24.04.2013 Views

ICSC :0000 - chemical safety section

ICSC :0000 - chemical safety section

ICSC :0000 - chemical safety section

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

PICRIC ACID พิคริค แอซิด <strong>ICSC</strong> :0316<br />

วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม<br />

(Date of Peer-Review) : เมษายน 2008<br />

2,4,6-Trinitrophenol Phenol trinitrate<br />

Picronitric acid 2-Hydroxy-1,3,5-trinitrobenzene<br />

CAS # 88-89-1 C6H2(NO2) 3OH<br />

RTECS # TJ7875000<br />

UN # 0154, see Notes<br />

EC Annex 1 Index # 609-009-00-X<br />

EC/EINECS # 201-865-9<br />

Molecular mass: 229.1<br />

การเกิดอันตราย/<br />

การไดรับสัมผัส<br />

อันตรายเฉียบพลัน/<br />

อาการ<br />

การติดไฟ ระเบิดได ปฏิกิริยาหลายๆอยาง<br />

ทําใหเกิดการติดไฟหรือการ<br />

ระเบิด ดูหมายเหตุ<br />

การระเบิด มีความเสี่ยงตอการเกิดไฟไหม<br />

และการระเบิด<br />

การปองกัน<br />

หามอยูใกลเปลวไฟ<br />

หามจุดประกายไฟ<br />

หามสูบบุหรี่<br />

หามทําใหเกิดการเสียดสีหรือกระแทก<br />

ใชเครื่องมือที่ไมเกิดประกายไฟ<br />

ปองกัน<br />

การสะสมของฝุนสาร<br />

ทําเปนระบบปด<br />

ใชอุปกรณไฟฟาและสองสวางที่ปองกัน<br />

การระเบิดของฝุนสารได<br />

งกระจายของฝุนสาร<br />

่<br />

หรือใชเครื่องปองกันการหายใจ<br />

การไดรับสัมผัส ปองกันการฟุ<br />

การสูดดม ปวดศีรษะ คลื่นไส<br />

อาเจียน ระบบระบายอากาศเฉพาะที<br />

Carbazotic acid<br />

Carbonitric acid<br />

ทางผิวหนัง สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื<br />

ทางดวงตา ตาแดง สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้<br />

การกลืนกิน ปวดศีรษะ มึนงง คลื่นไส<br />

อาเจียน ทองเสีย<br />

หามดื่ม<br />

รับประทานอาหาร<br />

หรือสูบบุหรี่ขณะทํางาน<br />

Nitrophenesic acid<br />

Nitroxanthic acid<br />

การปฐมพยาบาล/<br />

การดับไฟ<br />

น้ําฉีดปริมาณมากๆ<br />

กรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของ<br />

ถังเก็บโดยการฉีดน้ํา<br />

ใหรับอากาศบริสุทธิ์<br />

พัก<br />

นําสงแพทย<br />

้อผาที่เปอนสารเคมีออก<br />

ลางผิวหนังดวยน้ําและสบู<br />

พบแพทยเมื่อรูสึกไมสบาย<br />

ํามากๆ หลายๆ นาที<br />

(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)<br />

นําสงแพทย<br />

บวนปาก ดื่มน้ํา<br />

1-2 แกว<br />

นําสงแพทย<br />

การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล<br />

การบรรจุและติดฉลาก<br />

เคลื่อนยายแหลงที่ติดไฟไดทั้งหมดใหหาง<br />

เคลื่อนยายผูคนจาก<br />

เก็บในภาชนะชนิดพิเศษ<br />

พื้นที่อันตราย<br />

ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ<br />

ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล:<br />

EU Classification<br />

UN Classification<br />

เครื่องชวยหายใจที่ปรับใชสําหรับปองกันฝุนสาร<br />

Symbol: E, T<br />

UN Hazard Class: 1.1 D<br />

เก็บหรือตักสารที่หกออกมาใสในภาชนะ<br />

ถาเปนไปไดทําใหสาร R: 2-4-23/24/25<br />

ชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน<br />

เก็บกวาดสวนที่เหลืออยาง<br />

S: (1/2-)28-35-37-45<br />

ระมัดระวัง แลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย<br />

GHS Classification<br />

หามปลอยสารออกสูสิ่งแวดลอม<br />

อันตราย<br />

เกิดระเบิด ; อันตรายจากการระเบิดรุนแรง<br />

เปนพิษเมื่อกลืนกิน<br />

ทําใหดวงตาระคายเคือง


การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน<br />

เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา<br />

การเก็บรักษา<br />

Transport Emergency Card: TEC (R)-41G19 is for UN 0154; เก็บในที่ปองกันไฟได<br />

เก็บในที่เย็น<br />

เก็บในที่เปยก<br />

Transport Emergency Card: TEC (R)-1GD-I+II is for UN 1344 เก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง โลหะและสารรีดิวซ<br />

and 3364 NFPA Code: H3; F4; R4;<br />

เก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําเขาถึง<br />

PICRIC ACID พิคริค แอซิด <strong>ICSC</strong> :0316<br />

ขอมูลสําคัญ<br />

สถานะทางกายภาพ ลักษณะ : เปนผลึกสีเหลือง<br />

อันตรายทางกายภาพ : ผลจากการไหล เขยา อื่นๆ<br />

ทําใหเกิดประจุไฟฟาสถิต การระเบิดของฝุนสารไดถาสารอยูในรูปผงหรือเม็ดเล็กๆ<br />

สัมผัสกับอากาศ<br />

อันตรายทางเคมี : สารอาจเกิดการระเบิดเมื่อเกิดการกระแทก<br />

เสียดสี หรือกระทบกระเทือน อาจเกิดการระเบิดไดเมื่อไดรับความรอน<br />

เกิดเปนสารประกอบกับโลหะที่ไวตอการกระแทก<br />

โดยเฉพาะ ทองแดง ตะกั่ว<br />

ปรอท และสังกะสี การติดไฟทําใหเกิดกาซพิษของ<br />

คารบอน และไนโตรเจนออกไซด สารทําปฏิกิริยาไดดีกับสารออกซิไดซและสารรีดิวซ<br />

คาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน<br />

: TLV: 0.1 mg/m³ as TWA (ACGIH 2008).<br />

MAK: skin absorption (H); sensitization of skin (Sh); Carcinogen category: 3B (DFG 2008).<br />

วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สารสามารถดูดซึมเขาสูรางกายไดโดยการกลืนกิน<br />

ความเสี่ยงจากการหายใจ<br />

: ที่<br />

20 ํC การระเหยของสารนอยมาก แตก็ทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนอันตรายได<br />

โดยการปนเปอนจะ<br />

เร็วขึ้น<br />

ถาเกิดการฟุงกระจายของฝุนสาร<br />

ผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น<br />

: สารทําใหระคายเคืองอยางออนตอดวงตา<br />

ผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ<br />

: เมื่อสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆหรือระยะยาวจะทําใหผิวหนังอักเสบ<br />

สารอาจมีผล<br />

ตอทางเดินอาหาร ไต ตับและเลือดเมื่อกลืนกิน<br />

คุณสมบัติทางกายภาพ<br />

สลายตัวที่<br />

: 300 ํC<br />

จุดหลอมเหลว : 122 ํC<br />

ความหนาแนน : 1.8 g/cm3 ความหนาแนนไอสัมพัทธ (อากาศ = 1) : 7.9<br />

จุดวาบไฟ : 150 ํC c.c (closed cup)<br />

อุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง<br />

: 300 ํC<br />

การละลายในน้ํา<br />

g/100 ml : 1.4 นอยมาก<br />

สัมประสิทธิ์การแบงสวน<br />

Octanol/น้ํา<br />

ตาม log Pow : 2.03<br />

สารเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา<br />

ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอม<br />

หมายเหตุ<br />

หามนําชุดทํางานกลับบาน ลางชุดที่เปอนสาร<br />

(ติดไฟได) ดวยน้ําจํานวนมากๆ<br />

picric acid มี UN number 0154 สารแหงถูกทําใหชื้นดวย<br />

น้ําอยางนอย<br />

30% ของมวลน้ําเพื่อความปลอดภัยในการขนสง<br />

โดยปกติจะเติมน้ําเขาไปอยางนอย<br />

30% UN numbers อื่นคือ:1344<br />

โดยมีมวลของน้ําไมนอยกวา<br />

30% hazard class 4.1, Packing Group I; UN 3364 Trinitrophenol(picric acid), ถูกทําใหเปยกดวยน้ําไมนอย<br />

กวา 10% ของมวลน้ํา<br />

Hazard class: 4.1, Packing Group I ขอมูลของ Card มีการปรับปรุงบางสวนในเดือนเมษายน 2010 ดูหัวขอการ<br />

จําแนกประเภทของ EU


IPCS<br />

International Programme<br />

on Chemical Safety<br />

การพัฒนา International Chemical Safety Card (<strong>ICSC</strong>s) ดําเนินการโดย<br />

โครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยดานสารเคมี (IPCS)<br />

รวมกับ องคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ<br />

(UNEP)<br />

องคการอนามัยโลก (WHO) และคณะกรรมาธิการประชาคมแหงสหภาพยุโรป(Commission of the European Communities)<br />

การแปล <strong>ICSC</strong> เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี<br />

สํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!