Photo Contest<br />

(ประเภทที่ 1)<br />

รางวัล์ชูน่ะเล์ิศ<br />

ภาพแปลงเมล่อน ลอยฟ้ า<br />

โดย ธรรมรัตน์ สวัสดิชัย<br />

รางวัล์รอังชูน่ะเล์ิศ อััน่ดับ 1<br />

ภาพศิลปะของการอยู่ร่วมกัน<br />

โดย เพ็ญจันทร์ ขจรเดชะ<br />

รางวัล์รอังชูน่ะเล์ิศ อััน่ดับ 2<br />

ภาพมหัศจรรย์มุมเมือง<br />

โดย เสกสรร เสาวรส<br />

<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Photo Contest<br />

(Category 1)<br />

Winner<br />

Loi Fah Melon Plot<br />

Thammarat Sawatdichai<br />

First runner-up<br />

The art <strong>of</strong> coexistence<br />

Penchan Kachorndecha<br />

Second Runner-up<br />

Amazing picture in the corner <strong>of</strong> the city<br />

Seksan Saowarot<br />

รางวัล์ชูมืเชูย<br />

รางวัล์เข้ารอับสุดท้าย<br />

Honorable prizes<br />

Finalists<br />

ภาพเมืองเลย เมืองที่ไม่ได้<br />

ยิ ่งใหญ่ไปกว่าภูเขา<br />

โดย ชนาธิป อินทรวิชะ<br />

ภาพ <strong>City</strong> <strong>of</strong> lifestyle<br />

โดย พรชัย กิตติวงศ์สกุล<br />

ภาพชีวิตชนบทและชีวิตในเมือง<br />

โดย ทรงพล เทศกิจ<br />

ภาพป่ าในเมือง<br />

โดย จิรา ชุมศรี<br />

ภาพสีสันยามคํ ่าแห่งเมืองหลวง<br />

โดย ธนชาติ จึงแย้มปิ่น<br />

ภาพเบตง เมืองในสายหมอก<br />

โดย นพคุณ วิโรภาส<br />

ภาพเกาะปั นหยี อัศจรรย์วิถีชีวิต<br />

หมู่บ้านกลางทะเล<br />

โดย สุรกิจ แสวงชิต<br />

ภาพความสนุกที่กลางเมือง<br />

โดย ทศพร สหกูล<br />

ภาพบ้านเล็กในเมืองใหญ่<br />

โดย ประยนต์ ช่างเกวียน<br />

ภาพสวนเบญจกิติ<br />

โดย อิสรานุวัฒน์ เอื้อจิรกาล<br />

ภาพ Icon <strong>of</strong> Bangkok<br />

โดย ชัชชัย เนื่องเจริญพร<br />

ภาพแสงสุดท้ายในฤดูฝน<br />

โดย คเณศ สินก่อเกียรติ<br />

ภาพ Rain Garden In Town<br />

โดย หรรษา ตั้งมั่นภูวดล<br />

ภาพสวนสวยกลางเมืองใหญ่<br />

โดย พลฤทธิ์ ฐิติวริทธินันท์<br />

ภาพ A night<br />

โดย Rudeemard Thubpakdee<br />

ภาพหมู่บ้านเล็กๆ ในหุบเขา<br />

โดย เลอสม ล่วงพ้น​<br />

ภาพบรรยากาศร้านอาหาร<br />

สุดเก๋<br />

โดย กิตติรัชต์ วิภาตกนก<br />

ภาพศูนย์กลางแห่งเมือง<br />

นครปฐม<br />

โดย ทินกร ว่องวชิราพาณิชย์<br />

ภาพทางกลับบ้าน<br />

โดย ปรีดา เลิศล้ำา<br />

Loei city, a city that is not<br />

greater than mountains<br />

Chanatip Intaravicha<br />

<strong>City</strong> <strong>of</strong> lifestyle<br />

Pornchai Kittiwongsakul<br />

Rural life and city life<br />

songphol Thesakit<br />

Forest in the <strong>City</strong><br />

Jira Chumsri<br />

Photography <strong>of</strong> the city<br />

at night<br />

Thanachart Jungyampin<br />

Betong, the <strong>City</strong> in the Mist<br />

Noppakun Wiropart<br />

Koh Panyee: Amazing<br />

way <strong>of</strong> life in a village<br />

in the middle <strong>of</strong> the sea<br />

Surakit Swaengchit<br />

Fun in the middle <strong>of</strong> the city<br />

Thosaporn Sahakul<br />

A small house in a big city<br />

Prayon Changkwian<br />

Benjakitti Park<br />

Isaranuwat Auajirakan<br />

Icon <strong>of</strong> Bangkok<br />

Chatchai Nuengcharoenporn<br />

The last light in the rainy<br />

season<br />

Ganesh Sinkorkiat<br />

Rain Garden In Town<br />

Hansa Tangamanpoowadol<br />

Beautiful gardens in the<br />

middle <strong>of</strong> the big city<br />

Phonrit Thitivarithinun<br />

A night<br />

Rudeemard Thubpakdee<br />

A small village in the valley<br />

Lersom Loungpon<br />

A chic restaurant<br />

atmosphere<br />

Kittirach Wipakanok<br />

Image <strong>of</strong> the city center<br />

<strong>of</strong> Nakhon Pathom<br />

Tinnakorn Wongwachirapanich<br />

On the way back home<br />

Prida Lertlum


<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Photo Contest<br />

127<br />

Winner:<br />

First<br />

runner-up:<br />

Second<br />

Runner-up:<br />

Loi Fah Melon Plot<br />

Thammarat Sawatdichai<br />

Amazing picture in the corner<br />

<strong>of</strong> the city<br />

Seksan Saowarot<br />

The art <strong>of</strong> coexistence<br />

Penchan Kachorndecha<br />

Honorable prizes:<br />

Loei city, a city that is not<br />

greater than mountains<br />

Chanatip Intaravicha<br />

<strong>City</strong> <strong>of</strong> lifestyle<br />

Pornchai Kittiwongsakul<br />

Rural life and city life<br />

songphol Thesakit<br />

Forest in the <strong>City</strong><br />

Jira Chumsri<br />

Photography <strong>of</strong><br />

the city at night<br />

Thanachart Jungyampin<br />

Betong, the <strong>City</strong><br />

in the Mist<br />

Noppakun Wiropart<br />

Koh Panyee: Amazing way<br />

<strong>of</strong> life in a village in<br />

the middle <strong>of</strong> the sea<br />

Surakit Swaengchit<br />

Fun in the middle <strong>of</strong> the city<br />

Thosaporn Sahakul<br />

A small house in a big city<br />

Prayon Changkwian<br />

Benjakitti Park<br />

Isaranuwat Auajirakan<br />

Finalists:<br />

Icon <strong>of</strong> Bangkok<br />

Chatchai Nuengcharoenporn<br />

Rain Garden In Town<br />

Hansa Tangamanpoowadol<br />

Beautiful gardens in the<br />

middle <strong>of</strong> the big city<br />

Phonrit Thitivarithinun<br />

A night<br />

udeemard Thubpakdee<br />

The last light in the rainy<br />

season<br />

Ganesh Sinkorkiat<br />

A small village in the valley<br />

Lersom Loungpon<br />

A chic restaurant atmosphere<br />

Kittirach Wipakanok<br />

Image <strong>of</strong> the city center<br />

<strong>of</strong> Nakhon Pathom<br />

Tinnakorn Wongwachirapanich<br />

On the way back home<br />

Prida Lertlum


128<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Winner:<br />

Loi Fah Melon Plot<br />

Thammarat Sawatdichai


<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Photo Contest<br />

129


130<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

First runner-up:<br />

The art <strong>of</strong> coexistence<br />

Penchan Kachorndecha


<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Photo Contest<br />

131<br />

Second Runner-up:<br />

Amazing picture in the corner <strong>of</strong> the city<br />

Seksan Saowarot


132<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Spirit <strong>of</strong> the <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Festival<br />

<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Photo Contest<br />

(ประเภทที่ 2)<br />

รางวัล์ชูน่ะเล์ิศ<br />

ภาพรื่นรมย์กลางสายฝน<br />

โดย ธรรมรัตน์ สวัสดิชัย<br />

รางวัล์รอังชูน่ะเล์ิศ อััน่ดับ 1<br />

ภาพสีสันงาน <strong>WOW</strong><strong>2022</strong><br />

โดย นายสุกฤษฏิ์ หิรัญสารพงศ์<br />

รางวัล์ POPULAR in social media<br />

ภาพอารมณ์ดีเพราะมีความสุข<br />

โดย นายวิสรรค์ แพงประเสริฐ<br />

<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Photo Contest<br />

(Category 2)<br />

Winner<br />

Pleasant picture in the rain<br />

Thammarat Sawatdichai<br />

First runner-up<br />

Colorful pictures <strong>of</strong> <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong><br />

Sukrit Hiransaraphong<br />

Popular in social media award<br />

Good mood because <strong>of</strong> happiness<br />

Wisan Paengprasert<br />

รางวัล์ชูมืเชูย<br />

รางวัล์เข้ารอับสุดท้าย<br />

Honorable prizes<br />

Finalists<br />

ภาพสีสันแห่งความสุข<br />

โดย ภาสกร บรรดาศักดิ์<br />

ภาพลวดลายสีสัน<br />

โดย พลฤทธิ์ ฐิติวริทธินันท์<br />

Colors <strong>of</strong> happiness<br />

Passakorn Bandasak<br />

Colorful patterns<br />

Phonrit Thitiwaritthinan<br />

ภาพเติบโต<br />

โดย อนุพงษ์ บุญรักษา<br />

ภาพทุ่งดอกไหมพรม<br />

โดย พลฤทธิ์ ฐิติวริทธินันท์<br />

ภาพเดินไปด้วยกัน<br />

โดย อนุสรณ์ แก่นวงษ์<br />

ภาพมีสุ ข<br />

โดย มนชัย ประทีปพิชัย<br />

ภาพ Festival colors<br />

โดย จิรา ชุมศรี<br />

ภาพ Learn<br />

โดย นฤเบศร์ งามใส<br />

ภาพในฝั น<br />

โดย นรชัย กุลเวศภัทรวงศ์<br />

ภาพสะกดคําว่า <strong>WOW</strong><br />

โดย ธนกฤต สิงหกลางพล<br />

ภาพ Little Big Wings<br />

โดย วรวุฒิ ชัยกิตติกรณ์<br />

ภาพสีสันในสวน<br />

โดย กิตติรัชต์ วิภาตกนก<br />

ภาพความสุขของทานตะวัน<br />

โดย เอกรินทร์ เอกอัจฉริยะวงศ์<br />

ภาพบรรเลงสีสร้างศิลปะ<br />

โดย อัครายชญ์ เพ็ชร์อำาไพ<br />

ภาพ Happy Ground<br />

โดย เสกสรร เสาวรส<br />

ภาพ <strong>WOW</strong><br />

โดย หรรษา ตั้งมั่นภูวดล<br />

ภาพโลกแห่งสีสันและความสุข<br />

โดย ศิริพงศ์ ปทุมอัครินทร์<br />

ภาพมิติสีสันแห่งความสุข<br />

สนุกสนาน<br />

โดย ดนัย ดอกไม้ทอง<br />

ภาพความพอดี<br />

โดย เลอสม ล่วงพ้น<br />

ภาพโลกสีเขียว<br />

โดย พรชัย กิตติวงศ์สกุล<br />

Grow<br />

Anupong bunruksa<br />

A field <strong>of</strong> silk flowers<br />

Phonrit Thitiwaritthinan<br />

Walk together<br />

Anusorn Kaenwong<br />

Happy photo<br />

Monchai Parteeppichai<br />

Festival colors<br />

Jira Chumsri<br />

Learn<br />

Naruebet Ngamsai<br />

Dream<br />

Norachai Kulvespattarawong<br />

Spelling <strong>WOW</strong><br />

Thanakrit Singhaklangpol<br />

Little Big Wings<br />

Vorawut Chaikittikorn<br />

Colorful painting<br />

in the garden<br />

Kittirach Wipakanok<br />

Happiness <strong>of</strong> Sunflower<br />

Ekarin Ekchariyawong<br />

Colored art<br />

Akkarai Petampai<br />

Happy Ground<br />

Seksan Saowarot<br />

<strong>WOW</strong><br />

Hansa Tangmanphuwadol<br />

A world <strong>of</strong> colors<br />

and happiness<br />

Siripong Patumaukkarin<br />

Colorful images<br />

<strong>of</strong> happiness and fun<br />

Danai Dokmaithong<br />

Fit<br />

Lersom Loungpon<br />

Green World<br />

Pornchai Kittiwongsakul


<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Photo Contest<br />

Winner:<br />

First<br />

runner-up:<br />

Popular in social<br />

media award:<br />

133<br />

Pleasant picture in the rain<br />

Thammarat Sawatdichai<br />

Colorful pictures<br />

<strong>of</strong> <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong><br />

Sukrit Hiransaraphong<br />

Good mood because<br />

<strong>of</strong> happiness<br />

Wisan Paengprasert<br />

Honorable prizes:<br />

Colors <strong>of</strong> happiness<br />

Passakorn Bandasak<br />

Grow<br />

Anupong bunruksa<br />

A field <strong>of</strong> silk flowers<br />

Phonrit Thitiwaritthinan<br />

Walk together<br />

Anusorn Kaenwong<br />

Happy photo<br />

Monchai Parteeppichai<br />

Festival colors<br />

Jira Chumsri<br />

Learn<br />

Naruebet Ngamsai<br />

Dream<br />

Norachai Kulvespattarawong<br />

Spelling <strong>WOW</strong><br />

Thanakrit Singhaklangpol<br />

Little Big Wings<br />

Vorawut Chaikittikorn<br />

Finalists:<br />

Colorful patterns<br />

Phonrit Thitiwaritthinan<br />

Colorful painting in the garden<br />

Kittirach Wipakanok<br />

Happiness <strong>of</strong> Sunflower<br />

Ekarin Ekchariyawong<br />

Colored art<br />

Akkarai Petampai<br />

Happy Ground<br />

Seksan Saowarot<br />

A world <strong>of</strong> colors<br />

and happiness<br />

Siripong Patumaukkarin<br />

Colorful images <strong>of</strong><br />

happiness and fun<br />

Danai Dokmaithong<br />

Fit<br />

Lersom Loungpon<br />

Green World<br />

Pornchai Kittiwongsakul<br />

<strong>WOW</strong><br />

Hansa Tangmanphuwadol


134<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

Winner: Pleasant<br />

picture in the rain<br />

Thammarat Sawatdichai


<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Photo Contest<br />

135


136<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

First runner-up:<br />

Colorful pictures <strong>of</strong> <strong>WOW</strong> <strong>2022</strong><br />

Sukrit Hiransaraphong


<strong>WOW</strong> <strong>2022</strong> Photo Contest<br />

137<br />

Popular in social media award:<br />

Good mood because <strong>of</strong> happiness<br />

Wisan Paengprasert


138<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

ARCHI<br />

TOUR<br />

<strong>WOW</strong> ARCHI-TOUR was envisioned to introduce new sides <strong>of</strong><br />

Bangkok that will make people fall in love with the city more than<br />

ever before. Visitors are able to explore architectural works and<br />

local ways <strong>of</strong> life, ranging from visits to historical buildings to<br />

activities that allow visitors to gain insight into the wisdom and<br />

know-how <strong>of</strong> people living in various local communities. The tour<br />

includes a stroll through the old town district, visits to modern<br />

architecture, and some interesting insights about the future concepts<br />

and projects devised for the city’s economic districts to<br />

generate more contemporary benefits. Participants in the ARCHI -<br />

TOUR also get a closer look at how ideas can be adapted and used<br />

as case studies for future urban developments to best fit today’s<br />

residential areas and how people use and live in cities.<br />

Text: ASA <strong>WOW</strong><br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patrouge


<strong>WOW</strong> ARCHI TOUR<br />

139<br />

The project marks the first time the Association <strong>of</strong><br />

Siamese Architects under Royal Patronage (ASA), the<br />

Institution <strong>of</strong> Siamese Architects (ISA), and TIME OUT<br />

BANGKOK have collaborated. The two editions <strong>of</strong> <strong>WOW</strong><br />

ARCHI - TOUR will allow everyone to share and exchange<br />

their experiences. The Exclusive Tour takes participants<br />

to buildings and residential neighborhoods, alongside<br />

some fascinating tidbits about local history and architecture,<br />

all <strong>of</strong> which reflect era-defining cultures and<br />

popular trends, all the way down to people’s lifestyles<br />

and food culture. The five routes <strong>of</strong> the tour are Urban<br />

Forest, Bangkok Night-light, Old Town Living, Living<br />

with Nature, and Visit Parliament. The OpenHouse Tour<br />

takes participants to landmark buildings and projects<br />

in Bangkok, some <strong>of</strong> which are usually closed to the<br />

public. The experts chosen to lead the tours will share<br />

fascinating stories about the design concepts and<br />

architectural features developed to serve the various<br />

purposes <strong>of</strong> each building.<br />

ทััวร์์สถาปัั ตยกร์ร์ม เปิิ ดเส้นทัางสร้้างมุมมองใหม่ ให้เร์ารัักเมืองมากย่งขึ้้ นกว่าเด่ม กับ<br />

<strong>WOW</strong> ARCHI - TOUR ก่จกร์ร์มพาชมงานสถาปัั ตยกร์ร์ม และว่ถีชีว่ต ร์วมทัังสําร์วจอาคาร์<br />

ปัร์ะวัต่ศาสตร์์สถาปัั ตยกร์ร์มและก่จกร์ร์มทัีสะท้้อนความร์้้ภู้ม่ปัั ญญาขึ้องชุมชน ทัังในย่าน<br />

เมืองเก่า ร์วมไปถ ึงสถาปัั ตยกร์ร์มสมัยใหม่ และแนวค่ดโคร์งการ์แห่งอนาคตเพือปัร์ะโยชน์<br />

ใช้สอยร่่วมสมัยในย่านเศร์ษฐก่จ ส้่การ์นําไปัใช้เป็็ นกร์ณีีศ้กษาในการ์หาแนวทัางพัฒนาเมือง<br />

ให้เหมาะสมกับพืนทัีอย้่อาศัยและร์องรัับกับลักษณีะสังคมเมืองในปัั จจุบัน<br />

โดยโคร์งการ์นีเป็็ นความร่่วมมือคร์ังแร์กขึ้องสมาคมสถาปน ิก-สยาม ในพร์ะบร์มร์าช้ปัถัมภ์์<br />

(ASA) ร่่วมกับสถาบันสถาปน ิกสยาม (ISA) และ TIME OUT BANGKOK ทัีเปิิ ดโอกาสให้<br />

ทุุกคนมามีส่วนร่่วมแลกเปัลียนปัร์ะสบการ์ณี์ กับ 2 ร์้ปัแบบเฉพาะขึ้อง <strong>WOW</strong> ARCHI - TOUR ทัี<br />

ปัร์ะกอบด้วย Exclusive Tour กับเส้นทัางนำำชมอาคาร์และย่านชุมชนพร้้อมเกร็็ดความร์้้<br />

เกียวกับปัร์ะวัต่ศาสตร์์ชุมชนและสถาปัั ตยกร์ร์ม ทัีสะท้้อนวัฒนธร์ร์ม และความน่ยมในแต่ละ<br />

ยุคสมัย ร์วมทัังสัมผััสชีว่ตความเป็็ นอย้่ อาหาร์การก ินขึ้องย่านชุมชนใน 5 เส้นทัาง คือ<br />

Urban Forest/Bangkok Nighlight/Old Town Living/ Living with Nature/Visit<br />

Parliament และในอีกร์้ปัแบบขึ้อง OpenHouse Tour กับการ์นําชมอาคาร์และโคร์งการที่่<br />

เป็็ น Landmark ขึ้องกรุุงเทัพฯ โดยผั้เชียวชาญ นำำชมโคร์งการที่่มีความน่าสนใจด้านแนวค่ด<br />

การ์ออกแบบ และแสดงออกถ้งคุณค ่าทัางการ์ออกแบบสถาปัั ตยกร์ร์มเพือตอบสนองการ์ใช้<br />

งานในวัตถุปัร์ะสงค์ทัีแตกต่างกัน ร์วมทัังยังเป็็ นสถานทัีทัีอาจเขึ้้าเยียมชมได้ยาก


140<br />

Exclusive Tour<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

1<br />

01<br />

บรรยากาศสวนเบญจกิติ<br />

Urban Forest : สวนเบญจกิติ<br />

เส้นทาง Urban Forest ที่ชวนทุกคนออกสำารวจ ‘ป่าในเมือง’<br />

ณ สวนเบญจกิติ ที่เกิดจากการพัฒนาพื้นที่โรงงานยาสูบเก่า<br />

ให้กลายเป็น ‘ปอดขนาดใหญ่’ ที่มีระบบนิเวศน์หมุนเวียนที่<br />

อุดมสมบูรณ์ทั้งพืชและสัตว์ ยิ่งไปกว่านั้นคือการเป็นพื้นที่<br />

สีเขียวสาธารณะที่สามารถเยียวยาจิตใจของคนเมืองได้เป็น<br />

อย่างดี โดยมีวิทยากรในเส้นทางนี้ ได้แก่ ชัชนิล ซัง และ<br />

พรหมมนัส อมาตยกุล ทีมผู้ออกแบบสวนเบญจกิติ จาก<br />

สถาปนิกชุมชนและสิ่งแวดล้อม อาศรมศิลป์ เล่าแนวคิด<br />

การออกแบบพื้นที่ เช่น โซนบ่อน้ำ า อัฒจันทร์กลาง ทางเดิน<br />

ลอยฟ้า ฯลฯ รวมถึงให้ความรู้เรื่องพรรณไม้ ผ่านการเดินชม<br />

ในสถานที่จริง<br />

Urban Forest : Benchakitti Forest Park<br />

The Urban Forest Route invites visitors to Benchakitti<br />

Forest Park in Bangkok to explore the city’s urban<br />

forest. The park was built by transforming an old<br />

tobacco factory into a massive urban lung with its<br />

flourishing ecosystem <strong>of</strong> plants and animals, serving<br />

admirably as a green public space that can soothe<br />

the body and mind <strong>of</strong> city dwellers. Chatchanin<br />

Sung and Prommanas Amatyakul, two members <strong>of</strong><br />

Arsomsilp Community and Environmental Architect,<br />

led the tour, providing some interesting insights into<br />

the design <strong>of</strong> the park’s program from the ponds,<br />

central amphitheater, skywalk, and so on, as well<br />

as some botanical knowledge through a real walk<br />

through the park.<br />

Chatchanin Sung<br />

architect and pr<strong>of</strong>essor<br />

at Arsom Silp Institute<br />

<strong>of</strong> the Art’s Department<br />

<strong>of</strong> Community<br />

Prommanas Amatyakul<br />

architect and pr<strong>of</strong>essor<br />

at Arsom Silp Institute<br />

<strong>of</strong> the Art’s Department<br />

<strong>of</strong> Community


<strong>WOW</strong> ARCHI TOUR<br />

141<br />

Bangkok Night-Light : China Town<br />

สัมผัสวิถีชีวิตของชาวไทยเชื้อสายจีนในย่าน China Town<br />

(เยาวราช) กับเรื่องราวน่าสนใจที่ซ่อนอยู่ในแสงสียามค่ำ าคืน<br />

สถาปัตยกรรมเก่าแก่ที่สะท้อนความรุ่มรวยทางศิลปวัฒน-<br />

ธรรมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันซึ่งพบเห็นได้ทั่วย่าน รวมถึง<br />

รสชาติและกลิ่นที่ฟุ้งกระจายไปตลอดความยาวของเยาวราช<br />

ถนนที่ไม่เคยหลับใหล<br />

Bangkok Night-Light : Chinatown<br />

Experience the Chinese-Thai way <strong>of</strong> life in Bangkok’s<br />

bustling China Town, Yaowarat, with some fascinating<br />

stories hidden behind the brightly lit neon signs.<br />

Experience the long-standing architectural structures<br />

that reflect the flamboyance <strong>of</strong> art and culture<br />

from the past to the present found throughout the<br />

area, accompanied by the tastes and smells <strong>of</strong><br />

food one can experience throughout the sleepless<br />

Yaowarat Road.<br />

02<br />

บรรยากาศร้านค้าอาหาร<br />

ริมทางตลอดความยาว<br />

เยาวราช<br />

03<br />

บรรยากาศแสงสียามค่ำาคืน<br />

ของย่าน Chaina town<br />

2<br />

3


142<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

4<br />

Old Town Living : ฝั ่ งพร์ะนคร์<br />

ดร.พีรียา บุญชัยพฤกษ์ อาจารย์ประจำาคณะสถาปัตยกรรม-<br />

ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พร้อมผู้จัดการร้าน Craftsman<br />

จะมารับหน้าที่วิทยากร แนะนำาอาคารโรงพิมพ์บำารุงนุกูลกิจ<br />

และการปรับรูปแบบอาคารเก่ามาใช้เป็น Pop up café<br />

ชั่วคราว รวมถึงเดินสำารวจร้านเก่าแก่ในย่าน อาทิ บ้าน<br />

หมอหวาน ร้านขายยาแผนไทยในบ้านสถาปัตยกรรมสมัย<br />

รัชกาลที่ 6 บ้านขนมปังขิง รวมถึงชมงานสถาปัตยกรรม<br />

เก่าแก่บนถนนตะนาวและย่านสามแพร่ง<br />

Old Town Living : Phra Nakorn District<br />

Dr. Pheereeya Boonchaiyapruek, a pr<strong>of</strong>essor<br />

from Silpakorn University’s Faculty <strong>of</strong> Architecture<br />

and the owner <strong>of</strong> Craftsman, is the special guide<br />

selected for the tour <strong>of</strong> the Bamrungnukulkij Printing<br />

House, which was converted into a pop-up café.<br />

The tour took participants on a walk through old<br />

neighborhoods, including Baan Mor Whan, a shop<br />

selling Thai medicines inside a house built by King<br />

Rama 6, the local gingerbread house, and other<br />

old architectural creations on Tanow Road and<br />

Samprang district.<br />

04-05<br />

บรรยากาศย่านเมืองเก่า<br />

Dr. Pheereeya<br />

Boonchaiyapruek<br />

pr<strong>of</strong>essor from Silpakorn<br />

University and owner<br />

<strong>of</strong> Craftsman<br />

5


<strong>WOW</strong> ARCHI TOUR<br />

143<br />

Living with Nature : สถาบันอาศร์มศิลปั์<br />

ธนา อุทัยภัตรากูร สถาปนิกและอาจารย์ประจำาสาขาวิชา<br />

สถาปัตยกรรมเพื่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม สถาบันอาศรมศิลป์<br />

พาเราไปทำาความรู้จักกับสถาบันอาศรมศิลป์ให้มากขึ้น<br />

ตั้งแต่การก่อตั้ง เป้าหมาย แนวทางการสอนเรื่องสถาปัตย-<br />

กรรมที่เชื่อมโยงชีวิต ชุมชน และสิ่งแวดล้อม พร้อมพาชม<br />

สถาปัตยกรรมที่น่าสนใจ อาทิ หอศิลป์ไม้ไผ่ (Bamboo<br />

Architecture) อาคารรพินทร ฯลฯ<br />

Living with Nature : Arsom Silp Institute<br />

<strong>of</strong> the Arts<br />

Thana Uthaipattrakoon, architect and pr<strong>of</strong>essor<br />

at Arsom Silp Institute <strong>of</strong> the Art’s Department <strong>of</strong><br />

Community and Environmental Architecture, takes<br />

participants on a tour <strong>of</strong> the Arsom Silp Institution,<br />

including its history, goals, and approach to architectural<br />

education that integrates life, community,<br />

and the environment, as well as a look at some<br />

intriguing works such as the bamboo architecture<br />

<strong>of</strong> the Bamboo Art Gallery and the Pinthorn<br />

Building, to name a few.<br />

6<br />

Thana Uthaipattrakoon<br />

architect and pr<strong>of</strong>essor<br />

at Arsom Silp Institute <strong>of</strong><br />

the Art’s Department<br />

<strong>of</strong> Community<br />

06<br />

หอศิลป์ไม้ไผ่ในสถาบัน<br />

อาศรมศิลป์


144<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

7


<strong>WOW</strong> ARCHI TOUR<br />

145<br />

8<br />

07-08<br />

บรรยากาศภายใน<br />

สัปปายะสภาสถาน<br />

Visit Parliament : สัปัปัายะสภูาสถาน<br />

สองสถาปนิก ชาตรี ลดาลลิตสกุล จากต้นศิลป์สตูดิโอ และ<br />

ปิยเมศ ไกรฤกษ์ จาก บลูแพลนเนตดีไซน์ อินเตอร์เนชั่นแนล<br />

ผู้ออกแบบรัฐสภาโฉมใหม่หลังที่ 3 ของประเทศไทย พานำ าชม<br />

‘สัปปายะสภาสถาน’ อาคารรัฐสภาแห่งใหม่ริมแม่น้ำ าเจ้าพระยา<br />

สถาปัตยกรรมทางการเมืองที่ใหญ่ที่สุด โดยเป็นการสำารวจ<br />

สัปปายะสภาสถานทั้งบรรยากาศภายใน ตั้งแต่ห้องรับรอง<br />

และบริเวณโถงชั้น 1 ห้องประชุมใหญ่ ส.ส. ที่ชั้น 2 และโถง<br />

รัฐพิธี ที่ชั้น 11 รวมถึงพื้นที่ภายนอกอาคาร ได้แก่ ศาลาแก้ว<br />

สวนประชาชน สวนประชาธิปไตย รวมถึงงานศิลปกรรม<br />

‘ดอกบัวทอง’ ที่ออกแบบโดยอาจารย์แสงอรุณ รัตกสิกร<br />

Visit Parliament : Sappaya-Sapasathan<br />

The architects behind the design <strong>of</strong> the new parliament<br />

building, Chatree Ladalalitsakul <strong>of</strong> Tonsilpa<br />

Studio and Piyamate Krairuek <strong>of</strong> Blue Planet Design<br />

International, led the visit to ‘Sappaya-Sapasathan,’<br />

the third and current meeting place <strong>of</strong> the National<br />

Assembly <strong>of</strong> Thailand. This edifice, located by the<br />

Chao Praya River, is the largest political structure<br />

this country has ever seen. The tour will take participants<br />

on a visit <strong>of</strong> the building’s stunning interiors,<br />

including the reception room, the first-floor atrium,<br />

the House <strong>of</strong> Representative Chamber on the second<br />

floor, and the state ceremony hall on the 11 th floor,<br />

as well as the exterior components and landscape,<br />

which include the Sala Keaw Pavilion, People’s<br />

Park, Democracy Park, and the ‘Golden Lotus’ art<br />

piece designed by Associate Pr<strong>of</strong>essor Saengarun<br />

Rattakasikorn.<br />

Chatree Ladalalitsakul<br />

Tonsilpa Studio<br />

Piyamate Krairuek<br />

Blue Planet Design International


146<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

OpenHouse Tour<br />

9<br />

The Forestias by MQDC<br />

หนึ่งตัวอย่างของการสร้างสังคมเมืองน่าอยู่ ด้วยวิธีคิดและ<br />

หลักการที่คำานึงถึงการอยู่ร่วมกับของผู้คนและธรรมชาติ<br />

เพื่อสร้างสังคมที่อาจจะเป็นคำาตอบของรูปแบบชีวิตเมืองที่<br />

น่าอยู่และดีที่สุดในเวลานี้ และชวนคิดว่าหากต้นแบบนี้จะ<br />

ขยายวงกว้างออกไปในสังคมเมืองใหญ่จะเป็นอย่างไร โดย<br />

ในกิจกรรมทัวร์มีการนำาชมโครงการตัวอย่าง อาคารและ<br />

ห้องตัวอย่างในส่วน Residence Area พื้นที่ Forest Area และ<br />

อาคาร Forest Pavillion ในส่วน Public area ที่ออกแบบโดย<br />

Foster & Partners และ TK Studio<br />

The Forestias by MQDC<br />

One method <strong>of</strong> creating a livable city is to consider<br />

the thought processes and principles that factor in<br />

the coexistence <strong>of</strong> people and nature to create a<br />

society with the best possible urban lifestyle and<br />

livability. The project encourages people to imagine<br />

this type <strong>of</strong> urban community on a larger scale<br />

through the tour, which encompasses stops at the<br />

project’s buildings and model units, the Residential<br />

Area, Forest Area, and Forest Pavilion, including<br />

the public area designed by Foster & Partners and<br />

landscape architecture by TK Studio.<br />

09<br />

อาคาร Forest Pavillion<br />

ในโครงการ Forestia<br />

โดย MQDC


<strong>WOW</strong> ARCHI TOUR<br />

147<br />

10<br />

บรรยากาศภายใน<br />

ธรรมมาศรม<br />

ธร์ร์มาศร์ม ณี เสถียร์ธร์ร์มสถาน<br />

‘สุขง่าย ใช้น้อย’ หลักปฏิบัติเพื่อขัดเกลาและฟื้นฟูจิตใจ<br />

ของสถานปฏิบัติธรรม เสถียรธรรมสถาน เป็นแนวคิดที่<br />

คุณสมชาย จงแสง สถาปนิกจาก Deca Atelier ออกแบบ<br />

อาคารธรรมาศรม เพื่อใช้เป็นอาคารพักอาศัยรองรับผู้สนใจ<br />

เข้าร่วมประกอบกิจกรรมในสถานที่แห่งนี้ นี่คืออีกตัวอย่างที่<br />

สถาปัตยกรรมสามารถตอบโจทย์และถ่ายทอดวิถีความสงบ<br />

ของจิตใจและมีความงดงามโดยไม่จำาเป็นต้องใช้ส่วนประกอบ<br />

ของอาคารที่ฟุ่มเฟือย โดยที่สถาปัตยกรรมสามารถส่งเสริม<br />

และกลมกลืนไปกับความเรียบง่าย ที่ผู้เข้าร่วมชมสามารถ<br />

สัมผัสถึงบรรยากาศความสงบในสังคมเมืองที่วุ่นวาย ผ่าน<br />

งานสถาปัตยกรรมและการบรรยายโดยผู้ออกแบบ และการ<br />

ทดลองทำาสมาธิสั้นๆ<br />

Dharmashram<br />

Learning Community <strong>of</strong> Mindfulness Healing at<br />

Sathira Dhammasathan Meditation Center ‘Simple<br />

happiness from minimal living’ is the guiding principle<br />

<strong>of</strong> Sathira Dhammasathan Meditation Center’s<br />

practice <strong>of</strong> mind refinement and rehabilitation.<br />

Deca Atelier’s Somchai Jongsaeng incorporates the<br />

concept in the design <strong>of</strong> the Learning Community <strong>of</strong><br />

Mindfulness Healing Building, which serves as an<br />

accommodation facility for participants who participate<br />

in the center’s activities. The architect creates<br />

architecture that functionally and aesthetically expresses<br />

the Sathira Dhammasathan practice and<br />

the peaceful state <strong>of</strong> mind it helps achieve. As the<br />

architecture embraces and combines itself with<br />

simplicity, the building exemplifies how beauty can<br />

be crafted without the need for excessive elements.<br />

Visitors can be subsumed in serenity amid chaotic<br />

urban society by the presence <strong>of</strong> this brilliant work<br />

<strong>of</strong> architecture, with the architect who designed the<br />

building serving as the honorable guide before trying<br />

out a short meditation session.<br />

10<br />

Somchai Jongsaeng<br />

Deca Atelier


148<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

11<br />

Klong Toey Low-cost Micro House<br />

คือกลุ่มอาคารที่อยู่อาศัยในชุมชนคลองเตย ออกแบบโดย<br />

Vin Varavarn Architects ในงานจิตอาสาเพื่อสังคม ซึ่ง<br />

กลุ่มบ้านรูปกล่องหลังคาเพิงหมาแหงนที่แทรกตัวอยู่แต่<br />

ยังสอดคล้องไปกับการสร้างคุณภาพชีวิตบนวิถีความเป็น<br />

อยู่ในชุมชนแออัดคลองเตย ที่ถูกออกแบบและสร้างขึ้น<br />

อย่างเรียบง่าย แต่โดดเด่นและกลมกลืน เป็นไปตามเงื่อนไข<br />

ข้อจำากัดของพื ้นที ่ชุมชน แสดงให้เห็นเป็นตัวอย่างของการ<br />

พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้คนที่ดีขึ้นผ่านการออกแบบ และ<br />

ความร่วมมือของภาคส่วนต่างๆ และคนในชุมชนเพื่อสังคม<br />

ที่ดีกว่า ซึ่งผู้ออกแบบและผู้นำาชุมชนได้พาผู้เข้าร่วมงาน<br />

เดินสังเกตชีวิตความเป็นอยู่และแนวทางการออกแบบ<br />

ที่จะยกระดับคุณภาพชีวิตในชุมชนแออัด<br />

Klong Toey Low-cost Micro House<br />

Vin Varavarn Architects volunteered to design the<br />

residential buildings in Bangkok’s Klong Toey neighborhood,<br />

resulting in this impressive community<br />

architecture project. A cluster <strong>of</strong> houses with slanted<br />

ro<strong>of</strong>s nestled in the surroundings while attempting<br />

to improve the quality <strong>of</strong> life for those living in the<br />

urban neighborhood. The simple structures are<br />

designed and built to blend into the environment,<br />

adapting to the site’s conditions. The work provides<br />

an intriguing example <strong>of</strong> how design, participation<br />

from various sectors, and community members can<br />

create a better quality <strong>of</strong> life. The tour features the<br />

architect and community leader leading a neighborhood<br />

walk where everyone can experience and learn<br />

about people’s way <strong>of</strong> life in this urban area, as well<br />

as the approach to architectural design that contributes<br />

to the improvement <strong>of</strong> the resident’s quality<br />

<strong>of</strong> life in this urban shantytown.<br />

11-12<br />

โครงการออกแบบที่อยู่<br />

อาศัยในคลองเตย โดย<br />

Vin Varavarn Architects<br />

12


<strong>WOW</strong> ARCHI TOUR<br />

149<br />

Tiny Museum<br />

ตั้งอยู่ที่ คณะ ๑ วัดโสมนัสราชวรวิหาร ที่อาจเรียกได้ว่าเป็น<br />

พิพิธภัณฑ์ที่มีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่เคยมีมาที่หนึ่งและด้วย<br />

เจตนารมณ์ที่จะดูแลและเก็บรักษา ‘กเบื้องจาน’ เครื่องมือ<br />

ยุคหินใหม่อายุราว 2,000-20,000 ปี ที่ถูกค้นพบในสมัย<br />

สงครามโลกครั้งที่ 2 นี้ไว้บนพื้นที่ที่แทรกตัวอยู่ในซอก<br />

ท่ามกลางกลุ่มอาคารอนุรักษ์ขนาดเล็กภายในวัด จึงเป็น<br />

การท้าทายการออกแบบสำาหรับคุณสุริยะ อัมพันศิริรัตน์<br />

สถาปนิกแห่ง WALLLASIA ในการแสดงชิ้นงานและการเก็บ<br />

รักษาเป็นอย่างมากและผลงานนี้ได้สะท้อนให้เห็นถึงบทบาท<br />

หน้าที่ของพื้นที่ทางศาสนา ที่มีผลต่อการอนุรักษ์คุณค่าทาง<br />

ประวัติศาสตร์ เพื่อเป็นมรดกความรู้ของสังคมต่อไป<br />

Tiny Museum<br />

Tiny Museum, located inside Quarter 1 <strong>of</strong> Somanat<br />

Ratchaworawiharn Temple, is one <strong>of</strong> the world’s<br />

smallest museums. This museum was built to preserve<br />

and display ‘Korbuengjarn,’ valuable archeological<br />

artifacts from the ancient period, specifically<br />

the New Stone Age, which dates back 2,000 to<br />

20,000 years and is discovered and excavated during<br />

the Second World War. Suriya Umpansiriratana, the<br />

architect and founder <strong>of</strong> Walllasia, faced a significant<br />

challenge in designing a space that can both exhibit<br />

and reserve the artifacts in a small space enclosed<br />

in the middle <strong>of</strong> other small, conserved ancient<br />

buildings inside the temple. The project reflects on<br />

the role <strong>of</strong> religious spaces in preserving historical<br />

values that will be passed down as part <strong>of</strong> society’s<br />

cultural and intellectual legacy.<br />

fb.com/ASA<strong>WOW</strong><br />

13-14<br />

Tiny Museum<br />

โดย WALLLASIA<br />

13 14


150<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

for All<br />

ASA Run<br />

<strong>2022</strong><br />

Text: ASA <strong>WOW</strong><br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patrouge,<br />

Chalermpon Sombutyanuchit and Asae Sukhyanga except as noted


ASA RUN <strong>2022</strong> <strong>WOW</strong> FOR ALL<br />

151<br />

ASA Run <strong>2022</strong>: <strong>WOW</strong> for All is another featured activity<br />

at <strong>WOW</strong> <strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> initiated to encourage the<br />

general public, fellow members <strong>of</strong> the association and their<br />

families, the senior citizens, including wheelchair users,<br />

and people with disabilities and hearing and visual impairments<br />

who require guide runners, to adopt a healthy lifestyle<br />

through a fun walking and running event. On the early<br />

morning <strong>of</strong> November 27, <strong>2022</strong>, inside Benchakitti Forest<br />

Park, ASA Run <strong>2022</strong> hosted a 10-kilometer minimarathon<br />

and a 4.5-kilometer fun run, with the front <strong>of</strong> the museum<br />

building as the start and finish lines. Following the run, participants<br />

could stroll through the park and along the skywalk<br />

route and enjoy the fun programs, such as the photo<br />

corners created especially for the event. The net proceeds<br />

were donated to the Association <strong>of</strong> Siamese Architects<br />

under Royal Patronage.<br />

เป็็ นอีีกหน่ งในกิจกรรมภายในงาน ‘อััศจรรย์เมือีงน่าอีย่’ ที่่ต้้อีงการ<br />

ส่่งเสร ิมและสน ับสน ุนให้ป็ระชาชนทั่่วไป็ ส่มาชิกขอีงส่มาคมฯ และ<br />

ครอีบครัว ผู้่้ส่่งอีายุ และรวมถึึงผู้่้พิิการ ทั้้งผู้่้พิิการที่างการได้้ยิน<br />

ผู้่้พิิการส่ายต้าที่่ต้้อีงมี Guide Runner และผู้่้ที่่ใช้รถึเข็น มาร่วม<br />

อีอีกกำล ังกายด้้วยการเดิินและวิงเพิือีสุ่ขภาพิด้้วยกัน โด้ยได้้จัด้ข่ น<br />

เวลาเช้าต้ร่่ วันที่่ 27 พิฤศจิกายน 2565 บริเวณภายในส่วนป่่ า<br />

เบญจกิติิ และแบ่งป็ระเภที่การวิงอีอีกเป็็ น 2 ป็ระเภที่ คือี MINI<br />

MARATHON ระยะที่าง 10 KM และป็ระเภที่ FUN RUN ในระยะที่าง<br />

4.5 KM มีจุด้เริมต้้นและเส้้นชัยบริเวณหน้าอีาคารพิิพิิธภัณฑ์์ หลังจาก<br />

งานวิงเสร ็จ ยังมีกิจกรรมที่่ทีุ่กคนส่ามารถึ เดิินชมส่วน-ชมงาน<br />

ที่างเดิินลอียฟ้้ า และมุมถ่่าย-รููปภายในงาน โด้ยรายได้้จากการ<br />

จัด้งานหลังหักค่าใช้จ่ายนำาเข้าส่มที่บส่มาคมส่ถึาปน ิกส่ยาม ใน<br />

พิระบรมราชููปถััมภ์<br />

fb.com/ASA<strong>WOW</strong>


152<br />

<strong>Wonder</strong> <strong>of</strong> <strong>Well</strong>-<strong>Being</strong> <strong>2022</strong><br />

01<br />

ทีมงานจากสมาคม<br />

สถาปนิกฯ ร่วมกิจกรรม<br />

ASA RUN FOR ALL<br />

02<br />

ผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ<br />

ร่วมวิ่งในกิจกรรม<br />

ASA RUN FOR ALL<br />

03<br />

ทีมงาน ASA <strong>WOW</strong><br />

และกลุ่มสถาปนิก<br />

ผู้เข้าร่วมกิจกรมม<br />

ASA RUN<br />

04<br />

ถ้วยรางวัล ASA RUN<br />

1<br />

2<br />

4<br />

3


ASA RUN <strong>2022</strong> <strong>WOW</strong> FOR ALL<br />

153<br />

5<br />

05-06<br />

บรรยากาศการมอบรางวัล<br />

ASA RUN FOR ALL<br />

6


154


155<br />

Photo Credit: Jira Chumsri


156


157<br />

Photo Courtesy <strong>of</strong> The Association <strong>of</strong> Siamese Architects under Royal Patronage


158


159<br />

Photo Credit: Chanatip Intaravicha


160<br />

<strong>WOW</strong><br />

SUPPORTING PARTNERS<br />

Supporting<br />

Partners

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!