10.07.2015 Views

ICSCs ฉบับภ - chemical safety section

ICSCs ฉบับภ - chemical safety section

ICSCs ฉบับภ - chemical safety section

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เอกสารวิชาการฐานขอมูล INTERNATIONAL CHEMICAL SAFETY CARDS :<strong>ICSCs</strong> ฉบับภาษาไทยเลมที่ 2 (<strong>ICSCs</strong> 0101-0200)จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมีสํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตรายสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา


คํานําสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา โดยสํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตรายศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี ในฐานะประเทศสมาชิกของ World Health Organization/International Programme on Chemical Safety : WHO/IPCS ศูนยประสานงานแหงชาติของIntergovernmental Forum on Chemical Safety : IFCS และฝายเลขานุการคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการพัฒนายุทธศาสตรการจัดการสารเคมี ไดพัฒนาฐานขอมูล International Chemical Safety Cards :<strong>ICSCs</strong> ฉบับภาษาไทย ซึ่งสอดคลองกับ International Chemical Safety Cards : <strong>ICSCs</strong> ที่พัฒนาขึ้นโดยโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี (IPCS) โดยความรวมมือขององคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก(WHO) รวมกับคณะกรรมาธิการประชาคมแหงสหภาพยุโรป(Commission of the EuropeanCommunities) ปจจุบันมีทั้งสิ้น 1,733 สาร(ขอมูล ณ วันที่ 18 มีนาคม 2553)รายละเอียดสามารถดูไดที่(http://www.inchem.org/pages/icsc.html)เอกสาร ฐานขอมูล International Chemical Safety Cards : <strong>ICSCs</strong> ฉบับภาษาไทย เลมที่ 2ประกอบดวย <strong>ICSCs</strong> ลําดับที่ 0101 ถึง <strong>ICSCs</strong> ลําดับที่ 0200 มีสาระสําคัญ คือ การเกิดอันตรายเมื่อไดรับสัมผัส อันตรายเฉียบพลัน/อาการ การปองกัน การปฐมพยาบาล และการดับไฟ การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลาก การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษา สถานะทางกายภาพคุณสมบัติทางกายภาพ อันตรายทางกายภาพ อันตรายทางเคมี คาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานวิถีทางของการไดรับสัมผัส ความเสี่ยงจากการหายใจ สัมผัสทางผิวหนังและกลืนกิน ผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น ผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอม โดยทานสามารถสืบคนไดที่เว็บไซต http://ipcs.fda.moph.go.th/csnet/index.aspสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสาร ฐานขอมูล InternationalChemical Safety Cards : <strong>ICSCs</strong> ฉบับภาษาไทย เลมนี้ จะมีประโยชนตอการจัดการสารเคมีของประเทศ ที่หนวยงานตาง ๆ สามารถจะนําไปใชประโยชนตอไปสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเมษายน 2553ก


สารบัญ (ตอ)หนา0131* 4-CHLORO-m-CRESOL 910132* 1-CHLOROETHANE 940133* CHLOROPRENE 970134* CHLOROTHALONIL 1000135* o-CRESYL GLYCIDYL ETHER 1030136* CYANOGEN BROMIDE 1060137* DIAZINON 1090138* OXYGEN 1120139* DICAMBA 1150140* 2,3-DICHLOROANILINE 1180141* 2,4-DICHLOROANILINE 1210142* 2,5-DICHLOROANILINE 1240143* 2,6-DICHLOROANILINE 1270144* 3,4-DICHLOROANILINE 1300145* DI(2,3-EPOXYPROPYL)ETHER 1330146* DIETHYLENE GLYCOL DIGLYCIDYL ETHER 1360147* 1,1-DIMETHYLHYDRAZINE 1390148* DIMETHYL SULFATE 1420149* DINOSEB 1450150* m-CHLOROPHENOL 1480151* DIPHENYLOL PROPANE DIGLYCIDYL ETHER 1510152* ETHANOLAMINE 1540153* ETHYLAMINE 1570154* ARGON 1600155* ETHYLENE OXIDE 1630156* FOLPET 1660157* GLASS WOOL 1690158* GLUTARALDEHYDE 1720159* GLYCIDOL 175


สารบัญ (ตอ)หนา0160* GLYPHOSATE 1780161* HEXACHLOROPHENE 1810162* HEXAMETHYLPHOSPHORIC TRIAMIDE 1840163* HYDROGEN CHLORIDE 1870164* HYDROGEN PEROXIDE (>60% SOLUTION IN WATER) 1900165* HYDROGEN SULFIDE 1930166* HYDROQUINONE 1960167* IODINE 1990168* IRON PENTACARBONYL 2020169* ISOPHORONE 2050170* CUMENE 2080171* ISOPROPYL GLYCIDYL ETHER 2110172* MALATHION 2140173* MANEB 2170174* MANGANESE 2200175* MANGANESE DIOXIDE 2230176* METHAMIDOPHOS 2260177* METHOMYL 2290178* METHYLAMINE 2320179* METHYL ETHYL KETONE 2350180* METHYL HYDRAZINE 2380181* MONOCROTOPHOS 2410182* NEOPENTYL GLYCOL DIGLYCIDYL ETHER 2440183* NITRIC ACID 2470184* POTASSIUM NITRATE 2500185* SODIUM NITRATE 2530186* NITROGLYCERIN 2560187* 2-NITROPROPANE 2590188* PHENYL GLYCIDYL ETHER 262


สารบัญ (ตอ)หนา0189* PHOSPHAMIDON 2650190* PHOSPHORUS OXYCHLORIDE 2680191* PROPOXUR 2710192* PROPYLENE OXIDE 2740193* RESORCINOL DIGLYCIDYL ETHER 2770194* ROCK WOOL 2800195* SLAG WOOL 2830196* SODIUM BROMATE 2860197* STRYCHNINE 2890198* SULPHURYL CHLORIDE 2920199* TEMEPHOS 2950200* TETRAMETHYL LEAD 298


BENZAL CHLORIDE เบนซอลคลอไรด ICSC: 0101วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2000Dichloromethyl benzeneBenzylidene chloridealpha, alpha-DichlorotolueneBenzyl dichlorideCAS # 98-87-3 C 7 H 6 Cl 2 / C 6 H 5 CHCl 2RTECS # CZ5075000 Molecular mass: 161.03UN # 1886EC # 602-058-00-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีการสูดดม ไอ หายใจลําบาก เจ็บคอ ดูดระบายอากาศ ใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน นําสงแพทยทางผิวหนัง แดง ปวด สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําจํานวนมาก หรืออาบน้ํานําสงแพทยทางดวงตา ตาแดง ปวด สวมหนากากปองกัน ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกินปวดแสบปวดรอน(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนการรับประทานอาหารบวนปากหามทําใหอาเจียนนําสงแพทย1


BENZALDEHYDE เบนซอลดีไฮด ICSC: 0102การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ใชหนากากชนิดกรองกาชและไออินทรียของสารเคมี เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิท ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย (inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยหามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอมการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-90S1990NFPA Code: H2; F2; R0IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากสารที่เขากันไมได (ดู อันตรายทางเคมี)ในภาชนะปดสนิท มีการระบายอากาศตามแนวพื้นเก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ํา เก็บในที่เย็นและมืดการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล5


BENZALDEHYDE เบนซอลดีไฮด ICSC: 0102ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวไมมีสีถึงสีเหลือง มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี :สารนี้ทําใหเกิดเปอรออกไซดที่ระเบิดไดภายใตสภาวะพิเศษ สารทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับอลูมิเนียม ดาง เหล็กสารออกซิไดซ และฟนอล ทําใหเกิดการติดไฟ และการระเบิดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVMAK: IIb (not established but data is available) (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสาร เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ถึงอัตราการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศเปนอันตรายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหตา เกิดการระคายเคืองคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :179 ํCจุดหลอมเหลว :-26 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.05การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 25 ํ C) :ละลายไดนอยความดันไอ Pa ที่ 26 ํ C :133ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 3.7จุดวาบไฟ : 63 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง : 192 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 1.4สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 1.48สารนี้เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุลางเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกดวยน้ํามากๆ เพราะอาจทําใหเกิดการติดไฟได ตรวจสอบเปอรออกไซดกอนทําการกลั่นทําใหหมดไปถาตรวจพบขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล6


BENZOIC ACID เบนโซอิคอะซิด ICSC: 0103วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 1999Benzenecarboxylic acidPhenyl carboxylic acidCAS # 65-85-0 C 7 H 6 O 2 / C 6 H 5 COOHRTECS # DG0875000 Molecular mass: 122.1UN #EC/EINECS # 200-618-2การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมคารบอนไดออกไซดการระเบิด ฝุนสารที่ฟุงกระจายสามารถระเบิดไดในอากาศปองกันไมใหมีการสะสมฝุนสารทําใหเปนระบบปด ใชอุปกรณกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําไฟฟาและอุปกรณสองสวางที่สามารถปองกันการระเบิดจากฝุนสารไดการไดรับสัมผัสการสูดดม ไอ เจ็บคอ ระบบระบายอากาศเฉพาะที่ ใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักหรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนัง แดง ปวดแสบปวดรอน คัน สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา ตาแดง ปวด สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน ปวดทอง คลื่นไส อาเจียน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก ทําใหอาเจียน(ถาผูปวยมีสติ) นําสงแพทย7


BENZO(a)PYRENE เบนโซไพรีน ICSC: 0104วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) :ตุลาคม 2005Benz(a)pyrene3,4-BenzopyreneBenzo(d,e,f)chryseneCAS # 50-32-8 C 20 H 12RTECS # DJ3675000 Molecular mass: 252.3UN #EC Index # 601-032-00-3การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดการระเบิดการไดรับสัมผัส ดูผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆหลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในสตรีมีครรภการสูดดม ระบบระบายอากาศเฉพาะที่ ใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักหรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึม สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตาสวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยทําใหอาเจียนออกมา(ถาผูปวยมีสติ) นําสงแพทย10


BENZO(a)PYRENE เบนโซไพรีน ICSC: 0104การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ใสใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัวหามปลอยสารออกสูสภาพแวดลอม เก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะที่ปดสนิท อาจทําใหชื้นกอนเพื่อปองกันการเกิดฝุนเก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยIPCSInternational Programmeon Chemical SafetyEU ClassificationSymbol: T, NR: 45-46-60-61-43-50/53S: 53-45-60-61UN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรงการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล11


BENZO(a)PYRENE เบนโซไพรีน ICSC: 0104ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกสีเหลืองออนอันตรายทางเคมี :สารทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรง ทําใหเกิดการติดไฟและการระเบิดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: Exposure by all routes should be carefully controlled to levels as low as possible A2 (suspected human carcinogen); (ACGIH2005).MAK: Carcinogen category: 2; Germ cell mutagen group: 2; (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาละอองของสาร เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของอนุภาคสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายเมื่อฝุนสารฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:สารนี้กอใหเกิดมะเร็งในมนุษย และอาจทําอันตรายตอยีนและเซลลสืบพันธุในมนุษย จากการทดลองในสัตวพบวาสารนี้อาจเปนพิษตอระบบสืบพันธุของมนุษยหรือการพัฒนาการของทารกคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 496 ํCจุดหลอมเหลว : 178.1 ํCความหนาแนน : 1.4 g/cm 3ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมการละลายในน้ํา (


BENZOTRICHLORIDE เบนโซไตรคลอไรด ICSC: 0105วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : พฤศจิกายน 2008alpha,alpha,alpha-TrichlorotolueneTrichlorophenylmethanePhenylchloroform(Trichloromethyl)benzeneCAS # 98-07-7 C 7 H 5 Cl 3 / C 6 H 5 CCl 3RTECS # XT9275000 Molecular mass: 195.5UN # 2226EC Annex 1 Index # 602-038-00-9EC/EINECS # 202-634-5การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัสการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง โฟม หรือคารบอนไดออกไซดปองกันไมใหเกิดไอหมอกของสารการสูดดม ไอ เจ็บคอ หายใจถี่ ดูดระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทันทีทางผิวหนัง แดง ปวด สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบู นําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด ไหม สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน ไอ เจ็บคอ หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยทันทีบวนปาก หามทําใหอาเจียนดื่มน้ํามากๆ พักผอนนําสงแพทยถายังไมดีขึ้น13


BENZOTRICHLORIDE เบนโซไตรคลอไรด ICSC: 0105การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว ดูดระบายอากาศ เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยเก็บในภาชนะผนึกปองกันอากาศหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวNote: EEU ClassificationSymbol: TR: 45-22-23-37/38-41S: 53-45UN ClassificationUN Hazard Class: 8UN Pack Group: IIGHS Classificationอันตรายเปนอันตรายถึงตายไดถาหายใจเอาสารนี้เขาไปเปนอันตราย เมื่อกลืนกินทําใหผิวหนังระคายเคืองทําอันตรายตอดวงตาอยางรายแรงอาจทําใหยีนเกิดความเสียหายอาจทําใหเปนมะเร็งอาจทําใหทางเดินหายใจระคายเคืองทําอันตรายตอปอด เมื่อหายใจเขาไปเปนเวลานานหรือไดรับสัมผัสซ้ําทําอันตรายตอตับ ไต และตอมไธรอยด เมื่อกลืนกินเขาไปเปนเวลานานหรือไดรับสัมผัสซ้ําอาจทําอันตรายถากลืนกินและไหลเขาหลอดลมการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-80S2226or 80GC9-II+IIINFPA Code: H4, F1, R0.IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว และสารที่เขากันไมได(ดูอันตรายทางเคมี) ในภาชนะปดสนิท แหงมีการระบายอากาศตามแนวพื้นการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล14


BENZOTRICHLORIDE เบนโซไตรคลอไรด ICSC: 0105ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวมัน ควันไมมีสีถึงมีสีเหลือง มีกลิ่นฉุนอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวโดยความรอน สัมผัสกับกรดและน้ํา ทําใหเกิดควันที่เปนพิษและกัดกรอนทําลายเนื้อเยื่อ รวมทั้งไฮโดรเจนคลอไรด สารทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารออกซิไดซอยางแรง เอมีน โลหะเบา ทําใหเกิดการติดไฟ และการระเบิด ถาสัมผัสกับอากาศทําใหปลอยไฮโดรเจนคลอไรดออกมา ดู ICSC0163 ทําลายพลาสติกคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.1 ppm as STEL (Ceiling value), (skin), A2 (suspected human carcinogen); (ACGIH 2008).MAK: skin absorption (H); Carcinogen category: 2; (DFG 2008).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหผิวหนัง ทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง และเกิดการระคายเคืองรุนแรงกับตาการกลืนของเหลวเขาไปอาจทําใหอาเจียน มีผลทําใหเกิดอาการปอดอักเสบผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:สารนี้มีผลตอการทํางานของปอด ตับ ไต ตอมไทรอยดสารนี้อาจกอใหเกิดมะเร็งในมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 221 ํCจุดหลอมเหลว : -5 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.4การละลายในน้ํา : เกิดปฏิกิริยาทางเคมีความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : 20ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 6.8ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.0จุดวาบไฟ : 108 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 211 ํCสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 2.92ความหนืดที่ 20 ํ C : 1.7 mm 2 /sขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุสวนผสมของไอ / อากาศติดไฟยาก แตอาจเกิดติดไฟไดภายใตสภาวะที่แนนอน ปริมาณสารตองไมเกินคากําจัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน อันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ นําสงแพทยถาหายใจลําบาก และ/หรือมีไขขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล15


BIPHENYL ไบฟนิล ICSC: 0106วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2006DiphenylPhenylbenzeneDibenzeneCAS # 92-52-4 C 12 H 10 / C 6 H 5 C 6 H 5RTECS # DU8050000 Molecular mass: 154.2UN # 3077EC Annex 1 Index # 601-042-00-8EC/EINECS # 202-163-5การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดการระเบิด ผงละเอียดของสารที่ฟุงกระจายสามารถระเบิดไดในอากาศปองกันไมใหเกิดการสะสมของฝุนสารทําเปนระบบปด ใชอุปกรณไฟฟาและอุปกรณสองสวางที่สามารถปองกันการระเบิดจากฝุนสารได ปองกันไมใหเกิดประจุไฟฟาสถิตโดยการตอสายดินการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารการสูดดม ไอ คลื่นไส อาเจียน หลีกเลี่ยงการหายใจเอาฝุนสารหรือไอหมอกของสารเขาไปใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา ตาแดง ปวด สวมหนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจ ถาสารเปนผงการกลืนกิน ดูเพิ่มเติมการสูดดม หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)บวนปาก นําสงแพทย16


BIPHENYL ไบฟนิล ICSC: 0106การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องปองกันหายใจโดยใช A/P2filter สําหรับ ไออินทรียและฝุนพิษ เก็บกวาดสารที่หกใสภาชนะที่ปดสนิท ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุนเก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวัง นําไปทิ้งในที่ปลอดภัยหามปลอยสารออกสูสภาพแวดลอมหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationSymbol: Xi, NR: 36/37/38-50/53S: (2-)23-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 9UN Pack Group: IIIGHS Classificationระวังทําใหเกิดการระคายเคืองตอดวงตาอาจกอใหเกิดการทําลายตับ และระบบประสาท ถาไดรับสัมผัสโดยการสูดดมในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆเปนพิษอยางมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ําการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-90GM7-IIINFPA Code: H 1; F 1; R 0;IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว และสารออกซิไดซตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําเขาถึงการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล17


BIPHENYL ไบฟนิล ICSC: 0106ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผงผลึกหรือแผนสีขาว มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางกายภาพ :เมื่อผสมกับอากาศ หากอยูในรูปผงหรือกรานูล อาจเกิดการระเบิดไดอันตรายทางเคมี :ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.2 ppm as TWA; (ACGIH 2006).MAK: skin absorption (H); Carcinogen category: 3B; (DFG 2006).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจไอของสารเขาไป ทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :เมื่อมีการฟุงกระจายของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนังและทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:สารนี้จะมีผลตอตับและระบบประสาท มีผลทําใหการทํางานเสียไปคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 256 ํCจุดหลอมเหลว : 70 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.04การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) : 0.0004ความดันไอ Pa ที่ 25 ํ C : 1.19ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 5.3ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.0จุดวาบไฟ : 113 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 540 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 0.6 (at 111 ํC)และ 5.8 (at 166 ํC)สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 3.16/4.09ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําอยางมาก อาจเกิดการสะสมทางชีวภาพไดตลอดหวงโซอาหาร เชนในพืช หามปลอยสารเคมีนี้เขาสูสิ่งแวดลอมหมายเหตุหามนําชุดทํางานกลับบานขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล18


BROMINE โบรมีน ICSC: 0107วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : พฤศจิกายน 2008CAS # 7726-95-6 Br 2RTECS # EF9100000 Molecular mass: 159.8UN # 1744EC Annex 1 Index # 035-001-00-5EC/EINECS # 231-778-1การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟ แตชวยใหสารอื่นติดไฟการเกิดปฏิกิริยาหลายชนิดอาจทําใหเกิดการติดไฟหรือการระเบิดความรอนจะทําใหความดันเพิ่มขึ้นทําใหเสี่ยงตอการเกิดการระเบิด เมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด เสี่ยงตอการติดไฟและระเบิด(ดูอันตรายทางเคมี)การปองกันหามสัมผัสกับสารที่เขากันไมได(ดูอันตรายทางเคมี)การปฐมยาบาล/การดับไฟในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียง: ใชสารดับไฟที่เหมาะสมไมใหถูกกับสารที่เขากันไมได(ดูอันตรายทางเคมี)กรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดม ไอ เจ็บคอ หายใจถี่ๆ เวียนศีรษะปวดศีรษะ หายใจมีเสียงวี้ดหายใจลําบากอาการอาจปรากฏในภายหลัง(ดูหมายเหตุ)ทําเปนระบบปด ดูดระบายอากาศหรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน ถาจําเปนใหชวยการหายใจ นําสงแพทยทันทีทางผิวหนังแดง ปวดแสบปวดรอน ปวดผิวไหมทางดวงตา น้ําตาไหล ตาแดง ตาพรา ปวดเปนแผลไหมการกลืนกิน กัดกรอนเนื้อเยื่อที่ปากและคอปวดแสบปวดรอนที่คอและชองอก ปวดทอง ช็อกหรือลมฟุบสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ทําความสะอาดผิวหนัง ดวยน้ํามากๆ อยางนอย 15 นาที ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกไปไวในภาชนะที่ปดสนิท ลางดวยน้ําอีกครั้ง นําสงแพทยทันทีสวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกันพรอมเครื่องปองกันการหายใจหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยทันทีบวนปาก อยาทําใหอาเจียนนําสงแพทยทันที19


BROMINE โบรมีน ICSC: 0107การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่ ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันกาชพิษจากสารเคมีรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว หามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอมทําการระบายอากาศ ขจัดไอของสารเคมีดวยการฉีดน้ําบางๆ เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะปดสนิทที่เคลือบดวยฟลูออรีน หามดูดซับดวยขี้เลื่อยหรือสารดูดซับที่ติดไฟได ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยภาชนะเปนสารพิเศษที่ทนการแตก หากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกไดใหนําบรรจุภัณฑนั้น ไปใสในภาชนะที่ทนตอการแตกและปดมิดชิดหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationSymbol: T+, C, NR: 26-35-50S: (1/2-)7/9-26-45-61UN ClassificationUN Hazard Class: 8UN Subsidiary Risks: 6.1UN Pack Group: IGHS Classificationอันตรายอาจทําใหโลหะกัดกรอนอันตรายถึงตายไดถาหายใจเขาไปอาจกอใหเกิดอันตรายถากลืนกินทําใหผิวหนังไหมรุนแรงและเปนอันตรายตอดวงตาอาจทําใหทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองเปนพิษรายแรงตอสิ่งมีชีวิตในน้ําการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-80S1744NFPA Code: H 3; F 0; R 0; OXIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิง เก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว (ดูอันตรายทางเคมี) เก็บในภาชนะปดสนิทที่เย็นแหง ในหองที่มีการดูดระบายอากาศที่ดี เก็บในภาชนะเดิมเทานั้นเก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําเขาถึงการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล20


BROMINE โบรมีน ICSC: 0107ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนไอสีแดง ถึง เปนของเหลวสีน้ําตาล กลิ่นฉุนอันตรายทางกายภาพ :ไอของสารหนักกวาอากาศอันตรายทางเคมี :ความรอนทําใหสารสลายตัวใหควันที่เปนพิษ สารนี้เปนสารออกซิไดซอยางแรง และทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารที่ติดไฟไดและสารรีดิวซ ทําปฏิกิริยากับสารประกอบอินทรียและสารประกอบอนินทรียสวนใหญทําใหเกิดการลุกไหมหรือการระเบิดทําลายโลหะ พลาสติกบางชนิด ยาง และสารเคลือบคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.1 ppm as TWA; 0.2 ppm as STEL; (ACGIH 2008).EU OEL: 0.1 ppm, 0.7 mg/m 3 as TWA; (EU 2006).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สงผลกระทบอยางรุนแรงในทุกทางที่ไดรับสัมผัสความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : น้ําตาไหล สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจถูกกัดกรอน กัดกรอนเมื่อกลืนกินการสูดดมไอของสารนี้อาจทําใหอาการคลายอาการหอบหืด ปอดอักเสบ ปอดบวมน้ํา ผลของการทําลายเนื้อเยื่อตาและทางเดินหายใจแสดงใหเห็นชัดเจนตั้งแตแรก อาการอาจปรากฏภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทย การไดรับสัมผัสอาจมีผลใหตายไดผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ :อาจทําใหมีผลตอทางเดินหายใจและปอด ทําใหเกิดอาการอักเสบเรื้อรังและทําใหการทํางานเสียไปคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 58.8 ํCจุดหลอมเหลว : -7.2 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 3.1การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) : 4.0ความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C : 23.3ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 5.5ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 2.0ความหนืด ที่ 40 ํ C : 0.264 mm 2 /sขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้เปนพิษอยางมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ําอยางมาก หามปลอยสารเคมีนี้เขาสูสิ่งแวดลอมหมายเหตุอาการปอดบวมน้ํามักจะไมปรากฏในทันทีจนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพักและใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ทําการรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสมโดยทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมายขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล21


BROMOFORM โบรโมฟอรม ICSC: 0108วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 1994TribromomethaneMethenyl tribromideCAS # 75-25-2 CHBr 3RTECS # PB5600000 Molecular mass: 252.7UN # 2515EC #602-007-00-Xการเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟ เมื่อเผาไหมใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัสการสูดดม หนาแดง น้ําลายออกมาก การเคลื่อนไหวถูกรบกวน ชัก ไอเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ หายใจลําบาก หมดสติ สูญเสียความจําช็อกทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึมไดแดง (ดูเพิ่มเติมการสูดดม)การปองกันปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยอยางเครงครัดดูดระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางดวงตา ตาแดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกินปวดแสบปวดรอน(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)การปฐมยาบาล/การดับไฟในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียง: ใชสารดับไฟประเภทที่เหมาะสมกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน ถาจําเปนใหใชเครื่องชวยหายใจ นําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออก ลางผิวหนังดวยน้ําและสบู นําสงแพทยลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานบวนปาก นําสงแพทย22


BROMOFORM โบรโมฟอรม ICSC: 0108การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ทําการดูดระบายอากาศ เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อยโรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย หามลางลงทอระบายน้ํา หามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอม (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)หามขนสงพรอมอาหารและอาหารสัตว เปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T, NR: 23-36/38-51/53S: (1/2-)-28-45-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61S2515IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากดางแก อาหารและอาหารสัตว สารออกซิไดซและโลหะ เก็บในที่มืด และมีการดูดระบายอากาศตามแนวพื้นเก็บสารในสภาพที่คงตัวเทานั้นการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล23


BROMOFORM โบรโมฟอรม ICSC: 0108ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัว เมื่อโดนแสงและสัมผัสอากาศจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองอันตรายทางเคมี :ความรอนทําใหสารสลายตัวไดควันพิษที่กัดกรอนเนื้อเยื่อ รวมทั้งไฮโดรเจนโบรมายดและโบรมีน สารนี้เปนกรดออนทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับกับสารออกซิไดซ ดางที่อยูในรูปผง และกัดกรอนโลหะเกือบทุกชนิด ทําปฏิกิริยากับโลหะแอลคาไลดผงอะลูมิเนียม สังกะสี และแมกนีเซียม และอะซีโตน ภายใตสภาวะปกติทําใหเกิดไฟไหมหรือการระเบิด ทําลายพลาสติกบางชนิด ยางและสารเคลือบคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.5 ppm as TWA; (skin); A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to humans); (ACGIH 2004).MAK: Carcinogen category: 3B; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจไอของสารเขาไป และเขาทางผิวหนังความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : น้ําตาไหล สารนี้มีผลทําใหทางเดินหายใจ ดวงตา และผิวหนังเกิดการระคายเคือง สารนี้อาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลางและตับ ทําใหการทํางานเสียไปผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:สารนี้อาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลางและตับ ทําใหเนื้อเยื่อถูกทําลายคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 149-152 ํCจุดหลอมเหลว : 8.3 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 2.9การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) : 0.1ความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C : 0.7ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 8.7ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.05สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 2.38ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้เปนพิษตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในน้ําเปนพิเศษ หามปลอยสารเคมีนี้เขาสูสิ่งแวดลอมเนื่องจากสารนี้จะตกคางอยูในสิ่งแวดลอมยาวนานหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะๆ การเติมสารที่ทําใหคงตัว (stabilizer)หรือสารยับยั้ง(inhibitor) ทําใหมีผลตอคุณสมบัติดานความเปนพิษของสารนี้ ควรปรึกษาผูเชี่ยวชาญ หามนําชุดทํางานกลับบานSee <strong>section</strong>s Occupational Exposure Limits, EU classification, Emergency Response.ขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล24


METHYL BROMIDE เมทธิลโบรไมด ICSC: 0109วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 1994BromomethaneMonobromomethane(เก็บในภาชนะบรรจุถังทรงกระบอก)CAS # 74-83-9 CH 3 BrRTECS # PA4900000 Molecular mass: 94.9UN # 1062EC Index # 602-002-00-2การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟอันตรายเฉียบพลัน/อาการติดไฟไดภายใตสภาวะจําเพาะเมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด มีความเสี่ยงที่จะเกิดการติดไฟและระเบิด เมื่อสัมผัสกับอลูมิเนียมสังกะสี หรือแมกนีเซียมการไดรับสัมผัสการสูดดม เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ ปวดทองอาเจียน ออนเพลีย เห็นภาพหลอนพูดไมได กลามเนื้อทํางานไมประสานกัน หายใจลําบาก ชักทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึม รูสึกปวดเสียว คันปวดแสบปวดรอน แดง เปนแผลพอง ปวด ผิวหนังที่โดนของเหลว :เกิดอาการน้ําแข็งกัด(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)ทางดวงตา ตาแดง ปวด ตาพราสูญเสียการมองเห็นชั่วคราวการกลืนกินการปองกันหามอยูใกลเปลวไฟ หามสัมผัสกับอลูมิเนียม สังกะสี แมกนีเซียมหรือออกซิเจนบริสุทธิ์ปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจสวมถุงมือปองกันความเย็น และเสื้อผาปองกันสวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟปดการจาย ถาปดไมไดและไมเปนอันตรายตอบริเวณใกลเคียง ปลอยใหไฟคอยๆดับไปเองการดับไฟในกรณีอื่น ใชสารดับไฟที่เหมาะสมกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทา ครึ่งนั่งครึ่งนอน ถาจําเปนใหใชเครื่องชวยหายใจ นําสงแพทยอาการน้ําแข็งกัด : ลางดวยน้ํามากๆหามถอดเสื้อผาออก ลางผิวหนังดวยน้ํามากๆ หรืออาบน้ํานําสงแพทยลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทย25


METHYL BROMIDE เมทธิลโบรไมด ICSC: 0109การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ดูดระบายอากาศหามฉีดน้ําลงบนของเหลว (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)EU ClassificationSymbol: T, NR: 23/25-36/37/38-48/20-68-50-59S: (1/2-)-15-27-36/39-38-45-59-61UN ClassificationUN Hazard Class: 2.3การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-20S1062NFPA Code: H 3; F 1; R 0;เก็บในหองที่ปองกันไฟไดหากอยูในอาคาร เก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง อลูมิเนียม และถังออกซิเจน เก็บในที่เย็นมีการดูดระบายอากาศตามบริเวณแนวพื้นIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล26


METHYL BROMIDE เมทธิลโบรไมด ICSC: 0109ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนกาซเหลว ไมมีสี ไมมีกลิ่นอันตรายทางกายภาพ :เปนกาซหนักกวาอากาศอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนหรือเกิดไฟไหม เมื่อสลายตัวจะปลอยควันที่เปนพิษและทําลายเนื้อเยื่อ รวมทั้งไฮโดรเจนโบรไมด โบรมีน และคารบอนออกซีโบรไมด ออกมา ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรง ทําลายโลหะหลายชนิดถามีน้ําอยูดวย ทําลายอลูมิเนียม สังกะสี และแมกนีเซียม เกิดเปนสารประกอบไพโรฟอสฟอริคที่ทําใหเกิดไฟและการระเบิดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 1 ppm as TWA; (skin); A4 (not classifiable as a human carcinogen); (ACGIH 2004).MAK: skin absorption (H); Carcinogen category: 3B; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการสูดดมไอของสารเขาไป และทางผิวหนัง เชนเดียวกันกับไอสารความเสี่ยงจากการหายใจ :ปริมาณของสารในอากาศจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วถึงขีดอันตรายหากรั่วจากภาชนะบรรจุผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง การหายใจสารนี้เขาไปอาจทําใหเกิดปอดบวมน้ํา(ดูหมายเหตุ) การระเหยของของเหลวนี้อยางรวดเร็วอาจทําใหเกิดอาการน้ําแข็งกัด สารนี้อาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง ไต และปอด การไดรับสารที่ความเขมขนสูงๆอาจทําใหตายได ผลนี้อาจเกิดขึ้นในระยะเวลาตอมาไดผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ :สารนี้อาจมีผลตอระบบประสาท ไต หัวใจ ตับและปอดคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 4 ํCจุดหลอมเหลว : -94 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.7การละลายในน้ํา (ml/100 ml ที่ 20 ํ C) : 1.5ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 3.3อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 537 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 10-16สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 1.19สารนี้เปนพิษตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจเกี่ยวกับ ปลา สัตวเลี้ยงลูกดวยนม พืช สิ่งมีชีวิตในดินเปนพิเศษหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะๆ อาการปอดบวมน้ํามักจะไมปรากฏในทันทีจนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพัก และใหแพทยตรวจ และสังเกตอาการ ทําการรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสมโดยทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมาย ไมสามารถใชกลิ่นของสารเปนเครื่องเตือน เมื่อปริมาณสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน ตั้งถังใหสวนที่รั่วอยูดานบนเพื่อปองกันการรั่วไหลของกาซที่อยูในสถานะของเหลวชื่อทางการคา Bromo-O-gas, Dowfume, Embafume, Halon 1001, Haltox, Meth-o-gas, Terabol and Terr-o-Gas 100See <strong>section</strong>s Occupational Exposure Limits, EU classification, Emergency Response.ขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล27


1,4-BUTANEDIOL DIGLYCIDYLETHERวันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : พฤศจิกายน 20071,4-Bis(2,3-epoxypropoxy)butane1,4-Butane diglycidyl etherCAS # 2425-79-8 C 10 H 18 O 4RTECS # EJ5100000 Molecular mass: 202.3UN #EC Annex 1 Index # 603-072-00-7EC/EINECS # 219-371-7การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการ1,4-บิวเทนไดออล ไดไกลซิดิล อีเทอร ICSC: 0110การปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง โฟมที่ทนตอแอลกอฮอล น้ําฉีด หรือคารบอนไดออกไซดการระเบิดการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีการสูดดม ไอ เจ็บคอ ทําเปนระบบปดใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนัง แดง ปวด สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยถาระคายเคืองผิวหนังทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน ปวดแสบปวดรอน เจ็บคอ หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยทันทีบวนปาก หามทําใหอาเจียนดื่มน้ํามากๆ นําสงแพทยถายังไมดีขึ้น28


1,4-BUTANEDIOL DIGLYCIDYLETHER1,4-บิวเทนไดออล ไดไกลซิดิล อีเทอร ICSC: 0110การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ใชหนากากชนิดกรองกาชและไออินทรียของสารเคมี เก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะที่ปดสนิทลางสวนที่เหลือดวยน้ํามากๆIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง กรด ดางเก็บในที่เย็นและมืด มีการระบายอากาศตามแนวพื้นการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล29


1,4-BUTANEDIOL DIGLYCIDYLETHER1,4-บิวเทนไดออล ไดไกลซิดิล อีเทอร ICSC: 0110ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวไมมีสีถึงสีเหลืองอันตรายทางเคมี :สารนี้ทําใหเกิดเปอรออกไซดที่ระเบิดได สารทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรง กรด ดางคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVMAK: sensitization of skin (Sh); (DFG 2007).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการเขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ถึงอัตราการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศเปนอันตรายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง และเกิดการระคายเคืองรุนแรงกับดวงตาและผิวหนังผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆหรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังไวตอสิ่งกระตุนคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :266 ํCความหนาแนน : 1.1 g/cm 3การละลายในน้ํา : ละลายไดความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :1.3ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 7.0ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.08จุดวาบไฟ : 129 ํCสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : -0.15ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุตรวจสอบเปอรออกไซดกอนทําการกลั่น ทําใหหมดไปถาตรวจพบขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล30


1-BUTANOL 1-บิวทานอล ICSC: 0111วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2005n-Butanoln-Butyl alcoholPropyl carbinolButan-1-olButyl alcoholCAS # 71-36-3 C 4 H 10 O / CH 3 (CH 2 ) 3 OHRTECS # EO1400000 Molecular mass: 74.1UN # 1120EC # 603-004-00-6การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไวไฟ หามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟ และหามสูบบุหรี่การระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกวา 29 ํC อาจเกิด ที่อุณหภูมิสูงกวา 29 ํC ทําเปนสวนผสมของไอ/ อากาศที่ ระบบปด มีการดูดระบายอากาศ ใชระเบิดไดอุปกรณไฟฟาที่สามารถปองกันการเกิดระเบิดไดการไดรับสัมผัสการสูดดมไอ เจ็บคอ ปวดศีรษะ วิงเวียนงวงซึมใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักทางผิวหนัง แดง ปวด ผิวแหง สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ําทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกินปวดทอง งวงซึม วิงเวียนคลื่นไส อาเจียน ทองเสียหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานบวนปาก อยาทําใหอาเจียนดื่มน้ํามากๆ นําสงแพทย31


1-BUTANOL 1-บิวทานอล ICSC: 0111การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล:ใชหนากากชนิดกรองกาชและไออินทรียของสารเคมี เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยลางสวนที่แหลือดวยน้ํา มากๆEU ClassificationSymbol: XnR: 10-22-37/38-41-67S: (2-)-7/9-13-26-37/39-46UN ClassificationUN Hazard Class: 3UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-30S1120-IIINFPA Code: H1; F3; R0;เก็บในที่ปองกันไฟได เก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง และอลูมิเนียมIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล32


1-BUTANOL 1-บิวทานอล ICSC: 0111ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี :สารทําปฏิกิริยากับสารอลูมิเนียมเมื่อใหความรอนจนถึง 100 ํC ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรงโครเมียมไตรออกไซด ทําใหเกิดกาซติดไฟและระเบิดได (ไฮโดรเจน) ดู ICSC # 0001 สารทําลายพลาสติกบางชนิด ยาง และสารเคลือบคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 20 ppm as TWA; (ACGIH 2005).MAK: 100 ppm, 310 mg/m 3 ; Peak limitation category: I(1); Pregnancy risk group: C; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสาร และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนพิษอยางชาๆผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหผิวหนังเกิดการระคายเคือง และเกิดการระคายเคืองรุนแรงกับตา ไอของสารนี้จะทําใหดวงตาและทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง การไดรับสัมผัสสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจทําใหความรูสึกตัวลดลง การกลืนของเหลวเขาไปอาจทําใหสําลักลงไปในปอดโดยมีความเสี่ยงของการเกิดอาการปอดอักเสบจากสารเคมีผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารนี้ละลายไขมันออกจากผิวหนังคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :117 ํCจุดหลอมเหลว :-90 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :0.81การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) :7.7ความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :0.58ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 2.6ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.01จุดวาบไฟ : 29 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง : 345 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 1.4-11.3สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.9ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล33


2-BUTANOL 2-บิวทานอล ICSC: 0112วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) :เมษายน 2005sec-Butyl alcoholButan-2-ol1-Methyl propanolMethyl ethyl carbinolButylene hydrateCAS # 78-92-2 C 4 H 10 O / CH 3 CHOHCH 2 CH 3RTECS # EO1750000 Molecular mass: 74.1UN # 1120EC # 603-127-00-5การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไวไฟ หามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟ และหามสูบบุหรี่การระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกวา 24 ํC ที่อุณหภูมิสูงกวา 24 ํCอาจเกิดสวนผสม ทําเปนระบบปด มีการดูดระบายของไอ/ อากาศที่ระเบิดได อากาศ ใชอุปกรณไฟฟาที่สามารถปองกันการเกิดระเบิดไดการไดรับสัมผัสการสูดดม ปวดหัว วิงเวียน งวงซึม ทําเปนระบบปดใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง ผิวแหง สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ําทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน วิงเวียน งวงซึม หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานบวนปาก หามทําใหอาเจียนดื่มน้ํามากๆ นําสงแพทย34


2-BUTANOL 2-บิวทานอล ICSC: 0112การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ใชหนากากชนิดกรองกาชและไออินทรียของสารเคมี เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยลางสวนที่เหลือดวยน้ํามากๆEU ClassificationSymbol: XiR: 10-36/37-67S: (2-)-7/9-13-24/25-26-46Note:[C]UN ClassificationUN Hazard Class: 3UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-30S1120-IIINFPA Code: H1; F3; R0;เก็บในที่ปองกันไฟได เก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง และอลูมิเนียมIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล35


2-BUTANOL 2-บิวทานอล ICSC: 0112ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี :สารนี้ทําใหเกิดเปอรออกไซดที่ระเบิดได สารทําปฏิกิริยากับสารอลูมิเนียมเมื่อใหความรอนจนถึง 100 ํC ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรง เชน โครเมียม ไตรออกไซด ทําใหเกิดกาซติดไฟและระเบิดได (ไฮโดรเจน ดู ICSC0001)สารทําลายพลาสติกบางชนิด ยาง และสารเคลือบคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 100 ppm as TWA; (ACGIH 2005).MAK: IIb (not established but data is available) (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสาร และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนพิษอยางชาๆผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตาเกิดการระคายเคือง การไดรับสัมผัสสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจทําใหความรูสึกตัวลดลง การกลืนของเหลวเขาไปอาจทําใหสําลักลงไปในปอดโดยมีความเสี่ยงของการเกิดอาการปอดอักเสบจากสารเคมีผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ :สารนี้ทําใหผิวหนังเกิดการระคายเคืองคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :100 ํCจุดหลอมเหลว :-115 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :0.81การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) :12.5ความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :1.7ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 2.55ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.03จุดวาบไฟ : 24 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 406 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 1.7-9.0สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.6ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุตรวจสอบเปอรออกไซดกอนทําการกลั่น ทําใหหมดไปถาตรวจพบขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล36


ISOBUTANOL ไอโซบิวทานอล ICSC: 0113วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 20052-Methyl-1-propanolIsopropyl carbinolIsobutyl alcoholCAS # 78-83-1 C 4 H 10 O / (CH 3 ) 2 CHCH 2 OHRTECS # NP9625000 Molecular mass: 74.1UN # 1212EC # 603-108-00-1การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไวไฟ หามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟ และหามสูบบุหรี่การระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกวา 28 ํC อาจเกิด ที่อุณหภูมิสูงกวา 28 ํC ทําเปนสวนผสมของไอ/ อากาศที่ ระบบปด มีการดูดระบายอากาศระเบิดไดใชอุปกรณไฟฟาที่สามารถปองกันการเกิดระเบิดไดการไดรับสัมผัสการสูดดม ปวดหัว วิงเวียน งวงซึม ดูดระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟม หรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหรับอากาศบริสุทธิ์นอนพักทางผิวหนัง แดง ปวด ผิวแหง สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ําทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆ นาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกินปวดทอง งวงซึม วิงเวียนคลื่นไส อาเจียน ทองเสียหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานบวนปาก หามทําใหอาเจียนดื่มน้ํามากๆ นําสงแพทย37


ISOBUTANOL ไอโซบิวทานอล ICSC: 0113การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ใชหนากากชนิดกรองกาชและไออินทรียของสารเคมี เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิท ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย (inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย ลางสวนที่เหลือดวยน้ํามากๆEU ClassificationSymbol: XiR: 10-37/38-41-67S: (2-)-7/9-13-26-37/39-46UN ClassificationUN Hazard Class: 3UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-30S1120-IIINFPA Code: H1; F3; R0;เก็บในที่ปองกันไฟได เก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง และอลูมิเนียมIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล38


ISOBUTANOL ไอโซบิวทานอล ICSC: 0113ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี :สารทําปฏิกิริยากับอลูมิเนียม ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรง เชนโครเมียม ไตรออกไซด ทําใหเกิดกาซติดไฟและระเบิดได (ไฮโดรเจน ดู ICSC0001) สารทําลายพลาสติกบางชนิด ยาง และสารเคลือบคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 50 ppm as TWA; (ACGIH 2005).MAK: 100 ppm, 310 mg/m 3 ; Peak limitation category: I(1); Pregnancy risk group: C; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :เขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสาร และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนพิษอยางชาๆผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหผิวหนังเกิดการระคายเคือง และเกิดการระคายเคืองรุนแรงกับดวงตา การไดรับสัมผัสสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจทําใหความรูสึกตัวลดลง การกลืนของเหลวเขาไปอาจทําใหสําลักลงไปในปอดโดยมีความเสี่ยงของการเกิดอาการปอดอักเสบจากสารเคมีผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารนี้ทําใหผิวหนังเกิดการระคายเคืองคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :108 ํCจุดหลอมเหลว :-108 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :0.80การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) :8.7ความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :1.2ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 2.55ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.02จุดวาบไฟ : 28 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 415 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 1.7-10.9สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.8ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล39


tert-BUTANOL เติรท-บิวทานอล ICSC: 0114วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2008tert-Butyl alcohol2-Methyl-2-propanolTrimethyl carbinol2-Methylpropan-2-ol1,1-DimethylethanolCAS # 75-65-0 C 4 H 10 O / (CH 3 ) 3 COHRTECS # EO1925000 Molecular mass: 74.1UN # 1120EC Annex 1 Index # 603-005-00-1EC/EINECS # 200-889-7การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไวไฟสูงมาก หามอยูใกลเปลวไฟ หรือประกายไฟ และหามสูบบุหรี่การระเบิดสวนผสมของไอ/อากาศอาจระเบิดได ความรอนจะทําใหความดันสูงขึ้นซึ่งเสี่ยงตอการเกิดระเบิดการไดรับสัมผัสการสูดดม วิงเวียน งวงซึม คลื่นไสอาเจียน ปวดศีรษะทําเปนระบบปด มีการดูดระบายอากาศ ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการเกิดระเบิดได ใชเครื่องมือที่ไมเกิดประกายไฟ หามใชอากาศอัดในการเติม การปลอยทิ้ง หรือการขนยายดูดระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง โฟมที่ทนตอแอลกอฮอล น้ําฉีด หรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ําทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน (ดูเพิ่มเติมการสูดดม) หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานบวนปาก หามทําใหอาเจียนดื่มน้ํามากๆ นําสงแพทย40


tert-BUTANOL เติรท-บิวทานอล ICSC: 0114การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายแหลงที่ติดไฟไดทั้งหมด เคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตรายปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว ดูดระบายอากาศ เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิท ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย ลางสวนที่เหลือดวยน้ํามากๆการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-30S1120-II or 30GF1-I+IINFPA Code: H2; F3; R0IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บในที่ปองกันไฟได เก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรงกรดแกการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล41


tert-BUTANOL เติรท-บิวทานอล ICSC: 0114ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวหรือผลึกไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางกายภาพ :ไอของสารรวมตัวไดงายกับอากาศ เกิดสวนผสมของไอ/ อากาศที่ระเบิดไดอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อสัมผัสกับสารออกซิไดซอยางแรง และกรดอนินทรียแก ทําใหเกิดการติดไฟ และการระเบิดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 100 ppm as TWA; A4 (not classifiable as a human carcinogen); (ACGIH 2007).MAK: 20 ppm, 62 mg/m 3 ; Peak limitation category: II(4); Pregnancy risk group: C; (DFG 2007).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :เขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสาร และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตาเกิดการระคายเคือง สารมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง การไดรับสัมผัสสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจทําใหความรูสึกตัวลดลงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆหรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังอักเสบคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :83 ํCจุดหลอมเหลว :25 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :0.8การละลายในน้ํา : ละลายไดความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :4.1ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 2.6ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.06จุดวาบไฟ : 11 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 470 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 1.7-8.0สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.3ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุไมสามารถใชกลิ่นของสารเปนเครื่องเตือนเมื่อปริมาณสารเกินคากําจัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล42


n-BUTYL GLYCIDYL ETHER เอ็น-บิวทิลไกลซิดิล อีเทอร ICSC: 0115วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2005BGE1-Butoxy-2,3-epoxypropane2,3-Epoxypropyl butyl ether(Butoxymethyl)oxiraneCAS # 2426-08-6 C 7 H 14 O 2RTECS # TX4200000 Molecular mass: 130.2UN # 1993EC Index # 603-039-00-7การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไวไฟ หามอยูใกลเปลวไฟ หรือประกายไฟ และหามสูบบุหรี่การระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกวา 54 ํC อาจเกิด ที่อุณหภูมิสูงกวา 54 ํC ทําเปนสวนผสมของไอ/ อากาศที่ ระบบปด มีการดูดระบายอากาศ ใชระเบิดไดอุปกรณสามารถปองกันการเกิดระเบิดไดการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีการสูดดม ไอ เจ็บคอ ดูดระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟม หรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักทางผิวหนัง แดง ปวด สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก43


n-BUTYL GLYCIDYL ETHER เอ็น-บิวทิลไกลซิดิล อีเทอร ICSC: 0115การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจโดยใช P2 filterสําหรับ อนุภาคสารอันตราย เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่มีฝาปด ใชทรายหรือสิ่งดูดซับเฉื่อยโรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยEU ClassificationSymbol: XnR: 10-20/22-37-40-43-68-52/53S: (2-)-24/25-36/37-61UN ClassificationUN Hazard Class: 3UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-30GF1-III เก็บในที่ปองกันไฟได เก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรงกรดแก ดางแก เอมีน เก็บในที่เย็นและมืดIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล44


n-BUTYL GLYCIDYL ETHER เอ็น-บิวทิลไกลซิดิล อีเทอร ICSC: 0115ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี :สารนี้ทําใหเกิดเปอรออกไซดที่ระเบิดได สารทําปฏิกิริยากับกรด เอมีน ดาง และสารออกซิไดซอยางแรงคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 3 ppm as TWA; (skin); SEN; (ACGIH 2005).MAK: skin absorption (H); sensitization of skin (Sh); Carcinogen category: 3B; Germ cell mutagen group: 2; (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาละอองของสาร และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: อาจทําใหเปนโรคผิวหนังไวตอสิ่งกระตุน อาจกอใหเกิดอันตรายที่ถายทอดไดทางพันธุกรรมตอเซลลสืบพันธุของมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :164 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :0.91การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) : 2ความดันไอ kPa ที่ 25 ํ C :0.43ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 3.78ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.01จุดวาบไฟ : 54 ํC c.c (closed cup)คาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: ดูหมายเหตุสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.63ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุคาจํากัดการระเบิดไมมีบอกไวในเอกสารใด อยางไรก็ตามสารนี้ติดไฟไดและมีจุดวาบไฟนอยกวา 61 ํCตรวจสอบเปอรออกไซดกอนทําการกลั่น ทําใหหมดไปถาตรวจพบขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล45


CADMIUM CHLORIDE แคดเมียมคลอไรด ICSC: 0116วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2005Cadmium dichlorideCAS # 10108-64-2 CdCl 2RTECS # EV0175000 Molecular mass: 183.3UN # 2570EC Index # 048-008-00-3การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไมติดไฟ เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีการสูดดมไอ หายใจลําบาก อาการอาจเกิดภายหลัง (ดู หมายเหตุ)ทําเปนระบบปด ทําการดูดระบายอากาศการปฐมยาบาล/การดับไฟในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียงใชสารดับไฟประเภทที่เหมาะสมใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน ถาจําเปนใหชวยการหายใจ นําสงแพทยทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือและชุดปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ํามากๆ หรืออาบน้ําทางดวงตา ตาแดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจ ถาสารอยูในรูปผงการกลืนกินปวดทอง ปวดแสบปวดรอนทองเสีย คลื่นไส อาเจียนหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนการรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ดื่มน้ํามากๆ นําสงแพทย46


CADMIUM CHLORIDE แคดเมียมคลอไรด ICSC: 0116การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว หามปลอยสารออกสูสภาพแวดลอม เก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะที่ปดสนิท ถาเปนไปไดอาจทําใหชื้นกอนเพื่อปองกันการเกิดฝุนสาร เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยเก็บในบรรจุภัณฑที่ทนตอการแตก หากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกได ใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ทนตอการแตกและปดมิดชิด หามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลอยางรุนแรงEU ClassificationSymbol: T+, NR: 45-46-60-61-25-26-48/23/25-50/53S: 53-45-60-61Note: [E]UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT5-IIIIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง อาหารและอาหารสัตวเก็บในที่เย็นและแหง เก็บในที่ปดสนิทเก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล47


CADMIUM CHLORIDE แคดเมียมคลอไรด ICSC: 0116ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกดูดความชื้น ไมมีสี ไมมีกลิ่นอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวไดเมื่อไดรับความรอน เมื่อสลายตัวจะปลอยควันที่เปนพิษรุนแรงของแคดเมียม และคลอรีนทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรงไดควันพิษของคลอรีนคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: (as Cadmium) (Total dust) 0.01 mg/m 3 ; (Respirable fraction) 0.002 mg/m 3 ; as TWA; A2 (suspected human carcinogen); BEIissued; (ACGIH 2005).MAK: skin absorption (H); Carcinogen category: 1; Germ cell mutagen group: 3A; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ เอาละอองของสารเขาไป และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ปริมาณของสารในอากาศจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงขั้นเปนอันตรายได ถาฝุนสารเกิดการฟุงกระจายโดยเฉพาะถาเปนผงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้อาจจะทําใหดวงตา ผิวหนัง ทางเดินหายใจ และทางเดินอาหารเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง การหายใจละอองสารนี้เขาไปอาจทําใหเกิดปอดบวมน้ํา (ดูหมายเหตุ) การสัมผัสสารนี้เกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน อาจทําใหเสียชีวิตได ผลนี้อาจเกิดขึ้นในเวลาตอมาได ควรปรึกษาแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารนี้อาจมีผลตอไตและปอด ทําใหไตและเนื้อเยื่อถูกทําลาย อาจกอใหเกิดโรคมะเร็งในมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 960 ํCจุดหลอมเหลว : 568 ํCความหนาแนน : 4.1 g/cm 3การละลายในน้ํา : ดีขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา อาจเกิดการสะสมทางชีวภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งในพืช หามปลอยสารเคมีนี้เขาสูสิ่งแวดลอมเนื่องจากสารนี้จะตกคางอยูในสิ่งแวดลอมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ๆ อาการปอดบวมน้ํามักจะไมปรากฏในทันทีจนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพัก และใหแพทยตรวจ และสังเกตอาการทําการรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสมทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมาย หามนําชุดทํางานกลับบานขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล48


CADMIUM OXIDE แคดเมียมออกไซด ICSC: 0117วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2005Cadmium monoxideCAS # 1306-19-0 CdORTECS # EV1925000 Molecular mass: 128.4UN #2570 (Cadmium compounds)EC Index # 048-002-00-0การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไมติดไฟ เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีการสูดดม ไอ หายใจลําบาก หายใจถี่อาการอาจเกิดภายหลัง(ดู หมายเหตุ)ระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียงใชสารดับไฟประเภทที่เหมาะสมปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน นําสงแพทยทางผิวหนัง ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ํามากๆ หรืออาบน้ําทางดวงตา ตาแดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจในกรณีที่สารเปนผงการกลืนกิน เปนตะคริวที่ทอง ทองเสียคลื่นไส อาเจียนหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนการรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก นําสงแพทย49


CADMIUM OXIDE แคดเมียมออกไซด ICSC: 0117การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจ P3 filter สําหรับอนุภาคสารพิษ หามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอม ดูดสารที่หกออกมาดวยเครื่องมือเฉพาะหรือเก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุนสาร เก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวัง นําไปทิ้งในที่ที่ปลอดภัยเก็บในบรรจุภัณฑที่ทนตอการแตก หากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกได ใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ทนตอการแตกหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลอยางรุนแรงEU ClassificationSymbol: T+, NR: 45-26-48/23/25-62-63-68-50/53S: 53-45-60-61Note: [E]UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT5-IIIIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจาก อาหาร และอาหารสัตวเก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําเขาถึงการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล50


CADMIUM OXIDE แคดเมียมออกไซด ICSC: 0117ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :ไมมีกลิ่น เปนผลึกสีน้ําตาล หรือเปนผงรูปรางอสัณฐานอันตรายทางเคมี :เมื่อใหความรอนจะทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับแมกนีเซียมทําใหเกิดการติดไฟและเกิดอันตรายจากการระเบิดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: as Cd (total dust) 0.01 mg/m 3 as TWA; (respirable fraction) 0.002 mg/m 3 as TWA; A2 (suspected human carcinogen); BEIissued; (ACGIH 2005).MAK: (Inhalable fraction); skin absorption (H); Carcinogen category: 1; Germ cell mutagen group: 3A; (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ เอาไอของสารเขาไป และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ปริมาณของสารในอากาศจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วถึงขีดอันตราย ถาฝุนสารเกิดการฟุงกระจายโดยเฉพาะถาเปนผงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง การหายใจละอองสารนี้เขาไปอาจทําใหเกิดปอดบวมน้ํา (ดูหมายเหตุ) การสัมผัสสารนี้เกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจทําใหเสียชีวิตได ผลนี้อาจเกิดขึ้นในเวลาตอมาได ควรปรึกษาแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารนี้อาจมีผลตอไตและปอด ทําใหการทํางานของไตเสียไปและเนื้อเยื่อถูกทําลายอาจกอใหเกิดโรคมะเร็งในมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดระเหิด : (crystals) 1559 ํCจุดหลอมเหลว (สลายตัว) : (amorphous)900-1000 ํCขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนน : 6.95 (amorphous); 8.15 (crystals) g/cm 3การละลายในน้ํา : ไมละลายเกิดการสะสมทางชีวภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งในพืชและอาหารทะเล หามไมใหสารเคมีนี้เขาสูสิ่งแวดลอมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ อาการปอดบวมน้ํามักจะไมปรากฏในทันทีจนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพัก และใหแพทยตรวจ และสังเกตอาการ ทําการรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสมโดยทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมาย หามนําชุดทํางานกลับบานขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล51


CAPROLACTAM คาโปรแลคแตม ICSC: 0118วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 1994Hexahydro-2H-azepin-2-oneAminocaproic lactamEpsilon-CaprolactamCAS # 105-60-2 C 6 H 11 NORTECS # CM3675000 Molecular mass: 113.2UN #EC Index # 613-069-00-2การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชโฟม สารดับเพลิงผงคารบอนไดออกไซดและน้ําจํานวนมากการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กการสูดดม เปนตะคริวที่ทอง สับสน ไอเวียนศีรษะ ปวดศีรษะใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง ผิวแหง แดง สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ํามากๆ หรืออาบน้ําทางดวงตา ตาแดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน ปวดทอง ทองเสีย คลื่นไสอาเจียน (ดูเพิ่มเติมการสูดดม)หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก หามทําใหอาเจียนนําสงแพทย52


CAPROLACTAM คาโปรแลคแตม ICSC: 0118การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากถาหลอมเหลวปลอยใหแข็งตัว กวาดสารที่หกใสภาชนะ ถาเปนไปไดทําให สารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน ลางสวนที่เหลือดวยน้ําจํานวนมาก (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจโดยใช P2 filter สําหรับอนุภาคอันตราย )EU ClassificationSymbol: XnR: 20/22-36/37/38S: (2)UN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาNFPA Code: H 1; F 1; R 0; เก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง เก็บในที่แหงIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล53


CAPROLACTAM คาโปรแลคแตม ICSC: 0118ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนแผน (ชิ้น) หรือผลึกสีขาวอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวไดเมื่อไดรับความรอนและเผาไหมจะปลอยควันพิษรวมถึงไนโตรเจนออกไซด แอมโมเนีย ทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารออกซิไดซอยางแรงทําใหเกิดควันที่เปนพิษคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 5 mg/m 3 as TWA; A5 (not suspected as a human carcinogen); (ACGIH 2004).MAK: (Inhalable fraction) 5 mg/m 3 ; Peak limitation category: I(2); Pregnancy risk group: C; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจไอหรือฝุนของสารเขาไปความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนอาจจะถึงขั้นเปนอันตรายอยางชาๆ อยางไรก็ตามถาถูกพนเปนละอองหรือฟุงกระจาย การปนเปอนจะเร็วกวามากผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหผิวหนัง เกิดการระคายเคือง ไอของสารนี้จะทําใหตา ผิวหนัง และระบบทางเดินหายใจ เกิดการระคายเคือง การหายใจสารนี้เขาไปอาจทําใหมีผลตอระบบประสาทสวนกลางผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:อาจทําใหผิวหนังเกิดการอักเสบและทําใหผิวหนังไวตอการกระตุน สารนี้อาจมีผลตอระบบเสนประสาทของตับคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 267 ํCจุดหลอมเหลว : 70 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.02การละลายในน้ํา : ดีความดันไอ Pa ที่ 25 ํ C : 0.26ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 3.91ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.0จุดวาบไฟ : 125 ํC o.c.(open cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 375 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 1.4-8สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : -0.19ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้อาจเปนพิษตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในน้ําเปนพิเศษหมายเหตุปกติสารนี้มีใชทั่วไป เก็บ และขนสงในรูปของของเหลวที่อุณหภูมิประมาณ 80 ํCขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล54


CAPTAFOL แคพตาฟอล ICSC: 0119วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 1994N-(1,1,2,2-Tetrachloroethylthio)cyclohex-4-ene-1,2-dicarboximide3a,4,7,7a-Tetrahydro-N-(1,1,2,2-tetrachloroethanesulphenyl)phthalimideCAS # 2425-06-1 C 10 H 9 Cl 4 NO 2 SRTECS # GW4900000 Molecular mass: 349.1UN # 2588EC Index # 613-046-00-7การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได ในตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียซึ่งอาจติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมคารบอนไดออกไซดการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีการสูดดม ไอ เจ็บคอ หายใจมีเสียงหวีด ทําการดูดระบายอากาศ( ไมตองถาสารเปนฝุนผง)ระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึม แดง เปนผื่นเปนแผลพุพองทางดวงตา ตาแดง ปวด คัน สวมหนากากหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจถาสารเปนฝุนผงการกลืนกิน ปวดแสบปวดรอน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําจํานวนมากหรืออาบน้ํา นําสงแพทยลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก นําสงแพทย55


CAPTAFOL แคพตาฟอล ICSC: 0119การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจใช P3 filterสําหรับ อนุภาคสารพิษ หามลางลงทอระบายน้ํา กวาดสารที่หกใสภาชนะ ถาเปนไปไดทําให สารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน เก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวัง นําไปทิ้งในที่ที่ปลอดภัยหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationSymbol: T, NR: 45-43-50/53S: 53-45-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT7-III ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากดางแก อาหารและอาหารสัตวIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล56


CAPTAFOL แคพตาฟอล ICSC: 0119ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผงผลึกไมมีสีอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวไดเมื่อสัมผัสความรอนหรือเผาไหมไดควันที่เปนพิษและทําลายเนื้อเยื่อ รวมทั้ง ไฮโดรเจนคลอไรด(ดู ICSC0163)ไนโตรเจนออกไซด ซัลเฟอรออกไซด ทําปฏิกิริยารุนแรงกับดางทําใหเกิดอันตรายจากไฟไหมและการระเบิด ทําลายโลหะบางชนิดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.1 mg/m 3 as TWA; (skin); A4 (not classifiable as a human carcinogen); (ACGIH 2004).MAK ยังไมมีการกําหนดวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจและซึมผานเขาทางผิวหนังความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยนอยมาก แตปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายเมื่อถูกพนเปนละอองหรือฟุงกระจาย โดยเฉพาะอยางยิ่งถาอยูในรูปผงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:อาจทําใหผิวหนังเกิดการอักเสบและเกิดอาการไวตอการกระตุน เยื่อบุตาอักเสบจากการแพ เกิดอาการหอบหืด สารนี้อาจมีผลตอ ตับและไต สารนี้อาจกอใหเกิดโรคมะเร็งในมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดหลอมเหลว : 160-161 ํCการละลายในน้ํา :ไมละลายความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 12ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้อาจเปนพิษตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจกับสิ่งมีชีวิตในน้ําและในดินเปนพิเศษ สารนี้อาจมีผลระยะยาวตอสิ่งแวดลอมในน้ําหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ อาการหอบหืดมักจะไมปรากฏในทันทีจนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพัก และใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ พัก และใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ผูที่มีอาการหอบหืดเนื่องจากสารนี้ ตอไปควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสสารนี้ ตัวทําละลายชวย(carrier solvent) ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษได หามนําชุดทํางานกลับบานชื่อทางการคา Difolatan, Folcid, Foltaf, Haipen, Merpafol, Ortho 5865, Sabsoir, Sanspor, Santar, Sulfenimede และ Nalco 7046ขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล57


CAPTAN แคพแทน ICSC: 0120วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 19941,2,3,6-Tetrahydro-N-(trichloromethylthio)phthalimide3a,4,7,7a-Tetrahydro-2-((trichloromethyl)thio)-1H-isoindole-1,3(2H)-dioneCAS # 133-06-2 C 9 H 8 Cl 3 NO 2 SRTECS # GW5075000 Molecular mass: 300.6UN # 2588EC Index # 613-044-00-6การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟอันตรายเฉียบพลัน/อาการติดไฟไดภายใตสภาวะจําเพาะตํารับที่เปนของเหลวที่มี ตัวทําละลายอินทรียอาจติดไฟไดเมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมคารบอนไดออกไซดการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กการสูดดมทําการดูดระบายอากาศ( ไมตองถาเปนฝุนผง)ใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึม แดง สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยทางดวงตา ตาแดง ปวด ตาพรา สวมแวนตานิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน ทองเสีย อาเจียน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก นําสงแพทย58


CAPTAN แคพแทน ICSC: 0120การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจใช P2 filterสําหรับ อนุภาคสารอันตราย หามลางลงทอระบายน้ํา กวาดสารที่หกใสภาชนะ ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุนเก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวัง นําไปทิ้งในที่ที่ปลอดภัยหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationSymbol: T, NR: 23-40-41-43-50S: (1/2-)-26-29-36/37/39-45-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT7-III ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวทําการดูดระบายอากาศตามแนวพื้นIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล59


CAPTAN แคพแทน ICSC: 0120ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกสีขาวอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวไดเมื่อไดรับความรอนไดควันที่เปนพิษ รวมทั้ง ซัลเฟอรออกไซด ไนโตรเจนออกไซด ไฮโดรเจนคลอไรดฟอสจีนคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: (Inhalable fraction) 5 mg/m 3 as TWA; A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to human); SEN; (ACGH2004).MAK ยังไมมีการกําหนดวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจไอของสารเขาไป และทางผิวหนังความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก แตปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตราย เมื่อถูกพนเปนละอองและการฟุงกระจาย โดยเฉพาะอยางยิ่งถาอยูในรูปผงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง เกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: อาจทําใหผิวหนังเกิดการอักเสบและเกิดอาการไวตอการกระตุนคุณสมบัติทางกายภาพจุดหลอมเหลว (สลายตัว) : 178 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.74ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมการละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 25 ํ C) :ไมละลายสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 2.35สารนี้อาจเปนพิษตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจกับสิ่งมีชีวิตในน้ําเละในดินเปนพิเศษหมายเหตุตัวทําละลายชวย(carrier solvents) ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษได หามนําชุดทํางานกลับบาน ชื่อทางการคา Aacaptan, Agrosol S, Amercide, Bangton, Bean seed protectant, Captaf, Captan 50W, Potatoseed pieceProtectant, Captex, Esso Fungicide 406, Flit 406, Fungus Ban type II, Glyodex 37-22, Granox PFM, Gustafson Captan 30-DD,Hexacap, Osocide, Isotox Seed Transfer D and F, Kaptan, Malipur, Merpan, MicroCheck 12, Neracid, Orthocide, SR 406, StaufferCaptan, Vancide P-75, 89 & 89RE, Vanguard K, Vangard K, Vanicide, Vondcaptanขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล60


CARBARYL คารบาริล ICSC: 0121วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 20041-Naphthalenol methylcarbamate1-Naphthyl methylcarbamateMethyl carbamic acid 1-naphthyl ester1-Naphthalenyl methylcarbamateCAS # 63-25-2 C 12 H 11 NO 2RTECS # FC5950000 Molecular mass: 201.2UN # 2757EC # 006-011-00-7การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได ตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียอาจติดไฟไดการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กการสูดดม คลื่นไส อาเจียน รูมานตาหรี่กลามเนื้อเปนตะคริวน้ําลายฟูมปากการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง ปวด (ดูเพิ่มเติม การสูดดม) สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยทางดวงตา ตาแดง ปวด สวมหนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน เปนตะคริวที่ทอง ทองเสียคลื่นไส อาเจียน รูมานตาหรี่กลามเนื้อเปนตะคริวน้ําลายฟูมปากหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ใหดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ํา ดื่มน้ํามากๆนําสงแพทย ดูหมายเหตุ61


CARBARYL คารบาริล ICSC: 0121การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากกวาดสารที่หกใสในภาชนะที่ปดสนิท ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน เก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวัง นําไปทิ้งในที่ที่ปลอดภัย หามใหสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอม เคลื่อนยายแหลงที่ติดไฟไดทั้งหมด (ใสใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ใช P2 filter เครื่องหายใจสําหรับสารอนุภาคสารอันตราย)หามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: Xn, NR: 22-40-50S: (2-)-22-24-36/37-46-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT7-IIIIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากสารออกซิไดซ อาหารและอาหารสัตวเก็บในภาชนะปดสนิท และหองที่มีการระบายอากาศที่ดีการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล62


CARBARYL คารบาริล ICSC: 0121ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกสีขาว ไมมีกลิ่น หรือเปนของแข็งมีหลายรูปแบบอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนและเมื่อเกิดเผาไหมสลายตัวใหควันที่เปนพิษ รวมทั้งไนโตรเจนออกไซดสารทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารออกซิไดซอยางแรง ทําใหเกิดไฟไหมหรือการระเบิดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 5 mg/m 3 as TWA; A4 (ACGIH 2004).MAK: 5 mg/m 3 ; H; Peak limitation category: II(4); (DFG 2003).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจไอ ละอองสาร ดูดซึมทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนพิษอยางชามากแตถาถูกพนเปนละอองหรือฟุงกระจาย การปนเปอนจะเร็วกวามากผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา และผิวหนัง เกิดการระคายเคือง สารนี้อาจมีผลตอระบบประสาท มีผลทําใหเกิดการชัก กดการหายใจทําใหการหายใจลมเหลว ยับยั้งเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส ผลอาจเกิดภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:ยับยั้งเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส อาจเกิดการสะสม ดูอาการพิษเฉียบพลันสารนี้อาจกอใหเกิดมะเร็งในมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพสลายตัวต่ํากวาจุดเดือดจุดหลอมเหลว : 142 ํCความหนาแนน : 1.2 g/cm 3การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 30 ํ C) : 0.004 - 0.012 แยมากขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : เล็กนอยจุดวาบไฟ : 193-202 ํCสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 1.59สารนี้เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําอยางมาก สารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจกับนกและผึ้งเปนพิเศษสารนี้สามารถเขาสูสิ่งแวดลอมไดภายใตการใชที่ปกติ จึงควรเอาใจใสอยางมาก อยางไรก็ตาม ควรหลีกเลี่ยงวิธีที่เปนการเพิ่มการปลดปลอย เชน การกําจัดทิ้งอยางไมเหมาะสมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ตองไดรับการรักษาพิษอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว ถาสารนี้อยูในตํารับที่ใชตัวทําละลายใหศึกษา <strong>ICSCs</strong>ของตัวทําละลายนั้นดวย ตัวทําละลายชวย(carrier solvent)ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษไดของสารนี้ขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล63


CARBOFURAN คารโบฟวแรน ICSC: 0122วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 20042,3-Dihydro-2,2-dimethylbenzofuran-7-yl methylcarbamate2,3-Dihydro-2,2-dimethyl-7-benzofuranyl methylcarbamate2,2-Dimethyl-2,3-dihydro-7-benzofuranyl-N-methylcarbamateCAS # 1563-66-2 C 12 H 15 NO 3RTECS # FB9450000 Molecular mass: 221UN # 2757EC # 006-026-00-9การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไมติดไฟ ตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียอาจติดไฟไดเมื่อติดไฟใหควัน (และกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด เสี่ยงตอการเกิดไฟและการระเบิดถาในสูตรตํารับมีตัวทําละลายที่ไวไฟหรือมีคุณสมบัติระเบิดไดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กการสูดดม เหงื่อออก รูมานตาหรี่ กลามเนื้อเปนตะคริว น้ําลายฟูมปาก เวียนศีรษะอาเจียน หายใจลําบากหมดสติทําการดูดระบายอากาศ( ไมตองถาสารเปนฝุน)ระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียง: ใชสารดับไฟที่เหมาะสมปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยทางผิวหนัง สวมถุงมือ ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออก ลางและทําความสะอาดผิวหนัง ดวยน้ําและสบูทางดวงตาการกลืนกิน เปนตะคริวที่ทอง ทองเสียปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียนออนเพลีย (ดูเพิ่มเติมการสูดดม)สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที (ถอดคอนแทคเลนสถาทําได) นําสงแพทยใหดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ํา ดื่มน้ํามากๆ นําสงแพทย64


CARBOFURAN คารโบฟวแรน ICSC: 0122การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากกวาดสารที่หกใสในภาชนะ ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน เก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวัง นําไปทิ้งในที่ที่ปลอดภัย อยาใหสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอม (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันสมบูรณและเครื่องชวยหายใจติดตัว)หามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตว เปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T+, NR: 26/28-50/53S: (1/2-)-36/37-45-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: Iการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT7-I ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวเก็บในหองที่มีการระบายอากาศที่ดีIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล65


CARBOFURAN คารโบฟวแรน ICSC: 0122ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกไมมีสีอันตรายทางเคมี :เมื่อไดรับความรอนสลายตัวใหควันที่เปนพิษ รวมทั้งไนโตรเจนออกไซดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.1 mg/m 3 ; A4; BEI issued; (ACGIH 2004).MAK ยังไมมีการกําหนดวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตราย เมื่อถูกพนเปนละอองและการฟุงกระจาย โดยเฉพาะในรูปผงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้อาจมีผลตอระบบประสาท ทําใหเกิดอาการชัก กดการหายใจทําใหการหายใจลมเหลวเกิดการยับยั้งเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส การไดรับสัมผัสสารอาจทําใหถึงตาย อาการอาจเกิดภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:เกิดการยับยั้งเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส อาจเกิดการสะสม ดูอาการพิษเฉียบพลันคุณสมบัติทางกายภาพสลายตัวต่ํากวาจุดเดือดที่ : 150 ํCจุดหลอมเหลว : 153 ํCความหนาแนน : 1.2 g/cm 3ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมการละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 25 ํ C) : 0.07ความดันไอ Pa ที่ 33 ํ C : 0.0027สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 2.32สารนี้เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําอยางมาก สารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจกับสิ่งมีชีวิตในน้ํา สิ่งมีชีวิตในดิน ผึ้งและนกเปนพิเศษ สารนี้สามารถเขาสูสิ่งแวดลอมไดภายใตการใชที่ปกติ จึงควรเอาใจใสอยางมาก อยางไรก็ตาม ควรหลีกเลี่ยงวิธีที่เปนการเพิ่มการปลดปลอย เชน การกําจัดทิ้งอยางไมเหมาะสมหมายเหตุตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจง ในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองและเตรียมพรอมไว ตัวทําละลายชวย(carrier solvents) ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษไดของสารนี้หามนําชุดทํางานกลับบาน ถาสารผสมกับตัวทําละลายควรศึกษา ICSC ของตัวทําละลายนั้นขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล66


CERAMIC FIBRES(ALUMINOSILICATE)วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : มีนาคม 1999Refractory ceramic fibresRCFCAS #RTECS #UN #EC # 650-017-00-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ไมติดไฟ ในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียง ใชสารดับไฟไดทุกชนิดการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารการสูดดมไอ หายใจลําบาก เจ็บคอหายใจมีเสียงหวีดเซรามิค ไฟเบอรส(อลูมิโนซิลิเคท)ระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจหลีกเลี่ยงการสูดหายใจเอาฝุนผงของสารเขาไปICSC: 0123ใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง คัน สวมถุงมือและเสื้อผาปองกันทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางาน67


CERAMIC FIBRES(ALUMINOSILICATE)เซรามิค ไฟเบอรส(อลูมิโนซิลิเคท)ICSC: 0123การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากกวาดสารที่หกใสภาชนะที่ปดสนิท ถาเปนไปไดทําให สารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล:เครื่องชวยหายใจใช P2 filter สําหรับ อนุภาคสารอันตราย)EU ClassificationSymbol: TR: 49-38S: 53-45Note: A, RUN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล68


CERAMIC FIBRES(ALUMINOSILICATE)เซรามิค ไฟเบอรส(อลูมิโนซิลิเคท)ICSC: 0123ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : เปนเสนใยแข็ง ไมมีกลิ่น เกิดเปนผลึกดวยการใหความรอนมากกวา 1000 ํCวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของอนุภาคสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายเมื่อฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ :อาจทําใหมีผลตอปอด เมื่อไดรับสัมผัสสารซ้ําๆหรือเปนเวลานานๆสารนี้อาจกอใหเกิดมะเร็งในมนุษยจุดหลอมเหลว :1700-2040 ํCความหนาแนน : 2.6-2.7 g/cm 3คุณสมบัติทางกายภาพการละลายในน้ํา :ไมละลายขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุไดผลึกจากการใหความรอนมากกวา 1000 ํC แกเสนใยเซรามิค อาจทําใหมีความเสี่ยงในการทํางานเพิ่มขึ้นขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล69


CHLORDIMEFORM คลอรไดมีฟอรม ICSC: 0124วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 1994ChlorphenamidineN’-(4-Chloro-o-tolyl)-N,N-dimethylformamidineN’-(4-Chloro-2-methylphenyl)-N,N-dimethylmethanimidamideCAS # 6164-98-3 C 10 H 13 ClN 2RTECS # LQ4375000 Molecular mass: 196.7UN # 2588EC Index # 650-007-00-3การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียอยูอาจติดไฟไดเมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด เสี่ยงตอการติดไฟหรือการระเบิดถาสารนี้อยูในรูปของเหลวซึ่งมีตัวทําละลายที่ติดไฟหรือระเบิดไดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กการสูดดม ปสสาวะมีเลือดปน ปวดหลัง รูสึกหวานในปาก ปวดทอง งวงซึมคลื่นไส (ดูเพิ่มเติมการกลืนกิน)ทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึม ผื่น ริมฝปากหรือเล็บมือเขียว ผิวหนังเขียว(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)ทางดวงตาการกลืนกินริมฝปากหรือเล็บมือเขียว ผิวหนังเขียว มึนงง ปวดศีรษะ หายใจลําบาก หมดสติ คลื่นไส ออนเพลียการหายใจลมเหลว(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)ระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทย (ดูหมายเหตุ)สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบู นําสงแพทยหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก ใหดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ํา ทําใหอาเจียนออกมา(ถาผูปวยมีสติ) นําสงแพทย70


CHLORDIMEFORM คลอรไดมีฟอรม ICSC: 0124การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจใช P2 filterสําหรับ อนุภาคสารอันตราย หามลางลงทอระบายน้ํา กวาดสารที่หกใสภาชนะ ถาเปนไปไดทําให สารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุนเก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวัง นําไปทิ้งในที่ที่ปลอดภัยหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: Xn, NR: 21/22-40-50/53S: (2-)-22-36/37-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT7-III ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวมีการระบายอากาศตามแนวพื้นIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล71


CHLORDIMEFORM คลอรไดมีฟอรม ICSC: 0124ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกไมมีสีอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนทําใหเกิดควันที่เปนพิษและกัดกรอน รวมทั้งไฮโดรเจนคลอไรด (ดู ICSC 0163)และไนตรัสออกไซดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะไมทําใหอากาศปนเปอนหรือทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนพิษอยางชามาก อยางไรก็ตาม จะเพิ่มขึ้นเมื่อถูกพนเปนละอองหรือฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารอาจมีผลตอระบบประสาทและเลือด ทําใหการทํางานลดลงและทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบินสารนี้อาจมีผลตอกระเพาะปสสาวะและไต ทําใหเกิดการระคายเคืองในกระเพาะปสสาวะและปสสาวะมีเลือดปน ผลอาจเกิดภายหลังควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสทางผิวหนังระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังอักเสบคุณสมบัติทางกายภาพสลายตัวต่ํากวาจุดเดือด : ดูหมายเหตุจุดหลอมเหลว :32 ํCขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.1สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.11สารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจกับปลาเปนพิเศษหมายเหตุอุณหภูมิในการสลายตัวไมมีบอกไวในเอกสารใด ถาสารกําจัดศัตรูพืชในสูตรตํารับที่มีตัวทําละลายไฮโดรคารบอน หามทําใหอาเจียนอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะๆ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว ตัวทําละลายชวย(carrier solvents)ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษไดของสารนี้ชื่อทางการคา Acaron, Bermat, C8514, Carzol, Ciba 8514, ENT-27335, Fundal, Fundex, Galecron, NSC 190935, RS 141, SN 36268และ Spanoneขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล72


CHLORDIMEFORMHYDROCHLORIDEวันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 1994N’-(4-Chloro-o-tolyl)-N,N-dimethylformamidine hydrochlorideN’-(4-Chloro-2-methylphenyl)-N,N-dimethylmethanimidamide hydrochlorideCAS # 19750-95-9 C 10 H 13 ClN 2 : HClRTECS # LQ4550000 Molecular mass: 233.2UN # 2588EC # 650-009-00-4การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียอยูอาจติดไฟไดเมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด เสี่ยงตอการติดไฟและการระเบิดถาในตํารับมีตัวทําละลายที่ติดไฟหรือระเบิดไดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กการสูดดม ปสสาวะมีเลือดปน ปวดหลัง รูสึกหวานในปาก ปวดทอง งวงซึมคลื่นไส (ดูเพิ่มเติมการกลืนกิน)ระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทย (ดูหมายเหตุ)ทางผิวหนัง เปนผื่น สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ํานําสงแพทยทางดวงตาการกลืนกินริมฝปากเขียวหรือเล็บมือเขียวผิวหนังเขียว ปวดศีรษะหายใจลําบาก หมดสติ คลื่นไสออนเพลีย หยุดหายใจ(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)คลอรไดมีฟอรม ไฮโดรคลอไรด ICSC: 0125หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก ใหดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ํา ทําใหอาเจียนออกมา(ถาผูปวยมีสติ) นําสงแพทย(ดูหมายเหตุ)73


CHLORDIMEFORMHYDROCHLORIDEคลอรไดมีฟอรม ไฮโดรคลอไรด ICSC: 0125การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากหามลางลงทอระบายน้ํา กวาดสารที่หกใสภาชนะ ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน เก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวังนําไปทิ้งในที่ที่ปลอดภัย (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล:เครื่องชวยหายใจใช P2 filter สําหรับ อนุภาคสารอันตราย)หามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: Xn, NR: 22-40-50/53S: (2-)-22-36/37-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT7-III ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวมีการระบายอากาศตามแนวพื้นIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล74


CHLORDIMEFORMHYDROCHLORIDEคลอรไดมีฟอรม ไฮโดรคลอไรด ICSC: 0125ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกไมมีสีอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอน ทําใหเกิดควันที่เปนพิษและกัดกรอนรวมทั้งไฮโดรเจนคลอไรด (ดู ICSC0163)ไนตรัสออกไซด ทําลายโลหะหลายชนิดหากมีน้ําอยูดวยคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะไมทําใหอากาศปนเปอนหรือทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนพิษอยางชามาก อยางไรก็ตามจะเพิ่มขึ้นเมื่อถูกพนเปนละอองหรือฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารมีผลตอระบบประสาทและเลือดทําใหการทํางานเสียไป และทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบิน สารนี้อาจมีผลตอกระเพาะปสสาวะและไต มีผลทําใหระคายเคืองกระเพาะปสสาวะและปสสาวะมีเลือดปน ผลอาจเกิดภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: อาจทําใหเปนโรคผิวหนังอักเสบคุณสมบัติทางกายภาพจุดหลอมเหลว (สลายตัว) : 225-227 ํCการละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํC) : ดีความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C :0.00003ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 8.03ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจกับปลาเปนพิเศษหมายเหตุถาสารกําจัดศัตรูพืชในสูตรตํารับใชตัวทําละลายไฮโดรคารบอน หามทําใหอาเจียน อันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสารควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ๆ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจง ในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว ตัวทําละลายชวย(carrier solvents)ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษไดของสารนี้ชื่อทางการคา Bermat, ENT-27567, EP-333, Fundal SP, Fundex, Galecron SP, NSC 195102, Schering 36268 และ Spanoneขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล75


CHLORINE คลอรีน ICSC: 0126วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : พฤศจิกายน 2008CAS # 7782-50-5 Cl 2RTECS # FO2100000 Molecular mass: 70.9UN # 1017EC Annex 1 Index # 017-001-00-7การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟ แตชวยใหสารอื่นติดไฟงายขึ้น มีปฏิกิริยาหลายๆปฏิกิริยา อาจทําใหเกิดไฟไหมหรือการระเบิดการระเบิด เสี่ยงตอการเกิดไฟไหมและการระเบิด (ดูอันตรายทางเคมี)การปองกันหามสัมผัสกับสารที่เขากันไมได(ดูอันตรายทางเคมี)การปฐมยาบาล/การดับไฟกรณีเกิดเพลิงไหมบริเวณใกลเคียง:ใชสารดับเพลิงที่เหมาะสมหามสัมผัสกับสารที่เขากันไมได(ดูอันตรายทางเคมี)กรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําเปนฝอยแตอยาใหน้ําสัมผัสสารโดยตรงการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดม ไอ เจ็บคอ หายใจถี่ๆหายใจลําบากหายใจมีเสียงหวีดผลอาจเกิดภายหลัง(ดูหมายเหตุ)ทางผิวหนัง ผิวหนังที่โดนของเหลว:เกิดอาการน้ําแข็งกัด แดง ปวดแสบปวดรอน ปวดผิวหนังไหมทางดวงตา น้ําตาไหล แดง ปวดเปนแผลไหมใชเครื่องปองกันการหายใจทําเปนระบบปดและทําการดูดระบายอากาศสวมถุงมือปองกันความเย็นและเสื้อผาปองกันสวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน ถาจําเปนใหชวยการหายใจ นําสงแพทยทันทีลางดวยน้ํามากๆอยางนอย 15 นาทีถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกและลางอีกครั้ง นําสงแพทยทันทีลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยทันที76


CHLORINE คลอรีน ICSC: 0126การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว) ดูดระบายอากาศ ปดถังถาทําได จํากัดพื้นที่จนกวากาซกระจายออกไปหมด กําจัดกาซดวยฉีดน้ําเปนฝอย หามใหน้ําถูกของเหลวโดยตรง หามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอมใชถังเก็บที่มีฉนวนหุมพิเศษ เปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T, NR: 23-36/37/38-50S: (1/2-)9-45-61UN ClassificationUN Hazard Class: 2.3UN Subsidiary Risks: 8GHS Classificationอันตรายบรรจุกาซภายใตความดัน อาจเกิดระเบิดไดถาไดรับความรอนเปนอันตรายถึงตายไดถาสูดดมกาซเขาไปทําใหผิวหนังไหมอยางรุนแรงและทําอันตรายตอดวงตาอาจกอใหเกิดการระคายเคืองตอทางเดินหายใจเปนพิษรายแรงตอสิ่งมีชีวิตในน้ําการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-20S1017 or 20G2TCNFPA Code: H 4; F 0; R 0; OXIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บในหองที่ปองกันไฟหากอยูในอาคาร ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิง เก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว (ดูอันตรายทางเคมี) เก็บในภาชนะปดสนิทที่เย็นแหงและเก็บในที่มีการดูดระบายอากาศที่ดีเก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําเขาถึงการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล77


CHLORINE คลอรีน ICSC: 0126ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนกาซอัดเหลวสีเขียวถึงเหลือง มีกลิ่นฉุนอันตรายทางกายภาพ :กาซหนักกวาอากาศอันตรายทางเคมี :สารละลายในน้ําเปนกรดแก ทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับดางและกัดกรอนเนื้อเยื่อ สารนี้เปนสารออกซิไดซอยางแรงทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารที่ติดไฟและวัสดุรีดิวซ สารนี้ทําปฏิกิริยากับสารประกอบอินทรียและอนินทรียสวนใหญทําใหเกิดอันตรายจากไฟไหมและการระเบิด ทําลายโลหะ พลาสติกบางชนิด ยาง และสารเคลือบคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.5 ppm as TWA, 1 ppm as STEL; A4 (not classifiable as a human carcinogen); (ACGIH 2008).EU OEL: 0.5 ppm, 1.5 mg/m 3 as STEL (EU 2006).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สงผลกระทบอยางรุนแรงในทุกทางที่ไดรับสัมผัสความเสี่ยงจากการหายใจ : ปริมาณของกาซในอากาศจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงขีดอันตรายหากรั่วจากภาชนะบรรจุผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :น้ําตาไหล สารนี้จะทําลายเนื้อเยื่อของตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ การระเหยอยางรวดเร็วของสารเหลวอาจทําใหเกิดอาการน้ําแข็งกัด การหายใจกาซนี้เขาไปอาจทําใหเกิดอาการคลายหืดหอบ อาจทําใหปอดอักเสบและปอดบวมน้ําผลนี้อาจเกิดขึ้นในเวลาตอมาได แตผลของการทําลายเนื้อเยื่อตาและทางเดินหายใจแสดงใหเห็นชัดเจนตั้งแตแรก ควรอยูภายใตการดูแลของแพทย การไดรับสัมผัสสารอาจทําใหเสียชีวิตไดผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:สารอาจมีผลตอทางเดินหายใจและปอด ทําใหปอดอักเสบเรื้อรังและการทํางานเสียไป สารอาจมีผลตอฟน ทําใหฟนผุกรอนคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : -34 ํCจุดหลอมเหลว : -101 ํCการละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) : 0.7ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําอยางมาก หามปลอยสารเคมีนี้เขาสูสิ่งแวดลอมความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C : 673ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 2.5หมายเหตุอาการปอดบวมน้ํา มักจะไมปรากฏในทันทีจนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพักและใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ควรทําการรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสมโดยทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมายไมสามารถใชกลิ่นของสารเปนเครื่องเตือนเมื่อปริมาณสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน หามใชในบริเวณใกลไฟหรือพื้นผิวที่รอน หรือระหวางการเชื่อมโลหะ หามพนน้ําบนถังบรรจุที่รั่ว (เพื่อปองกันการกัดกรอนของตัวถัง) ตั้งถังใหสวนที่รั่วอยูดานบนเพื่อปองกันการรั่วไหลของกาซในรูปของเหลวขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล78


CHLORINE DIOXIDE คลอรีนไดออกไซด ICSC: 0127วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 1999Chlorine oxideChlorine peroxideChlorine(IV)oxideCAS # 10049-04-4 ClO 2RTECS # FO3000000 Molecular mass: 67.5UN #EC Annex 1 Index # 006-089-00-2EC/EINECS # 233-162-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟ แตชวยใหสารอื่นติดไฟงายขึ้น ปฏิกิริยาหลายๆปฏิกิริยาอาจทําใหเกิดไฟไหมหรือการระเบิดการระเบิด มีความเสี่ยงการเกิดไฟไหมและระเบิด(ดูอันตรายทางเคมี)การปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามสัมผัสกับสิ่งที่ติดไฟงาย กรณีเกิดเพลิงไหมบริเวณใกลเคียง: ใชน้ํามากๆฉีดน้ําเปนฝอยทําเปนระบบปด ทําการดูดระบายอากาศ ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถกันการระเบิดไดหามกระแทกหรือเสียดสีกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําเปนฝอยใหดับไฟจากที่กําบังที่ปลอดภัยการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดม ไอ ปวดศีรษะ หายใจลําบากคลื่นไส หายใจถี่ๆ เจ็บคอ อาการอาจปรากฏภายหลัง (ดูหมายเหตุ)ทําเปนระบบปดและทําการดูดระบายอากาศใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน ถาจําเปนใหชวยการหายใจ นําสงแพทยทางผิวหนัง แดง ปวด สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ลางผิวหนังดวยน้ํามากๆถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกแลวลางอีกครั้งหนึ่ง นําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัย หรือ เครื่องปองกันนัยนตา พรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกินลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทย79


CHLORINE DIOXIDE คลอรีนไดออกไซด ICSC: 0127การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษา ผูเชี่ยวชาญ ดูดระบายอากาศ กําจัดกาซดวยฉีดน้ําเปนฝอย (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บในที่ปองกันไฟได เก็บแยกจากสารที่ติดไฟได และสารรีดิวซเก็บในที่เย็นและมืด มีการดูดระบายอากาศตามแนวพื้นการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล80


CHLORINE DIOXIDE คลอรีนไดออกไซด ICSC: 0127ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนกาซสีแดงเหลือง มีกลิ่นฉุนอันตรายทางกายภาพ :กาซหนักกวาอากาศอันตรายทางเคมี :อาจระเบิดไดเมื่อมีความรอน โดนแสงแดดหรือถาสารไดรับการกระแทกหรือประกายไฟ เปนสารออกซิไดซอยางแรงและทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารที่ติดไฟไดและสารรีดิวซ ทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารอินทรีย ฟอสฟอรัสโปแทสเซียมไฮดร็อกไซดกํามะถัน ทําใหเกิดอันตรายจากไฟ และการระเบิด ทําปฏิกิริยากับน้ํา ทําใหเกิดกรดไฮโดรคลอริก และกรดคลอริกคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.1 ppm as TWA, 0.3 ppm as STEL; (ACGIH 2004).MAK: 0.1 ppm, 0.28 mg/m 3 ; Peak limitation category: I(1); Pregnancy risk group: D; (DFG 2006).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ :ปริมาณของกาซในอากาศจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงขีดอันตรายหากรั่วจากภาชนะบรรจุผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําลายเนื้อเยื่อของตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ การหายใจกาซนี้เขาไปอาจทําใหเกิดปอดบวมน้ํา (ดูหมายเหตุ) การไดรับสัมผัสสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจทําใหเสียชีวิตได ผลนี้อาจเกิดขึ้นในเวลาตอมาได ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:สารนี้อาจมีผลตอปอด ทําใหเปนหลอดลมอักเสบเรื้อรังคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :11 ํCจุดหลอมเหลว :-59 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.6 ที่ 0 ํC (ของเหลว)การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) :0.8ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :101ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 2.3คาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: >10สารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจกับสิ่งมีชีวิตในน้ําเปนพิเศษหมายเหตุอาการปอดบวมน้ํา มักจะไมปรากฏในทันทีจนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพักและใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ควรทําการรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสมโดยทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมาย ลางเสื้อผาที่เปอนสารเคมีดวยน้ํามากๆ (ติดไฟได)ขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล81


2-CHLOROACETOPHENONE 2-คลอโรอะซีโทฟโนน ICSC: 0128วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 20022-Chloro-1-phenylethanoneAlpha-ChloroacetophenonePhenacyl chlorideCAS # 532-27-4 C 8 H 7 ClO / C 6 H 5 COCH 2 ClRTECS # AM6300000 Molecular mass: 154.6UN # 1697EC #การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควันหรือกาซที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัสการสูดดมปวดแสบปวดรอน ไอ เจ็บคอคลื่นไส หายใจถี่ๆการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีดเปนฝอย โฟม คารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําเปนฝอยปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน ถาจําเปนใหชวยการหายใจ นําสงแพทยทางผิวหนัง แดง ปวด สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยทางดวงตาตาแดง ปวด ตาพรา สูญเสียการมองเห็นบางสวนอยางถาวรสวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน ปวดแสบปวดรอน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ดื่มน้ํามากๆใหดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ํา(ถาผูปวยมีสติ) นอนพักนําสงแพทย82


2-CHLOROACETOPHENONE 2-คลอโรอะซีโทฟโนน ICSC: 0128การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บกวาดสารที่หกออกมาใสไว ในภาชนะพลาสติกที่ปดสนิทถาเปนไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันการเกิดฝุน เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)หามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationUN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT2-IINFPA Code: H 2; F 1; R 0;IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวเก็บในหองที่มีการระบายอากาศที่ดีการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล83


2-CHLOROACETOPHENONE 2-คลอโรอะซีโทฟโนน ICSC: 0128ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกไมมีสี หรือสีเทาอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนและการเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษและระคายเคือง รวมทั้งไฮโดรเจนคลอไรดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.05 ppm; A4; (ACGIH 2002).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางชาๆผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :น้ําตาไหล สารนี้ระคายเคืองตอตาอยางรุนแรง ทําใหผิวหนังและทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง การหายใจเอาละอองไอของสารนี้เขาไปจะทําใหเกิดปอดบวมน้ํา (ดู หมายเหตุ) ผลอาจเกิดขึ้นภายหลัง ควรอยูภายใตความดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสทางผิวหนังซ้ําๆ หรือระยะยาวอาจทําใหเปนโรคผิวหนังอักเสบอาจทําใหเปนโรคผิวหนังไวตอสิ่งกระตุนคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :244-245 ํCจุดหลอมเหลว : 54-59 ํCความหนาแนน : 1.3 g/cm 3การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 25 ํ C) :1.64ความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C :0.7ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 5.3ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.0จุดวาบไฟ : 118 ํC c.c.(closed cup)สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 2.08ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุอาการปอดบวมน้ํา มักจะไมปรากฏในทันทีจนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพักและใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ไมสามารถใชกลิ่นของสารเปนเครื่องเตือนเมื่อปริมาณสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน ชื่อทางการคา Chemical Mace, CAP, CN หามนําชุดทํางานกลับบานขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล84


2-CHLOROANILINE 2-คลอโรอะนิลีน ICSC: 0129วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 20002-Chloroaminobenzene1-Amino-2-chlorobenzeneFast yellow GC baseo-ChloroanilineCAS # 95-51-2 C 6 H 6 ClN / (C 6 H 4 )Cl(NH 2 )RTECS # BX0525000 Molecular mass: 127.6UN # 2019EC Annex 1 Index # 612-010-00-8EC/EINECS # 202-426-4การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัสการสูดดมทางผิวหนังริมฝปากหรือเล็บมือเขียว ผิวหนังเขียว เวียนศีรษะ ปวดศีรษะหายใจถี่ๆ คลื่นไส อาเจียน ชักออนเพลีย สับสน หมดสติอาจถูกดูดซึม(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)การปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง โฟมคารบอนไดออกไซดปองกันการเกิดไอหมอกของสารทําการดูดระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนัง ดวยน้ําและสบูนําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกัน ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน ปวดทอง (ดูเพิ่มเติมการสูดดม) หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก ดื่มน้ํามากๆนําสงแพทย85


2-CHLOROANILINE 2-คลอโรอะนิลีน ICSC: 0129การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย อยาปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอม(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)หามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวNote:CEU ClassificationSymbol: T, NR: 23/24/25-33-50/53S: (1/2-)28-36/37-45-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61S2019 เก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว เก็บในที่มืด ปดอยางมิดชิดIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล86


2-CHLOROANILINE 2-คลอโรอะนิลีน ICSC: 0129ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวไมมีสี หรือสีเหลือง มีกลิ่นเฉพาะตัว เมื่อถูกอากาศจะเปลี่ยนเปนสีเขมอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเนื่องจากการเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษรวมทั้งไนตรัสออกไซด ไฮโดรเจนคลอไรด ดู ICSC0163คาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVMAK: IIb (not established but data is available) skin absorption (H); (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ของอัตราของการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหตาเกิดการระคายเคือง มีผลตอระบบเลือด ทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบินผลอาจเกิดในเวลาตอมา ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: อาจทําใหมีผลตอระบบเลือด ทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบินคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :209 ํCจุดหลอมเหลว :-2 ํCความหนาแนน : 1.213 g/cm 3การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) :0.5ความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : 50ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 4.41ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.0จุดวาบไฟ : 108 ํCอุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : >500 ํCสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 1.92ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุสามารถทําใหอยูในสภาวะคงตัวดวย 0.1%Hydrazine hydrate อันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจง ในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไวขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล87


3-CHLOROANILINE 3-คลอโรอะนิลีน ICSC: 0130วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 20001-Amino-3-chlorobenzene3-ChlorobenzeneamineOrange GC basem-ChloroanilineCAS # 108-42-9 C 6 H 6 ClN / (C 6 H 4 )Cl(NH 2 )RTECS # BX0350000 Molecular mass: 127.6UN # 2019EC # 612-010-00-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัสการสูดดม ริมฝปากหรือเล็บมือเขียวผิวหนังเขียว เวียนศีรษะปวดศีรษะ หายใจถี่ๆ คลื่นไสอาเจียน ชัก ออนเพลีย สับสนหมดสติทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึมแดง ปวดแสบปวดรอน(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)การปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง AFFF โฟมคารบอนไดออกไซดปองกันการเกิดไอหมอกของสารทําการดูดระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยทางดวงตา ตาแดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกัน ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน ปวดทอง (ดูเพิ่มเติมการสูดดม) หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก ดื่มน้ํามากๆนําสงแพทย88


3-CHLOROANILINE 3-คลอโรอะนิลีน ICSC: 0130การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย หามลางลงทอระบายน้ําอยาปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอม (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล:ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)หามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationSymbol: T, NR: 23/24/25-33-50/53S: (1/2-)-28-36/37-45-60-61Note: [C]UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61S2019 เก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว เก็บในที่มืด ภาชนะปดสนิทIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล89


3-CHLOROANILINE 3-คลอโรอะนิลีน ICSC: 0130ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวสีเหลืองออน มีกลิ่นเฉพาะตัว เมื่อถูกอากาศจะเปลี่ยนเปนสีคล้ําอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเนื่องจากการเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษ รวมทั้งไนตรัสออกไซด ไฮโดรเจนคลอไรด ดู ICSC0163คาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVMAK: IIb (not established but data is available); skin absorption (H); sensitization of skin (Sh); (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ของอัตราของการระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา และผิวหนัง เกิดการระคายเคือง สารอาจมีผลตอระบบเลือด ทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบิน ผลอาจปรากฏภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:สารอาจมีผลตอระบบเลือด ทําใหเกิด เมทฮีโมโกลบินคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด (สลายตัว) :230 ํCจุดหลอมเหลว : -10 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.216การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) :0.6ความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : 9ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 4.4ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.0จุดวาบไฟ : 118 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : >540 ํCสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 1.9ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุสามารถทําใหสารอยูในสภาวะคงตัวดวย 0.1%Hydrazine hydrate อันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจง ในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไวขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล90


4-CHLORO-m-CRESOL 4-คลอโร-เมทตา-ครีซอล ICSC: 0131วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 1997p-Chloro-m-cresol2-Chloro-5-hydroxytoluene4-Chloro-3-methylphenolCAS # 59-50-7 C 7 H 7 ClO / C 6 H 3 OHCH 3 ClRTECS # GO7100000 Molecular mass: 142.58UN # 2669EC Index # 604-014-00-3การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีดการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีการสูดดม ไอ เจ็บคอ(ดูเพิ่มเติมการกลืนกิน)ระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง ปวด สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆ หรืออาบน้ํานําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด แผลไหมลึกรุนแรง สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน ปวดหัว วิงเวียน หายใจถี่ปวดทอง อาเจียน ทองเสียหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก นําสงแพทย91


4-CHLORO-m-CRESOL 4-คลอโร-เมทตา-ครีซอล ICSC: 0131การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะที่ปดสนิท ถาเปนไปไดทําใหชื้นกอนเพื่อปองกันการเกิดฝุน เก็บกวาดสวนที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย อยาปลอยสารออกสูสภาพแวดลอม (ใสใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)EU ClassificationSymbol: Xn, NR: 21/22-41-43-50S: (2-)-26-36/37/39-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT2-II เก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว เก็บในที่แหงIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล92


4-CHLORO-m-CRESOL 4-คลอโร-เมทตา-ครีซอล ICSC: 0131ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : เปนผลึกสีขาวหรือชมพูออน เปนผลึกดูดความชื้น หรือผงผลึกอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษและกัดกรอนทําลายเนื้อเยื่อ รวมทั้งไฮโดรเจนคลอไรดและฟอสจีนคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVMAK: IIb (not established but data is available); sensitization of skin (Sh); (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของอนุภาคสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสทางผิวหนังซ้ําๆ หรือระยะยาว อาจทําใหเปนโรคผิวหนังไวตอสิ่งกระตุนคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :235 ํCจุดหลอมเหลว :66 ํCความหนาแนน : 1.4 g/cm 3การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) :0.38ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจุดวาบไฟ : 118 ํCอุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง : 590 ํCสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 3.1สารนี้เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําที่อยูในหวงโซอาหารที่สําคัญตอมนุษย จะเกิดการสะสมทางชีวภาพของสารโดยเฉพาะอยางยิ่งในปลาหมายเหตุชื่อทางการคา Aptal, Baktolan, Parmetol, Raschitขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล93


1-CHLOROETHANE 1-คลอโรอีเทน ICSC: 0132วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2000Ethyl chlorideMonochloroethane(เก็บในภาชนะบรรจุถังทรงกระบอก)CAS # 75-00-3 C 2 H 5 Cl / CH 3 CH 2 ClRTECS # KH7525000 Molecular mass: 64.5UN # 1037EC # 602-009-00-0การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไวไฟสูงมาก เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัสสวนผสมของกาซ/อากาศอาจระเบิดไดการสูดดม เวียนศีรษะ สมองตื้อปวดศีรษะ เปนตะคริวที่ทองทางผิวหนัง ผิวหนังที่สัมผัสของเหลว:เกิดอาการน้ําแข็งกัดการปองกันหามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟ และหามสูบบุหรี่ทําเปนระบบปด มีการดูดระบายอากาศ ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการเกิดระเบิดไดปองกันไมใหเกิดประจุไฟฟาสถิต(เชน การตอสายดิน) ถาสารอยูในสถานะของเหลว (ดูหมายเหตุ)ใชเครื่องมือที่ไมเกิดประกายไฟปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดทําการดูดระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจสวมถุงมือปองกันความเย็นสวมเสื้อผาปองกันทางดวงตา ตาแดง ปวด ตาพรา ใสหนากากปองกัน หรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมทั้งเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานการปฐมยาบาล/การดับไฟปดถัง ถาปดไมไดและไมกอใหเกิดความเสี่ยงตอบริเวณใกลเคียง ปลอยใหไฟคอยๆดับไปเอง ในกรณีอื่น ใชสารดับเพลิงผง คารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยหามถอดชุดที่เปอนสาร หากมีอาการน้ําแข็งกัด: ลางผิวหนังดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ํา นําสงแพทยลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทย94


1-CHLOROETHANE 1-คลอโรอีเทน ICSC: 0132การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ทําการดูดระบายอากาศ (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว) หามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอมเก็บในถังเก็บมีฉนวนพิเศษ ทํามาพิเศษเฉพาะหุมใหพอดีEU ClassificationSymbol: F+, XnR: 12-40-52/53S: (2-)-9-16-33-36/37-61UN ClassificationUN Hazard Class: 2.1การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-20S1037 or 20G2FNFPA Code: H 2; F 4; R 0;IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บในที่ปองกันไฟไหมไดการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล95


1-CHLOROETHANE 1-คลอโรอีเทน ICSC: 0132ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนกาซอัดเหลวไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางกายภาพ :กาซหนักกวาอากาศและสามารถไหลไปตามพื้นได จึงอาจติดไฟในระยะหางออกไปไดอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวไดเมื่อไดรับความรอนหรือเผาไหม เมื่อสลายตัวจะไดกาซที่เปนพิษ (ไฮโดรเจนคลอไรด - ดู ICSC 0163ฟอสจีน- ดู ICSC 0007)คาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 100 ppm as TWA; (skin); A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to humans); (ACGIH 2004).MAK: skin absorption (H); Carcinogen category: 3B; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ :ปริมาณของสารในอากาศจะเพิ่มขึ้นจนถึงขีดอันตรายอยางรวดเร็วหากรั่วจากภาชนะบรรจุผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําใหตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ เกิดการระคายเคืองเล็กนอย การระเหยอยางรวดเร็วของของเหลวนี้ทําใหเกิดอาการน้ําแข็งกัด สารนี้อาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง การไดรับสัมผัสสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจทําใหหมดสติ หัวใจเตนผิดจังหวะและเสียชีวิตไดคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :12.5 ํCจุดหลอมเหลว :-138 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :0.918การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) :0.574ความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :133.3สารนี้เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ําขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 2.22จุดวาบไฟ : -50 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 519 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 3.6-14.8สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 1.54หมายเหตุการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลจะเสริมใหมีอันตรายมากขึ้น ลางเสื้อผาที่เปอนสาร(ติดไฟได)ดวยน้ํามากๆ หามใชในบริเวณที่มีไฟหรือพื้นผิวที่รอน หรือระหวางการเชื่อมโลหะ ตั้งถังใหสวนที่รั่วอยูดานบนเพื่อปองกันการรั่วไหลของกาซเหลวขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล96


CHLOROPRENE คลอโรพรีน ICSC: 0133วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : มีนาคม 19982-Chloro-1,3-butadiene2-Chlorobutadienebeta-ChloropreneCAS # 126-99-8 C 4 H 5 Cl / CH 2 =CClCH=CH 2RTECS # EI9625000 Molecular mass: 88.5UN #1991 (inhibited)EC # 602-036-00-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟการระเบิดการไดรับสัมผัสการสูดดมอันตรายเฉียบพลัน/อาการไวไฟมาก มีปฏิกิริยาหลายๆปฏิกิริยา อาจทําใหเกิดไฟไหมหรือการระเบิด เมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษสวนผสมของไอ/อากาศอาจระเบิดไดไอ มึนงง งวงซึม ปวดศีรษะเจ็บคอ หมดสติ ปวดชองอกการปองกันหามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟ และหามสูบบุหรี่ทําเปนระบบปด มีการดูดระบายอากาศ ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการเกิดระเบิดได ใชเครื่องมือที่ไมเกิดประกายไฟปองกันไมใหเกิดประจุไฟฟาสถิต(เชน การตอสายดิน)ปองกันไมใหเกิดไอหมอกของสารปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะสตรีมีครรภระบบระบายอากาศเฉพาะที่ทําการดูดระบายอากาศหรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึม แดง ปวด สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบู นําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด ทําลายกระจกตา สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน คลื่นไส (ดูเพิ่มเติมการสูดดม) หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก นําสงแพทย97


CHLOROPRENE คลอโรพรีน ICSC: 0133การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ดูดระบายอากาศเก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย หามลางลงทอระบายน้ํา(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)ใสในภาชนะผนึกปองกันอากาศ เก็บในบรรจุภัณฑที่ไมแตกหากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกได ใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ไมแตกและปดมิดชิด เปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: F, TR: 45-11-20/22-36/37/38-48/20S: 53-45Note: [D, E]UN ClassificationUN Hazard Class: 3UN Subsidiary Risks: 6.1UN Pack Group: Iการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-30S1991NFPA Code: H2; F3; R0IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บในที่ปองกันไฟได ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิง เก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว เก็บแยกจากสารที่เขากันไมได (ดูอันตรายทางเคมี) เก็บในที่เย็นและมืดเก็บในภาชนะปดสนิท เก็บสารเฉพาะที่อยูในสภาวะคงตัวเทานั้นการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล98


CHLOROPRENE คลอโรพรีน ICSC: 0133ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวไมมีสี มีกลิ่นฉุนอันตรายทางกายภาพ :ไอหนักกวาอากาศและสามารถไหลไปตามพื้นได จึงอาจติดไฟในระยะหางออกไปได การไหลเขยาหรืออื่นๆอาจกอใหเกิดประจุไฟฟาสถิตไดอันตรายทางเคมี :สารนี้หากอยูภายใตสภาวะจําเพาะจะเกิดเปนเปอรออกไซด เกิดปฏิกิริยา polymerization ที่ระเบิดไดสารสามารถเกิดเปนโพลิเมอรเมื่อเผาไหมหรือเกิดการระเบิด เมื่อเผาไหมทําใหเกิดควันที่เปนพิษและกัดกรอนทําลายเนื้อเยื่อ รวมทั้งไฮโดรเจนคลอไรดและฟอสจีน(ดู ICSC 0007 และ ICSC 0163) สารทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซ โลหะอัลคาไล และผงโลหะบางชนิดทําใหเกิดการติดไฟ และการระเบิดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 10 ppm as TWA; (skin); (ACGIH 2004). MAK: H; Carcinogen category: 2; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสาร เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง สารมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง ไตและตับ การไดรับสัมผัสสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจทําใหเสียชีวิตได ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสทางผิวหนังซ้ํา ๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังอักเสบอาจทําใหผมรวง สารนี้อาจกอใหเกิดมะเร็งในมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :59.4 ํCจุดหลอมเหลว :-130 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :0.96การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) :0.026ความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :23.2ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 3.0ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.57จุดวาบไฟ : -20 ํC o.c.(open cup)คาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 4-20สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 2.1ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจกับสิ่งมีชีวิตในน้ําเปนพิเศษ หามปลอยสารเคมีนี้เขาสูสิ่งแวดลอม เนื่องจากสารนี้จะตกคางอยูในสิ่งแวดลอมยาวนานหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะๆ การเติมสารที่ทําใหคงตัว (stabilizer)หรือสารยับยั้ง(inhibitor) ทําใหมีผลตอคุณสมบัติดานความเปนพิษของสารนี้ ควรปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ไมสามารถใชกลิ่นของสารเปนเครื่องเตือน เมื่อปริมาณสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน หามใชในบริเวณที่มีไฟหรือพื้นผิวที่รอน หรือระหวางการเชื่อมโลหะตรวจสอบเปอรออกไซดกอนทําการกลั่น ทําใหหมดไปถาตรวจพบ เติมตัวยับยั้งเชน hydroquinone หรือ phenothiazine ลงในถังเก็บขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล99


CHLOROTHALONIL คลอโรทาโลนิล ICSC: 0134วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 1994Tetrachloroisophthalonitrile2,4,5,6-Tetrachloro-1,3-benzenedicarbonitrile2,4,5,6-Tetrachloro-3-cyanobenzonitrileCAS # 1897-45-6 C 8 Cl 4 N 2RTECS # NT2600000 Molecular mass: 265.9UN # 2588EC Index # 608-014-00-4การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ตํารับที่เปนของเหลวซึ่งมีตัวทําละลายอินทรียอยูอาจติดไฟไดเมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด เสี่ยงตอการเกิดติดไฟและการระเบิด ถาสารมีตัวทําละลายที่ติดไฟหรือระเบิดไดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กการสูดดม ปวดแสบปวดรอน ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีดเปนฝอยโฟม คารบอนไดออกไซดใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบู นําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด ตาพรา สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมทั้งเครื่องปองกันการหายใจถาสารอยูในรูปผงการกลืนกิน ปวดทอง ปวดแสบปวดรอน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก นําสงแพทย(ดูหมายเหตุ)100


CHLOROTHALONIL คลอโรทาโลนิล ICSC: 0134การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากหามลางลงทอระบายน้ํา เก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะถาเปนไปไดทําสารใหชื้นกอนเพื่อไมใหเกิดฝุนละออง เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจ P2 filter สําหรับอนุภาคสารอันตราย)หามขนสงพรอมอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T+, NR: 26-37-40-41-43-50/53S: (2-)-28-36/37/39-45-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT7-III ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล101


CHLOROTHALONIL คลอโรทาโลนิล ICSC: 0134ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกไมมีสี ไมมีกลิ่นอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวไดเมื่อไดรับความรอนและเผาไหม ใหกาซพิษและควันที่ทําลายเนื้อเยื่อ รวมทั้งไฮโดรเจนคลอไรด(ดู ICSC 0163) และไนโตรเจนออกไซดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVMAK: sensitization of skin (Sh); Carcinogen category: 3B; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายจากการถูกพนเปนละอองหรือเมื่อฟุงกระจาย โดยเฉพาะอยางยิ่งถาอยูในรูปผงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ เกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสทางผิวหนังซ้ําๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังอักเสบ ผิวหนังไวตอการกระตุน สารนี้อาจมีผลตอไตและทางเดินอาหารคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :350 ํCจุดหลอมเหลว :250-251 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.8ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมการละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 25 ํ C) :


o-CRESYL GLYCIDYL ETHER ออรโธ-ครีซิล ไกลซิดิล อีเทอร ICSC: 0135วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 20051,2-Epoxy-3-(o-tolyloxy)propaneGlycidyl 2-methylphenyl ether2,3-Epoxy-o-tolyl ether((2-Methylphenoxy)methyl)oxiraneCAS # 2210-79-9 C 10 H 12 O 2RTECS # TZ3700000 Molecular mass: 164.2UN #EC Index # 603-056-00-Xการเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดการระเบิดการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีการสูดดม ไอ เจ็บคอ ดูดระบายอากาศใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนัง แดง ปวด สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา แดง สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก103


o-CRESYL GLYCIDYL ETHER ออรโธ-ครีซิล ไกลซิดิล อีเทอร ICSC: 0135การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจใช P2 filterสําหรับ อนุภาคสารอันตราย เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะมีฝาปด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยIPCSInternational Programmeon Chemical SafetyEU ClassificationSymbol: Xn, NR: 38-43-68-51/53S: (2-)-36/37-61Note: [C]UN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง ดางแก กรดแก และเอมีนเก็บในที่เย็นและมืดการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล104


o-CRESYL GLYCIDYL ETHER ออรโธ-ครีซิล ไกลซิดิล อีเทอร ICSC: 0135ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวไมมีสีอันตรายทางเคมี :สารนี้ทําใหเกิดเปอรออกไซดที่ระเบิดได สารทําปฏิกิริยากับกรด เอมีน ดาง และสารออกซิไดซอยางแรงคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVไมไดกําหนดคา MAKวิถีทางของการไดรับสัมผัส :ความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ถึงอัตราการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศเปนอันตรายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหผิวหนังเกิดการระคายเคือง และเกิดการระคายเคืองเล็กนอยกับดวงตาและทางเดินหายใจผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสทางผิวหนังซ้ําๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังไวตอสิ่งกระตุนคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือดที่ 0.533 kPa :109-111 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.08การละลายในน้ํา :ไมละลายขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุตรวจสอบเปอรออกไซดกอนทําการกลั่น ทําใหหมดไปถาตรวจพบความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 5.7จุดวาบไฟ : 113 ํC c.c.(closed cup)ขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล105


CYANOGEN BROMIDE ไซยาโนเจน โบรไมด ICSC: 0136วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2000Bromine cyanideCyanobromideBromocyanCAS # 506-68-3 BrCNRTECS # GT2100000 Molecular mass: 105.9UN # 1889EC Index #การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟ แตเมื่อไดรับความรอนจะทําใหเกิดกาซที่ติดไฟไดเมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียง:ใชสารดับไฟที่เหมาะสมการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดม เจ็บคอ ไอ ปวดแสบปวดรอนชัก เวียนศีรษะ ปวดศีรษะหายใจถี่ หายใจลําบาก คลื่นไสหมดสติ อาเจียนทําเปนระบบปดและทําการดูดระบายอากาศใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน ถาจําเปนใหชวยหายใจนําสงแพทยทางผิวหนังอาจถูกดูดซึม แดง ปวดเปนแผลพุพอง(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)ทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัย หนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกินปวดทอง(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามาก ๆ หรืออาบน้ํานําสงแพทยหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ทําใหอาเจียนออกมา(ถาผูปวยมีสติ) นําสงแพทย106


CYANOGEN BROMIDE ไซยาโนเจนโบรไมด ICSC: 0136การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ดูดระบายอากาศกวาดสารที่เหลือใสภาชนะที่ปดสนิท เก็บกวาดสารที่เหลืออยางระมัดระวัง แลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย หามทิ้งสารออกสูสภาพแวดลอม (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)ใสในภาชนะผนึกปองกันอากาศหามขนสงพรอมอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationUN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Subsidiary Risks: 8UN Pack Group: Iการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GTC2-INFPA Code: H 3; F 0; R 1;IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจาก อาหาร และอาหารสัตว เก็บในที่แหงภาชนะปดสนิท (ดูอันตรายทางเคมี)การพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล107


CYANOGEN BROMIDE ไซยาโนเจนโบรไมด ICSC: 0136ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกไมมีสีหรือสีขาว มีกลิ่นฉุนอันตรายทางกายภาพ :ไอหนักกวาอากาศอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนและเมื่อสัมผัสกับกรด ทําใหเกิดไฮโดรเจนไซยาไนดที่เปนพิษสูงและไวไฟ (ดู ICSC0492) และ ไฮโดรเจนโบรไมดซึ่งทําลายเนื้อเยื่อ (ดู ICSC 0282) ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรง ทําปฏิกิริยาชาๆ กับน้ําและความชื้นทําใหเกิด ไฮโดรเจนโบรไมดและไฮโดรเจนไซยาไนด ทําลายโลหะตางๆในสภาวะที่มีน้ําคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้ระคายเคืองอยางรุนแรงตอดวงตา ผิวหนังและระบบทางเดินหายใจ การหายใจเอาไอของสารนี้เขาไปจะทําใหเกิดปอดบวมน้ํา (ดูหมายเหตุ) ผลอาจปรากฏภายหลัง มีผลตอระบบการหายใจระดับเซลลทําใหเกิดอาการชักหมดสติ การหายใจลมเหลว อาจทําใหเสียชีวิตได ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :61-62 ํCจุดหลอมเหลว :52 ํCความหนาแนน : 2.0 g/cm 3การละลายในน้ํา : เกิดปฏิกิริยาอยางชาๆขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความดันไอ kPa ที่ 25 ํ C : 16.2ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 3.6สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 1.53หามไมใหเกิดการปลอยสารสูสิ่งแวดลอมหมายเหตุตองไดรับการรักษาพิษอยางเฉพาะเจาะจง ในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว สารสามารถระเหิดไดที่อุณหภูมิหอง อาการปอดบวมน้ํา มักจะไมปรากฏในทันทีจนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นจากการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพัก และใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ควรทําการใหยาพนที่เหมาะสมโดยทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมายผลิตภัณฑที่จําหนายในทองตลาดสวนใหญจะเปนสารละลายในคลอโรฟอรม ยังไมมีผลการศึกษาถึงผลกระทบดานสิ่งแวดลอมขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล108


DIAZINON ไดอะไซนอน ICSC: 0137วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2004O,O-Diethyl-O-(2-isopropyl-6-methylpyrimidin-4-yl)phosphorothioatePhosphorothioic acid O,O-diethyl O-(6-methyl-2-(1-methylethyl)-4-pyrimidinyl)esterCAS # 333-41-5 C 12 H 21 N 2 O 3 PS / (CH 3 ) 2 CHC 4 N 2 H(CH 3 )OPS(OC 2 H 5 ) 2RTECS # TF3325000 Molecular mass: 304.4UN # 3018EC # 015-040-00-4การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได ตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียอยูอาจติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด เสี่ยงตอการติดไฟและระเบิดถาสารนี้อยูในรูปของเหลว ซึ่งมีตัวทําละลายที่ติดไฟหรือระเบิดไดการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กการสูดดม รูมานตาหดตัว กลามเนื้อเปนตะคริว น้ําลายฟูมปาก หายใจลําบาก คลื่นไส อาเจียนเวียนศีรษะ ชัก หมดสติทางผิวหนังอาจถูกดูดซึม แดง ปวด(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)การปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดทําการดูดระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจหลีกเลี่ยงการหายใจรับไอของสารเขาไปใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด สวมหนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมทั้งเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกินทองเปนตะคริว ทองเสีย(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ใหดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ํา ทําใหอาเจียนออกมา(ถาผูปวยมีสติ) นําสงแพทย109


DIAZINON ไดอะไซนอน ICSC: 0137การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิท ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยหามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอมหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลอยางรุนแรงEU ClassificationSymbol: Xn, NR: 22-50/53S: (2-)-24/25-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT6-III ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง ดางแก กรดแกอาหารและอาหารสัตว เก็บในที่มีการระบายอากาศที่ดีIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล110


DIAZINON ไดอะไซนอน ICSC: 0137ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :ของเหลวเปนมันไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัว ผลิตภัณฑที่ใชทางเทคนิค : สีเหลืองซีดถึงน้ําตาลเขมอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวไดเมื่อไดรับความรอนเกิน 120 ํC ใหควันพิษ รวมทั้งไนโตรเจนออกไซด ฟอสฟอรัสออกไซดและซัลเฟอรออกไซด ทําปฏิกิริยากับกรดแกและอัลคาไล ทําใหเกิด เตตระทิลไทโอไพโรฟอสเฟตซึ่งเปนพิษอยางแรง ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรงคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: (Inhalable vapor and aerosol) 0.01 mg/m 3 ; (skin); A4; BEI issued; (ACGIH 2004).MAK: (as inhalable fraction of the aerosol) 0.1 mg/m 3 ; Skin absorption; Peak limitation category: II(2); Pregnancy risk group: C; (DFG2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจไอของสารเขาไป เขาทางผิวหนัง โดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายเมื่อถูกพนเปนละอองหรือเกิดการฟุงกระจายของฝุนสารผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง เกิดการระคายเคือง สารนี้อาจมีผลตอระบบประสาททําใหเกิดอาการชัก กดการหายใจ ยับยั้งการทํางานของเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส อาการอาจเกิดขึ้นภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:ยับยั้งการทํางานของเอนไซดโคลีนเอสเทอเรส เกิดอาการพิษสะสม(ดูอันตรายเฉียบพลัน/ อาการ)คุณสมบัติทางกายภาพสลายตัวต่ํากวาจุดเดือด ที่ 120 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.1การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) :0.006ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : เล็กนอยสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 3.11สารนี้เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําอยางมาก สารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจกับนกและผึ้งเปนพิเศษ สารนี้สามารถเขาสูสิ่งแวดลอมไดภายใตการใชที่ปกติและควรใชอยางระมัดระวัง แตอยางไรก็ตามควรหลีกเลี่ยงการปลดปลอยเพิ่มเชนการกําจัดทิ้งอยางไมเหมาะสมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจง ในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว ตัวทําละลายชวย(carrier solvents)ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษได หามนําชุดทํางานกลับบานขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล111


OXYGEN(cylinder)วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 1999CAS # 7782-44-7 O 2RTECS # RS2060000 Molecular mass: 32.0UN # 1072EC Index # 008-001-00-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟ แตชวยเสริมใหสารอื่นติดไฟมากขึ้น ความรอนจะทําใหความดันเพิ่มขึ้น ทําใหเสี่ยงตอการเกิดการระเบิดการระเบิดการไดรับสัมผัสการสูดดมทางผิวหนังทางดวงตาการกลืนกินไอ เวียนศีรษะ เจ็บคอรบกวนการมองเห็น(ดูหมายเหตุ)ออกซิเจน(บรรจุถัง)การปองกันหามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟ หามสูบบุหรี่หามสัมผัสกับสารที่ไวไฟสวมแวนนิรภัยการปฐมยาบาล/การดับไฟในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียง: ใชสารดับไฟที่เหมาะสมกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําเปนฝอยทําการดับไฟในที่กําบังที่ปลอดภัยนําสงแพทยICSC: 0138ทําการดูดระบายอากาศการจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากEU ClassificationSymbol: OR: 8S: (2-)-17UN ClassificationUN Hazard Class: 2.2UN Subsidiary Risks: 5.1112


OXYGEN(cylinder)ออกซิเจน(บรรจุถัง)ICSC: 0138การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-20S1072 or 20G1O เก็บในที่ปองกันไฟได เก็บแยกจากสารรีดิวซและสารที่ติดไฟไดเก็บในที่เย็นIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล113


OXYGEN(cylinder)ออกซิเจน(บรรจุถัง)ICSC: 0138ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนกาซอัด ไมมีกลิ่นอันตรายทางกายภาพ :กาซหนักกวาอากาศอันตรายทางเคมี :เปนสารออกซิไดซอยางแรง และทําปฏิกิริยากับวัสดุที่ติดไฟไดและสารรีดิวซ มีความเสี่ยงตอการติดไฟและการระเบิดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้ที่ความเขมขนสูงจะทําให เกิดการระคายเคืองตอทางเดินหายใจ สารมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง ปอด และตาผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:ปอดอาจไดรับผลจากการหายใจเอาสารที่มีความเขมขนสูงคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :-183 ํCจุดหลอมเหลว :-218.4 ํCการละลายในน้ํา (ml/100 ml ที่ 20 ํ C) :3.1ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 1.1สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.65หมายเหตุผลของการไดรับสัมผัสสารทางการหายใจเกิดจากสารที่มีความเขมขนสูงมากเทานั้น ศึกษา ICSC0880 เพิ่มเติมเกี่ยวกับออกซิเจนเหลว(cryogenic liquid : กาซเหลวอุณหภูมิต่ํามาก)ขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล114


DICAMBA ไดแคมบา ICSC: 0139วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 20053,6-Dichloro-o-anisic acid3,6-Dichloro-2-methoxybenzoic acidCAS # 1918-00-9 C 8 H 6 Cl 2 O 3RTECS # DG7525000 Molecular mass: 221.0UN #EC Index # 607-043-00-Xการเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไมติดไฟ ตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียอยูอาจไวไฟเมื่อเกิดไฟไหมใหควัน (หรือ กาซ)ที่ระคายเคืองหรือ เปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กการสูดดม ไอ เจ็บคอ ระบบระบายอากาศเฉพาะที่ หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียงใชสารดับไฟที่เหมาะสมใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง ปวด สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดดวยน้ําและสบูทางดวงตา ตาแดง ปวด ตาพรา สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน คลื่นไส อาเจียน ออนเพลีย ชัก หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก นําสงแพทย115


DICAMBA ไดแคมบา ICSC: 0139การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากหามปลอยสารออกสูสภาพแวดลอม ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจ ใช P2 filter สําหรับอนุภาคสารอันตราย เก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะ ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน เก็บกวาดสวนที่เหลือดวยความระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยIPCSInternational Programmeon Chemical SafetyหามขนสงพรอมอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationSymbol: XnR: 22-41-52/53S: (2-)-26-61Note: [A]UN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล116


DICAMBA ไดแคมบา ICSC: 0139ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกไมมีสีอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวไดเมื่อไดรับความรอน เมื่อสลายตัวจะปลอยควันที่เปนพิษและระคายเคือง รวมทั้งไฮโดรเจนคลอไรด(ดู ICSC 0163)คาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVไมไดกําหนดคา MAKวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายเมื่อเกิดการฟุงกระจายของฝุนสารผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหผิวหนัง ทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองและเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรงกับดวงตาคุณสมบัติทางกายภาพสลายตัวต่ํากวาจุดเดือด ที่ 200 ํCจุดหลอมเหลว : 114-116 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.57ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมการละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 25 ํ C) :0.79ความดันไอ Pa ที่ 25 ํ C :0.0045สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 2.21สารนี้เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา สารนี้สามารถเขาสูสิ่งแวดลอมไดภายใตการใชที่ปกติและควรใชอยางระมัดระวัง อยางไรก็ตามควรหลีกเลี่ยงการปลดปลอยเพิ่ม เชน การกําจัดทิ้งอยางไมเหมาะสมหมายเหตุตัวทําละลายชวย (carrier solvents) ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษไดของสารนี้ ถาสารนี้อยูในตํารับที่ใชตัวทําละลาย ใหศึกษา <strong>ICSCs</strong> ของตัวทําละลายนั้นดวยขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล117


2,3-DICHLOROANILINE 2,3-ไดคลอโรอะนิลิน ICSC: 0140วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : มีนาคม 20012,3-DichlorobenzenamineCAS # 608-27-5 C 6 H 5 Cl 2 N / (C 6 H 3 )Cl 2 (NH 2 )RTECS # CX9862625 Molecular mass: 162.0UN # 1590EC Index # 612-010-00-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษ ความรอนจะทําใหความดันสูงขึ้นซึ่งเสี่ยงตอการระเบิดการระเบิดการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง โฟมที่ทนตอแอลกอฮอล น้ําฉีดเปนฝอยคารบอนไดออกไซดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารปองกันการเกิดไอหมอกของสารการสูดดม ริมฝปากหรือเล็บมือเขียวผิวหนังเขียว เวียนศีรษะปวดศีรษะ คลื่นไส หายใจถี่ๆสับสน ชัก หมดสติใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนังอาจถูกดูดซึม(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)กรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกัน ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน ปวดทอง (ดูเพิ่มเติมการสูดดม) หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก ดื่มน้ํามากๆนําสงแพทย118


2,3-DICHLOROANILINE 2,3-ไดคลอโรอนิลิน ICSC: 0140การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายแหลงที่ติดไฟไดทั้งหมด หามลางลงทอระบายน้ําเก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทเก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว) หามปลอยสารออกสูสิ่งแวดลอมหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T, NR: 23/24/25-33-50/53S: (1/2-)-28-36/37-45-60-61Note: [C]UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC 61GT1-IINFPA Code: H3; F1; R0;IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล119


2,3-DICHLOROANILINE 2,3-ไดคลอโรอนิลิน ICSC: 0140ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกหรือของเหลว ไมมีสีอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อเผาไหมทําใหเกิดควันที่เปนพิษ(ไนตรัสออกไซด ไฮโดรเจนคลอไรด ดู ICSC 0163)คาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVไมไดกําหนดคา MAKวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ของอัตราของการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้มีผลตอการทํางานของระบบเลือด มีผลทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบิน อาจทําใหเสียชีวิต ผลอาจเกิดภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสสารซ้ําๆ หรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหมีผลตอระบบเลือดมีผลทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบินคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :252 ํCจุดหลอมเหลว :24 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.383การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) :ไมละลายขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความดันไอ Pa ที่ 25 ํ C :112 ํC c.c.สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 2.78สารนี้เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะๆ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไวขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล120


2,4-DICHLOROANILINE 2,4-ไดคลอโรอะนิลีน ICSC: 0141วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2000Aniline,2,4-dichloro-1-Amino-2,4-dichlorobenzene2,4-DichlorobenzenamineCAS # 554-00-7 C 6 H 5 Cl 2 NRTECS # BX2600000 Molecular mass: 162.02UN # 1590EC Index # 612-010-00-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษ ความรอนจะทําใหความดันสูงขึ้นซึ่งเสี่ยงตอการเกิดระเบิดการระเบิดการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง โฟมที่ทนแอลกอฮอล น้ําฉีดเปนฝอยคารบอนไดออกไซดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารการสูดดม ผิวหนังเขียว ริมฝปากเขียวหรือเล็บมือเขียว เวียนศีรษะ ปวดศีรษะคลื่นไส หายใจถี่ๆ สับสน ชักหมดสติใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนังอาจถูกดูดซึม แดง(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)ทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกันการกลืนกิน ปวดทอง (ดูเพิ่มเติมการสูดดม) หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ดื่มน้ํามากๆนําสงแพทย121


2,4-DICHLOROANILINE 2,4-ไดคลอโรอะนิลีน ICSC: 0141การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายแหลงที่ติดไฟไดทั้งหมด หามลางลงทอระบายน้ําเก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะ เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)หามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T, NR: 23/24/25-33-50/53S: (1/2-)-28-36/37-45-60-61Note: [C]UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT2-IINFPA Code: H3; F1; R0;IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล122


2,4-DICHLOROANILINE 2,4-ไดคลอโรอะนิลีน ICSC: 0141ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนที่ 370 ํC หรือเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษ รวมทั้งไนตรัสออกไซดไฮโดรเจนคลอไรด ดู ICSC 0163คาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVไมไดกําหนดคา MAKวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ของอัตราของการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้ทําใหผิวหนังเกิดการระคายเคืองเล็กนอย สารนี้อาจมีผลตอระบบเลือดทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบิน การไดรับสัมผัสอาจมีผลทําใหเสียชีวิตได อาการอาจปรากฏภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารอาจมีผลตอระบบเลือด ทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบินคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :245 ํCจุดหลอมเหลว :63-64 ํCความหนาแนน : 1.57 g/cm 3การละลายในน้ํา :ไมละลายขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความดันไอ Pa ที่ 25 ํ C :


2,5-DICHLOROANILINE 2,5-ไดคลอโรอะนิลีน ICSC: 0142วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2000p-Dichloroaniline1-Amino-2,5-dichlorobenzene2,5-DichlorobenzenamineCAS # 95-82-9 C 6 H 5 Cl 2 NRTECS # BX2610000 Molecular mass: 162.0UN # 1590EC # 612-010-00-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษ ความรอนจะทําใหความดันสูงขึ้นซึ่งเสี่ยงตอการระเบิดการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารการสูดดม ผิวหนังเขียว ริมฝปากเขียวหรือเล็บมือเขียว เวียนศีรษะปวดศีรษะ คลื่นไส หายใจถี่ๆสับสน ชัก หมดสติระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนังอาจถูกดูดซึม(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)ทางดวงตา แดง ปวด ตาพรา สวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกันการกลืนกิน ปวดทอง (ดูเพิ่มเติมการสูดดม) หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผงโฟมที่ทนตอแอลกอฮอล น้ําฉีดหรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ํา แตอยาใหน้ําสัมผัสสารโดยตรงใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ดื่มน้ํามากๆนําสงแพทย124


2,5-DICHLOROANILINE 2,5-ไดคลอโรอะนิลีน ICSC: 0142การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายแหลงที่ติดไฟไดทั้งหมด หามลางลงทอระบายน้ํา เก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะ เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว) หามปลอยสารนี้ออกสูสิ่งแวดลอมหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T, NR: 23/24/25-33-50/53S: (1/2-)-28-36/37-45-60-61Note: [C]UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61S1590-SNFPA Code: H3; F1; R0;IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล125


2,5-DICHLOROANILINE 2,5-ไดคลอโรอะนิลีน ICSC: 0142ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกคลายเข็มหรือเปนแผน ไมมีสี ถึงสีน้ําตาล มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนที่ 380 ํC หรือเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษ รวมทั้งไนตรัสออกไซดไฮโดรเจนคลอไรด ดู ICSC0163คาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVไมไดกําหนดคา MAKวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ของอัตราของการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้ทําใหดวงตาเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง สารนี้อาจมีผลตอระบบเลือดทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบิน การไดรับสัมผัสอาจมีผลทําใหเสียชีวิตได อาการอาจปรากฏภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆ หรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังอักเสบ สารอาจมีผลตอระบบเลือด ทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบินคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :251 ํCจุดหลอมเหลว :50 ํCความหนาแนน : 1.54 g/cm 3การละลายในน้ํา : ไมละลายความดันไอ Pa ที่ 25 ํ C :


2,6-DICHLOROANILINE 2,6-ไดคลอโรอะนิลิน ICSC: 0143วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : มีนาคม 20012,6-DichlorobenzenamineCAS # 608-31-1 (C 6 H 3 )Cl 2 (NH 2 )RTECS # Molecular mass: 162.0UN # 1590EC Index # 612-010-00-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารการสูดดม ผิวหนังเขียว ริมฝปากหรือเล็บมือเขียว เวียนศีรษะ ปวดศีรษะคลื่นไส หายใจถี่ๆ สับสน ชักหมดสติระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนังอาจถูกดูดซึม(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)ทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกันการกลืนกิน ปวดทอง (ดูเพิ่มเติม การสูดดม) หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผงโฟมที่ทนตอแอลกอฮอล น้ําฉีดหรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหรับอากาศบริสุทธิ์ พัก ถาจําเปนใหชวยการหายใจ นําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ดื่มน้ํามากๆนําสงแพทย127


2,6-DICHLOROANILINE 2,6-ไดคลอโรอะนิลิน ICSC: 0143การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายแหลงที่ติดไฟไดทั้งหมด หามลางลงทอระบายน้ําเก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะ เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)หามปลอยสารออกสูสิ่งแวดลอมหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T, NR: 23/24/25-33-50/53S: (1/2-)-28-36/37-45-60-61Note: [C]UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC 61GT2-IINFPA Code: H3; F1; R0;IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล128


2,6-DICHLOROANILINE 2,6-ไดคลอโรอะนิลิน ICSC: 0143ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกไมมีสีอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อถูกเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษ (ไนตรัสออกไซด ไฮโดรเจนคลอไรด ดู ICSC0163)คาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVไมไดกําหนดคา MAKวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ของอัตราของการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้อาจมีผลตอระบบเลือด ทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบิน การไดรับสัมผัสอาจมีผลทําใหเสียชีวิตได อาการอาจปรากฏภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:สารนี้อาจมีผลตอระบบเลือด ทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบินคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือดที่ 0.7 kPa :97 ํCจุดหลอมเหลว :39 ํCการละลายในน้ํา :แยขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 5.6จุดวาบไฟ : >112 ํCสารนี้เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ๆ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไวขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล129


3,4-DICHLOROANILINE 3,4-ไดคลอโรอะนิลิน ICSC: 0144วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : กุมภาพันธ 20001-Amino-3,4-dichlorobenzene3,4-DichlorobenzenamineCAS # 95-76-1 C 6 H 5 Cl 2 NRTECS # BX2625000 Molecular mass: 162.0UN # 1590EC Annex 1 Index # 612-202-00-1EC/EINECS # 202-448-4การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษ ความรอนจะทําใหความดันสูงขึ้นซึ่งเสี่ยงตอการเกิดระเบิดการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารการสูดดม ผิวหนังเขียว ริมฝปากเขียวหรือเล็บมือเขียว เวียนศีรษะปวดศีรษะ คลื่นไส หายใจถี่ๆสับสน ชัก หมดสติระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนังอาจถูกดูดซึม(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)ทางดวงตา แดง ปวด ตาพรา สวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกันการกลืนกินปวดทอง(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)การปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผงโฟมที่ทนตอแอลกอฮอล น้ําฉีดหรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ํา แตอยาใหน้ําสัมผัสสารโดยตรงใหรับอากาศบริสุทธิ์ พัก ถาจําเปนใหชวยการหายใจ นําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ดื่มน้ํามากๆนําสงแพทย130


3,4-DICHLOROANILINE 3,4-ไดคลอโรอะนิลิน ICSC: 0144การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายแหลงที่ติดไฟไดทั้งหมด หามลางลงทอระบายน้ําเก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะ เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)หามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T, NR: 23/24/25-41-43-50/53S: (1/2-)26-36/37/39-45-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61S1590-SNFPA Code: H 3; F 1; R 0;IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง เก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล131


3,4-DICHLOROANILINE 3,4-ไดคลอโรอะนิลิน ICSC: 0144ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกสีน้ําตาลออน มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนที่ 340 ํC หรือเมื่อเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษ รวมทั้งไนตรัสออกไซดไฮโดรเจนคลอไรด ดู ICSC0163คาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVMAK: IIb (not established but data is available) skin absorption (H); sensitization of skin (Sh); (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ของอัตราของการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้ทําใหดวงตาเกิดการระคายเคือง สารนี้อาจมีผลตอระบบเลือด ทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบินการไดรับสัมผัสอาจมีผลทําใหเสียชีวิตได อาการอาจปรากฏภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆ หรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังอักเสบ สารอาจมีผลตอระบบเลือด ทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบินคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :272 ํCจุดหลอมเหลว :72 ํCความหนาแนน : 1.57 g/cm 3การละลายในน้ํา :ไมละลายความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C :1.3ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 5.6ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.0จุดวาบไฟ : 166 ํC o.c.(open cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 269 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 2.8-7.2สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 2.69ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ๆ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไวขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล132


DI(2,3-EPOXYPROPYL)ETHER ได(2,3-อีพอกซีโพรพิล)อีเทอร ICSC: 0145วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 1997bis(2,3-Epoxypropyl)etherDiglycidyl ether2,2’-(Oxybis(methylene))bis-oxiraneDGECAS # 2238-07-5 C 6 H 10 O 3 / C 2 H 3 OCH 2 OCH 2 C 2 H 3 ORTECS # KN2350000 Molecular mass: 130.2UN #EC #การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดการระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกวา 64 ํC อาจเกิดสวนผสมของไอ/ อากาศที่ระเบิดไดที่อุณหภูมิสูงกวา 64 ํC ทําเปนระบบปด มีการดูดระบายอากาศ ใชอุปกรณไฟฟาที่สามารถปองกันการเกิดระเบิดไดการไดรับสัมผัสปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดการสูดดม มึนงง หายใจถี่ เจ็บคอ หมดสติออนเพลียทางผิวหนังอาจถูกดูดซึม ผิวแหง แดง หยาบผิวไหม ปวด เปนแผลพุพอง(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)ดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางดวงตา แดง ปวด ตาพรา สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน คลื่นไส อาเจียน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน นําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ํานําสงแพทยลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ดื่มน้ํามากๆนําสงแพทย133


DI(2,3-EPOXYPROPYL)ETHER ได(2,3-อีพอกซีโพรพิล)อีเทอร ICSC: 0145การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ลางสวนที่เหลือดวยน้ํามากๆIPCSInternational Programmeon Chemical SafetyEU ClassificationUN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง มีการระบายอากาศตามแนวพื้นการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล134


DI(2,3-EPOXYPROPYL)ETHER ได(2,3-อีพอกซีโพรพิล)อีเทอร ICSC: 0145ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวไมมีสี มีกลิ่นฉุนอันตรายทางเคมี :สารนี้ทําใหเกิดเปอรออกไซดที่ระเบิดได อาจระเบิดไดเมื่อไดรับความรอน สารทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรงคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.1 ppm as TWA; A4 (not classifiable as a human carcinogen); (ACGIH 2004).MAK: skin absorption (H); Carcinogen category: 3B; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหเกิดการระคายเคืองตอดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจอยางรุนแรง ไอของสารอาจทําใหเกิดอาการปอดบวมน้ํา สารนี้มีผลตอเลือด ไต ตับ อัณฑะ การไดรับสัมผัสสารทําใหความรูสึกตัวลดลงควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆ หรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังอักเสบ โรคผิวหนังไวตอสิ่งกระตุน จากการทดลองในสัตวพบวาสารนี้อาจเปนพิษตอระบบสืบพันธุของมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือดที่ 100 kPa :260 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.26การละลายในน้ํา : ดูหมายเหตุความดันไอ Pa ที่ 25 ํ C :12ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 4.5ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.0จุดวาบไฟ : 64 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: ดูหมายเหตุขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุการละลายในน้ํา จุดหลอมเหลว อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง และคาจํากัดการระเบิดไมมีบอกไวในเอกสารใด อาการปอดบวมน้ํา มักจะไมปรากฏทันที จนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นจากการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพัก และใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ควรทําการรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสมโดยทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมาย ไมสามารถใชกลิ่นของสารเปนเครื่องเตือน เมื่อปริมาณสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน ตรวจสอบเปอรออกไซดกอนทําการกลั่น ทําใหหมดไปถาตรวจพบขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล135


DIETHYLENE GLYCOLDIGLYCIDYL ETHERวันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 1997bis(2-(2,3-Epoxypropoxy)ethyl)ether2,2’-(Oxybis(2,1-ethanediyloxymethylene))bis-oxiraneCAS # 4206-61-5 C 10 H 18 O 5RTECS # KN2330000 Molecular mass: 218.3UN #EC #การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการไดเอทธิลีนไกลคอลไดไกลซิดิลอีเทอรการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดการระเบิดการไดรับสัมผัสปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดการสูดดม ไอ เจ็บคอ ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่ ใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักหรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา แดง สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานICSC: 0146ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก นอนพัก136


DIETHYLENE GLYCOLDIGLYCIDYL ETHERไดเอทธิลีนไกลคอลไดไกลซิดิลอีเทอรICSC: 0146การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากดูดระบายอากาศ เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ลางสวนที่เหลือดวยน้ําIPCSInternational Programmeon Chemical SafetyEU ClassificationUN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรงการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล137


DIETHYLENE GLYCOLDIGLYCIDYL ETHERไดเอทธิลีนไกลคอลไดไกลซิดิลอีเทอรICSC: 0146ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวอันตรายทางเคมี :สารนี้ทําใหเกิดเปอรออกไซดที่ระเบิดได ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรงคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ของอัตราของการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆ หรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังไวตอสิ่งกระตุนคุณสมบัติทางกายภาพความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : ดูหมายเหตุการละลายในน้ํา : ดูหมายเหตุความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 7.5ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : ดูหมายเหตุคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: ดูหมายเหตุขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุจุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแนนสัมพัทธ การละลายในน้ํา ความดันไอ ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสมไอ/อากาศจุดวาบไฟ คาจํากัดการระเบิด และอุณหภูมิที่สารติดไฟไดเองไมมีบอกไวในเอกสารใด สารนี้ติดไฟไดแตไมมีจุดวาบไฟไมมีบอกไวในเอกสารใด ตรวจสอบเปอรออกไซดกอนทําการกลั่น ทําใหหมดไปถาตรวจพบขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล138


1,1-DIMETHYLHYDRAZINE 1,1-ไดเมทธิลไฮดราซีน ICSC: 0147วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : พฤศจิกายน 2008DimethylhydrazineN,N-DimethylhydrazineUnsym-DimethylhydrazineUDMHCAS # 57-14-7 C 2 H 8 N 2 / NH 2 -N(CH 3 ) 2RTECS # MV2450000 Molecular mass: 60.1UN # 1163EC Annex 1 Index # 007-012-00-5EC/EINECS # 200-316-0การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไวไฟมาก เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดสวนผสมของไอ/อากาศอาจระเบิดได มีความเสี่ยงตอการติดไฟหรือการระเบิดเมื่อสัมผัสกับสารออกซิไดซการปองกันหามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟ และหามสูบบุหรี่หามสัมผัสกับสารออกซิไดซและกรดทําเปนระบบปด มีการดูดระบายอากาศ ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการเกิดระเบิดได หามใชอากาศอัดในการเติม ปลดปลอยหรือการขนยายใชเครื่องมือที่ไมเกิดประกายไฟการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผงโฟมที่ทนตอแอลกอฮอลน้ําปริมาณมาก หรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดม ไอ เจ็บคอ ปวดแสบปวดรอนคลื่นไส ปวดศีรษะ อาเจียนหายใจลําบาก ชักทําการดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน นําสงแพทยทางผิวหนังอาจถูกดูดซึม แดง ปวด(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)ทางดวงตา แดง ปวด สวมหนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน เจ็บคอ (ดูเพิ่มเติมการสูดดม) หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ลางดวยน้ํามากๆ ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกแลวลางอีกครั้ง นําสงแพทยลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)บวนปาก อยาทําใหอาเจียนนําสงแพทย139


1,1-DIMETHYLHYDRAZINE 1,1-ไดเมทธิลไฮดราซีน ICSC: 0147การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว) เคลื่อนยายแหลงที่ติดไฟไดทั้งหมด หามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอม เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาในภาชนะที่ไมใชพลาสติกที่ปดสนิท หามดูดซับดวยขี้เลื่อยหรือสารดูดซับที่ติดไฟได ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยเก็บในบรรจุภัณฑที่ไมแตก หากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกไดใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ไมแตกและปดมิดชิดหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตว Note:EEU ClassificationSymbol: F, T, NR: 45-11-23/25-34-51/53S: 53-45-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Subsidiary Risks: 3 and 8UN Pack Group: IGHS Classificationอันตรายของเหลวและไอระเหยไวไฟมากเปนพิษถากลืนกินเปนพิษถาสัมผัสกับผิวหนังเปนอันตรายถึงตายไดถาสูดเอาไอระเหยเขาไปทําใหผิวหนังระคายเคืองไดเล็กนอยทําใหดวงตาระคายเคืองอาจเกิดผลกระทบดานพันธุกรรมอาจกอใหเกิดมะเร็งทําใหอวัยวะถูกทําลายทําใหระบบประสาทและระบบเลือดถูกทําลายถาสูดดมสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆเปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GTFC-INFPA Code: H 4, F 3, R 1.IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บในที่ปองกันไฟได ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิง เก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง กรดแก เก็บในที่แหงและมีการดูดระบายอากาศที่ดี หามเก็บหรือขนสงในภาชนะพลาสติก เก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําเขาถึงการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP)และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the European Communities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล140


1,1-DIMETHYLHYDRAZINE 1,1-ไดเมทธิลไฮดราซีน ICSC: 0147ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : เปนของเหลวที่ดูดความชื้น เปนควัน ไมมีสี มีกลิ่นฉุน เมื่อถูกอากาศจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองอันตรายทางกายภาพ :ไอหนักกวาอากาศและสามารถไหลไปตามพื้นได จึงอาจติดไฟในระยะหางออกไปไดอันตรายทางเคมี : เมื่อติดไฟปลอยควันที่เปนพิษ รวมทั้งไนโตรเจนออกไซด สารนี้เปนตัวรีดิวซอยางแรง และทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารออกซิไดซ สารนี้เปนดางแก ทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับกรด และทําลายเนื้อเยื่อ ทําปฏิกิริยากับออกซิเจนทําใหเกิดไฟและเกิดอันตรายเนื่องจากการระเบิด สารนี้ทําลายพลาสติกคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.01 ppm; as TWA; (skin); A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to humans); (ACGIH 2008).MAK: skin absorption (H); sensitization of skin (Sh); Carcinogen category: 2; (DFG 2008).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้ทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจระคายเคือง การหายใจเอาไอของสารนี้เขาไปจะทําใหเกิดปอดบวมน้ํา (ดูหมายเหตุ) สารนี้อาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลางและตับผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:สารนี้อาจมีผลตอระบบเลือด ทําใหเปนโลหิตจาง สารนี้อาจกอใหเกิดมะเร็งในมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :64 ํCจุดหลอมเหลว :-58 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :0.8การละลายในน้ํา : ดีมากความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :13.7ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 2.1ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.2จุดวาบไฟ : -15 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 249 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 2.4-20สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow :-1.19ความหนืด , mm 3 /s ที่ 25 ํC : 0.6ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา ดังนั้นหามไมใหเกิดการปลอยสารเขาสูสิ่งแวดลอมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ๆ อาการปอดบวมน้ํา มักจะไมปรากฏในทันทีจนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นจากการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพัก และใหแพทยตรวจและสังเกตอาการควรทําการรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสมโดยทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมาย ไมสามารถใชกลิ่นของสารเปนเครื่องเตือน เมื่อปริมาณสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน หามนําชุดทํางานกลับบาน ลางเสื้อผาที่เปอนสารดวยน้ํามากๆเพราะติดไฟไดชื่อทางการคา Dimazineขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล141


DIMETHYL SULFATE ไดเมทธิลซัลเฟต ICSC: 0148วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : พฤศจิกายน 2008Sulfuric acid dimethyl esterDimethyl monosulfateDMSCAS # 77-78-1 C 2 H 6 O 4 S / (CH 3 O) 2 SO 2RTECS # WS8225000 Molecular mass: 126.1UN # 1595EC Annex 1 Index # 016-023-00-4EC/EINECS # 201-058-1การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกวา 83 ํC อาจเกิดสวนผสมของไอ/ อากาศที่ระเบิดไดการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดที่อุณหภูมิสูงกวา 83 ํC ทําเปนระบบปด มีการดูดระบายอากาศการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดม ไอ เจ็บคอ ปวดแสบปวดรอนหายใจถี่ ปวดศีรษะ อาการอาจปรากฏภายหลัง (ดูหมายเหตุ)ดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน ถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยทันทีทางผิวหนังทางดวงตาการกลืนกินอาจถูกดูดซึม แดง ปวดเปนแผลพุพอง ผิวหนังไหมแดง ปวด ไหมสูญเสียการมองเห็นแสบปากแสบคอปวดแสบปวดรอนในลําคอและชองอก ทองเปนตะคริว อาเจียนชัก ช็อกหรือลมฟุบ(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ํานําสงแพทยทันทีสวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยทันทีบวนปาก อยาทําใหอาเจียนดื่มน้ํามากๆ พักผอนนําสงแพทยทันที142


DIMETHYL SULFATE ไดเมทธิลซัลเฟต ICSC: 0148การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว หามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอมดูดระบายอากาศ เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิท ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inertabsorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยเก็บในบรรจุภัณฑที่ไมแตก หากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกไดใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ไมแตกและปดมิดชิดหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตว Note:EEU ClassificationSymbol: T+R: 45-25-26-34-43-68S: 53-45UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Subsidiary Risks: 8UN Pack Group: IGHS Classificationอันตรายของเหลวที่ติดไฟไดอันตรายถึงตายไดถาสูดดมไอสารเปนพิษถากลืนกินเปนเหตุใหผิวหนังไหมอยางรุนแรงและทําลายดวงตาอาจเปนเหตุใหผิวหนังแพอาจเปนสาเหตุของการเกิดความผิดปกติทางพันธุกรรมอาจเปนสาเหตุของมะเร็งเปนสาเหตุใหตับ ไต ปอด ถูกทําลายเปนสาเหตุใหปอดถูกทําลายถาไดรับสัมผัสสารระยะยาวหรือไดรับซ้ํา ๆเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ําการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61S1595 or 61GTC1-INFPA Code: H4, F2, R1IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว และสารที่เขากันไมได(ดู อันตรายทางเคมี) เก็บในที่เย็น แหง เก็บในภาชนะปดอยางมิดชิดมีการระบายอากาศตามแนวพื้น เก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล143


DIMETHYL SULFATE ไดเมทธิลซัลเฟต ICSC: 0148ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : เปนของเหลวมัน ไมมีสีอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนหรือเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษ รวมทั้งซัลเฟอรออกไซด สารละลายน้ําไดกรดแกปานกลาง สารทําปฏิกิริยากับน้ําไดเปนกรดซัลฟูริคและกอใหเกิดความรอน สารทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับแอมโมเนียเขมขน ดาง กรดและสารออกซิไดซอยางแรง ทําใหเกิดการติดไฟ และการระเบิดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.1 ppm as TWA, (skin), A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to humans); (ACGIH 2008).MAK: skin absorption (H); Carcinogen category: 2; (DFG 2008).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสาร เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้กัดกรอนเนื้อเยื่อดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ กัดกรอนเมื่อกลืนกิน การสูดดมเขาไปอาจทําใหเกิดอาการปอดอักเสบ (ดูหมายเหตุ) สารนี้อาจมีผลตอตับและไตทําใหการทํางานเสียไป การไดรับสัมผัสเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจทําใหเสียชีวิตได ผลนี้อาจเกิดขึ้นในเวลาตอมา ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:การไดรับสัมผัสไอของสารซ้ําๆ หรือเปนเวลานานๆ อาจมีผลตอปอด สารนี้อาจกอใหเกิดมะเร็งในมนุษย การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆหรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังไวตอสิ่งกระตุนคุณสมบัติทางกายภาพจุดสลายตัว :188 ํCจุดหลอมเหลว :-32 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.3การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 18 ํ C) :2.8ความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C :65ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 4.4ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.0จุดวาบไฟ : 83 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 470 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 3.6-23.3สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.16ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุไดเมทธิลซัลเฟตที่จําหนายในทองตลาดอาจมีกรดซัลฟูริกในปริมาณนอยมากปะปนอยู อันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไดรับการตรวจจากแพทยเปนระยะๆ อาการปอดบวมน้ํา มักจะไมปรากฏทันที จนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพัก และใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ควรทําการรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสมโดยทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมาย ไมสามารถใชกลิ่นของสารเปนเครื่องเตือนเมื่อปริมาณสารเกินคากําจัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน หามนําชุดทํางานกลับบานขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล144


DINOSEB ไดโนเซบ ICSC: 0149วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 19942-sec-Butyl-4,6-dinitrophenol2-(1-Methylpropyl)-4,6-dinitrophenol2,4-Dinitro-6-(1-methylpropyl)phenol2,4-Dinitro-6-sec-butylphenolCAS # 88-85-7 C 10 H 12 N 2 O 5RTECS # SJ9800000 Molecular mass: 240.2UN # 2779EC Index # 609-025-00-7การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได ตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียอยูอาจจะติดไฟได เมื่อเกิดไฟไหมใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือ เปนพิษการระเบิด เสี่ยงตอการเกิดติดไฟและระเบิดการไดรับสัมผัสการสูดดมทางผิวหนังทางดวงตาการกลืนกินผิวหนังเขียว ชัก ปวดศีรษะเหงื่อออก หายใจลําบาก หมดสติอาจถูกดูดซึม(ดูเพิ่มเติมการสูดดม)ตาแดง ปวด ตาพราสูญเสียการมองเห็นชั่วคราวปวดทอง อาเจียน(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)การปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีดเปนฝอยโฟม คารบอนไดออกไซดปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในสตรีตั้งครรภทําการระบายอากาศ(ไมตองถาสารเปนผง)ระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยสวมแวนนิรภัย หนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ใหดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ํา ทําใหอาเจียนออกมา(ถาผูปวยมีสติ) พัก นําสงแพทย145


DINOSEB ไดโนเซบ ICSC: 0149การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากหามลางลงทอระบายน้ํา เก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะถาเปนไปไดทําใหชื้นเพื่อไมใหเกิดฝุน เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจ ใช P3 filterสําหรับอนุภาคสารพิษ)หามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T, NR: 61-62-24/25-36-44-50/53S: 53-45-60-61Note: [E]UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT7-II ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวทําการดูดระบายอากาศตามแนวบริเวณพื้นIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล146


DINOSEB ไดโนเซบ ICSC: 0149ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกสีสม มีกลิ่นฉุนอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอน เมื่อสลายตัวจะปลอยควันพิษ รวมทั้งไนโตรเจนออกไซดสารนี้เมื่อละลายในน้ําจะเปนกรดออน ทําลายโลหะหลายชนิดถามีน้ําอยูดวยคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVไมไดกําหนดคา PDKวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะไมทําหรือทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนพิษอยางชาๆ อยางไรก็ตามจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายเนื่องจากถูกพนเปนละอองหรือเมื่อฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหตาเกิดการระคายเคือง สารอาจมีผลตอทางเดินอาหารและระบบประสาทสวนกลางการไดรับสัมผัสละอองของสารในสิ่งแวดลอมที่รอนอาจมีผลทําใหเสียชีวิตไดผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:สารนี้อาจมีผลตอไต ตับ เลือด ระบบภูมิคุมกันและดวงตา มีผลทําใหเกิดตอกระจกอาจทําใหเปนพิษตอระบบสืบพันธของมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดหลอมเหลว :38-42 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.3 ที่ 30 ํCการละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) :ไมละลาย (


m-CHLOROPHENOL เมทตา-คลอโรฟนอล ICSC: 0150วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 19993-Chlorophenol3-Chloro-1-hydroxybenzene3-HydroxychlorobenzeneCAS # 108-43-0 C 6 H 5 ClO / C 6 H 4 ClOHRTECS # SK2450000 Molecular mass: 128.6UN # 2020EC Index # 604-008-00-0การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผงฉีดน้ําเปนฝอย โฟมคารบอนไดออกไซดการระเบิดการไดรับสัมผัสปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดการสูดดม ไอ เจ็บคอ ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่ ใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง ปวด สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ทําใหอาเจียนออกมา(ถาผูปวยมีสติ) ดื่มน้ํามากๆนําสงแพทย148


m-CHLOROPHENOL เมทตา-คลอโรฟนอล ICSC: 0150การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากกวาดสารที่หกใสภาชนะ ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน เก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวัง นําไปทิ้งในที่ที่ปลอดภัย หามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอม(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจใช P2 filterสําหรับ อนุภาคสารอันตราย)หามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: Xn, NR: 20/21/22-51/53S: (2-)-28-61Note: [C]UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61S2020 or 61GT2-IIIIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว ภาชนะปดสนิทการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล149


m-CHLOROPHENOL เมทตา-คลอโรฟนอล ICSC: 0150ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอน เกิดควันที่เปนพิษและทําลายเนื้อเยื่อ (ไฮโดรเจน คลอไรด และ ไอของคลอรีน)ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสาร เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ของอัตราของการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองจุดเดือด :214 ํCจุดหลอมเหลว :33 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.245การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) :2.6คุณสมบัติทางกายภาพความดันไอ Pa ที่ 44.2 ํ C :133จุดวาบไฟ : >122 ํCสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 2.47-2.52ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจตอปลาเปนพิเศษหมายเหตุไมมีขอมูลเพียงพอเกี่ยวกับผลของสารนี้ตอสุขภาพของมนุษย จึงตองใชความระมัดระวังมากที่สุด ควรศึกษา ICSC 0849 o-Chlorophenolและ ICSC 0850 p-Chlorophenol เพิ่มเติมขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล150


DIPHENYLOL PROPANEDIGLYCIDYL ETHERวันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 19972,2-bis(4-(2,3-Epoxypropoxy)phenyl)propaneDimethylmethane diglycidyl etherBisphenol A diglycidyl etherCAS # 1675-54-3 C 21 H 24 O 4 / C 2 H 3 OCH 2 OC 6 H 3 C 3 H 6 C 6 H 5 OCH 2 C 2 H 3 ORTECS # TX3800000 Molecular mass: 340.5UN #EC # 603-073-00-2การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการไดฟนิลอล โพรเพนไดไกลซิดิล อีเทอรการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟม หรือคารบอนไดออกไซดการระเบิดการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีการสูดดม ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง ผิวแหง แดง สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน มึนงง งวงซึม หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานICSC: 0151ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ดื่มน้ํามากๆ นําสงแพทย151


DIPHENYLOL PROPANEDIGLYCIDYL ETHERไดฟนิลอล โพรเพนไดไกลซิดิล อีเทอรICSC: 0151การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากดูดระบายอากาศ เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ลางสวนที่เหลือดวยน้ําปริมาณมากๆใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชวยกรองอากาศหายใจจากกาซและไอของสารเคมีIPCSInternational Programmeon Chemical SafetyEU ClassificationSymbol: XiR: 36/38-43S: (2-)-28-37/39UN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรงการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล152


DIPHENYLOL PROPANEDIGLYCIDYL ETHERไดฟนิลอล โพรเพนไดไกลซิดิล อีเทอรICSC: 0151ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวหนืด สีน้ําตาลถึงสีเหลือง ไมมีกลิ่นอันตรายทางเคมี :สารนี้ทําใหเกิดเปอรออกไซดที่ระเบิดได ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรงคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVMAK: skin absorption (H); sensitization of skin (Sh); Carcinogen category: 3A; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสารความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ของอัตราของการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา และผิวหนัง เกิดการระคายเคือง การไดรับสารอาจทําใหความรูสึกตัวลดลงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆหรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังอักเสบ โรคผิวหนังไวตอสิ่งกระตุนคุณสมบัติทางกายภาพจุดหลอมเหลว :8-12 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.17การละลายในน้ํา : ดูหมายเหตุความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 11.7ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : ดูหมายเหตุจุดวาบไฟ : 79 ํC o.c.(open cup)ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุจุดเดือด การละลายในน้ํา ความดันไอ ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสมไอ/อากาศ และอุณหภูมิที่สารติดไฟไดเองไมมีบอกไวในเอกสารใด ตรวจหาเปอรออกไซดกอนกลั่น ทําใหหมดไปถาตรวจพบขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล153


ETHANOLAMINE เอทธาโนลามีน ICSC: 0152วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 20022-Hydroxyethylamine2-AminoethanolCAS # 141-43-5 C 2 H 7 NO / H 2 NCH 2 CH 2 OHRTECS # KJ5775000 Molecular mass: 61.1UN # 2491EC # 603-030-00-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกวา 85 ํC อาจเกิดสวนผสมของไอ/ อากาศที่ระเบิดไดการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผงโฟมที่ทนตอแอลกอฮอล น้ําฉีดหรือคารบอนไดออกไซดที่อุณหภูมิสูงกวา 85 ํCทําเปนระบบปดมีการดูดระบายอากาศการไดรับสัมผัสปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดปองกันไมใหเกิดไอหมอกของสารการสูดดม ไอ ปวดศีรษะ หายใจถี่ เจ็บคอ ดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่ใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยหรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนัง แดง ปวด ผิวหนังไหม สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ํานําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด เปนแผลลึก สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกินปวดทอง ปวดแสบปวดรอนช็อกหรือลมฟุบหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก อยาทําใหอาเจียนดื่มน้ํามากๆ นําสงแพทย154


ETHANOLAMINE เอทธาโนลามีน ICSC: 0152การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิททําสารที่หกใหเปนกลางอยางระมัดระวัง ลางดวยน้ํามากๆใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชวยกรองอากาศหายใจจากกาซและไออินทรียของสารเคมีหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationSymbol: CR: 20/21/22-34S: (1/2-)-26-36/37/39-45UN ClassificationUN Hazard Class: 8UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-80GC7-II+IIINFPA Code: H3; F2; R0IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง กรดแก อลูมิเนียมเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว เก็บในที่แหงมีการระบายอากาศตามแนวพื้นการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล155


ETHANOLAMINE เอทธาโนลามีน ICSC: 0152ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวหนืด ดูดความชื้น ไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนและเมื่อเผาไหมสลายตัวใหควันที่เปนพิษและกัดกรอน รวมทั้งไนโตรเจนออกไซดสารนี้เปนดางแกปานกลาง ทําปฏิกิริยากับเซลลูโลสไนเตรต ทําใหเกิดติดไฟหรือการระเบิด สารทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารออกซิไดซอยางแรงและกรดแก ทําลายทองแดง อลูมิเนียม โลหะผสมอลูมิเนียม และยางคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: as TWA 3 ppm; as STEL 6 ppm; (ACGIH 2004).MAK: 2 ppm, 5.1 mg/m 3 ; Sh; Peak limitation category: I(2); Pregnancy risk group: C; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนพิษอยางชาๆอยางไรก็ตามจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายเนื่องจากถูกพนเปนละอองหรือเมื่อฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทํากัดกรอนเนื้อเยื่อตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ไอของสารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง สารมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง การไดรับสารอาจทําใหความรูสึกตัวลดลงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆหรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังไวตอสิ่งกระตุนคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :171 ํCจุดหลอมเหลว :10 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.02การละลายในน้ํา :ดีมากความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C :53ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 2.1ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.0จุดวาบไฟ : 85 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 410 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 5.5-17สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ ํา ตาม log Pow :-1.31 (คาโดยประมาณ)ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ไมสามารถใชกลิ่นของสารเปนเครื่องเตือนเมื่อปริมาณสารเกินคากําจัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน หามนําชุดทํางานกลับบานขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล156


ETHYLAMINE เอทธิลามีน ICSC: 0153วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : กันยายน 2002EthanamineAminoethaneCAS # 75-04-7 C 2 H 5 NH 2 / C 2 H 7 NRTECS # KH2100000 Molecular mass: 45.1UN # 1036EC Annex 1 Index # 612-002-00-4EC/EINECS # 200-834-7การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไวไฟสูงมาก เมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดสวนผสม กาซ/อากาศสามารถระเบิดไดการปองกันหามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟ และหามสูบบุหรี่ทําเปนระบบปด ทําการดูดระบายอากาศ ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการระเบิดไดการไดรับสัมผัสปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดการสูดดม ไอ หายใจลําบาก เจ็บคอ ทําการระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนัง ผิวหนังที่โดนของเหลว: สวมถุงมือปองกันความเย็นเกิดอาการน้ําแข็งกัด และเสื้อผาปองกันทางดวงตา แดง ปวด ตาพรา สวมหนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารการปฐมยาบาล/การดับไฟปดถังเก็บ ถาปดไมไดและไม เปนอันตรายตอบริเวณใกลเคียง ปลอยใหไฟคอยๆดับไปเอง ในกรณีอื่น ใชสารดับเพลิงผง คารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําดับไฟจากที่กําบังที่ปลอดภัยใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน ถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยอาการน้ําแข็งกัด ลางดวยน้ํามากๆหามถอดชุดทํางานออกนําสงแพทยลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทย157


ETHYLAMINE เอทธิลามีน ICSC: 0153การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ทําการดูดระบายอากาศ เคลื่อนยายแหลงที่ติดไฟไดทั้งหมด หามฉีดน้ําใสสารเหลวโดยตรง (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-20G2FNFPA Code: H 3; F 4; R 0;IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บในที่เย็น และปองกันไฟไดการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล158


ETHYLAMINE เอทธิลามีน ICSC: 0153ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนกาซอัดเหลว ไมมีสี มีกลิ่นฉุนอันตรายทางกายภาพ :กาซหนักกวาอากาศและสามารถไหลไปตามพื้นได จึงอาจติดไฟในระยะหางออกไปไดอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อเผาไหม ทําใหเกิดกาซพิษ รวมทั้งไนโตรเจนออกไซด สารละลายในน้ําเปนดางแก ทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับกรดและทําลายเนื้อเยื่อ ทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารออกซิไดซอยางแรง และสารประกอบอินทรียทําใหติดไฟหรือการระเบิดทําลายโลหะที่ไมมีเหล็ก และพลาสติกคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 5 ppm as TWA; 15 ppm as STEL; (skin); (ACGIH 2002).EU OEL: 5 ppm; 9.4 mg/m 3 ;as TWA (EU 2000).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ :ปริมาณของสารในอากาศจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วถึงขีดอันตรายหากรั่วจากภาชนะบรรจุผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองรุนแรง การระเหยของของเหลวอยางรวดเร็วเปนสาเหตุทําใหเกิดอาการน้ําแข็งกัดคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :16.6 ํCจุดหลอมเหลว :-81 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :0.7 (ของเหลว)การละลายในน้ํา : ละลายไดความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :121ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 1.55ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.66จุดวาบไฟ : -17 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 385 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 3.5-14สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : -0.27/-0.08 (จากการคํานวณ)สื่อไฟฟา 7.0*10exp5 pS/mขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุเอทธิลามีน ทางการคาจําหนายในรูปของสารละลายน้ํา 50-70%(UN number: 2270) ตั้งถังใหสวนที่รั่วอยูดานบนเพื่อปองกันการรั่วไหลของกาซเหลวขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล159


ARGON(liquefied,cooled)วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : พฤษภาคม 2003CAS # 7440-37-1 ArRTECS # CF2300000 Atomic mass: 39.95UN # 1951EC #การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟอันตรายเฉียบพลัน/อาการไมติดไฟ ความรอนจะทําใหความดันสูงขึ้นซึ่งเสี่ยงตอการเกิดระเบิดการระเบิดการไดรับสัมผัสการสูดดม วิงเวียน สมองตื้อ ปวดศีรษะหายใจไมออกทางผิวหนัง ผิวหนังที่โดนสารในรูปของเหลว: เกิดอาการน้ําแข็งกัดทางดวงตา ดวงตาที่โดนสารในรูปของเหลว :เกิดอาการน้ําแข็งกัดการกลืนกินอารกอน(แกสกลายเปนของเหลวโดยอาศัยความดันและความเย็น)การปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียง ใชสารดับไฟประเภทที่เหมาะสมทําการดูดระบายอากาศ ใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยสวมถุงมือปองกันความเย็นและเสื้อผาปองกันสวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกันICSC: 0154อาการน้ําแข็งกัด : ลางดวยน้ํามากๆหามถอดชุดทํางานออกนําสงแพทยลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทย160


ARGON(liquefied,cooled)อารกอน(แกสกลายเปนของเหลวโดยอาศัยความดันและความเย็น)ICSC: 0154การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากทําการดูดระบายอากาศ หามฉีดน้ําใสสารเหลวโดยตรง(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)EU ClassificationUN ClassificationUN Hazard Class: 2.2การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-20S1951 เก็บในหองที่ปองกันไฟได และมีการดูดระบายอากาศที่ดีIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล161


ARGON(liquefied,cooled)อารกอน(แกสกลายเปนของเหลวโดยอาศัยความดันและความเย็น)ICSC: 0154ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนกาซเหลวไมมีสี ไมมีกลิ่นอันตรายทางกายภาพ :กาซหนักกวาอากาศและอาจสะสมในที่ที่มีเพดานต่ํา ทําใหขาดออกซิเจนไดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: Simple asphyxiant, (ACGIH 2003).ไมไดระบุคา MAKวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ :การรั่วจากภาชนะบรรจุเปนสาเหตุของการหายใจไมออก เนื่องจากปริมาณออกซิเจนในอากาศลดต่ําลงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :หายใจไมออก สารในรูปของเหลวอาจทําใหเกิดโรคน้ําแข็งกัดคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :-185.9 ํCจุดหลอมเหลว :-189.2 ํCการละลายในน้ํา (ml/100 ml ที่ 20 ํ C) :3.4ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 1.66สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.94หมายเหตุถาความเขมขนของสารในอากาศสูงจะทําใหขาดออกซิเจนซึ่งเสี่ยงตอการหมดสติหรือเสียชีวิตได ตรวจสอบปริมาณออกซิเจนกอนเขาพื้นที่ UN number: 1006 Argon, compressedขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล162


ETHYLENE OXIDE เอทธิลีนออกไซด ICSC: 0155วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 20011,2-EpoxyethaneOxiraneDimethylene oxide(เก็บในภาชนะบรรจุถังทรงกระบอก)CAS # 75-21-8 C 2 H 4 ORTECS # KX2450000 Molecular mass: 44.1UN # 1040EC #603-023-00-Xการเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการ163การปองกันการติดไฟ ไวไฟสูงมาก หามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟและหามสูบบุหรี่การระเบิดการไดรับสัมผัสสวนผสมของไอ/อากาศสามารถระเบิดได เสี่ยงตอการติดไฟหรือการระเบิดจากการสลายตัวอยางรุนแรงเมื่อไดรับความรอนการสูดดม ไอ งวงซึม ปวดศีรษะคลื่นไส เจ็บคอ อาเจียนออนเพลียทางผิวหนัง ผิวหนังที่โดนของเหลว:เกิดอาการน้ําแข็งกัด ผิวแหงแดง ปวดทําเปนระบบปด มีการดูดระบายอากาศ ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการเกิดระเบิดได ใชเครื่องมือที่ไมเกิดประกายไฟปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีทําเปนระบบปด และดูดระบายอากาศสวมถุงมือปองกันหรือถุงมือปองกันความเย็นและเสื้อผาปองกันทางดวงตา แดง ปวด ตาพรา สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารการปฐมยาบาล/การดับไฟปดถัง ถาปดไมไดและไมกอใหเกิดความเสี่ยงตอบริเวณใกลเคียง ปลอยใหไฟคอยๆดับไปเอง ในกรณีอื่นใชสารดับเพลิงผงโฟมที่ทนตอแอลกอฮอลน้ําฉีด หรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหดับไฟจากที่กําบังที่ปลอดภัยใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพัก นําสงแพทยถอดชุดทํางานออก แตในกรณีเกิดอาการน้ําแข็งกัด หามถอดชุดทํางานออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ํา นําสงแพทยลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทย


ETHYLENE OXIDE เอทธิลีนออกไซด ICSC: 0155การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ดูดระบายอากาศหามฉีดน้ําลงบนของเหลวโดยตรง กําจัดกาซโดยสเปรยน้ําบางๆหามลางลงทอระบายน้ํา(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันกาชพิษ)EU ClassificationSymbol: F+, TR: 45-46-12-23-36/37/38S: 53-45Note: [E]UN ClassificationUN Hazard Class: 2.3UN Subsidiary Risks: 2.1การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-20S1040 or 20GTFNFPA Code: H2; F4; R3เก็บในที่ปองกันไฟได เก็บในที่เย็นIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล164


ETHYLENE OXIDE เอทธิลีนออกไซด ICSC: 0155ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนกาซอัดเหลว ไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางกายภาพ :กาซหนักกวาอากาศและสามารถไหลไปตามพื้นได จึงอาจติดไฟในระยะหางออกไปไดอันตรายทางเคมี :สารรวมตัวเปนโพลิเมอรเนื่องจากความรอนและภายใตอิทธิพลของกรด ดาง metal chloride และ metal oxides ทําใหเกิดการติดไฟและการระเบิด สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนโดยไมมีอากาศที่อุณหภูมิสูงกวา 560 ํC ทําใหเกิดการติดไฟและการระเบิดสารสามารถทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารประกอบหลายประเภทคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 1 ppm as TWA; A2 (suspected human carcinogen); (ACGIH 2004).MAK: skin absorption (H); Carcinogen category: 2; Germ cell mutagen group: 2; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังจากสารที่ละลายในน้ําความเสี่ยงจากการหายใจ :ปริมาณของสารในอากาศจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว หากรั่วจากภาชนะบรรจุผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :ไอสารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง สารที่ละลายในน้ําทําใหผิวหนังเปนแผลพุพอง การระเหยอยางรวดเร็วของของเหลวทําให เกิดอาการน้ ําแข็งกัดผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆหรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังไวตอสิ่งกระตุน การสูดดมสารซ้ําๆหรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเกิดอาการหอบหืด สารนี้มีผลตอการทํางานของระบบประสาท สารนี้อาจกอใหเกิดมะเร็ง และอาจกอใหเกิดอันตรายที่ถายทอดไดทางพันธุกรรมตอเซลลสืบพันธุของมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด :11 ํCจุดหลอมเหลว :-111 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :0.9การละลายในน้ํา :ละลายไดความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :146ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 1.5จุดวาบไฟ : กาซไวไฟอุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 429 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 3-100สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : -0.3สารนี้เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุตั้งถังใหสวนที่รั่วอยูดานบนเพื่อปองกันการรั่วไหลของกาซเหลว ผูที่มีอาการหอบหืดเนื่องจากสารนี้ ตอไปควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสสารนี้อาการหอบ มักจะไมปรากฏทันที จนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นจากการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพัก และใหแพทยตรวจและสังเกตอาการไมสามารถใชกลิ่นของสารเปนเครื่องเตือน เมื่อปริมาณสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล165


FOLPET โฟลเพท ICSC: 0156วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 1994N-(Trichloromethylthio)phthalimide2-{(Trichloromethyl)thio}-1H-isoindole-1,3(2H)-dioneCAS # 133-07-3 C 9 H 4 Cl 3 NO 2 SRTECS # TI5685000 Molecular mass: 296.6UN #EC # 613-045-00-1การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟอันตรายเฉียบพลัน/อาการติดไฟไดภายใตสภาวะจําเพาะตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียอยูอาจติดไฟไดเมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กการสูดดมดูดระบายอากาศ(ไมตองถาสารเปนผง)การปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟม หรือคารบอนไดออกไซดใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง ผิวแหง สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบู นําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก นําสงแพทย166


FOLPET โฟลเพท ICSC: 0156การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากหามลางลงทอระบายน้ํา หามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอม กวาดสารที่หกใสภาชนะที่ปดสนิท ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน เก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวัง นําไปทิ้งในที่ที่ปลอดภัย(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจใช P2 filterสําหรับ อนุภาคสารอันตราย)IPCSInternational Programmeon Chemical SafetyหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationSymbol: Xn, NR: 20-36-40-43-50S: (2-)-36/37-46-61UN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล167


FOLPET โฟลเพท ICSC: 0156ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกสีขาวอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนหรือเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษและกัดกรอนทําลายเนื้อเยื่อรวมทั้ง ซัลเฟอรออกไซด ไนโตรเจนออกไซด ไฮโดรเจนคลอไรด ดู ICSC 0163คาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLV not established.วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของอนุภาคสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายจากการถูกพนเปนละอองหรือเมื่อฟุงกระจาย โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อเปนสารผงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตาเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆหรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังอักเสบ โรคผิวหนังไวตอสิ่งกระตุน พบการกอใหเกิดเนื้องอกในสัตวทดลองแตอาจไมเกี่ยวพันกับมนุษย (ดูหมายเหตุ)คุณสมบัติทางกายภาพจุดหลอมเหลว :177 ํCการละลายในน้ํา :ไมละลายขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C :


GLASS WOOL กลาสวูล (ฉนวนใยแกว) ICSC: 0157วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 1997CAS #RTECS #UN #EC # 650-016-00-2การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ไมติดไฟ ในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียงใชสารดับไฟประเภทใดก็ไดการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารการสูดดม เจ็บคอ เสียงแหบ ไอหายใจลําบากใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง คัน สวมถุงมือปองกัน ลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา แดง ปวด คัน สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก169


GLASS WOOL กลาสวูล (ฉนวนใยแกว) ICSC: 0157การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากกวาดสารที่หกใสภาชนะ ถาเปนไปไดทําให สารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน เก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวัง นําไปทิ้งในที่ที่ปลอดภัย (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจใช P2filter สําหรับ อนุภาคสารอันตราย)EU ClassificationSymbol: XnR: 38-40S: (2-)36/37Note: A, Q, RUN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล170


GLASS WOOL กลาสวูล (ฉนวนใยแกว) ICSC: 0157ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนเสนใยแข็ง ไมมีกลิ่นคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 1 f/cc A3 (as TWA) (ACGIH 1997).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของอนุภาคสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆ หรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเปนโรคผิวหนังอักเสบ พบการเกิดเนื้องอกในสัตวทดลอง แตอาจไมเกี่ยวพันกับมนุษย (ดูหมายเหตุ)คุณสมบัติทางกายภาพความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 2.5-2.6 การละลายในน้ํา : ไมละลายขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุฉนวนใยแกวเปนซิลิเกตรูปทรงอสัณฐาน(amorphous)ไดจากการผลิตแกว ควรบรรจุสารยึดเกาะและน้ํามันเพื่อลดการเกิดฝุนหามนําชุดทํางานกลับบาน ชื่อทางการคา JM (John Manville) 100, JM102, JM104, และ JM110ขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล171


GLUTARALDEHYDE กลูทารอัลดีไฮด ICSC: 0158วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 20001,5-PentanedialGlutaric dialdehydeGlutaralCAS # 111-30-8 C 5 H 8 O 2 / OHC(CH 2 ) 3 CHORTECS # MA2450000 Molecular mass: 100.1UN # 2810EC Index # 605-022-00-Xการเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ไมติดไฟ เมื่อเกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียง:ใชสารดับเพลิงประเภทที่เหมาะสมการระเบิดการไดรับสัมผัสปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดการสูดดม ไอ หายใจลําบาก ปวดศีรษะคลื่นไส หายใจมีเสียงหวีดทําการดูดระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน ปวดทอง คลื่นไส อาเจียนทองเสียหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ดื่มน้ํามากๆ นําสงแพทย172


GLUTARALDEHYDE กลูทารอัลดีไฮด ICSC: 0158การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่รั่วหรือหกออกมาในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ลางสวนที่เหลือดวยน้ํามากๆ(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว) หามปลอยสารออกสูสิ่งแวดลอมหามขนสงพรอมอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationSymbol: T, NR: 23/25-34-42/43-50S: (1/2-)-26-36/37/39-45-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT1-IIIIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล173


GLUTARALDEHYDE กลูทารอัลดีไฮด ICSC: 0158ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวใสหนืดไมมีสี มีกลิ่นฉุนคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.05 ppm (Ceiling value); A4 (not classifiable as a human carcinogen); SEN; (ACGIH 2004).MAK: 0.05 ppm, 0.21 mg/m 3 ; Peak limitation category: I(2); sensitization of respiratory tract and skin (Sah); Carcinogen category: 4;Pregnancy risk group: C; (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สารสามารถดูดซึมเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสารเขาไป โดยทางผิวหนัง และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนพิษอยางชาๆผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนังและทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ:การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆ หรือเปนเวลานานๆอาจทําใหเกิดโรคผิวหนังอักเสบ โรคผิวหนังไวตอการกระตุน การสูดดมซ้ําๆ หรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเกิดโรคหอบหืด (ดูหมายเหตุ)คุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด (สลายตัว) :187-189 ํCจุดหลอมเหลว :-14 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :0.7การละลายในน้ํา :ละลายไดขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :2.3ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 3.5สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : -0.22สารนี้เปนพิษอยางมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุปริมาณของสารที่ไดรับจากการทํางานในเวลาใดๆ ไมควรเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน อาการหอบหืดมักจะไมปรากฏในทันทีจนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง พัก และใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ผูที่มีอาการของโรคหอบหืดเนื่องจากสารนี้ไมควรไดรับสัมผัสกับสารนี้อีก ศึกษาเพิ่มเติมใน ICSC0352 Glutaraldehyde (50% solution)ขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล174


GLYCIDOL ไกลซิดอล ICSC: 0159วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 20052,3-Epoxy-1-propanolOxirane methanol3-Hydroxypropylene oxideCAS # 556-52-5 C 3 H 6 O 2RTECS # UB4375000 Molecular mass: 74.1UN # 2810EC Index # 603-063-00-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟหามสัมผัสกับวัสดุที่เขากันไมได(ดูอันตรายทางเคมี)การระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกวา 72 ํCอาจเกิดสวนผสมของไอ/อากาศที่ระเบิดไดที่อุณหภูมิสูงกวา 72 ํCทําเปนระบบปดทําการดูดระบายอากาศการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในสตรีมีครรภการสูดดม ไอ เจ็บคอ วิงเวียน งวงซึม ทําการดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง โฟมที่ทนตอแอลกอฮอล ฉีดน้ําเปนฝอยคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึม แดง สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆ หรืออาบน้ําทางดวงตา ตาแดง ปวด สวมหนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน ปวดทอง ทองเสีย คลื่นไสอาเจียนหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก หามทําใหอาเจียนดื่มน้ํามากๆ นําสงแพทย175


GLYCIDOL ไกลซิดอล ICSC: 0159การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในแกวหรือภาชนะเหล็กเหนียว(mild steel)ที่ปดสนิทใหมากที่สุดใชทรายหรือสิ่งดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationSymbol: TR: 45-60-21/22-23-36/37/38-68S: 53-45UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT1-III. เก็บสารเฉพาะที่อยูในสภาวะคงตัวเทานั้น เก็บแยกจากดางแกกรดแก อาหารและอาหารสัตว เก็บในที่เย็น แหง ปดอยางมิดชิดมีการดูดระบายอากาศตามแนวบริเวณพื้นIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล176


GLYCIDOL ไกลซิดอล ICSC: 0159ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลว หนืดเล็กนอยไมมีสีอันตรายทางเคมี :สารนี้อาจเกิดเปนโพลิเมอร สารสลายตัวไดเมื่อสัมผัสกับกรดแกและดาง เกลือโลหะ หรือโลหะ ทําใหเกิดอันตรายจากการติดไฟและการระเบิด ทําลายพลาสติกและยางคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 2 ppm as TWA; A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to humans); (ACGIH 2005).MAK: skin absorption (H); Carcinogen category: 2; (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สารสามารถดูดซึมเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสารเขาไป โดยทางผิวหนัง และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง การหายใจสารนี้เขาไปจะทําใหมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง การไดรับสัมผัสเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานจะทําใหความรูสึกตัวลดลงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารนี้อาจกอใหเกิดโรคมะเร็งในมนุษย การทดลองในสัตวแสดงวาสารนี้อาจเกิดความเปนพิษตอระบบสืบพันธุหรือการพัฒนาการของทารกคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด (สลายตัว) :166 ํCจุดหลอมเหลว :-45 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.1การละลายในน้ํา : ละลายไดความดันไอ Pa ที่ 25 ํ C :120ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 2.15ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.0จุดวาบไฟ : 72 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่สารติดไฟไดเอง : 415 ํCสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : -0.95ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ๆ ยังไมมีการศึกษาผลกระทบของสารนี้ตอสิ่งแวดลอมอยางเพียงพอCAS numbers ของสารนี้ที่อยูในรูป active forms : d-Glycidol CAS 57044-25-4 , l-Glycidol CAS 60456-23-7 ,dl-Glycidol CAS 61915-27-3ขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล177


GLYPHOSATE ไกลโฟเซท ICSC: 0160วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2005N-(Phosphonomethyl)glycineCAS # 1071-83-6 C 3 H 8 NO 5 P / HOOCCH 2 NHCH 2 PO(OH) 2RTECS # MC1075000 Molecular mass: 169.1UN #EC # 607-315-00-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด ผงละเอียดของสารที่ฟุงกระจายสามารถระเบิดไดในอากาศการปองกันหามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟ และหามสูบบุหรี่ปองกันไมใหเกิดประจุไฟฟาสถิต(เชน การตอสายดิน)ปองกันฝุนผงฟุงกระจายทําเปนระบบปด ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการเกิดระเบิดของฝุนสารไดการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผงโฟมที่ทนตอแอลกอฮอล น้ําฉีดคารบอนไดออกไซดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารการสูดดม ไอ หลีกเลี่ยงการสูดดมฝุนละเอียด ใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักหรือไอหมอกของสารทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกินปวดแสบปวดรอนในลําคอและชองอกหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก อยาทําใหอาเจียนนําสงแพทย178


GLYPHOSATE ไกลโฟเซท ICSC: 0160การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจ ใช P2 filterสําหรับอนุภาคสารอันตราย เก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะพลาสติก ถาเปนไปไดทําใหชื้นเพื่อไมใหเกิดฝุน เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยหามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอมIPCSInternational Programmeon Chemical SafetyหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationSymbol: Xi, NR: 41-51/53S: (2-)-26-39-61UN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากอาหารและอาหารเลี้ยงสัตว ปดอยางมิดชิดหามเก็บในถังเก็บที่เปนเหล็กชุบ(galvanized steel)หรือเหล็ก unlined steelเก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําเขาถึงการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล179


GLYPHOSATE ไกลโฟเซท ICSC: 0160ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนผลึกไมมีสีอันตรายทางกายภาพ : สารที่ฟุงกระจายสามารถระเบิดได ถาเปนผงหรือเม็ดผสมกับอากาศ ถาแหงสารนี้ทําใหเกิดไฟฟาสถิตไดโดยการทําใหหมุนวน การขนสงโดยการอัดอากาศ การเท ฯลฯอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวไดเมื่อไดรับความรอน เมื่อสลายตัวจะปลอยควันพิษ รวมทั้งไนโตรเจนออกไซด ฟอสฟอรัสออกไซดสารละลายของสารนี้กัดกรอนเหล็กและเหล็กชุบ(galvanized steel)คาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVความเสี่ยงจากการหายใจ :ปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายจากการถูกพนเปนละอองหรือเมื่อฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําใหดวงตาเกิดการระคายเคืองรุนแรง และสารนี้จะทําใหผิวหนังเกิดการระคายเคืองเล็กนอยคุณสมบัติทางกายภาพจุดหลอมเหลว (สลายตัว) : ต่ํากวา 234 ํCความหนาแนน : 1.7 g/cm 3การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 25 ํ C) :1.2ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : นอยมากสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : -1.0สารนี้เปนพิษอยางมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา สารนี้สามารถเขาสูสิ่งแวดลอมไดภายใตการใชที่ปกติ ควรใชอยางระมัดระวัง แตอยางไรก็ตามควรหลีกเลี่ยงการปลดปลอยเพิ่ม เชน การกําจัดทิ้งอยางไมเหมาะสมหมายเหตุสารนี้ในรูปเกลือของโซเดียม โปแตสเซียมและเอมีนละลายน้ําไดงายชื่อทางการคา Roundup (monoisopropyl ammonium salt) และ Polado (sesquisodium salt)ตัวทําละลายชวย(carrier solvents) ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและอาการพิษไดขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล180


HEXACHLOROPHENE เฮกซะคลอโรฟน ICSC :0161วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 19942,2'-Methylenebis(3,4,6-trichlorophenol)HCPCAS# : 70-30-4 C 13 H 6 Cl 6 O 2 / C 6 H(OH)Cl 3 CH 2 Cl 3 (OH)C 6 HRTECS# : SM0700000 Molecular mass : 406.9UN# : 2875EC# : 604-015-00-9การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟจะเกิดควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีดเปนฝอยโฟม และคารบอนไดออกไซดการระเบิดการไดรับสัมผัส -- ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะเด็ก วัยรุน และสตรีมีครรภการสูดดม ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือ ใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนังอาจดูดซึมได(ดูหัวขอการกลืนกิน)ใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีนําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารออกและลางผิวหนังดวยน้ําและสบูหลังจากนั้นนําสงแพทยทางดวงตา ทําใหตาสูแสงไมได สวมหนากากปองกัน ลางตาดวยน้ํามากๆ นานหลายนาที(ถอดคอนแทคเลนสออกถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน มีไข สั่น ไมมีปฏิกิริยาตอแสงปวดทอง ชัก ทองเสีย งวงซึมคลื่นไส อาเจียน ออนแรง ช็อกหรือลมฟุบหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ขณะทํางานทําใหอาเจียนออกมา(เฉพาะคนที่มีสติ)พักผอน นําสงแพทย181


HEXACHLOROPHENE เฮกซะคลอโรฟน ICSC :0161การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บกวาดสารใสภาชนะบรรจุที่ปดสนิท ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันการฟุงกระจาย คอยๆเก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปไวในที่ปลอดภัย หามทิ้งสารนี้สูสิ่งแวดลอมการปองกันสวนบุคคล : ใชเครื่องกรองชวยหายใจ P3 สําหรับสารพิษหามขนสงพรอมอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationSymbol: T, NR: 24/25-50/53S: (1/2-)-20-37-45-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT2-III ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล182


HEXACHLOROPHENE เฮกซะคลอโรฟน ICSC :0161ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ผงรูปผลึกสีขาว ไมมีกลิ่นอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนหรือเผาไหม ทําใหเกิดควันที่ระคายเคืองและเปนพิษ รวมทั้งไฮโดรเจนคลอไรดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVวิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ การสัมผัสผิวหนัง และการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของอนุภาคสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายจากการถูกพนเปนละอองหรือเมื่อฟุงกระจาย โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อสารเปนผงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารอาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง สงผลใหเกิดอาการชัก หรือ การหายใจลมเหลวไดผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆหรือเปนเวลานานๆ จะทําใหผิวหนังอักเสบและผิวหนังไวตอการกระตุนได หากสูดดมซ้ําๆ หรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหเปนหอบหืดได สารนี้สงผลตอระบบประสาทอาจทําใหเปนแผลที่เนื้อเยื่อ และอาจทําใหตาบอดได จากการศึกษาในสัตวทดลองพบวาอาจทําใหทารกมนุษยเกิดมาผิดปกติไดคุณสมบัติทางกายภาพจุดหลอมเหลว : 164-165 ํCการละลายในน้ํา : ไมละลายขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 7.54(จากการคํานวณ)สารนี้เปนพิษอยางมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา การสะสมในสิ่งมีชีวิตของสารนี้เกิดไดตลอดหวงโซอาหาร เชน ในน้ํานม ในสัตวน้ําซึ่งสารนี้อาจมีผลระยะยาวตอสิ่งแวดลอมทางน้ําไดหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ๆ ตัวทําละลายชวย (carrier solvents) ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษไดของสารนี้ ชื่อทางการคา ไดแก Acigena,Almederm, AT7, AT17, Bilevon, Exofene, Fostril, Gamophen, G-11, Germa-Medica, Hexosan, Septisol, Surofeneขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล183


HEXAMETHYLPHOSPHORIC TRIAMIDE เฮกซะเมทธิลฟอสฟอริก ไตรเอไมด ICSC :0162วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 1994HexamethylphosphoramideHexamethylphosphamideHMPACAS # 680-31-9 C 6 H 18 N 3 OP / {(CH 3 ) 2 N} 3 P(O)RTECS # TD0875000 Molecular mass: 179.2UN #EC # 015-106-00-2การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได เมื่อติดไฟจะเกิดควัน(หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีดโฟมที่ทนตอแอลกอฮอลคารบอนไดออกไซดการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดมทําการดูดระบายอากาศ นําสงแพทยใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนัง อาจดูดซึมได สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดชุดที่ปนเปอนสารออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบู นําสงแพทยทางดวงตาสวมแวนนิรภัย หรือหนากากปองกันลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารและสูบบุหรี่ระหวางทํางานบวนปาก นําสงแพทย184


HEXAMETHYLPHOSPHORIC TRIAMIDE เฮกซะเมธิลฟอสฟอริก ไตรเอไมด ICSC :0162การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บกวาดสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อยโรย(inert absorbent)ที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล :เครื่องชวยหายใจEU ClassificationSymbol: TR: 45-46S: 53-45UN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาทําการระบายอากาศตามแนวพื้นIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล185


HEXAMETHYLPHOSPHORIC TRIAMIDE เฮกซะเมธิลฟอสฟอริก ไตรเอไมด ICSC :0162ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : เปนของเหลวไมมีสีอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนหรือเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษ รวมทั้งฟอสฟอรัสออกไซด ไนโตรเจนออกไซดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: A3 (เปนสารกอมะเร็งในสัตว แตยังไมพบความเกี่ยวของในมนุษย); (ACGIH 2004).MAK: skin absorption (H); Carcinogen category: 2; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สารสามารถเขาสูรางกายไดทางการหายใจและการดูดซึมทางผิวหนังความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ถึงอัตราการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศเปนอันตรายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้อาจมีผลทําใหปอด ไต และระบบประสาทสวนกลางเสียหาย และถูกกดการทํางานผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารมีผลตอทางเดินหายใจ ไต และ ไขกระดูกสารนี้อาจเปนสารกอมะเร็งในมนุษยและอาจกอใหเกิดความเสียหายดานพันธุกรรมของมนุษยไดคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 232 ํCจุดหลอมเหลว :5-7 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.03การละลายในน้ํา : ละลายไดดีมากความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : 4ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 6.18ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1.00จุดวาบไฟ : 105 ํCขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะๆ; ชื่อการคา คือ Hexametapolขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล186


HYDROGEN CHLORIDE ไฮโดรเจนคลอไรด ICSC :0163วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2000Anhydrous hydrogen chlorideHydrochloric acid, anhydrous(บรรจุถัง)CAS# : 7647-01-0 HClRTECS# : MW4025000 Molecular mass : 36.5UN# : 1050EC# : 017-002-00-2การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ไมติดไฟ เมื่อเกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียง:ใชสารดับเพลิงที่เหมาะสมการระเบิดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดม ทําลายเนื้อเยื่อ ปวดแสบปวดรอนไอ หายใจลําบาก หายใจถี่ๆ เจ็บคออาการอาจปรากฏภายหลัง(ดูหมายเหตุ)ทําการดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน ถาจําเปนใหชวยการหายใจ นําสงแพทยทางผิวหนัง ผิวหนังที่สัมผัสของเหลวเกิดอาการน้ําแข็งกัด: ผิวหนังไหมอยางรุนแรงและทําใหปวดทางดวงตา ทําลายเนื้อเยื่อ ปวด ตาพราเปนแผลไหมลึกรุนแรงการกลืนกินสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆ หรืออาบน้ํานําสงแพทยสวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทย187


HYDROGEN CHLORIDE ไฮโดรเจนคลอไรด ICSC :0163การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ทําการดูดระบายอากาศ กําจัดกาซดวยน้ําฉีดเปนฝอย (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)EU ClassificationSymbol: T,CR: 23-35S: (1/2)-9-26-36/37/39-45UN ClassificationUN Hazard Class: 2.3UN Subsidiary Risks: 8การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC(R)-20S1050NFPA Code: H 3 ; F 0; R 1;เก็บแยกจากสารรีดิวซและสารที่ติดไฟได สารออกซิไดซอยางแรง ดางแก โลหะ เก็บในหองที่มีการดูดระบายอากาศดีเก็บในที่แหงและเย็นIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล188


HYDROGEN CHLORIDE ไฮโดรเจนคลอไรด ICSC :0163ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : เปนกาซอัดเหลว ไมมีสี มีกลิ่นฉุนอันตรายทางกายภาพ : กาซหนักกวาอากาศอันตรายทางเคมี : สารละลายในน้ําเปนกรดแกซึ่งทําปฏิกริยาอยางรุนแรงกับดาง และทําลายเนื้อเยื่อ ทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารออกซิไดซทําใหเกิดกาซพิษ (คลอรีน-ดู ICSC0126) ทําลายโลหะหลายชนิดเมื่อมีน้ําอยูดวยทําใหเกิดกาซที่ติดไฟหรือระเบิดได(ไฮโดรเจน-ดู ICSC 0001)คาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 2 ppm; (Ceiling value); A4 (ไมถูกจัดวาเปนสารกอมะเร็งในมนุษย); (ACGIH 2004).MAK: 2 ppm, 3.0 mg/m 3 ; Peak limitation category: I(2); Pregnancy risk group: C; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ :ปริมาณของกาซนี้ในอากาศจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วถึงขีดอันตรายหากรั่วจากภาชนะบรรจุผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : การระเหยของของเหลวอยางรวดเร็ว เปนสาเหตุทําใหเกิดอาการน้ําแข็งกัด สารนี้จะทําลายเนื้อเยื่อที่ตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ การหายใจเอากาซที่มีความเขมขนสูงอาจทําใหใหเกิดอาการปอดอักเสบและปอดบวมน้ํา ทําใหเกิดภาวะ reactive airways dysfunction syndrome (RADS) (ดูหมายเหตุ) อาการอาจปรากฎภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารนี้อาจมีผลตอปอด ทําใหเกิดโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง สารอาจมีผลตอฟนทําใหฟนผุคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : -85 ํCจุดหลอมเหลว : -114 ํCความหนาแนน : 1.00045 g/l (กาซ)ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมการละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 30 ํ C) : 67ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 1.3สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.25หมายเหตุปริมาณของสารที่ไดรับจากการทํางานในเวลาใดๆ ไมควรเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน อาการปอดบวมน้ํา มักจะไมปรากฏในทันทีจนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นจากการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพัก และใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ควรทําการพนยาที่เหมาะสมโดยทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมาย หามพนน้ําบนถังบรรจุที่รั่ว (เพื่อปองกันการกัดกรอนของตัวถัง) ตั้งถังใหสวนที่รั่วอยูดานบนเพื่อปองกันการรั่วไหลของกาซเหลวOther UN number : 2186 (refridgerated liquid) hazard class: 203; subsidiary hazard: 8; 1789(hydrochloric acid) hazard class: 8,packgroup II or III. Aqueous solutions may contain up to 38% hydrogen chlorideขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล189


HYDROGEN PEROXIDE(>60% SOLUTION IN WATER)วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2000HydroperoxideHydrogen dioxideDihydrogen dioxideCAS # 7722-84-1 H 2 O 2RTECS # ดูหมายเหตุ Molecular mass: 34.0UN # 2015EC Index # 008-003-00-9การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟ แตอาจทําใหสารอื่นที่ติดไฟงายติดไฟได ปฏิกิริยาหลายๆชนิดอาจทําใหเกิดไฟไหมหรือการระเบิดการระเบิด เสี่ยงเกิดไฟไหมและระเบิดจากการถูกความรอนหรือโลหะคะทาลิสทการไดรับสัมผัสการสูดดมเจ็บคอ ไอ เวียนศีรษะ ปวดศีรษะคลื่นไส หายใจถี่ๆ (ดูหมายเหตุ)ทางผิวหนัง ทําลายเนื้อเยื่อเกิดจุดดางขาวที่ผิวหนังแดง ผิวหนังไหม ปวดทางดวงตา ทําลายเนื้อเยื่อ แดง ปวด ตาพราเปนแผลไหมลึกรุนแรงการกลืนกิน เจ็บคอ ปวดทอง ทองปอง คลื่นไสอาเจียนไฮโดรเจน เปอรออกไซด(สารละลายในน้ําความเขมขนมากกวา 60%)การปองกันหามสัมผัสกับสิ่งที่ติดไฟงายสารรีดิวซหามสัมผัสพื้นผิวที่รอนการปฐมยาบาล/การดับไฟกรณีเกิดเพลิงไหมบริเวณใกลเคียง: ใชน้ํามากๆ น้ําฉีดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําเปนฝอย(ดูหมายเหตุ)ปองกันการเกิดไอหมอกของสาร ใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีหลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีทําการดูดระบายอากาศ ใหรับอากาศบริสุทธิ์ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอนหรือใชเครื่องปองกันการหายใจ นําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ลางดวยน้ํามากๆถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกแลวลางอีกครั้ง นําสงแพทยสวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกันหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานICSC :0164ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก หามทําใหอาเจียนดื่มน้ํามากๆ นําสงแพทย190


HYDROGEN PEROXIDE(>60% SOLUTION IN WATER)ไฮโดรเจน เปอรออกไซด(สารละลายในน้ําความเขมขนมากกวา 60%)ICSC :0164การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากทําการดูดระบายอากาศ ลางของเหลวที่หกดวยน้ํามากๆหามดูดซับสารดวยขี้เลื่อยหรือตัวดูดซับที่ติดไฟไดหามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอม(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)ใชวัสดุพิเศษEU ClassificationSymbol: O, CR: 5-8-20/22-35S: (1/2-)-17-26-28-36/37/39-45Note: [B]UN ClassificationUN Hazard Class: 5.1UN Subsidiary Risks: 8UN Pack Group : Iการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-51S2015NFPA Code: H 2; F 0; R 3; OXIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากสารที่ติดไฟได และสารรีดิวซ อาหารและอาหารสัตวดางแก โลหะ เก็บในที่เย็นและมืด เก็บในภาชนะที่มีชองระบายอากาศ เก็บสารเฉพาะในรูปที่อยูในสภาวะคงตัวการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล191


HYDROGEN PEROXIDE(>60% SOLUTION IN WATER)ไฮโดรเจน เปอรออกไซด(สารละลายในน้ําความเขมขนมากกวา 60%)ICSC :0164ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ :เปนของเหลวไมมีสีอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่อทําใหอุน หรือภายใตอิทธิพลของแสงทําใหเกิดออกซิเจนซึ่งเพิ่มอันตรายจากการเกิดไฟไหม เปนสารออกซิไดซอยางแรงและทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารรีดิวซและสารที่ติดไฟได ทําใหเกิดไฟและการระเบิด โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีโลหะอยูดวย ทําลายสารอินทรียหลายชนิด เชนเสื้อผาและกระดาษคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 1 ppm as TWA; A3 (เปนสารกอมะเร็งในสัตวแตยังไมทราบแนชัดในมนุษย); (ACGIH 2004).MAK: 0.5 ppm, 7.1 mg/m 3 ; Peak limitation category: I(1); Carcinogen category: 4; Pregnancy risk group: C; (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจไอของสารและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ºC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนอันตรายอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น :สารนี้จะทําลายเนื้อเยื่อของดวงตาและผิวหนัง ไอของสารนี้ทําใหทางเดินหายใจระคายเคืองการกลืนกินสารนี้จะทําใหเกิดฟองอากาศขึ้นในเสนเลือด (embolism)ทําใหช็อกไดผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารนี้อาจมีผลกระทบตอปอดเมื่อสูดดมสารที่ความเขมขนสูงอีกทั้งอาจมีผลทําใหสีของเสนผมเปลี่ยนไปเปนสีขาวคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 141ºC (90%), 125ºC (70%)จุดหลอมเหลว : -11 ºC (90%), -39 ºC (70%)ความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.4 (90%), 1.3 (70%)การละลายในน้ํา : ละลายไดความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C : 0.2 (90%), 0.1 (70%)ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 1ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1.0สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : -1.36ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้เปนพิษตอสัตวน้ําหมายเหตุลางเสื้อผาที่เปอนสาร(ติดไฟได) ดวยน้ํามาก ๆ , RTECS MX900000 หมายถึง สารละลายที่มีความเขมขน >90%;MX0887000 หมายถึง สารละลายที่มีความเขมขน >30% UN number อื่นๆ: 2014 (hydrogen peroxide, aqueous solution 20-60%): hazardclass 5.1, subsidiary hazard 8, pack group II; 2984 (hydrogen peroxide, aqueous solution 8-20%): hazard class 5.1, pack group III.ขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล192


HYDROGEN SULFIDE ไฮโดรเจนซัลไฟด ICSC :0165วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2002Sulfur hydride(บรรจุถัง)CAS # 7783-06-4 H 2 SRTECS # MX1225000 Molecular mass: 34.1UN # 1053EC # 016-001-00-4การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไวไฟสูงมาก หามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟและหามสูบบุหรี่การระเบิดสวนผสมของกาซ/อากาศสามารถระเบิดไดทําเปนระบบปด ดูดระบายอากาศ ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการระเบิดได ปองกันไมใหเกิดไฟฟาสถิต เชน ตอสายดิน ในกรณีที่สารเปนของเหลว หามใชอากาศอัดในการเติม ปลอยทิ้ง หรือการขนยายการปฐมยาบาล/การดับไฟปดถัง ในกรณีที่ไมสามารถทําไดและการติดไฟไมกอใหเกิดความเสี่ยงตอบริเวณใกลเคียงปลอยใหไฟดับไปเอง สวนในกรณีอื่นดับไฟดวยสารดับเพลิงผง น้ําฉีด คารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดม ปวดศีรษะ มึนงง ไอ เจ็บคอคลื่นไส หายใจลําบากหมดสติ อาการอาจเกิดขึ้นภายหลัง (ดูหมายเหตุ)ดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทานั่งกึ่งนอน ใชเครื่องชวยหายใจกรณีจําเปน หามชวยหายใจโดยวิธีเปาปาก นําสงแพทยทางผิวหนัง ผิวหนังที่โดนของเหลว :เกิดอาการน้ําแข็งกัดสวมถุงมือปองกันความเย็น ลางดวยน้ํามากๆ ถาเกิดอาการน้ําแข็งกัด หามถอดเสื้อผาที่เปอนสาร นําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด ไหมอยางรุนแรง สวมแวนนิรภัย หรือ เครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆ หลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทย193


HYDROGEN SULFIDE ไฮโดรเจนซัลไฟด ICSC :0165การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนออกจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ เคลื่อนยายแหลงติดไฟไดทั้งหมด ทําการดูดระบายอากาศ กําจัดแกสดวยการฉีดน้ําเปนละอองฝอย การปองกันสวนบุคคล : สวมเครื่องปองกันกาซของสารเคมีที่มีเครื่องชวยหายใจEU ClassificationSymbol: F+, T+, NR: 12-26-50S: (1/2-)-9-16-36-38-45-61UN ClassificationUN Hazard Class: 2.3UN Subsidiary Risks: 2.1การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-20G2TF or 20S1053NFPA Code: H4; F4; R0;เก็บในที่ปองกันไฟได เก็บแยกจากสารออกซิแดนทอยางแรงเก็บในที่เย็นและมีอากาศถายเท ติดตั้งระบบเตือนภัยIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล194


HYDROGEN SULFIDE ไฮโดรเจนซัลไฟด ICSC :0165ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : เปนกาซอัดเหลวไมมีสี มีกลิ่นคลายไขเนาอันตรายทางกายภาพ : กาซหนักกวาอากาศและสามารถไหลไปตามพื้นได จึงอาจติดไฟในระยะหางออกไปได การไหล เขยาหรืออื่นๆอาจกอใหเกิดประจุไฟฟาสถิตไดอันตรายทางเคมี : ความรอนอาจทําใหเกิดการลุกไหมและระเบิดอยางรุนแรงได สารจะสลายตัวเมื่อเผาไหมทําใหเกิดกาซพิษ(ซัลเฟอร ออกไซด) สารทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารออกซิไดซที่แรง ซึ่งจะทําใหเกิดการติดไฟหรือระเบิดได สารทําลายโลหะหลายชนิดและพลาสติกคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 10 ppm as TWA; 15 ppm as STEL; (ACGIH 2004).MAK: 10 ppm, 14 mg/m 3 ; Peak limitation category: II(2); Pregnancy risk group: IIc; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สารสามารถเขาสูรางกายไดทางการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ : อากาศจะปนเปอนกาซจนอยูในระดับอันตรายอยางรวดเร็วเมื่อมีการรั่วไหลออกจากถังเก็บผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้ทําใหดวงตาและทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง สารอาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง ทําใหหมดสติหรืออาจทําใหเสียชีวิตได การสูดดมอาจทําใหปอดบวมน้ํา(ดูหมายเหตุ) อาการอาจปรากฏภายหลังควรอยูภายใตการดูแลของแพทย และการระเหยอยางรวดเร็วของของเหลวอาจทําใหเกิดอาการน้ําแข็งกัดไดคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : -60 ํCจุดหลอมเหลว : -85 ํCการละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) : 0.5ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 1.19ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจุดวาบไฟ : กาซที่ติดไฟไดอุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง: 260 ํ Cคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 4.3-46สารชนิดนี้เปนอันตรายอยางมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุอาการปอดบวมมักน้ําจะไมแสดงออกมาใหเห็นทันทีจนกระทั่ง 2-3 ชั่วโมงผานไป อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ใหพักและสังเกตอาการ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจง ในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว สารจะยับยั้งความรูสึกดานการดมกลิ่น ไมสามารถใชกลิ่นของสารเปนเครื่องเตือนเมื่อปริมาณสารเกินคาที่จํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล195


HYDROQUINONE ไฮโดรควิโนน ICSC :0166วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 20011,4-DihydroxybenzeneHydroquinolQuinolCAS # 123-31-9 C 6 H 6 O 2 / C 6 H 4 (OH) 2RTECS # MX3500000 Molecular mass: 110.1UN # 2662EC # 604-005-00-4การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือ คารบอนไดออกไซดการระเบิด ผงละเอียดที่ฟุงกระจายในอากาศเกิดเปนสวนผสมที่ระเบิดไดปองกันการสะสมของฝุนผงของสารทําเปนระบบปด ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการระเบิดจากฝุนผงของสารไดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีการสูดดม ไอ หายใจลําบาก ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือ สวมชุดปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา ตาแดง ปวด ตาพรา สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกินเวียนศีรษะ ปวดศีรษะคลื่นไส หายใจถี่ๆ ชักอาเจียน แววในหูหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก ทําใหอาเจียนออกมา(ถาผูปวยมีสติ)นําสงแพทย196


HYDROQUINONE ไฮโดรควิโนน ICSC :0166การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บกวาดสารที่หกใสภาชนะปดสนิท เก็บกวาดสารที่เหลืออยางระมัดระวัง แลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย (ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: : เครื่องชวยหายใจ ใช P2 filter สําหรับอนุภาคสารอันตราย)หามปลอยสารนี้สูสิ่งแวดลอมหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationSymbol: Xn, NR: 22-40-41-43-50-68S: (2-)-26-36/37/39-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT2-IIINFPA Code: H2; F1; R0;IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากดางแก อาหารและอาหารสัตวการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล197


HYDROQUINONE ไฮโดรควิโนน ICSC :0166ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : เปนผลึกไมมีสีอันตรายทางกายภาพ : ถาสารอยูในรูปผง หรือแกรนูล เมื่อผสมกับอากาศแลวเกิดการระเบิดไดอันตรายทางเคมี : ทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับโซเดียม ไฮดรอกไซดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 2 mg/m 3 as TWA; A3 (เปนสารกอมะเร็งในสัตวแตยังไมทราบแนชัดเกี่ยวกับผลในมนุษย); (ACGIH 2004).MAK: skin absorption (H); Carcinogen category: 2; Germ cell mutagen group: 3A; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเขาไป เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมเกิดการระเหยของสาร หรือการระเหยของสารเปนไปไดอยางชามากที่จะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนอันตรายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําใหดวงตาเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง สารนี้จะทําใหผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆ หรือเปนเวลานานๆอาจทําใหเปนโรคผิวหนังอักเสบ โรคผิวหนังไวตอการกระตุน สารนี้อาจมีผลตอตาและผิวหนัง มีผลทําใหเปนโรคเยื่อบุนัยนตาและกระจกตาซีด ผิวหนังซีดสารนี้อาจกอมะเร็งในมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 287 ํCจุดหลอมเหลว : 172 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.3การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 15 ํ C) : 5.9ความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : 0.12ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 3.8ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1จุดวาบไฟ : 165 ํCอุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง : 515 ํCสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 5.9ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้อาจเปนอันตรายตอสภาวะแวดลอม ควรใหความดูแลสนใจเปนพิเศษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะๆ ไมมีกลิ่นเตือนเมื่อสารมีความเขมขนถึงขั้นเปนพิษ ชื่อการคาคือ Black & White Bleaching Cream , Diak 5, Eldopaque,Eldoquin, Tecquinol, Tenox HQขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล198


IODINE ไอโอดีน ICSC :0167วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2004JodIodeIodioYodoCAS # 7553-56-2 I 2RTECS # NN1575000 Molecular mass: 253.8UN #EC Index # 053-001-00-3การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟ แตเสริมใหสารอื่นติดไฟได การทําปฏิกิริยาหลายแบบสามารถทําใหติดไฟหรือการระเบิดได เมื่อติดไฟใหควันหรือกาซที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัสการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามสัมผัสกับสารที่ติดไฟได หากมีไฟไหมบริเวณโดยรอบใหดับไฟดวยสารดับเพลิงที่เหมาะสมปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดการสูดดม ไอ หายใจลําบาก หายใจมีเสียงวี้ดอาการอาจเกิดภายหลังได(ดูหมายเหตุ)ดูดระบายอากาศ(ไมตองหากสารเปนผง) ระบบระบายอากาศเฉพาะที่ หรือใชเครื่องใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทานั่งกึ่งนอน ใชเครื่องชวยหายใจหากจําเปนนําสงแพทยปองกันการหายใจทางผิวหนัง แดง ปวด ใสชุดและถุงมือปองกัน ลางดวยน้ําปริมาณมากถอดเสื้อผาที่เปอนสารออกแลวลางดวยน้ําอีกครั้งทางดวงตา น้ําตาไหล ตาแดงและปวด สวมเครื่องปองกันใบหนาหรือเครื่องปองกันนัยนตาที่มีเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน คลื่นไส อาเจียน ปวดทองทองเสียหามรับประทานอาหารครื่องดื่มหรือสูบบุหรี่ขณะทํางานเปดน้ําใหไหลผานดวงตาสักพัก(ถอดคอนแทคเลนสออก ถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ดื่มน้ํามากๆนําสงแพทย199


IODINE ไอโอดีน ICSC :0167การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บกวาดสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสภาชนะที่ปดสนิทถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย หามดูดซับดวยขี้เลื่อยหรือสารดูดซับที่ติดไฟได หามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอมการปองกันสวนบุคคล : สวมเครื่องชวยหายใจที่มีตัวกรองสําหรับแกสอนินทรีย สารระเหย และแกสเฉื่อยIPCSInternational Programmeon Chemical SafetyEU ClassificationSymbol: Xn, NR: 20/21-50S: (2-)-23-25-61UN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บแยกจากวัสดุที่เขากันไมได เก็บในภาชนะที่ปดสนิท(ดูเพิ่มเติมอันตรายทางเคมี) และมีการระบายอากาศตามแนวพื้นการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล200


IODINE ไอโอดีน ICSC :0167ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ผลึกสีดําอมน้ําเงินหรือมวงเขม มีกลิ่นฉุนอันตรายทางกายภาพ : สารสามารถระเหิดไดตลอดเวลาอันตรายทางเคมี : เมื่อไดรับความรอนจะเกิดเปนไอสารพิษ สารนี้เปนตัวออกซิไดซที่แรงและสามารถเกิดปฏิกิริยากับสารรีดิวซและสารที่ติดไฟได สารทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับผงโลหะ พลวง แอมโมเนีย อะซีทาลดีไฮด และอะเซทิลีน ทําใหเกิดการติดไฟและระเบิดไดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.1 ppm; (Ceiling value); (ACGIH 2004).MAK: IIb (ยังไมมีการกําหนดคามาตรฐาน แตมีขอมูลอยูแลว); (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสาร ดูดซึมเขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : ทําใหน้ําตาไหล สารนี้ทําใหตาและทางเดินหายใจระคายเคืองอยางรุนแรง ผิวหนังระคายเคืองการสูดไอระเหยของสารทําใหเกิดอาการคลายหอบหืด(RADS) ปอดบวมน้ํา (ดูหมายเหตุ) อาการอาจปรากฏภายหลังควรอยูในการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: อาจทําใหผิวหนังไวตอสิ่งสัมผัส (พบนอย) อาจเกิดอาการคลายหอบหืด (RADS)และสารอาจมีผลตอตอมธัยรอยดคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 184 ํCจุดหลอมเหลว : 114 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 4.9การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) : 0.03ความดันไอ kPa ที่ 25 ํ C :0.04ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 8.8ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 2.49ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจกับปลาเปนพิเศษหมายเหตุปริมาณของสารที่ไดรับจากการทํางานในเวลาใดๆ ไมควรเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน ลางเสื้อผาที่เปอนสารเคมี(ติดไฟได) ดวยน้ําปริมาณมาก อาการปอดบวมน้ํามักไมปรากฏทันที จนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพักและสังเกตอาการ ควรทําการรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสมโดยทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมาย อาการคลายหอบหืดมักไมปรากฏทันที จนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นจากการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพักและสังเกตอาการขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล201


IRON PENTACARBONYL ไอออน เพนตะคารบอนิล ICSC :0168วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : มีนาคม 1995Iron carbonylCAS # 13463-40-6 C 5 FeO 5 / Fe(CO) 5RTECS # NO4900000 Molecular mass: 195.9UN # 1994EC/EINECS # 236-670-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไวไฟมาก หามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟและหามสูบบุหรี่การระเบิด สวนผสมของไอ/อากาศ ทําเปนระบบปด มีระบบดูดระบายสามารถระเบิดได อากาศ อุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการระเบิดไดหามใชอากาศอัดในการเติม การปลอยทิ้ง หรือการขนยายการไดรับสัมผัสปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดการสูดดมปวดศีรษะ มึนงง อาเจียนหายใจลําบาก อาการอาจเกิดขึ้นภายหลัง (ดูหมายเหตุ)มีการดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําเปนฝอยใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์ นําสงแพทยทางผิวหนัง อาจดูดซึมทางผิวหนังได สวมชุดและถุงมือปองกัน ลางดวยน้ําปริมาณมากถอดชุดออกแลวลางดวยน้ําอีกครั้งนําสงแพทยทางดวงตาสวมหนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามรับประทานอาหาร เครื่องดื่มหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆ(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได )จากนั้นนําสงแพทยทําใหอาเจียน(ถาผูปวยที่มีสติ)นําสงแพทย202


IRON PENTACARBONYL ไอออน เพนตะคารบอนิล ICSC :0168การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ เก็บกวาดสารที่เปนของเหลวที่หกในภาชนะที่ปดสนิท ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยหามทิ้งสารลงในทอระบายน้ํา หามใชขี้เลื่อยหรือสารดูดซับอื่นๆที่ติดไฟได การปองกันสวนบุคคล : ใชเครื่องชวยหายใจบรรจุในภาชนะผนึกปองกันอากาศ เก็บในบรรจุภัณฑที่ทนตอการแตก หากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกได ใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ทนตอการแตกและปดสนิทหามขนสงพรอมอาหารหรืออาหารสัตวUN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Subsidiary Risks: 3UN Pack Group: Iการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GTF1-INFPA Code: H2; F3; R1IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บในที่ปองกันไฟได เก็บแยกจากสารออกซิแดนทที่แรงอาหารและอาหารสัตว เก็บในที่เย็นและมืด ปดสนิทภายใตแกสเฉื่อยการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล203


IRON PENTACARBONYL ไอออน เพนตะคารบอนิล ICSC :0168ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวขนไมมีสีถึงมีสีเหลือง หรือสีแดงเขมอันตรายทางกายภาพ : ไอของสารหนักกวาอากาศและและสามารถไหลไปตามพื้นได จึงอาจติดไฟในระยะหางออกไปไดอันตรายทางเคมี : อาจระเบิดไดเมื่อไดรับความรอน อาจติดไฟไดเองเมื่อสัมผัสกับอากาศ สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนหรือเผาไหมหรืออิทธิพลของแสงทําใหเกิดควันที่เปนพิษ รวมทั้ง ไอออนออกไซด และคารบอนมอนอกไซด (ดู ICSC0023) สารเปนตัวรีดิวซที่แรงและทําปฏิกิริยารุนแรงกับสารออกซิแดนทคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.1 ppm as TWA, 0.2 ppm as STEL; (ACGIH 2004).MAK: 0.1 ppm, 0.81 mg/m 3 ; Peak limitation category: II(2); Pregnancy risk group: D; (DFG 2006).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจไอระเหยของสาร ดูดซึมผานทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํ C สารจะระเหยปนเปอนอากาศอยางรวดเร็วจนอยูในระดับที่อันตรายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : อาจมีผลตอปอด หากสัมผัสสารเกินกวาคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสจากการทํางาน อาจทําใหเสียชีวิตได อาการอาจปรากฏภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทย (ดูหมายเหตุ)ผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารอาจมีผลตอตับและอาจทําใหตับสูญเสียการทํางานคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 103 ํCจุดหลอมเหลว : -20 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.5การละลายในน้ํา : ไมละลายน้ําความดันไอ kPa ที่ 25 ํ C : 4.7ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 6.8ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C : (อากาศ=1) : 1.2จุดวาบไฟ: -15 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง : 50 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรในอากาศ : 3.7-12.5ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุผลตอสิ่งแวดลอมของสารยังไมไดรับการตรวจสอบ อาการหายใจถี่ ไอ ผิวหนัง-เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน ไขจะไมเกิดขึ้นจนกระทั่งเวลาผานไป 12-36 ชั่วโมง ไมมีกลิ่นเตือนเมื่อสารมีความเขมขนถึงขั้นเปนพิษ หามนําชุดทํางานกลับบาน ลางเสื้อผาที่เปอนสาร(ติดไฟได) ดวยน้ําปริมาณมากขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล204


ISOPHORONE ไอโซโฟโรน ICSC :0169วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 20001,1,3-Trimethyl-3-cyclohexene-5-one3,5,5-Trimethylcyclohex-2-enoneIsoacetophoroneCAS # 78-59-1 C 9 H 14 ORTECS # GW7700000 Molecular mass: 138.2UN #EC # 606-012-00-8การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมคารบอนไดออกไซดการระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกวา84 ํC อาจเกิดสวนผสมของไอ/อากาศที่ระเบิดไดที่อุณหภูมิสูงกวา84 ํCทําเปนระบบปดทําการดูดระบายอากาศการไดรับสัมผัสปองกันการเกิดไอหมอกของสารการสูดดมปวดแสบปวดรอน เจ็บคอไอ เวียนศีรษะ ปวดศีรษะคลื่นไส หายใจถี่ๆทําการดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยทางผิวหนัง สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา ตาแดง ปวด ตาพรา สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน ปวดทอง (ดูเพิ่มเติมการสูดดม) หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานบวนปากดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ําหามทําใหอาเจียน205


ISOPHORONE ไอโซโฟโรน ICSC :0169การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บรวบรวม สารที่เปนของเหลวที่หกออกมาในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย(เครื่องปองกันสวนบุคคล:ใชหนากากชนิดกรองกาซและไออินทรียของสารเคมี)EU ClassificationSymbol: XnR: 21/22-36/37-40S: (2-)-13-23-36/37/39-46UN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาNFPA Code: H 2; F 2; R 0;เก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง เบสแก เอมีนIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล206


ISOPHORONE ไอโซโฟโรน ICSC :0169ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : เปนของเหลวไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี :ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรง เบสแก และ เอมีนคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 5 ppm; (Ceiling value); A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to humans); (ACGIH 2004).MAK: 2 ppm, 11 mg/m 3 ; Peak limitation category: I(2); Carcinogen category: 3B; Pregnancy risk group: C; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนอันตรายอยางชาๆผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารและไอของสารนี้จะทําใหตา และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง การไดรับสัมผัสสารจะทําใหมีผลตอระบบประสาทสวนกลางคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 215 ํCจุดหลอมเหลว : -8 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 0.92การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 25 ํ C) : 1.2ความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : 40ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 4.8จุดวาบไฟ : 84 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง : 460 ํcคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 0.8-3.8สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 1.67หมายเหตุปริมาณของสารที่ไดรับจากการทํางานในเวลาใดๆ ไมควรเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล207


CUMENE คูมีน ICSC :0170วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2000(1-Methylethyl)benzene2-PhenylpropaneIsopropylbenzeneCAS # 98-82-8 C 9 H 12 / C 6 H 5 CH(CH 3 ) 2RTECS # GR8575000 Molecular mass: 120.2UN # 1918EC #601-024-00-Xการเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไวไฟ หามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟและหามสูบบุหรี่การระเบิด ที่อุณหภูมิมากกวา 31 C ที่อุณหภูมิมากกวา 31 Cอาจเกิดสวนผสมของ ทําเปนระบบปด มีการดูดระบายไอ/อากาศที่ระเบิดได อากาศ ใชอุปกรณไฟฟาที่สามารถปองกันการระเบิดได ปองกันการเกิดประจุไฟฟาสถิต(เชน ตอสายดิน)การไดรับสัมผัสปองกันการเกิดไอหมอกของสารการสูดดมมึนงง เดินเซ งวงซึมปวดศีรษะ หมดสติดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงชนิดผง AFFF โฟมคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําเปนฝอยพักในที่อากาศบริสุทธิ์นําสงแพทยทางผิวหนัง ผิวแหง สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนออก จากนั้นลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา ตาแดงและปวด สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ําปริมาณมากเปนเวลาหลายนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน (ดูการสูดดม) หามรับประทานอาหาร เครื่องดื่มหรือสูบบุหรี่ขณะทํางานบวนปาก หามทําใหอาเจียนนําสงแพทย208


CUMENE คูมีน ICSC :0170การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ดูดซับสวนที่เหลือดวยทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent) แลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยหามปลอยสารเขาสูสิ่งแวดลอมการปองกันสวนบุคคล: ใชเครื่องชวยหายใจชนิดกรองกาซและไออินทรียของสารเคมีเปนมลภาวะทางทะเล.EU ClassificationSymbol: Xn, NR: 10-37-51/53-65S: (2-)-24-37-61-62Note: [C]UN ClassificationUN Hazard Class: 3UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-30S1918 or 30GF1-IIINFPA Code: H2; F3; R1เก็บในที่ที่ปองกันไฟไดเก็บแยกจากสารออกซิแดนทอยางแรงกรด เก็บในที่เย็นและมืดเก็บสารเฉพาะในรูปที่อยูในสภาวะคงตัวIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล209


CUMENE คูมีน ICSC :0170ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางกายภาพ : การไหล เขยา และอื่นๆของสารทําใหเกิดประจุไฟฟาสถิตขึ้นไดอันตรายทางเคมี : สารทําปฏิกิริยารุนแรงกับกรดและสารออกซิแดนทอยางแรงกอใหเกิดไฟไหมและระเบิดไดสารสามารถกลายเปน เปอรออกไซดที่ระเบิดไดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 50 ppm as TWA; (ACGIH 2004).MAK: 50 ppm, 250 mg/m 3 ; Peak limitation category: II(4); skin absorption (H); Pregnancy risk group: C; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ และเขาทางผิวหนังความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํ C การระเหยของสารที่ทําใหอากาศปนเปอนอยูในระดับอันตรายนั้นจะเกิดขึ้นอยางชาๆผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้ทําใหระคายเคืองตอดวงตาและผิวหนัง การกลืนกินสารนี้อาจทําใหสําลักแลวเกิดปอดอักเสบจากสารเคมี สารมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง การสัมผัสกับสารเกินกวาคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานที่กําหนดไวอาจทําใหหมดสติไดผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆหรือเปนเวลานานๆ อาจทําใหผิวหนังอักเสบคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 152 ํ Cจุดหลอมเหลว : -96 ํ Cความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 0.90การละลายในน้ํา : ไมละลายน้ําความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : 427ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 4.2สารเปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1.01จุดวาบไฟ : 31 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง : 420 ํ Cคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ : 0.9 – 6.5สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 3.66ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุตรวจหาเปอรออกไซดกอนทําการกลั่น ทําใหหมดไปถาตรวจพบขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล210


ISOPROPYL GLYCIDYL ETHER ไอโซโพรพิล ไกลซิดิล อีเธอร ICSC :0171วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : พฤศจิกายน 19981,2-Epoxy-3-isopropoxypropaneIGE(Isopropoxymethyl)oxiraneCAS # 4016-14-2 C 6 H 12 O 2RTECS # TZ3500000 Molecular mass: 116.2UN # 1993EC #การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไวไฟ หามอยูใกลเปลวไฟ หรือประกายไฟและหามสูบบุหรี่การระเบิด ที่อุณหภูมิมากกวา 33 ํC ที่อุณหภูมิมากกวา 33 ํCอาจเกิดสวนผสมที่ระเบิดได ทําเปนระบบปด มีระบบดูดระบายระหวางไอของสารเคมีและ อากาศ ใชอุปกรณไฟฟาที่สามารถอากาศปองกันการระเบิดไดการไดรับสัมผัสปองกันการเกิดไอหมอกของสารการสูดดมปวดแสบปวดรอน ไอ มึนงงปวดศีรษะ หายใจลําบากหายใจถี่ เจ็บคออาการอาจเกิดขึ้นภายหลังได(ดูหมายเหตุ)ทําการดูดระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับไฟชนิดผง AFFF โฟมคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําเปนฝอยพักในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ในทานั่งกึ่งนอนนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง ปวด สวมถุงมือปองกัน ถอดชุดที่เปอนสารเคมีออกจากนั้นลางผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ําปริมาณมากหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปากแลวดื่มน้ําตามมากๆ211


ISOPROPYL GLYCIDYL ETHER ไอโซโพรพิล ไกลซิดิล อีเธอร ICSC :0171การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บรวบรวมของเหลวที่รั่วและหกออกมาในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุดเทาที่จะทําได เก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยการปองกันสวนบุคคล : ใชหนากากชนิดกรองกาซและไออินทรียของสารเคมีEU ClassificationUN ClassificationUN Hazard Class: 3UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-30GF1-III เก็บในที่ปองกันไฟไดเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง กรด เก็บในที่แหงเย็นและมืด ปดอยางมิดชิดIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล212


ISOPROPYL GLYCIDYL ETHER ไอโซโพรพิล ไกลซิดิล อีเธอร ICSC :0171ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวไมมีสีอันตรายทางเคมี : คาดวาจะเกิดเปอรออกไซดที่ระเบิดไดเมื่อสัมผัสอากาศหรือแสงสวาง ทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารออกซิแดนทอยางแรง เอมีนและกรดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 50 ppm as TWA, 75 ppm as STEL; (ACGIH 2004).MAK: Carcinogen category: 3B; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําใหตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง การสูดดมไอของสารอาจทําใหเกิดปอดบวมน้ําได(ดูหมายเหตุ) สารอาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง การสัมผัสสารมากกวาคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจทําใหหมดสติไดคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 137 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 0.92การละลายในน้ํา (g/100 ml) : 19ความดันไอ kPa ที่ 25 ํ C :1.25ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 4.15ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1.04จุดวาบไฟ : 33 ํC c.c.(closed cup)คาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: ดูหมายเหตุสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.5ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุคาจํากัดการระเบิดยังไมพบขอมูลที่ไดรับการตีพิมพ แมวาสารจะสามารถติดไฟไดและมีจุดวาบไฟ < 61 ํ C อาการปอดบวมน้ํามักจะไมปรากฏทันที จนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพักและใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ควรทําการรักษาระบบหายใจที่เหมาะสมโดยทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมายตรวจสอบเปอรออกไซดกอนทําการกลั่น ทําใหหมดไปถาตรวจพบขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล213


MALATHION มาลาไธออน ICSC :0172วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2005Diethyl(dimethoxythiophosphorylthio)succinateS-1,2-bis(Ethoxycarbonyl)ethyl O,O-dimethylphosphorodithioateButanedioic acid,{(dimethoxyphosphinothioyl)thio}-, diethyl esterCAS # 121-75-5 C 10 H 19 O 6 PS 2RTECS # WM8400000 Molecular mass: 330.4UN # 3082EC Index # 015-041-00-Xการเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได ตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายเปนสารอินทรียอาจติดไฟได เมื่อติดไฟจะเกิดควัน(หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัสการสูดดมมึนงง มานตาหด เปนตะคริวน้ําลายไหลมาก เหงื่อออก หายใจลําบาก หมดสติ อาการอาจเกิดขึ้นในภายหลังได (ดูหมายเหตุ)การปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงชนิดผง โฟมคารบอนไดออกไซดปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กทําระบบดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์พักในทานั่งกึ่งนอนนําสงแพทยทางผิวหนัง สวมถุงมือและชุดปองกัน ถอดชุดที่ปนเปอนสารเคมีออกจากนั้นลางผิวหนังดวยสบูและน้ํา นําสงแพทยทางดวงตาการกลืนกิน ปวดทอง ทองเสีย คลื่นไสอาเจียน (ดูการสูดดม)สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ขณะทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ําสะอาดปริมาณมากหลายนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก พักดื่มน้ําที่ละลายผงถานกัมมันตนําสงแพทย214


MALATHION มาลาไธออน ICSC :0172การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากการปองกันสวนบุคคล : ใชหนากากชนิดกรองกาซและไออินทรียของสารเคมี หามปลอยสารออกสูสิ่งแวดลอม เก็บรวบรวมของเหลวที่รั่วและหกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดดูอันตรายทางเคมี ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)ดูดซับของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้ง ในที่ปลอดภัยหามขนสงพรอมอาหาร หรืออาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: Xn, NR: 22-50/53S: (2-)-24-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 9UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-90GM6-III. เก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําเขาถึงเก็บแยกจากอาหาร อาหารสัตว และสารออกซิแดนทอยางแรงเก็บในที่มีการระบายอากาศที่ดีIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล215


MALATHION มาลาไธออน ICSC :0172ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวสีเหลืองถึงน้ําตาล มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี : สารนี้จะสลายตัวเมื่อไดรับความรอนหรือเผาไหม ทําใหเกิดเปนควันพิษ รวมทั้ง ฟอสฟอรัสออกไซด และซัลเฟอรออกไซด สารทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารออกซิแดนทอยางแรง สารมีผลทําลายเหล็กหรือโลหะอื่นบางชนิด รวมถึงพลาสติกหรือยางบางชนิด หากสารไดรับความรอนอาจเกิดเปนไอโซมาลาไธออน(isomalathion)ซึ่งมีความเปนพิษมากกวาคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 1 mg/m 3 as TWA; (skin); A4 (not classifiable as a human carcinogen); BEI issued; (ACGIH 2005).MAK: (Inhalable fraction) 15 mg/m 3 ; Peak limitation category: II(4); Pregnancy risk group: D; (DFG 2005)วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารที่ทําใหอากาศปนเปอนอยูในระดับอันตรายนั้นจะเกิดขึ้นอยางชาๆ อยางไรก็ตามปริมาณของอนุภาคสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายจากการถูกพนเปนละอองหรือเมื่อฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารอาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง สงผลใหเกิดการชักและกดการหายใจอาการอาจปรากฏภายหลัง ควรอยูใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การสัมผัสสารทางผิวหนังซ้ําๆ หรือในระยะยาว อาจทําใหผิวหนังไวตอการกระตุน อาจเกิดการสะสมและเกิดอาการจากผลของการยับยั้งเอนไซม โคลีนเอสเทอเรสคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด ที่ 0.093 kPa: 156-157 ํCจุดหลอมเหลว : 3 ํ Cความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) :1.2การละลายในน้ํา : 145 mg/lความดันไอ Pa ที่ 30 ํ C : นอยมากความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 11.4ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1.00จุดวาบไฟ : 163 ํC c.c.(closed cup)สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 2.89ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้เปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําอยางมาก สารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจตอผึ้งเปนพิเศษ สารนี้สามารถเขาสูสิ่งแวดลอมไดภายใตการใชตามปกติ ดังนั้นควรใชอยางระมัดระวัง แตอยางไรก็ตามควรหลีกเลี่ยงการปลดปลอยเพิ่มเติม เชนการกําจัดทิ้งอยางไมเหมาะสมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ๆ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว การใชสารนี้รวมกับตัวทําละลายตางๆ จะทําใหคุณสมบัติทางกายภาพหรือความเปนพิษแตกตางกันไป ดังนั้นการใชควรศึกษา <strong>ICSCs</strong> ของตัวทําละลายนั้นกอน ตัวทําละลายชวย(carrier solvents)ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษไดของสารนี้ขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล216


MANEB มาเนบ ICSC :0173วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : พฤศจิกายน 2003Manganese, ethylenebis(dithiocarbamato)((1,2-Ethanediylbis(carbamodithioato))(2-))manganeseManganese ethylene-1,2-dithiocarbamateCAS # 12427-38-2 C 4 H 6 N 2 S 4 .MnRTECS # OP0700000 Molecular mass: 265.3UN # 2210EC # 006-077-00-7การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได ตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายเปนสารอินทรียอาจติดไฟได เมื่อติดไฟจะเกิดควัน(หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ หามสัมผัสน้ํา ใชสารดับเพลิงชนิดผงแหงคารบอนไดออกไซดหามใชน้ําหรือสารดับเพลิงที่มีน้ําเปนองคประกอบการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีการสูดดม ไอ เจ็บคอ ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่ ใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักหรือเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือและชุดปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยสบูและน้ําทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามรับประทานอาหาร เครื่องดื่มหรือ สูบบุหรี่ขณะทํางานใหลางดวยน้ําปริมาณมากๆ(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก นําสงแพทย217


MANEB มาเนบ ICSC :0173การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากหามลางสารลงทอระบายน้ํา เก็บรวบรวมสารที่รั่วไหลในภาชนะบรรจุปดสนิทและเก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งไวในที่ปลอดภัย อยาปลอยสารออกสูสภาพแวดลอม(การปองกันสวนบุคคลเปนพิเศษ : ใชเครื่องชวยหายใจชนิด P2 filterสําหรับอนุภาคที่เปนอันตราย)หามขนสงพรอมอาหารหรืออาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: XiR: 37-43S: (2-)-8-24/25-46UN ClassificationUN Hazard Class: 4.2UN Subsidiary Risks: 4.3UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-42S2210 เก็บแยกจากกรด อาหารและอาหารสัตว เก็บในที่แหงและปดสนิท ในหองที่มีการระบายอากาศที่ดีเก็บสารเฉพาะที่อยูในสภาวะคงตัวเทานั้นIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล218


MANEB มาเนบ ICSC :0173ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ผงหรือผลึกสีเหลืองอันตรายทางเคมี : สารจะสลายตัวเมื่อสัมผัสกับกรดและความชื้นเกิดเปนกาซพิษไวไฟ รวมทั้ง ไฮโดรเจนซัลไฟดและคารบอนไดซัลไฟดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV ยังไมมีการกําหนดMAK: Sh; (DFG 2003).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาละอองของสารและการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของอนุภาคสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายจากการฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และ ทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: หากไดรับสารทางผิวหนังซ้ําๆหรือเปนระยะเวลานาน อาจทําใหเปนโรคผิวหนังไวตอสิ่งกระตุน สารอาจมีผลตอไตและระบบประสาทสวนกลาง ทําใหการทํางานของไตเสียไป เสนประสาทอักเสบจนเปนผลตอระบบประสาทและจิตประสาท (manganism)คุณสมบัติทางกายภาพสารสลายตัวต่ํากวาจุดหลอมเหลว ที่ 192-204 ํCการละลายในน้ํา : นอยมากความหนาแนน : 1.92 g/cm 3ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารเปนพิษมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา สารนี้สามารถเขาสูสิ่งแวดลอมภายใตการใชที่ปกติ ควรใชอยางระมัดระวัง อยางไรก็ตามควรหลีกเลี่ยงการปลดปลอยเพิ่มเติม เชน การกําจัดทิ้งที่ไมเหมาะสมหมายเหตุUN number 2968: Haz class 4.3; Pack Group III; มาเนบจะถูกทําใหคงตัวทนตอการเกิดความรอนไดดวยตัวสารเองตัวทําละลายชวย(carrier solvents) ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษไดของสารนี้ชื่อการคาของมาเนบ ไดแก Chloroble M, Dithane M 22, Kypman 80, Manebgan, Manesan, Manzate, Polyram M, Rhodianebe,Sopranebe และ Trimangolขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล219


MANGANESE แมงกานีส ICSC :0174วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : พฤศจิกายน 2003CAS # 7439-96-5 MnRTECS # OO9275000 Atomic mass: 54.9UN #EC/EINECS # 231-105-1การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผงชนิดพิเศษผงทรายแหงการระเบิด อนุภาคละเอียดที่ฟุงกระจายในอากาศจะเกิดเปนสวนผสมที่สามารถระเบิดไดปองกันการสะสมของฝุนทําเปนระบบปด ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการระเบิดจากฝุนของสารไดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะสตรีมีครรภการสูดดม ไอ ระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือเครื่องปองกันการหายใจรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง สวมถุงมือปองกัน เปดน้ําผานผิวหนังมากๆ จากนั้นลางดวยสบูและน้ําทางดวงตาสวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจ ถาสารเปนผงการกลืนกิน ปวดทอง คลื่นไส หามรับประทานอาหาร เครื่องดื่มหรือสูบบุหรี่ขณะทํางานใหลางดวยน้ําปริมาณมากๆ(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก นําสงแพทย220


MANGANESE แมงกานีส ICSC :0174การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บรวบรวมสารที่รั่วไหลในภาชนะและเก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวังไวแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย(การปองกันสวนบุคคลเปนพิเศษ : ใชเครื่องชวยหายใจชนิด P2 filterสําหรับอนุภาคที่เปนอันตราย)IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บในที่แหง และเก็บแยกจากกรดการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล221


MANGANESE แมงกานีส ICSC :0174ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ผงสีเทาถึงขาวอันตรายทางกายภาพ : การระเบิดอาจเกิดขึ้นไดเมื่อสารอยูในรูปผงหรือแกรนูลเมื่อผสมกับอากาศอันตรายทางเคมี : ทําปฏิกิริยาชาๆกับน้ํา แตจะเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้นมากเมื่อสัมผัสไอน้ําและกรด เกิดเปนกาซที่ติดไฟและระเบิดได(ดู hydrogen ICSC 0001)คาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.2 mg/m 3 (as TWA) ; (ACGIH 2003).MAK: (Inhalable fraction) 0.5 mg/m 3 ; Pregnancy risk group: C; (DFG 2007).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาละอองของสารและการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการรระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของอนุภาคสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายจากการฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : ละอองของสารจะทําใหทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารอาจสงผลกระทบตอปอดและระบบประสาทสวนกลาง เปนผลใหเกิดหลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ เสนประสาทอักเสบจนเปนผลตอระบบประสาทและจิตประสาท (manganism) การทดลองในสัตวพบวาอาจมีพิษตอการสืบพันธุของมนุษยหรือพัฒนาการของทารกคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 1962 ํ Cจุดหลอมเหลว : 1244 ํ Cขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนน : 7.47 g/cm 3การละลายในน้ํา : ไมละลายน้ําสารอาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจตอสิ่งมีชีวิตในน้ําเปนพิเศษหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะๆขอแนะนํานี้สามารถใชกับสารเฟอรโรแมงกานีส (ferro manganese) ดวยขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล222


MANGANESE DIOXIDE แมงกานีส ไดออกไซด ICSC :0175วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2006Manganese(IV)oxideManganese peroxideCAS # 1313-13-9 MnO 2RTECS # OP0350000 Molecular mass: 86.9UN #EC Annex 1 Index # 025-001-00-3EC/EINECS # 215-202-6การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟแตชวยใหสารอื่นติดไฟไดงายขึ้นการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามสัมผัสกับสารที่ติดไฟได ในกรณีที่เกิดไฟไหมในบริเวณโดยรอบ ใหใชสารดับเพลิงที่เหมาะสมการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะสตรีมีครรภการสูดดม ไอ ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง สวมถุงมือปองกัน ลางผิวหนังดวยน้ําจากนั้นทําความสะอาดดวยสบูและน้ําเปลาทางดวงตาสวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจถาสารเปนผงการกลืนกิน ปวดทอง คลื่นไส หามรับประทานอาหาร เครื่องดื่มหรือสูบบุหรี่ขณะทํางานใหลางดวยน้ําปริมาณมากๆ(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก นําสงแพทย223


MANGANESE DIOXIDE แมงกานีส ไดออกไซด ICSC :0175การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากการปองกันสวนบุคคล : ใชเครื่องชวยหายใจชนิด P2 filter สําหรับอนุภาคที่เปนอันตราย เก็บรวบรวมสารที่หกออกมาใสภาชนะถาเปนไปได ทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน หามซับสารดวยผงขี้เลื่อยหรือสารดูดซับอื่นที่ติดไฟได หามปลอยสารออกสูสิ่งแวดลอมIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บแยกจากสารที่ติดไฟไดและสารรีดิวซการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล224


MANGANESE DIOXIDE แมงกานีส ไดออกไซด ICSC :0175ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ผงสีดําถึงน้ําตาลอันตรายทางเคมี : สารจะสลายตัวเมื่อไดรับความรอนที่อุณหภูมิสูงกวา 553 ํ C เกิดเปน manganese(III)oxide และ oxygen ซึ่งชวยใหติดไฟไดมากขึ้น สารนี้เปนสารออกซิไดซที่แรงและเกิดปฏิกิริยารุนแรงกับสารที่ติดไฟไดและสารรีดิวซ แลวกอใหเกิดไฟไหมและการระเบิดได อีกทั้งยังเกิดปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับอะลูมิเนียมเมื่อไดรับความรอนคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: (as Mn) 0.2 mg/m 3 as TWA; (ACGIH 2006).MAK: as Mn (Inhalable fraction) 0.5 mg/m 3 ; Pregnancy risk group: C; (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาละอองสารและการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยเกิดขึ้นนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณอนุภาคของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายหากมีการฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : ละอองของสารจะทําใหทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารอาจสงผลกระทบตอปอดและระบบประสาทสวนกลาง เปนผลใหเกิดหลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ เสนประสาทอักเสบจนเปนผลตอระบบประสาทและจิตประสาท (manganism) การทดลองในสัตวพบวาอาจมีพิษตอระบบสืบพันธุของมนุษยหรือพัฒนาการของทารกคุณสมบัติทางกายภาพจุดสลายตัว : 535 ํCการละลายในน้ํา : ไมละลายน้ําความหนาแนน : 5 g/cm 3ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารอาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจตอสิ่งมีชีวิตในน้ําเปนพิเศษหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ๆขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล225


METHAMIDOPHOS เมทธามิโดฟอส ICSC :0176วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 1994O,S-Dimethyl phosphoramidothioatePhosphoramidothioic acid, O,S-dimethyl esterCAS # 10265-92-6 C 2 H 8 NO 2 PSRTECS # TB4970000 Molecular mass: 141.1UN # 2783EC Annex 1 Index # 015-095-00-4EC/EINECS # 233-606-0การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟอันตรายเฉียบพลัน/อาการติดไฟไดภายใตสภาวะจําเพาะตํารับในรูปที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียอาจติดไฟได เมื่อติดไฟจะใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงชนิดผงโฟมที่ทนตอแอลกอฮอลน้ําฉีดพน คารบอนไดออกไซดการระเบิด มีความเสี่ยงตอการติดไฟและระเบิดถาในสูตรตํารับมีตัวทําละลายเปนสารไวไฟหรือระเบิดไดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะวัยรุนและเด็กการสูดดม มึนงง เหงื่อออก หายใจลําบากหมดสติ ออนแรง รูมานตาหด กลามเนื้อเปนตะคริวน้ําลายไหลมาก(ดูหัวขอ การกลืนกิน)ทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึมได(ดูเพิ่มเติมในหัวขอการสูดดม)ทําการดูดระบายอากาศ(ไมตองหากสารเปนผง)ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือเครื่องปองกันการหายใจทางดวงตา แดง ปวด และตาพรา สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจถาสารเปนผงการกลืนกิน ปวดเกร็งทอง ชัก ทองเสีย คลื่นไส อาเจียนกลามเนื้อกระตุก(ดูเพิ่มเติมในหัวขอการสูดดม)รับอากาศบริสุทธิ์ พักในทานั่งกึ่งนอน นําสงแพทย(ดูหมายเหตุ)สวมถุงมือและชุดปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําหรืออาบน้ํานําสงแพทยหามรับประทานอาหาร เครื่องดื่มหรือสูบบุหรี่ขณะทํางานและลางมือกอนรับประทานอาหารใหลางดวยน้ําปริมาณมากๆ(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปากดื่มน้ําที่ละลายผงถานกัมมันตพัก นําสงแพทย226


METHAMIDOPHOS เมทธามิโดฟอส ICSC :0176การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากหามลางสารลงทอระบายน้ํา เก็บรวบรวมสารที่หกออกมาใสภาชนะที่ปดสนิท ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุนและเก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)เก็บในบรรจุภัณฑที่ไมแตก หากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกไดใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ไมแตกและปดสนิทหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T+, NR: 24-26/28-50S: (1/2-)28-36/37-45-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61G41bIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวเก็บในที่แหงและหองที่ระบายอากาศไดดีการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล227


METHAMIDOPHOS เมทธามิโดฟอส ICSC :0176ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ผลึกไมมีสีอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนหรือเผาไหม กอใหเกิดกาซที่เปนพิษและระคายเคือง รวมทั้งไนโตรเจนออกไซดซัลเฟอรออกไซด และฟอสฟอรัสออกไซด สารทําลายเหล็กกึ่งเหนียว และโลหะผสมทองแดง (technical grade)คาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV ยังไมมีการกําหนดMAK ยังไมมีการกําหนดวิถีทางของการไดรับสัมผัส : สารนี้สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยเกิดขึ้นนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณอนุภาคของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายจากการฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้ทําใหตาเกิดการระคายเคือง สารอาจสงผลกระทบตอระบบประสาทสวนกลาง ทําใหเกิดการชัก การหายใจลมเหลว ยับยั้งโคลีนเอสเทอเรส การสัมผัสอาจทําใหเสียชีวิตได อาการอาจปรากฏภายหลังควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ : สารสงผลกระทบตอระบบประสาท เปนผลใหเกิดการรับรูของปลายประสาทชาลง เกิดการยับยั้งเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส อาจเกิดการสะสมขึ้นได ดูหัวขอ อันตรายเฉียบพลัน/อาการคุณสมบัติทางกายภาพจุดหลอมเหลว : 44 ํ Cความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.3การละลายในน้ํา : ดีขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจกับนก ผึ้ง และ ปลาเปนพิเศษความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : 0.002สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : -0.66หมายเหตุการดื่มเครื่องดื่มที่มีสวนผสมของแอลกอฮอลจะเพิ่มความเปนอันตราย อันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ๆ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว ถาสารผสมกับตัวทําละลายควรศึกษา ICSC ของตัวทําละลายนั้น ตัวทําละลายชวย(carrier solvents) ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษไดของสารนี้ หามนําชุดทํางานกลับบาน สารมีชื่อทางการคาวาBay 71628, Monitor, Pillaron, SRA 5172 และ Tamaron, ถาสารอยูในสูตรตํารับที่มีตัวทําละลายไฮโดรคารบอนหามทําใหอาเจียนขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล228


METHOMYL เมทโธมิล ICSC :0177วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2005S-Methyl-N-(methylcarbamoyloxy)thioacetimidateEthanimidothioic acid, N-{{(methylamino)carbonyl}oxy}-, methyl esterMethyl N-{(methylamino)carbonyloxy}ethanimidothioateCAS # 16752-77-5 C 5 H 10 N 2 O 2 SRTECS # AK2975000 Molecular mass: 162.2UN # 2757EC Annex 1 Index # 006-045-00-2EC/EINECS # 240-815-0การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟอันตรายเฉียบพลัน/อาการติดไฟไดภายใตสภาวะจําเพาะตํารับในรูปของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียอาจติดไฟได เมื่อติดไฟจะใหควัน(หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะวัยรุนและเด็กการสูดดม รูมานตาหดตัว กลามเนื้อเปนตะคริว น้ําลายไหลมาก กลามเนื้อกระตุก มึนงง ปวดศีรษะเหงื่อออก หายใจลําบาก หมดสติการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงชนิดผงแหง น้ําฉีดโฟม หรือคารบอนไดออกไซดใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือเครื่องปองกันการหายใจรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทานั่งกึ่งนอน นําสงแพทย ดูหมายเหตุทางผิวหนัง สวมถุงมือปองกัน ถอดชุดที่เปอนสารเคมีออกจากนั้นลางผิวหนังดวยน้ําปริมาณมากหรืออาบน้ําทางดวงตา แดง ตาพรา สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกินปวดเกร็งทอง ชัก ทองเสียคลื่นไส อาเจียน ออนเพลีย(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)หามรับประทานอาหารเครื่องดื่มหรือสูบบุหรี่ขณะทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารใหลางดวยน้ําปริมาณมากๆ(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยดื่มน้ําที่ละลายผงถานกัมมันตนําสงแพทยทันที229


METHOMYL เมทโธมิล ICSC :0177การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากการปองกันสวนบุคคล : ใชเครื่องชวยหายใจชนิด P3 filter สําหรับอนุภาคที่เปนอันตราย เก็บรวบรวมสารที่หกออกมาใสภาชนะที่ปดสนิท ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุนและเก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวัง แลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยหามปลอยสารสูสิ่งแวดลอมเก็บในบรรจุภัณฑที่ไมแตก หากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกไดใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ไมแตกและปดสนิทหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T+, NR: 28-50/53S: (1/2-)22-36/37-45-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT7-IIIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําเขาถึง เก็บในที่แหง ในหองที่มีการระบายอากาศที่ดี เก็บแยกจากเบสแก อาหารและอาหารสัตวการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล230


METHOMYL เมทโธมิล ICSC :0177ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ผลึกสีขาว มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอน หรือเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษและกัดกรอน รวมทั้งไนโตรเจนออกไซดซัลเฟอรออกไซด ไฮโดรเจนไซยาไนด เมทธิลไอโซไซยาเนท สารนี้ทําปฏิกิริยากับเบสแกคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 2.5 mg/m 3 as TWA; A4 (not classifiable as a human carcinogen); BEI issued; (ACGIH 2005).ไมไดกําหนดคา MAKวิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาละอองของสาร และการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจนทําใหอากาศปนเปอนจนอยูในระดับอันตรายจะเกิดขึ้นชามากๆ แตจะเร็วมากขึ้นหากเปนการถูกพนเปนละอองหรือการฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้ทําใหตาเกิดการระคายเคือง อาจมีผลตอระบบประสาท ทําใหชักและกดการหายใจ สารนี้ยับยั้งเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส หากสัมผัสเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจทําใหเสียชีวิตไดผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารอาจมีผลตอระบบเลือดทําใหเกิดโลหิตจางคุณสมบัติทางกายภาพจุดหลอมเหลว : 78 ํCความหนาแนน : 1.3 g/cm 3การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 25 ํ C) : 5.8 (ปานกลาง)ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความดันไอ Pa ที่ 25 ํ C : เล็กนอยสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 1.24สารเปนพิษอยางมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา สารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจกับนกและผึ้งเปนพิเศษ สารสามารถเขาสูสิ่งแวดลอมภายใตการใชตามปกติ ควรใชอยางระมัดระวัง แตอยางไรก็ตามควรหลีกเลี่ยงการปลดปลอยสารเพิ่มเติม เชน การกําจัดทิ้งอยางไมเหมาะสมหมายเหตุเมทโธมิล เปนสวนผสมของ (Z)- และ (E)-ไอโซเมอร หากสารกําจัดศัตรูพืชมีตัวทําละลายเปนสารไฮโดรคารบอน หามทําใหอาเจียน ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว ในสูตรตํารับที่ใชตัวทําละลายควรศึกษา <strong>ICSCs</strong> ของตัวทําละลายนั้น ตัวทําละลายชวย (carrier solvents) ในสูตรผลิตภัณฑทางการคาอาจเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษ หามนําชุดที่ทํางานกลับบาน อันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร แนะนําใหมีการตรวจรางกายเปนระยะ สารมีชื่อการคา ไดแก DuPont 1179, Flytek, Lannate, Lanox, Methavin, Methomex, Nudrinขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล231


METHYLAMINE เมทธิลเอมีน ICSC :0178วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : กันยายน 2002MethanamineAminomethaneMonomethylamineCAS # 74-89-5 CH 5 N / CH 3 NH 2RTECS # PF6300000 Molecular mass: 31.1UN #1061 (anhydrous)EC Annex 1 Index # 612-001-00-9EC/EINECS # 200-820-0การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไวไฟสูงมาก เมื่อติดไฟจะใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองและเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัสสวนผสม กาซ/อากาศสามารถระเบิดไดการสูดดม ปวดแสบปวดรอน ไอปวดศีรษะ หายใจลําบากหายใจถี่ เจ็บคอ ดูหมายเหตุทางผิวหนัง เมื่อสัมผัสกับของเหลว :เกิดอาการน้ําแข็งกัดทางดวงตาแดง ปวด ตาพรามีการไหมลึกและรุนแรงการปองกันหามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟและหามสูบบุหรี่ทําเปนระบบปด มีระบบระบายอากาศ ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการระเบิดไดใชเครื่องมือที่ไมกอใหเกิดประกายไฟปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดทําการดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือเครื่องปองกันการหายใจสวมถุงมือปองกันความเย็นสวมชุดปองกันสวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามรับประทานอาหาร เครื่องดื่มหรือสูบบุหรี่ขณะทํางานการปฐมยาบาล/การดับไฟปดถัง หากไมสามารถทําไดและไมมีความเสี่ยงตอสิ่งรอบขาง ปลอยใหไฟดับไปเอง ในกรณีอื่นใชสารดับไฟชนิดผง คารบอนไดออกไซดในกรณีที่เกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําดับไฟจากที่กําบังที่ปลอดภัยใหรับอากาศบริสุทธิ์ นั่งพักในทากึ่งนอน หากจําเปนใหชวยการหายใจ นําสงแพทยกรณีน้ําแข็งกัด : ลางดวยน้ําปริมาณมาก หามถอดชุดออกจากนั้นสงตอแพทยใหลางดวยน้ําปริมาณมากๆ(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทย232


METHYLAMINE เมทธิลเอมีน ICSC :0178การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนออกจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ทําการดูดระบายอากาศ กําจัดแหลงที่ทําใหเกิดการติดไฟการปองกันสวนบุคคล : สวมชุดปองกันครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัวหามฉีดน้ําไปที่ของเหลวโดยตรงกําจัดไอระเหยของสารดวยน้ําที่เปนละอองฝอยการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC 20S1061NFPA Code: H3; F4; R0.IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บในที่เย็นและปองกันไฟการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล233


METHYLAMINE เมทธิลเอมีน ICSC :0178ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : กาซอัดแหลว ไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางกายภาพ : กาซผสมกับอากาศเกิดเปนสวนผสมที่สามารถระเบิดไดงายอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษ รวมทั้งไนโตรเจน ออกไซด สารละลายในน้ําเปนดางแกซึ่งมีฤทธิ์กัดกรอน ทําปฏิกิริยารุนแรงกับกรดและสารออกซิไดซที่แรง สารนี้ทําลายพลาสติก ยาง สารเคลือบ สารทําลายทองแดง โลหะผสมสังกะสีอะลูมิเนียม และโลหะชุบผิวคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 5 ppm (as TWA) ; 15 ppm (STEL) ; (ACGIH 2002).MAK: 10 ppm, 13 mg/m 3 ; Peak limitation category: I(1) Pregnancy risk group: D (DFG 2006).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ :ปริมาณของสารในอากาศจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วถึงขีดอันตรายหากรั่วจากภาชนะบรรจุผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะกัดกรอนดวงตา และทางเดินหายใจ การหายใจสารนี้เขาไปในระดับสูงอาจทําใหเกิดปอดบวมน้ํา(ดูหมายเหตุ) อาการอาจปรากฏภายหลัง ควรอยูใตการดูแลของแพทยการระเหยของของเหลวอยางรวดเร็วอาจทําใหเกิดอาการน้ําแข็งกัดไดคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : -6 ํCจุดหลอมเหลว : -93 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 0.7(ของเหลว)การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 25 ํ C) : ดีมากความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C : 304ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 1.07จุดวาบไฟ : กาซไวไฟอุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง: 430 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 4.9-20.7สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : - 0.71หมายเหตุตั้งถังที่รั่วขึ้นเพื่อปองกันการรั่วไหลของกาซเหลว อาการปอดบวมน้ํามักจะไมปรากฏทันที จนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพัก และใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ควรทําการรักษาระบบการหายใจที่เหมาะสมโดยทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมายขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล234


METHYL ETHYL KETONE เมทธิล เอทธิล คีโตน ICSC :0179วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : มีนาคม 1998Ethyl methyl ketone2-ButanoneMEKMethyl acetoneCAS # 78-93-3 C 4 H 8 O / CH 3 COCH 2 CH 3RTECS # EL6475000 Molecular mass: 72.1UN # 1193EC # 606-002-00-3การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการติดไฟ ไวไฟสูงมาก หามอยูใกลเปลวไฟ หรือประกายไฟและหามและสูบบุหรี่การระเบิด สวนผสมของไอ/อากาศ ทําเปนระบบปด ทําการดูดระบายสามารถระเบิดได อากาศ ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการระเบิดไดหามใชอากาศอัดในการเติม การปลอยทิ้ง หรือการขนยาย หามใชเครื่องมือที่กอใหเกิดประกายไฟการไดรับสัมผัสการสูดดมไอ มึนงง งวงซึม ปวดศีรษะคลื่นไส อาเจียนทําการดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง AFFF โฟมคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักนําสงแพทยทางผิวหนัง สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน หมดสติ (ดูเพิ่มเติม การสูดดม) หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานบวนปาก ดื่มน้ํามากๆ พักนําสงแพทย235


METHYL ETHYL KETONE เมทธิล เอทธิล คีโตน ICSC :0179การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บรวบรวม สารที่เปนของเหลวที่หกออกมาในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย หามลางลงทอระบายน้ําการปองกันสวนบุคคล : สวมเครื่องชวยหายใจติดตัวEU ClassificationSymbol: F, XiR: 11-36-66-67S: (2-)-9-16Note: [6]UN ClassificationUN Hazard Class: 3UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-30S1193NFPA Code: H1; F3; R0.เก็บในที่ปองกันไฟ เก็บแยกจากสารออกซิไดซที่แรง และกรดแกเก็บในที่เย็นและปดสนิทIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล236


METHYL ETHYL KETONE เมทธิล เอทธิล คีโตน ICSC :0179ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางกายภาพ : กาซหนักกวาอากาศและสามารถไหลไปตามพื้นได จึงอาจติดไฟในระยะหางออกไปไดอันตรายทางเคมี : ทําปฏิกิริยารุนแรงกับตัวออกซิไดซที่แรง กรดอนินทรีย ทําใหไฟไหมหรือการระเบิดได สารทําลายพลาสติกบางชนิดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 200 ppm as TWA; 300 ppm as STEL; BEI issued; (ACGIH 2004).MAK: 200 ppm, 600 mg/m 3 ; H; Peak limitation category: I(1); Pregnancy risk group: C; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจและการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําใหตาและทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง อาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลางการไดรับสัมผัสเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจทําใหหมดสติไดผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: ของเหลวนี ้ละลายไขมันออกจากผิวหนัง จากการทดลองในสัตวพบวาสารนี้อาจเปนพิษตอระบบสืบพันธุของมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 80 ํCจุดหลอมเหลว : -86 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 0.8การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) : 29ความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :10.5ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 2.41ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํC (อากาศ=1) : 1.1จุดวาบไฟ : -9 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง: 505 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 1.8-11.5สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.29ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุไมสามารถใชกลิ่นของสารเปนเครื่องเตือน เมื่อปริมาณสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล237


METHYL HYDRAZINE เมทธิล ไฮดราซีน ICSC :0180วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2004MonomethylhydrazineMMHCAS # 60-34-4 CH 6 N 2 / CH 3 NHNH 2RTECS # MV5600000 Molecular mass: 46.1UN # 1244EC #การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟการระเบิดอันตรายเฉียบพลัน/อาการไวไฟสูง ปฏิกิริยาหลายๆ ปฏิกิริยาอาจทําใหเกิดไฟไหมหรือการระเบิดเมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษสวนผสมของไอ/อากาศสามารถระเบิดได มีความเสี่ยงตอการเกิดไฟหรือการระเบิดเมื่อสัมผัสกับสารออกซิแดนทและโลหะออกไซดการปองกันหามอยูใกลเปลวไฟ หรือประกายไฟ และหามและสูบบุหรี่หามสัมผัสกับสารออกซิไดซหามสัมผัสกับพื้นผิวที่รอนทําเปนระบบปด ทําการดูดระบายอากาศ ใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการระเบิดไดการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง โฟมที่ทนแอลกอฮอล น้ําจํานวนมาก ๆคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําเปนฝอยและดับไฟจากที่กําบังที่ปลอดภัยการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดม ปวดแสบปวดรอน ไอ คลื่นไสอาเจียน ปากหรือเล็บมือเขียว ชักผิวหนังเขียว เวียนศีรษะ ปวดศีรษะหายใจถี่ๆ หายใจลําบาก อาการอาจปรากฏภายหลัง (ดูหมายเหตุ)ทําการดูดระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยทางผิวหนังอาจถูกดูดซึม แดงผิวหนังไหม ปวด(ดูเพิ่มเติมในหัวขอการสูดดม)ทางดวงตา แดง ปวด เปนแผลไหมลึกมาก สวมหนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกินปวดทอง แสบรอน ช็อกหรือเปนลม(ดูเพิ่มเติมในหัวขอการสูดดม)สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ลางดวยน้ํามากๆกอน จากนั้นถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางดวยน้ําอีกครั้ง นําสงแพทยหามดื่ม รับประทานอาหาร และสูบบุหรี่ระหวางทํางาน ลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆ หลายๆ นาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก หามทําใหอาเจียนใหดื่มน้ํามากๆ นําสงแพทย238


METHYL HYDRAZINE เมทธิล ไฮดราซีน ICSC :0180การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญใชเครื่องปองกันสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว หามปลอยใหสารเคมีเขาสูสิ่งแวดลอมเก็บในบรรจุภัณฑที่ทนตอการแตก หากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกได ใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ทนตอการแตกหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวEU ClassificationUN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Subsidiary Risks: 3 and 8UN Pack Group: Iการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GTFC-INFPA Code: H4; F3; R2IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บในที่ปองกันไฟได เก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรงกรดแก โลหะออกไซด วัสดุมีรูพรุน อาหารและอาหารสัตวเก็บในที่แหง ปดสนิท เก็บภายใตกาซเฉื่อยการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล239


METHYL HYDRAZINE เมทธิล ไฮดราซีน ICSC :0180ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวไมมีสี ดูดความชื้นได มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางกายภาพ : ไอระเหยของสารเมื่อรวมกับอากาศจะเกิดเปนสวนผสมที่สามารถระเบิดไดงายอันตรายทางเคมี : อาจระเบิดไดเมื่อไดรับความรอนหรือสัมผัสกับโลหะออกไซด สารสามารถติดไฟไดเองเมื่อสัมผัสกับอากาศและวัสดุที่มีรูพรุน เชน ดิน แอสเบสทอส ไม หรือ เสื้อผา สารสลายตัวเมื่อเผาไหม ไดกาซพิษที่มีฤทธิ์กัดกรอน รวมทั้ง ไนโตรเจนออกไซด สารเปนตัวรีดิวซที่แรงทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับตัวออกซิไดซซึ่งอาจกอใหเกิดไฟไหมได สารเปนดางแกปานกลาง ทําปฏิกิริยารุนแรงกับกรดแกคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.01 ppm as TWA; (skin); A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to humans); (ACGIH 2004).MAK: IIb (not established but data is available); skin absorption (H); sensitization of skin (Sh); (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสาร เขาทางผิวหนังและการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารมีฤทธิ์กัดกรอนเนื้อเยื่อตา ผิวหนัง ทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร สารอาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง ตับ และระบบเลือด เปนผลใหการทํางานของตับเสียไปและเกิดการสรางเมทฮีโมโกลบิน การสัมผัสสารเกินกวาคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน อาจทําใหเสียชีวิตได ผลอาจปรากฏในภายหลังได ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: สารอาจมีผลตอตับและระบบเลือด เปนผลใหการทํางานของตับเสียไปและเกิดการสราง เมทฮีโมโกลบิน สารอาจเปนสารกอมะเร็งในมนุษยไดคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 87.5 ํCจุดหลอมเหลว : -52.4 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 0.87การละลายในน้ํา : ละลายไดความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C : 4.8ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 1.6ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1.03จุดวาบไฟ : -8.3 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง: 196 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 2.5-97สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : -1.05ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารเปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ๆ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีไดรับพิษจากสาร ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว หามนําชุดทํางานกลับบาน ลางชุดที่เปอนสาร(ติดไฟได)ดวยน้ําปริมาณมากขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล240


MONOCROTOPHOS โมโนโครโทฟอส ICSC :0181วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : มีนาคม 1995Dimethyl (E)-1-methyl-2-(methylcarbamoyl) vinyl phosphatePhosphoric acid, dimethyl 1-methyl-3-(methylamino)-3-oxo-1-propenyl ester, (E)-CAS # 6923-22-4 C 7 H 14 NO 5 P / (CH 3 O) 2 PO-OC(CH 3 )=CHCO-NHCH 3RTECS # TC4375000 Molecular mass: 223.2UN # 2783EC Index # 015-072-00-9การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟอันตรายเฉียบพลัน/อาการติดไฟไดในสภาวะจําเพาะตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียอยูอาจติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําโฟมที่ทนตอแอลกอฮอลคารบอนไดออกไซดการระเบิด เสี่ยงตอการเกิดไฟไหมและการระเบิด เมื่อตํารับมีตัวทําละลายที่ติดไฟ/ระเบิดไดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะวัยรุนและเด็กการสูดดม กลามเนื้อกระตุก รูมานตาหดตัวกลามเนื้อเปนตะคริวน้ําลายไหลมาก มึนงง หายใจลําบากเหงื่อออก หมดสติ อาการอาจปรากฏในภายหลังได (ดูหมายเหตุ)ทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึม(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)ทางดวงตาละอองของสารจะถูกดูดซึมได(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)การกลืนกิน ปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียนปวดเกร็งที่ทอง ทองเสีย ชัก(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)ดูดระบายอากาศ(ไมตองถาสารเปนผง)ระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจ241ปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอนนําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบู นําสงแพทยสวมถุงมือขณะปฐมพยาบาลสวมหนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจถาสารเปนผงหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ใหดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ํา ทําใหอาเจียนออกมา(ถาผูปวยมีสติ) พัก นําสงแพทย


MONOCROTOPHOS โมโนโครโทฟอส ICSC :0181การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากหามลางลงทอระบายน้ํา เก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะที่ปดสนิท ถาเปนไปไดทําใหชื้นกอนเพื่อปองกันการเกิดฝุน เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย(ใชเครื่องปองกันสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)เก็บในบรรจุภัณฑที่ทนตอการแตก หากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกได ใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ทนตอการแตกและปดสนิท หามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T+, NR: 24-26/28-68-50/53S: (1/2-)-36/37-45-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT7-II ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว เก็บในที่แหง ปดสนิทในหองที่มีการระบายอากาศที่ดีIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล242


MONOCROTOPHOS โมโนโครโทฟอส ICSC :0181ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : เปนผลึกดูดความชื้น ไมมีสีอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวไดเมื่อไดรับความรอนหรือเผาไหมไดควันพิษที่ระคายเคือง รวมทั้งไนโตรเจนออกไซดฟอสฟอรัสออกไซด สารนี้สามารถทําลายเหล็ก เหล็กกลา ทองเหลืองคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: (as vapour and aerosol) (Inhalable fraction) 0.05 mg/m 3 as TWA; (skin); A4 (not classifiable as a human carcinogen); BEI issued;(ACGIH 2004).ไมไดกําหนดคา MAKวิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารไดนอยมาก แตจะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนอันตรายได และจะเร็วขึ้นหากฝุนสารฟุงกระจาย หรือถูกพนเปนละอองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารอาจมีผลตอระบบประสาททําใหเกิดการชัก การหายใจลมเหลว เกิดการยับยั้งเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส การไดรับสัมผัสอาจทําใหเสียชีวิตได อาการอาจปรากฏภายหลัง ควรอยูใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: เกิดการยับยั้งเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส ซึ่งผลนี้อาจเกิดจากการสะสมในระยะยาวได ดูเพิ่มเติมใน อันตรายเฉียบพลัน/อาการคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด ที่ 0.00007 kPa : 125 ํCจุดหลอมเหลว : 54-55 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.3ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมการละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) : 100 (ดี)ความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : 0.0003สารนี้เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ําอยางมาก สารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจตอนก ผึ้ง และสัตวเลี้ยงลูกดวยนมเปนพิเศษ สารอาจสงผลกระทบในระยะยาวตอสิ่งแวดลอมในน้ํา สารสามารถกระจายสูสิ่งแวดลอมไดจากการใชสารตามปกติ ควรใชอยางระมัดระวัง อยางไรก็ตามควรหลีกเลี่ยงการปลดปลอยเพิ่ม เชน การกําจัดทิ้งที่ไมเหมาะสมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ตองไดรับการรักษาพิษอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว ถาในตํารับมีตัวทําละลายควรศึกษา ICSC ของตัวทําละลายนั้น ตัวทําละลายชวย (carrier solvents) ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจทําใหสารเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและอาการพิษได หามนําชุดทํางานกลับบาน สารมีชื่อการคาดังนี้ Azodrin, Bilobran, Crisodrin, Monocron, Nuvacron, Plantdrin, Susvinขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล243


NEOPENTYL GLYCOLDIGLYCIDYL ETHERวันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : มีนาคม 19982,2'-(2,2-Dimethyl-1,3 propanediyl)bis(oxymethylene)bisoxirane1,3-bis(2,3-Epoxypropoxy)-2,2-dimethylpropaneCAS # 17557-23-2 C 11 H 20 O 4RTECS # TX3760000 Molecular mass: 216.3UN #EC # 603-094-00-7การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการนีโอเพนทิล ไกลคอล ไดไกลซิดิล อีเธอร ICSC :0182การปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง AFFF โฟมหรือคารบอนไดออกไซดการระเบิด ที่อุณหภูมิมากกวา 88 ํCอาจเกิดสวนผสมของไอ/อากาศที่ระเบิดไดที่อุณหภูมิมากกวา 88 ํCทําเปนระบบปดมีการดูดระบายอากาศการไดรับสัมผัสปองกันการเกิดไอหมอกของสารการสูดดม ไอ เจ็บคอ ทําการดูดระบายอากาศ ใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด สวมเครื่องปองกันใบหนา ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานบวนปาก ดื่มน้ํามากๆ244


NEOPENTYL GLYCOLDIGLYCIDYL ETHERนีโอเพนทิล ไกลคอล ไดไกลซิดิล อีเธอร ICSC :0182การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บรวบรวมของเหลวที่รั่วและหกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุดเทาที่จะทําได ลางสวนที่เหลือดวยน้ําปริมาณมากIPCSInternational Programmeon Chemical SafetyEU ClassificationSymbol: XiR: 38-43S: (2-)24-37UN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บในที่มืดและเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรงการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล245


NEOPENTYL GLYCOLDIGLYCIDYL ETHERนีโอเพนทิล ไกลคอล ไดไกลซิดิล อีเธอร ICSC :0182ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวอันตรายทางเคมี : สารอาจเกิดเปนสารเปอรออกไซดที่ระเบิดได ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรงคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVวิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ถึงอัตราการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศเปนอันตรายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้ทําใหดวงตาและผิวหนังเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: อาจทําใหผิวหนังไวตอการกระตุนคุณสมบัติทางกายภาพความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.07จุดวาบไฟ : 88 ํC o.c.(open cup)ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 7.5ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุคาจํากัดการระเบิดยังไมมีการระบุไว ตรวจหาเปอรออกไซด กอนทําการกลั่น ทําใหหมดไปถาตรวจพบขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล246


NITRIC ACID ไนตริก แอซิด ICSC :0183วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2006Concentrated Nitric Acid (70%)CAS # 7697-37-2 HNO 3RTECS # QU5775000 Molecular mass: 63.0UN # 2031EC Annex 1 Index # 007-004-00-1EC/EINECS # 231-714-2การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟ แตเสริมใหสารอื่นติดไฟเมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษ การไดรับความรอนจะทําใหความดันเพิ่มขึ้นจึงมีความเสี่ยงตอการระเบิดการระเบิด ความเสี่ยงการเกิดไฟไหมและระเบิดจากการสัมผัสสารประกอบอินทรียทั่วๆ ไปหลายชนิดการปองกันหามสัมผัสกับสารไวไฟหามสัมผัสกับสารเคมีอินทรียหรือสารที่ติดไฟไดการปฐมยาบาล/การดับไฟกรณีเกิดเพลิงไหมบริเวณใกลเคียง: หามใชโฟมกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําเปนฝอยการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดม ปวดแสบปวดรอน ไอ หายใจลําบากหายใจถี่ เจ็บคอ อาการอาจปรากฏภายหลัง (ดูหมายเหตุ)ทําการดูดระบายอากาศระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอน ถาจําเปนใหชวยการหายใจ นําสงแพทยทางผิวหนังผิวหนังไหมอยางรุนแรง ปวดผิวเปนสีเหลือง ซีดทางดวงตา ตาแดง ปวด เปนแผลไหม สวมหนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกินเจ็บคอ ปวดทอง ปวดแสบปวดรอนที่คอและหนาอก ช็อกหรือลมฟุบอาเจียนสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆ หรืออาบน้ํานําสงแพทยหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆ หลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยทันทีหามทําใหอาเจียนดื่มน้ํา 1-2 แกวพัก นําสงแพทย247


NITRIC ACID ไนตริก แอซิด ICSC :0183การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ(ใชเครื่องปองกันสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว) ดูดระบายอากาศ เก็บรวบรวมของเหลวที่รั่วออกมาในภาชนะที่ปดสนิท ทําใหสารที่เหลือมีสภาพเปนกลางดวยโซเดียมคารบอเนตอยางระมัดระวัง แลวลางดวยน้ําจํานวนมากหามดูดซับสารดวยขี้เลื่อยหรือสารดูดซับที่ติดไฟไดเก็บในบรรจุภัณฑที่ไมแตก หากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกไดใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ไมแตกและปดสนิทหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวNote: BEU ClassificationSymbol: O, CR: 8-35S: (1/2-)23-26-36-45UN ClassificationUN Hazard Class: 8UN Subsidiary Risks: 5.1UN Pack Group: IGHS Classificationอันตรายอาจกัดกรอนโลหะอันตรายถึงแกชีวิตหากกลืนกินเปนสาเหตุใหผิวหนังไหมและทําลายดวงตาอยางรุนแรงเปนสาเหตุทําใหทางเดินหายใจเสียหายหากสูดดมเปนสาเหตุใหทางเดินอาหารเสียหายหากกลืนกินเปนสาเหตุใหทางเดินหายใจและฟนเสียหายหากสูดดมสารซ้ําๆหรือเปนระยะเวลานานการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-80S2031-I NFPACode: H 4; F 0; R 0; OXIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บแยกจากสารที่ติดไฟได และสารรีดิวซ ดาง สารเคมีอินทรียอาหารและอาหารสัตว เก็บในที่เย็นและแหงเก็บในหองที่มีการระบายอากาศดีการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล248


NITRIC ACID ไนตริก แอซิด ICSC :0183ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : เปนของเหลวไมมีสี ถึงสีเหลือง มีกลิ่นฉุนอันตรายทางเคมี :สารสลายตัวเมื่ออุน ทําใหเกิดไนโตรเจนออกไซด เปนสารออกซิไดซอยางแรงและทําปฏิกริยาอยางรุนแรงกับสารรีดิวซและสารที่ติดไฟได เชน น้ํามันสน ถาน แอลกอฮอล สารนี้เปนกรดแก ทําปฏิกริยาอยางรุนแรงกับดางและกัดกรอนโลหะทําใหเกิดกาซที่ติดไฟ/ระเบิดได (ไฮโดรเจน ดู ICSC 0001)ทําปฏิกริยาอยางรุนแรงกับสารเคมีอินทรียคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 2 ppm as TWA, 4 ppm as STEL; (ACGIH 2006).MAK: IIb (not established but data is available) (DFG 2008).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สงผลกระทบรุนแรงในทุกทางที่ไดรับสัมผัสความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสาร จะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนอันตรายอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําลายเนื้อเยื่อของดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ ทําลายเนื้อเยื่อเมื่อกินสารนี้ การหายใจไอของสารนี้เขาไปอาจทําใหเกิดปอดบวมน้ํา (ดูหมายเหตุ) ผลดังกลาวอาจเกิดขึ้นในภายหลัง (ดูหมายเหตุ)ผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: เมื่อสูดดมมีผลตอปอด และอาจมีผลทําใหฟนถูกกัดกรอนคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 121 ํCจุดหลอมเหลว : -41.6 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.4การละลายในน้ํา : ละลายไดความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C : 6.4ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 2.2ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1.07สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : -0.21ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะๆ อาการปอดบวมน้ํา มักจะไมปรากฏในทันที จนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง หรืออาจนานถึง 2-3 วัน อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพักและใหแพทยตรวจและสังเกตอาการขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล249


POTASSIUM NITRATE โพแทสเซียมไนเตรต ICSC :0184วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2001SaltpeterCAS # 7757-79-1 KNO 3RTECS # TT3700000 Molecular mass: 101.1UN # 1486EC #การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟ แตเสริมใหสารอื่นติดไฟเมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการปองกันหามสัมผัสกับสารที่ติดไฟงายหรือสารรีดิวซการระเบิด ความเสี่ยงตอการเกิดไฟไหมและระเบิดจากการสัมผัสกับสารรีดิวซการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารการสูดดม ไอ เจ็บคอ ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟกรณีเกิดเพลิงไหมบริเวณใกลเคียง: ใชสารดับเพลิงที่เหมาะสมใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา ตาแดง ปวด สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกินปวดทอง ริมฝปากหรือเล็บมือเขียวผิวหนังเขียว เวียนศีรษะหายใจลําบาก มึนงง ชัก ทองเสียปวดศีรษะ คลื่นไส หมดสติหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก นําสงแพทย250


POTASSIUM NITRATE โพแทสเซียมไนเตรต ICSC :0184การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บกวาดของเหลวที่หกออกมาในภาชนะแกวหรือพลาสติกลางสารที่เหลือดวยน้ํามากๆEU ClassificationUN ClassificationUN Hazard Class: 5.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาNPA Code: H 1; F 0; R 0; Transport Emergency Card:TEC (R)-51S1486เก็บแยกจากสารที่ติดไฟได และสารรีดิวซIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล251


POTASSIUM NITRATE โพแทสเซียมไนเตรต ICSC :0184ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : เปนผงผลึกไมมีสีถึงสีขาว ไมมีกลิ่นอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนทําใหเกิด ไนโตรเจนออกไซด ออกซิเจน ซึ่งเพิ่มอันตรายจากไฟไหมเปนสารออกซิไดซอยางแรงและทําปฏิกิริยากับสารรีดิวซและสารที่ติดไฟไดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVวิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาละอองของสาร และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายหากเกิดการฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ เกิดการระคายเคืองสารนี้อาจมีผลตอระบบเลือด หากกินเขาไปจะทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบิน ผลอาจปรากฏภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยคุณสมบัติทางกายภาพสลายตัวต่ํากวาจุดเดือดที่: 400 ํCจุดหลอมเหลว: 333-334 ํCขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนน : 2.1 g/cm 3การละลายในน้ํา g/100ml ที่ 25 ํC : 35.7หมายเหตุลางเสื้อผาที่เปอนสารเคมี (ติดไฟได) ดวยน้ํามากๆ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองและเตรียมพรอมไวขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล252


SODIUM NITRATE โซเดียมไนเตรต ICSC :0185วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2001Chile saltpeterCAS # 7631-99-4 NaNO 3RTECS # WC5600000 Molecular mass: 85UN # 1498EC #การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟ แตเสริมใหสารอื่นติดไฟ เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการปองกันหามสัมผัสกับสารที่ติดไฟงายและสารรีดิวซการระเบิด มีความเสี่ยงตอการเกิดไฟไหมและระเบิดจากการสัมผัสกับสารรีดิวซการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารการสูดดม ไอ เจ็บคอ ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟกรณีเกิดเพลิงไหมบริเวณใกลเคียง: ใชสารดับเพลิงที่เหมาะสมใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือปองกัน ใหลางดวยน้ําปริมาณมากๆจากนั้นถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออก ลางอีกครั้งหนึ่งทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกินปวดทอง ริมฝปากหรือเล็บมือเขียว ผิวหนังเขียว ชัก ทองเสียเวียนศีรษะ หายใจลําบาก มึนงงปวดศีรษะ คลื่นไส หมดสติหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก นําสงแพทย253


SODIUM NITRATE โซเดียมไนเตรต ICSC :0185การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บรวบรวมของเหลวที่หกออกมาในภาชนะแกวหรือพลาสติกลางสารที่เหลือดวยน้ํามากๆEU ClassificationUN ClassificationUN Hazard Class: 5.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-51S1498 เก็บแยกจากสารที่ติดไฟได และสารรีดิวซ เก็บในที่แหงIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล254


SODIUM NITRATE โซเดียมไนเตรต ICSC :0185ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : เปนผลึกดูดความชื้น ไมมีสีอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนทําใหเกิด ไนโตรเจนออกไซดและออกซิเจน ซึ่งเพิ่มอันตรายจากไฟไหมเปนสารออกซิไดซอยางแรงและทําปฏิกิริยากับสารรีดิวซและสารที่ติดไฟได ทําใหเกิดอันตรายจากไฟไหมและการระเบิดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVวิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาละอองของสาร และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายหากเกิดการฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ เกิดการระคายเคืองสารนี้อาจมีผลตอระบบเลือด หากกินเขาไปจะทําใหเกิดเมทฮีโมโกลบิน ผลอาจปรากฏภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด (สลายตัว): 380 ํCจุดหลอมเหลว: 308 ํCขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนน: 2.3 g/cm 3การละลายในน้ํา g/100ml ที่ 25 ํC: 92.1หมายเหตุลางเสื้อผาที่เปอนสารเคมี (ติดไฟได) ดวยน้ํามากๆ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองและเตรียมพรอมไวขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล255


NITROGLYCERIN ไนโตรกลีเซอริน ICSC :0186วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2005Glyceryl trinitrateGlycerol trinitrate1,2,3-Propanetriol trinitrateBlasting oilCAS # 55-63-0 C 3 H 5 N 3 O 9 / C 3 H 5 (NO 3 ) 3RTECS # QX2100000 Molecular mass: 227.1UN #0143 (Desensitized)EC Index # 603-034-00-Xการเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟอันตรายเฉียบพลัน/อาการสามารถระเบิดได ปฏิกิริยาหลายๆ ปฏิกิริยาอาจทําใหเกิดไฟหรือการระเบิด เมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด ความเสี่ยงตอการเกิดไฟไหมและการระเบิดการปองกันหามอยูใกลเปลวไฟ ประกายไฟและหามสูบบุหรี่หามสัมผัสกับพื้นผิวที่รอนทําเปนระบบปด มีการดูดระบายอากาศใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการเกิดระเบิดไดใชเครื่องมือที่ไมเกิดประกายไฟหามทําการเสียดสีหรือกระแทกการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําดับไฟจากที่กําบังที่ปลอดภัยการไดรับสัมผัส ปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัด ปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดม ปวดศีรษะ มึนงง หนาแดง ดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ พักนําสงแพทยทางผิวหนังอาจดูดซึมได(ดูหัวขอ การสูดดม)ทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกินหนาแดง ปวดศีรษะ มึนงงคลื่นไส อาเจียนช็อกหรือลมฟุบสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก ทําใหอาเจียนออกมา(ถาผูปวยมีสติ)ใหดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ําพัก นําสงแพทยทันที256


NITROGLYCERIN ไนโตรกลีเซอริน ICSC :0186การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ เคลื่อนยายแหลงที่ติดไฟไดทั้งหมด การปองกันสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว หามลางลงทอระบายน้ํา หามปลอยสารเขาสูสิ่งแวดลอม เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยหามขนสงพรอมอาหารหรืออาหารสัตวEU ClassificationSymbol: E, T+, NR: 3-26/27/28-33-51/53S: (1/2-)-33-35-36/37-45-61UN ClassificationUN Hazard Class: 1.1D (Desensitized)UN Subsidiary Risks: 6.1 (Desensitized)การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-10G1.1NFPA Code: H2; F3; R4;เก็บสารเฉพาะในรูปที่อยูในสภาวะคงตัวเก็บสารในพื้นที่ที่ไมมีทอระบายน้ําเขาถึงเก็บในที่ที่ปองกันไฟไดเก็บแยกจากอาหารหรืออาหารสัตวIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล257


NITROGLYCERIN ไนโตรกลีเซอริน ICSC :0186ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวขนไมมีสีถึงสีเหลือง หรือ ผลึกสีเหลืองซีดอันตรายทางเคมี : การไดรับความรอนอาจเกิดการติดไฟหรือระเบิดอยางรุนแรง สารอาจสลายตัวและระเบิดจากการไดรับการเสียดสีกระแทกหรือกระทบกระเทือน ในกรณีที่สารติดไฟจะเกิดกาซพิษรวมถึงไนโตรเจนออกไซด สารสามารถทําปฏิกิริยากับ ozone เกิดการระเบิดไดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.05 ppm as TWA; (skin); (ACGIH 2005).MAK: BAT issued; Carcinogen category: 3B; skin absorption (H); (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาละอองสาร เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดชามาก อยางไรก็ตามปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายหากถูกพนเปนละอองหรือเกิดการฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้ทําใหดวงตาเกิดการระคายเคือง และอาจมีผลตอระบบหลอดเลือดหัวใจ เปนผลใหความดันโลหิตลดต่ําลง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การสัมผัสทางผิวหนังอาจทําใหผิวหนังไวตอสิ่งกระตุน การไดรับสารซ้ําๆอาจทําใหเกิดการดื้อตอสารและเมื่อไมไดรับสารในชวงสั้นๆ อาจทําใหเกิดการเสียชีวิตอยางกระทันหันไดสลายตัวต่ํากวาจุดเดือดที่ : 218 ํCจุดหลอมเหลว : 13 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.6การละลายในน้ํา : ละลายไดนอยคุณสมบัติทางกายภาพขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : 0.03ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 7.8อุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง : 270 ํCสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 1.62สารเปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําหมายเหตุหากสารติดไฟในพื้นที่จํากัดอาจเกิดการระเบิดได การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลจะเปนอันตรายมากขึ้น UN numbers อื่นๆ ไดแก: UN0144 Nitroglycerin, solution in alcohol with more than 1% but not more than 10% nitroglycerin; UN Haz Class 1.1D. UN 1204Nitroglycerin, solution in alcohol with not more than 1% of nitroglycerin; UN Haz Class 3, Pack Group II. UN 3064 Nitroglycerin,solution in alcohol with more than 1% but not more than 5% of nitroglycerin, UN Haz Class 3, Pack Group II. การเติมสารที่ทําใหคงตัว(stabilizer)หรือสารยับยั้ง(inhibitor) ทําใหมีผลตอคุณสมบัติดานความเปนพิษของสารนี้ ควรปรึกษาผูเชี่ยวชาญขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล258


2-NITROPROPANE 2-ไนโตรโพรเพน ICSC :0187วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2006IsonitropropaneDimethylnitromethanesec-Nitropropane2-NPCAS # 79-46-9 C 3 H 7 NO 2 / CH 3 CHNO 2 CH 3RTECS # TZ5250000 Molecular mass: 89.1UN # 2608EC Annex 1 Index # 609-002-00-1EC/EINECS # 201-209-1การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟอันตรายเฉียบพลัน/อาการไวไฟ ปฏิกิริยาหลายๆปฏิกิริยาอาจทําใหเกิดไฟไหมหรือการระเบิด เมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด ที่อุณหภูมิมากกวา 24 ํCสวนผสม ไอ/อากาศอาจระเบิดไดการปองกันหามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟ และหามสูบบุหรี่ที่อุณหภูมิมากกวา 24 ํC ทําเปนระบบปด มีการดูดระบายอากาศใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการระเบิดไดการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีดโฟมที่ทนตอแอลกอฮอลหรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําทําการดับไฟจากที่กําบังที่ปลอดภัยการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีการสูดดม ไอ มึนงง งวงนอน ปวดศีรษะ ดูดระบายอากาศนําสงแพทยคลื่นไส อาเจียน ทองเสียออนเพลีย หายใจถี่ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนัง ผิวหนังแหง แดง สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกแลวลางดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ําทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน (ดูหัวขอการสูดดม) หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารใหลางดวยน้ําปริมาณมากๆ(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก นําสงแพทย259


2-NITROPROPANE 2-ไนโตรโพรเพน ICSC :0187การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายแหลงติดไฟไดทั้งหมด เคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตรายหากมีการรั่วไหลมาก ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ การปองกันสวนบุคคล:เครื่องชวยหายใจติดตัว เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยNote: EEU ClassificationSymbol: TR: 45-10-20/22S: 53-45UN ClassificationUN Hazard Class: 3UN Pack Group: IIIGHS Classificationอันตรายอันตรายมากหากกลืนกินอันตรายมากหากสูดดมไอระเหยของสารอาจเปนสาเหตุของการเกิดความผิดปกติทางพันธุกรรมอาจเปนสาเหตุของมะเร็งเปนสาเหตุใหตับถูกทําลายการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-30GF1-III NFPACode: H1; F3; R2เก็บในที่ปองกันไฟได เก็บแยกจากดางแก กรดแก สารเอมีนผงโลหะ อาหารและอาหารสัตวIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล260


2-NITROPROPANE 2-ไนโตรโพรเพน ICSC :0187ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวเปนมัน ไมมีสีอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อถูกเผาไหม เกิดเปนกาซพิษรวมทั้ง ไนโตรเจนออกไซด เมื่อสัมผัสกับกรด เอมีน ดางอนินทรีย และโลหะหนักออกไซดเกิดสารประกอบที่ไวตอการกระแทก สารทําลายพลาสติก ยาง และสารเคลือบบางชนิดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 10 ppm; A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to humans); (ACGIH 2005).MAK: skin absorption (H); Carcinogen category: 2 (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจไอของสาร และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : ไอระเหยของสารนี้จะทําใหดวงตาและทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง ผิวหนังระคายเคืองเล็กนอย และอาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง การสัมผัสเกินกวาคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจทําใหการทํางานของตับเสียไปและอาจเสียชีวิตไดผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: ของเหลวนี ้ละลายไขมันออกจากผิวหนัง สารอาจเปนสารกอมะเร็งในมนุษยไดคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 120 ํCจุดหลอมเหลว : -91 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 0.99การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 25 ํ C) : 1.7ความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C : 1.7ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 3.1ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1.04จุดวาบไฟ : 24 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง: 428 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 2.6-11สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.93ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ไมสามารถใชกลิ่นของสารเปนเครื่องเตือนเมื่อปริมาณสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน ชื่อทางการคา ไดแก NiPar S-20 and NiPar S-30 หามนําชุดทํางานกลับบานขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล261


PHENYL GLYCIDYL ETHER ฟนิล ไกลซิดิล อีเธอร ICSC :0188วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 20051,2-Epoxy-3-phenoxypropane2,3-Epoxypropyl phenyl etherPhenoxy methyloxiranePGECAS # 122-60-1 C 9 H 10 O 2RTECS # TZ3675000 Molecular mass: 150.1UN #EC Index # 603-067-00-Xการเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดการระเบิดการไดรับสัมผัส ดูผลของการไดรับสัมผัสสารใน หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆการสูดดม ไอ เจ็บคอ ทําการดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักทางผิวหนังสารอาจถูกดูดซึมแดง ปวดทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก262


PHENYL GLYCIDYL ETHER ฟนิล ไกลซิดิล อีเธอร ICSC :0188การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากการปองกันสวนบุคคล: ชุดปองกันสารเคมีรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว หามปลอยใหสารเขาสูสิ่งแวดลอม เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกใสในภาชนะบรรจุที่มีฝาปด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยIPCSInternational Programmeon Chemical SafetyEU ClassificationSymbol: TR: 45-20-37/38-43-68-52/53S: 53-45-61UN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บสารในที่ที่ไมมีทอระบายน้ําเขาถึงเก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรง ดางแก กรดแก และเอมีนเก็บในที่มืดและเย็นการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล263


PHENYL GLYCIDYL ETHER ฟนิล ไกลซิดิล อีเธอร ICSC :0188ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี : สารสามารถเกิดเปอรออกไซดที่ระเบิดได สารเกิดเปนโพลีเมอรเมื่อไดรับอิทธิพลจากสารที่เปนกรด ดางและเอมีนสารทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารออกซิไดซอยางแรง กอใหเกิดไฟไหมหรือระเบิดไดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.1 ppm as TWA; (skin); A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to humans); SEN; (ACGIH 2005).MAK: skin absorption (H); sensitization of skin (Sh); Carcinogen category: 2; (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาละอองของสาร และเขาทางผิวหนังความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยคอนขางชา อยางไรก็ตามปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นเร็วจนถึงจุดอันตรายหากถูกพนเปนละอองหรือการฟุงกระจายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การสัมผัสทางผิวหนังอาจทําใหผิวหนังไวตอสิ่งกระตุน และอาจเปนสารกอมะเร็งในมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 245 ํCจุดหลอมเหลว : 3.5 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.11การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) : 0.24ความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : 1.33ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 4.37ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1.00จุดวาบไฟ : 114 ํC c.c.(closed cup)สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 1.12ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา และสารนี้อาจกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทางน้ําในระยะยาวหมายเหตุหามนําชุดทํางานกลับบาน ตรวจสอบสารเปอรออกไซดกอนทําการกลั่น ทําใหหมดไปถาตรวจพบขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล264


PHOSPHAMIDON ฟอสฟามิดอน ICSC :0189วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 20052-Chloro-2-diethylcarbamoyl-1-methylvinyl dimethyl phosphate2-Chloro-3-(diethylamino)-1-methyl-3-oxo-1-propenyl dimethyl phosphateDimethyl phosphate ester 2-chloro-N,N-diethyl-3-hydroxycrotonamideO,O-Dimethyl-O-(2-chloro-2-diethylcarbamoyl-1-methylvinyl) phosphateCAS # 13171-21-6 C 10 H 19 ClNO 5 PRTECS # TC2800000 Molecular mass: 299.7UN # 3018EC Index # 015-022-00-6การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียอาจไวไฟ เมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัสการสูดดม เหงื่อออก กลามเนื้อกระตุกรูมานตาหด กลามเนื้อเปนตะคริวน้ําลายไหลมาก ทองเสีย มึนงงหายใจลําบาก อาเจียน ชัก หมดสติอาการอาจเกิดภายหลัง (ดูหมายเหตุ)การปองกันปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสสารโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟในกรณีที่ไฟไหมบริเวณรอบๆใหใชสารดับเพลิงที่เหมาะสมปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์พักในทา ครึ่งนั่งครึ่งนอนถาจําเปนใหใชเครื่องชวยหายใจนําสงแพทยทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึมได (ดู การสูดดม) สวมถุงมือ และชุดปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบู นําสงแพทยทางดวงตา แดง ปวด สวมหนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกินปวดเกร็งทอง(ดู การสูดดม)หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)จากนั้นนําสงแพทยบวนปาก ทําใหอาเจียนออกมา(ถาผูปวยมีสติ)ใหดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ํานําสงแพทยทันที (ดูหมายเหตุ)265


PHOSPHAMIDON ฟอสฟามิดอน ICSC :0189การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากการปองกันสวนบุคคล: ชุดปองกันสารเคมีรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว หามปลอยใหสารเขาสูสิ่งแวดลอม เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะบรรจุที่ไมใชโลหะที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยหามขนสงพรอมอาหารหรืออาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลอยางรุนแรงEU ClassificationSymbol: T+, NR: 24-28-68-50/53S: (1/2-)-23-36/37-45-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT6-II เก็บในที่ปดสนิท ไมมีชองระบายหรือทอระบายน้ําเก็บในที่ระบายอากาศไดดี เก็บแยกจากสารที่เปนดางอาหารและอาหารสัตวIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล266


PHOSPHAMIDON ฟอสฟามิดอน ICSC :0189ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวเปนมัน ไมมีสีถึงสีเหลืองอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนหรือเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษรวมทั้งฟอสฟอรัสออกไซด ไฮโดรเจนคลอไรดไนโตรเจนออกไซด ทําปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสกับดาง สารทําลายโลหะ เชน เหล็ก ดีบุก อะลูมิเนียมคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: BEI issued; (ACGIH 2005).ไมไดกําหนดคา MAKวิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาละอองของสาร เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารนอยมาก อยางไรก็ตามจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายเมื่อถูกพนเปนละอองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําใหดวงตาเกิดการระคายเคือง และอาจมีผลตอระบบประสาท ทําใหเกิดการชัก กดการหายใจและเสียชีวิตได การไดรับสารในระดับสูงอาจทําใหเสียชีวิตได เกิดการยับยั้งเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส ผลอาจเกิดขึ้นภายหลังควรอยูภายใตการดูแลของแพทยผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: เปนตัวยับยั้งเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส อาจเกิดผลจากการสะสมได(ดูอันตรายเฉียบพลัน/อาการ)คุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือดที่ 0.2 kPa : 162 ํCจุดหลอมเหลว : -45 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.2ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมการละลายในน้ํา: ละลายไดความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : 0.0033สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.8สารนี้เปนพิษอยางมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา สารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจตอผึ้ง นก เปนพิเศษ สารนี้สามารถเขาสูสิ่งแวดลอมไดจากการใชตามปกติ ควรใชอยางระมัดระวัง อยางไรก็ตามควรหลีกเลี่ยงการปลดปลอยเพิ่ม เชน การกําจัดทิ้งอยางไมเหมาะสมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะๆ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจง ในกรณีที่ไดรับสารพิษจากสารนี้ ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว ผลิตภัณฑทางการคามีสวนผสมของไอโซเมอร ตัวทําละลายชวย (carrier solvents) ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษได หามนําชุดทํางานกลับบาน ชื่อทางการคา ไดแก Pillarcron, Dimecron และ Phosronขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล267


PHOSPHORUS OXYCHLORIDE ฟอสฟอรัส ออกซีคลอไรด ICSC :0190วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 1997Phosphoryl chlorideTrichlorophosphorus oxideTrichlorophosphine oxideCAS # 10025-87-3 POCl 3RTECS # TH4897000 Molecular mass: 153.35UN # 1810EC Index # 015-009-00-5การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟการระเบิดอันตรายเฉียบพลัน/อาการไมติดไฟเมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามสัมผัสกับน้ํา ในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียง ใชสารดับไฟประเภทผงคารบอนไดออกไซด ทรายแหงหามใชสารที่มีสวนประกอบของน้ํา หามใชน้ํากรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําแตอยาใหน้ําสัมผัสสารโดยตรงการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดม เจ็บคอ ไอ ปวดแสบปวดรอนมึนงง หายใจลําบาก คลื่นไสปวดศีรษะ หมดสติ อาเจียนออนเพลีย หายใจถี่อาการอาจเกิดภายหลัง(ดูหมายเหตุ)ดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอนถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยทางผิวหนังทางดวงตาการกลืนกินแดง ปวด เปนแผลพุพองผิวหนังไหมตาแดง ปวด เปนแผลไหมลึกสูญเสียการมองเห็นปวดแสบปวดรอน ปวดทองช็อกหรือลมฟุบ(ดูหัวขอ การสูดดม)สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ํานําสงแพทยสวมหนากากปองกันหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก หามทําใหอาเจียนนําสงแพทย268


PHOSPHORUS OXYCHLORIDE ฟอสฟอรัส ออกซีคลอไรด ICSC :0190การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ทําการดูดระบายอากาศ เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะแหงที่ปดสนิทใหมากที่สุด ใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยใชเครื่องปองกันสวนบุคคล: ชุดปองกันสารเคมีรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัวใสในภาชนะผนึกปองกันอากาศ เก็บในบรรจุภัณฑที่ไมแตกหากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกได ใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ไมแตกและปดมิดชิดEU ClassificationSymbol: T+, CR: 14-22-26-29-35-48/23S: (1/2-)-7/8-26-36/37/39-45UN ClassificationUN Hazard Class: 8UN Pack Group: IIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-80S1810 or 80GC1-II-XNFPA Code: H3; F0; R2; WIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyดูหัวขออันตรายทางเคมี เก็บในที่เย็น แหง ปดสนิทเก็บในหองที่มีการระบายอากาศที่ดีการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล269


PHOSPHORUS OXYCHLORIDE ฟอสฟอรัส ออกซีคลอไรด ICSC :0190ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวสีน้ําตาลมีควัน มีกลิ่นฉุนอันตรายทางกายภาพ : ไอหนักกวาอากาศอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอน ทําใหเกิดควันที่เปนพิษและกัดกรอนทําลายเนื้อเยื่อ รวมทั้งไฮโดรเจนคลอไรดและฟอสฟอรัส ออกไซด สารทําปฏิกิริยากับน้ําอยางรุนแรงเกิดความรอนและสารจากการสลายตัว รวมทั้งกรดไฮโดรคลอริกและกรดฟอสฟอริก เปนสาเหตุใหเกิดไฟไหมและการระเบิด ทําปฏิกิริยารุนแรงกับ แอลกอฮอล ฟนอล เอมีน และสารอื่นๆอีกหลายชนิดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.1 ppm as TWA; (ACGIH 2004).MAK: 0.2 ppm, 1.3 mg/m 3 ; Peak limitation category: I(1); Pregnancy risk group: C; (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอของสาร และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารกัดกรอนดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ การสูดดมไอระเหยของสารอาจทําใหเกิดปอดบวมน้ํา(ดูหมายเหตุ) การสัมผัสสารในระดับสูงอาจทําใหเสียชีวิตได ผลอาจเกิดขึ้นภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 105.8 ํCจุดหลอมเหลว : 1.25 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.645ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมการละลายในน้ํา: เกิดปฏิกิริยาตอกันความดันไอ kPa ที่ 27.3 ํC : 5.3ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 5.3หมายเหตุสารทําปฏิกิริยารุนแรงกับสารดับเพลิงที่เปนน้ํา อาการปอดบวมน้ํา มักจะไมปรากฏในทันทีจนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพัก และใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ควรทําการรักษาระบบทางเดินหายใจที่เหมาะสมในทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมายขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล270


PROPOXUR โพรพอกเซอร ICSC :0191วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 19942-Isopropoxyphenyl methylcarbamatePhenol, 2-(1-methylethoxy)-,methylcarbamate2-(1-Methylethoxy)phenyl methylcarbamatePHCCAS # 114-26-1 C 11 H 15 NO 3RTECS # FC3150000 Molecular mass: 209.2UN # 2757EC Index # 006-016-00-4การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟไดในสภาวะจําเพาะ ตํารับที่เปนของเหลวที่มี สารละลายอินทรียอาจติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดหลีกเลี่ยงการไดรับสัมผัสโดยเฉพาะในวัยรุนและเด็กการสูดดม มึนงง ปวดศีรษะ เหงื่อออกหายใจลําบาก คลื่นไส หมดสติอาเจียน รูมานตาหด กลามเนื้อเปนตะคริว น้ําลายไหลมากทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึม(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)การปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟม หรือคารบอนไดออกไซดใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางดวงตา รูมานตาหด ตาพรา สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจถาสารเปนผงการกลืนกินปวดทอง ชัก ทองเสีย ออนเพลียกลามเนื้อกระตุก(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)ใหปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอนนําสงแพทยดูหมายเหตุสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออก ลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ํา นําสงแพทยหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยใหดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ําทําใหอาเจียนออกมา(ถาผูปวยมีสติ) นําสงแพทยดูหมายเหตุ271


PROPOXUR โพรพอกเซอร ICSC :0191การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากหามลางลงทอระบายน้ํา เก็บกวาดสารที่หกใสภาชนะที่ปดสนิทถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน เก็บสวนที่เหลืออยางระมัดระวัง นําไปทิ้งในที่ที่ปลอดภัย(ใชเครื่องปองกันสวนบุคคล: ชุดปองกันสารเคมีที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)หามขนสงพรอมอาหารหรืออาหารสัตว เปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T, NR: 25-50/53S: (1/2-)-37-45-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT7-III ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวเก็บในหองที่มีการระบายอากาศที่ดีIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล272


PROPOXUR โพรพอกเซอร ICSC :0191ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ผงผลึกสีขาวอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนหรือเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษ รวมทั้ง เมทธิลไอโซไซยาเนทไนโตรเจนออกไซดคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.5 mg/m 3 as TWA; A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to humans); BEI issued; (ACGIH 2004).MAK: (Inhalable fraction) 2 mg/m 3 ; Peak limitation category: II(8); (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะเกิดนอยมาก อยางไรก็ตามจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายเมื่อถูกพนเปนละอองหรือเมื่อฟุงกระจาย โดยเฉพาะเมื่อสารเปนผงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารอาจมีผลตอระบบประสาท ไต ตับ เปนผลใหการหายใจลมเหลว ชัก และเนื้อเยื่อถูกทําลายเปนสารยับยั้งเอนไซมโคลินเอสเทอเรส การไดรับสัมผัสสารอาจทําใหเสียชีวิตไดคุณสมบัติทางกายภาพจุดหลอมเหลว : 91 ํCการละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) : 0.2 (แย)ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความดันไอ Pa ที่ 20 ํ C : 0.001สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 1.52สารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา ผึ้ง นก สัตวเลี้ยงลูกดวยนม และสิ่งมีชีวิตในดินเปนพิเศษหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะๆ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว ถาสารผสมกับตัวทําละลายควรศึกษา ICSC ของตัวทําละลายนั้น ตัวทําละลายชวย (carrier solvents) ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาด อาจเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษไดชื่อทางการคา ไดแก Baygon, Blattanex, Bolfo, Invisi-Gard, Isocarb, o-IMPC, Propyon, Rhoden, Sendran, Suncide, Tendex, TugonFliegenkugel, Unden, Undene หากสูตรตํารับมีตัวทําละลายไฮโดรคารบอน หามทําใหอาเจียนขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล273


PROPYLENE OXIDE โพรพีลีน ออกไซด ICSC :0192วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : มีนาคม 19951,2-EpoxypropaneMethyloxiraneMethyl ethylene oxidePropene oxideCAS # 75-56-9 CH 3 CHCH 2 O / C 3 H 6 ORTECS # TZ2975000 Molecular mass: 58.1UN # 1280EC Index # 603-055-00-4การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟการระเบิดอันตรายเฉียบพลัน/อาการไวไฟสูงมาก ความรอนจะทําใหความดันสูงขึ้นซึ่งเสี่ยงตอการเกิดระเบิดสวนผสมของไอ/อากาศอาจระเบิดไดการปองกันหามอยูใกลเปลวไฟ หรือประกายไฟและหามสูบบุหรี่ทําเปนระบบปด มีการดูดระบายอากาศใชอุปกรณไฟฟาและไฟสองสวางที่สามารถปองกันการเกิดระเบิดไดหามใชอากาศอัดในการเติม การปลอยทิ้งหรือการขนยาย ใชเครื่องมือที่ไมเกิดประกายไฟการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผงโฟมที่ทนตอแอลกอฮอล น้ําฉีดหรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหดับไฟจากที่กําบังที่ปลอดภัยการไดรับสัมผัสปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดการสูดดม ไอ เจ็บคอ ดูดระบายอากาศใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆหรืออาบน้ําทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานบวนปาก ดื่มน้ํามากๆนําสงแพทย274


PROPYLENE OXIDE โพรพีลีน ออกไซด ICSC :0192การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนออกจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญเก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใชทรายหรือสิ่งดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย หามลางลงทอระบายน้ําใชเครื่องปองกันสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัวเก็บในบรรจุภัณฑที่ไมแตก หากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกไดใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ไมแตกและปดมิดชิดEU ClassificationSymbol: F+, TR: 45-46-12-20/21/22-36/37/38S: 53-45Note: [E]UN ClassificationUN Hazard Class: 3UN Pack Group: Iการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-30S1280 or 30GF1-I+IINFPA Code: H2; F4; R2IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บในที่ปองกันไฟได เก็บแยกจากกรด ดาง และสารออกซิไดซเก็บในที่เย็นการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล275


PROPYLENE OXIDE โพรพีลีน ออกไซด ICSC :0192ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวระเหยงายไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางกายภาพ : ไอหนักกวาอากาศและสามารถไหลไปตามพื้นได จึงอาจติดไฟในระยะหางออกไปไดอันตรายทางเคมี : สารอาจเกิดโพลิเมอรอยางรุนแรงภายใตอิทธิพลของดาง กรด และโลหะคลอไรด พรอมกับการติดไฟหรือการระเบิดทําปฏิกิริยารุนแรงกับคลอรีน แอมโมเนีย สารออกซิไดซที่แรง กรด ทําใหเกิดไฟไหมและระเบิดไดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 2 ppm as TWA; A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to humans); SEN; (ACGIH 2004).MAK: skin absorption (H); Carcinogen category: 2; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารระคายเคืองตอดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: การไดรับสัมผัสทางผิวหนังทําใหผิวหนังไวตอสิ่งกระตุนและอาจเปนสารกอมะเร็งในมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 34 ํCจุดหลอมเหลว : -104 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 0.8การละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) : 40.5ความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C : 59ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 2.0ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1.6จุดวาบไฟ : -37 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง: 449 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 2-38.5สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 0.03ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุไมมีกลิ่นเตือนเมื่อสารมีความเขมขนถึงขั้นเปนพิษขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล276


RESORCINOL DIGLYCIDYL ETHER รีซอรซินอล ไดไกลซิดิล อีเธอร ICSC :0193วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : ตุลาคม 2005Diglycidyl resorcinol etherm-bis(2,3-Epoxypropoxy)benzene1,3-DiglycidyloxybenzeneCAS # 101-90-6 C 12 H 14 O 4RTECS # VH1050000 Molecular mass: 222.2UN #EC Index # 603-065-00-9การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ติดไฟได หามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดการระเบิดการไดรับสัมผัส ดูหัวขอ ผลของการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณีสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆการสูดดม ไอ เจ็บคอ ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่ ใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักหรือใชเครื่องปองกันการหายใจทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึม แดง ปวด สวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)จากนั้นนําสงแพทยบวนปาก277


RESORCINOL DIGLYCIDYL ETHER รีซอรซินอล ไดไกลซิดิล อีเธอร ICSC :0193การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันสารเคมีรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่มีฝาปด ใชทรายหรือสิ่งดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยIPCSInternational Programmeon Chemical SafetyEU ClassificationSymbol: XnR: 21/22-36/38-40-43-68-52/53S: (2-)-23-36/37-61UN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาเก็บแยกจากกรดแก ดางแก เอมีน และสารออกซิไดซที่แรงเก็บในที่เย็นและมืดการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล278


RESORCINOL DIGLYCIDYL ETHER รีซอรซินอล ไดไกลซิดิล อีเธอร ICSC :0193ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวหรือ paste สีเหลือง มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางเคมี : สารนี้อาจทําใหเกิดเปอรออกไซดที่ระเบิดได ทําปฏิกิริยากับเอมีน กรด ดาง และ สารออกซิไดซอยางแรงคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVMAK: skin absorption (H); sensitization of skin (Sh); Carcinogen category: 2; (DFG 2005).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยเขาทางผิวหนัง และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC ไมมีการบงชี้ถึงอัตราการระเหยของสารที่จะทําใหอากาศเปนอันตรายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําใหดวงตาเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง และทําใหผิวหนัง และทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ : การไดรับสัมผัสทางผิวหนังอาจทําใหผิวหนังไวตอสิ่งกระตุนและอาจเปนสารกอมะเร็งในมนุษยคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือดที่ 0.0001 kPa : 172 ํCจุดหลอมเหลว : 32-33 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.21ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 7.7จุดวาบไฟ : 113 ํC c.c.(closed cup)หมายเหตุผลตอสุขภาพที่รายงานเปนผลเฉพาะสารที่เปน technical grade หามนําชุดทํางานกลับบาน ตรวจสอบเปอรออกไซดกอนทําการกลั่นทําใหหมดไปถาตรวจพบขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล279


ROCK WOOL รอก วูล ICSC :0194วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2000Stone woolCAS #RTECS #UN #EC # 650-016-00-2การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ไมติดไฟ ในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียงใชสารดับไฟประเภทใดก็ไดการระเบิดการไดรับสัมผัส ดูหัวขอ ผลของการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆการสูดดม เจ็บคอ หายใจลําบาก ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง คัน สวมถุงมือและเสื้อผาปองกันทางดวงตา แดง ปวด คัน สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)จากนั้นนําสงแพทยการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางาน280


ROCK WOOL รอก วูล ICSC :0194การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะ ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจใช P2 filterสําหรับ อนุภาคสารอันตราย)EU ClassificationSymbol: XnR: 38-40S: (2-)36/37Note: A, Q, RUN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล281


ROCK WOOL รอก วูล ICSC :0194ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ใยของแข็งคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน : TLV: (as TWA) 1 f/cc A3 (ACGIH 1999).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สารนี้สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนังและทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ : อาจเปนสารกอมะเร็งในมนุษย โดยความรุนแรงขึ้นกับความยาวเสนผานศูนยกลาง องคประกอบทางเคมีและคุณสมบัติทางชีววิทยาของเสนใยไฟเบอร ในการทํางานที่มีสารนี้อยูควรไดรับคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญคุณสมบัติทางกายภาพการละลายในน้ํา: ไมละลายขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุรอก วูล เปนผลึกสารซิลิเกตรูปรางไมแนนอน(amorphous) ผลิตจากหิน อาจมีสารยึดเกาะหรือน้ํามันเพื่อลดการฟุงกระจายของฝุนสารขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล282


SLAG WOOL สแลกวูล ICSC :0195วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2000CAS #RTECS #UN #EC # 650-016-00-2การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ไมติดไฟ ในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียงใชสารดับไฟประเภทใดก็ไดการระเบิดการไดรับสัมผัส ดูหัวขอ ผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารการสูดดม เจ็บคอ หายใจลําบาก ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง คัน สวมถุงมือและเสื้อผาปองกันทางดวงตา แดง ปวด คัน สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกิน หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางาน283


SLAG WOOL สแลกวูล ICSC :0195การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะ ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย(ใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจใช P2 filterสําหรับ อนุภาคสารอันตราย)EU ClassificationSymbol: XnR: 38-40S: (2-)36/37Note: A, Q, RUN Classificationการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล284


SLAG WOOL สแลกวูล ICSC :0195ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ใยของแข็งคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: (as TWA) 1 f/cc A3 (ACGIH 1999).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สารนี้สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้จะทําใหดวงตา ผิวหนังและทางเดินหายใจเกิดการระคายเคืองผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: อาจเปนสารกอมะเร็งในมนุษย โดยความรุนแรงขึ้นกับความยาวเสนผานศูนยกลาง สวนประกอบทางเคมีและคุณสมบัติทางชีววิทยาของเสนใยไฟเบอร ในการทํางานที่มีสารนี้อยูควรไดรับคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญคุณสมบัติทางกายภาพการละลายในน้ํา: ไมละลายขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสแลกวูล เปนผลึกสารซิลิเกตรูปรางไมแนนอน(amorphous) ผลิตจากขี้โลหะ(slag) อาจมีสารยึดเกาะหรือน้ํามันเพื่อลดการฟุงกระจายของฝุนสารหมายเหตุขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล285


SODIUM BROMATE โซเดียม โบรเมท ICSC :0196วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2006Bromic acid, sodium saltCAS # 7789-38-0 NaBrO 3RTECS # EF8750000 Molecular mass: 150.9UN # 1494EC/EINECS # 232-160-4การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟ แตชวยใหสารอื่นติดไฟเมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด เสี่ยงตอการติดไฟหรือการระเบิดเมื่อสารสัมผัสกับสารที่ติดไฟไดหรือสารรีดิวซการปองกันหามสัมผัสสารที่ติดไฟไดหรือสารรีดิวซการปฐมยาบาล/การดับไฟใชน้ําปริมาณมากการไดรับสัมผัส ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารการสูดดม ไอ เจ็บคอ(ดูหัวขอ การกลืนกิน)ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยทางผิวหนัง แดง สวมถุงมือปองกัน ลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบูทางดวงตา แดง ปวด สวมแวนนิรภัยหรือเครื่องปองกันนัยนตาพรอมเครื่องปองกันการหายใจ ถาสารเปนผงลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยการกลืนกินปวดทอง ทองเสีย งวงซึมหายใจลําบาก คลื่นไส อาเจียนหูหนวก หมดสติ (ดูผลการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น)หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานบวนปากใหดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ํานําสงแพทย286


SODIUM BROMATE โซเดียม โบรเมท ICSC :0196การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจใช P3 filterสําหรับ อนุภาคสารพิษ เก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะที่ปดสนิท ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันการเกิดฝุน เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยหามดูดซับสารดวยขี้เลื่อยหรือสารดูดซับที่ติดไฟไดการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-51GO2-I+II+III เก็บแยกจากสารที่ติดไฟไดและสารรีดิวซดูหัวขออันตรายทางเคมีIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล287


SODIUM BROMATE โซเดียม โบรเมท ICSC :0196ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ผลึกไมมีสีอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอน ทําใหเกิดควันที่เปนพิษและกัดกรอนทําลายเนื้อเยื่อ รวมทั้งไฮโดรเจนโบรไมดสารนี้เปนสารออกซิไดซที่แรง ทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับสารที่ติดไฟได สารรีดิวซ เชื้อเพลิงและผงโลหะ จาระบี สารที่มีสวนประกอบของกํามะถัน เปนสาเหตุทําใหเกิดไฟไหมและการระเบิดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVไมไดกําหนดคา MAKวิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาละอองสารเขาไป และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ปริมาณของสารในอากาศจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วเมื่อฟุงกระจาย โดยเฉพาะเมื่อสารเปนผงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้อาจทําใหดวงตา ผิวหนัง ทางเดินหายใจเกิดการระคายเคือง สารอาจมีผลตอไตและระบบประสาทเมื่อกลืนกิน เปนผลใหไตวาย กดการหายใจ สูญเสียการไดยิน ระบบประสาทสวนปลายผิดปกติ ผลอาจเกิดในเวลาตอมาคุณสมบัติทางกายภาพสลายตัวที่ : 381 ํCการละลายในน้ํา (g/100 ml ที่ 20 ํ C) : 36.4ความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 3.34ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหมายเหตุเมื่อสารปนเปอนสารอินทรีย โลหะ และคารบอน จะทําใหไวตอการกระทบกระเทือน ลางเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกดวยน้ํามากๆเพราะอาจทําใหเกิดการติดไฟไดขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล288


STRYCHNINE สตริ๊กนีน ICSC :0197วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2000Strychnidin-10-oneCAS # 57-24-9 C 21 H 22 N 2 O 2RTECS # WL2275000 Molecular mass: 334.4UN # 1692EC Index # 614-003-00-5การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ไมติดไฟ เมื่อติดไฟใหควัน(หรือกาซ) ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการปฐมยาบาล/การปองกันการดับไฟหามสัมผัสกับสารออกซิไดซ ในกรณีที่เกิดไฟใหมบริเวณใกลเคียง: ใชสารดับไฟประเภทที่เหมาะสมการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ใหปรึกษาแพทยทุกกรณีการสูดดม ชัก กลามเนื้อตึง ช็อกหรือลมฟุบ ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยทางผิวหนัง สวมถุงมือปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางผิวหนังดวยน้ําและสบูนําสงแพทยทางดวงตา สวมแวนนิรภัย ลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)จากนั้นนําสงแพทยการกลืนกิน ชัก กลามเนื้อตึง ช็อกหรือลมฟุบ หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารบวนปาก นําสงแพทยหามรบกวนผูปวย289


STRYCHNINE สตริ๊กนีน ICSC :0197การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากหามปลอยสารออกสูสภาพแวดลอม เก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะที่ปดสนิท ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุน เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย(ใสใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: เครื่องชวยหายใจติดตัว)เก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลEU ClassificationSymbol: T+, NR: 27/28-50/53S: (1/2-)-36/37-45-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: Iการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT2-I ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากสารออกซิไดซ อาหารและอาหารสัตวเก็บในที่ปดสนิทIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล290


STRYCHNINE สตริ๊กนีน ICSC :0197ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ผลึกไมมีสี ไมมีกลิ่น มีรสขมอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอน ทําใหเกิดควันที่เปนพิษ รวมทั้งไนโตรเจนออกไซด สารเปนดางออนทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางแรง ทําใหเกิดไฟไหมหรือระเบิดไดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: 0.15 mg/m 3 as TWA; (ACGIH 2004).MAK: IIb (not established but data is available) (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอระเหยของสาร และโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ :ที่อุณหภูมิ 20 ํC เกิดการระเหยไดนอยมาก อยางไรก็ตามปริมาณของสารในอากาศอาจเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนถึงจุดอันตรายจากการฟุงกระจาย โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อสารเปนผงผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารนี้อาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง ทําใหเกิดอาการชัก กลามเนื้อหดตัวการหายใจลมเหลว การไดรับสัมผัสอาจทําใหเสียชีวิตไดคุณสมบัติทางกายภาพสลายตัวที่อุณหภูมิต่ํากวาจุดเดือดจุดหลอมเหลว : 275-285 ํCความหนาแนน : 1.36 g/cm 3ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมการละลายในน้ํา : ไมละลายสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 1.68สารนี้เปนพิษอยางมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา สารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจตอนกเปนพิเศษ สารเขาสูสิ่งแวดลอมไดจากการใชสารตามปกติ จึงควรเอาใจใสอยางมาก อยางไรก็ตาม ควรหลีกเลี่ยงวิธีที่เปนการเพิ่มการปลดปลอย เชน การกําจัดทิ้งอยางไมเหมาะสมหมายเหตุตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไวขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล291


SULPHURYL CHLORIDE ซัลฟูริล คลอไรด ICSC :0198วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : มีนาคม 1998Sulphuryl dichlorideSulfonyl chlorideSulfur chloride oxideCAS # 7791-25-5 SO 2 Cl 2RTECS # WT4870000 Molecular mass: 134.96UN # 1834EC Index # 016-016-00-6การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟการติดไฟ ไมติดไฟ ในกรณีที่เกิดไฟไหมบริเวณใกลเคียง ใชสารดับเพลิงผงหรือคารบอนไดออกไซดหามใชน้ําการระเบิด ในกรณีที่เกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิถังเก็บโดยการฉีดน้ํา แตอยาใหน้ําสัมผัสสารโดยตรงการไดรับสัมผัส หลีกเลี่ยงการสัมผัสทุกกรณี ปรึกษาแพทยในทุกกรณีการสูดดมทางผิวหนังทางดวงตาการกลืนกินปวดแสบปวดรอน ไอ หายใจลําบาก หายใจถี่ เจ็บคอ อาการอาจเกิดภายหลัง (ดูหมายเหตุ)แดง ปวด เปนแผลพุพองผิวหนังไหมตาแดง ปวดสูญเสียการมองเห็นเปนแผลไหมลึกปวดทอง ปวดแสบปวดรอนช็อกหรือลมฟุบ (ดูการสูดดม)ดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือเครื่องปองกันการหายใจใหรับอากาศบริสุทธิ์พักในทาครึ่งนั่งครึ่งนอนถาจําเปนใหชวยการหายใจนําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ํามากๆ หรืออาบน้ํานําสงแพทยสวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกันพรอมเครื่องปองกันการหายใจหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก หามทําใหอาเจียน292


SULPHURYL CHLORIDE ซัลฟูริล คลอไรด ICSC :0198การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุดใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย หามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอมใชเครื่องปองกันพิเศษสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัวEU ClassificationSymbol: CR: 14-34-37S: (1/2-)-26-45UN ClassificationUN Hazard Class: 8UN Pack Group: Iการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-80S1894 or 80SGC1-I-XNFPA Code: H3; F0; R2;เก็บแยกจากดางที่แรง และเก็บในที่แหงIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล293


SULPHURYL CHLORIDE ซัลฟูริล คลอไรด ICSC :0198ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวไมมีสีถึงสีเหลือง มีกลิ่นฉุน และสารจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองเมื่อสัมผัสอากาศหรือแสงอันตรายทางกายภาพ : ไอระเหยหนักกวาอากาศอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อสัมผัสกับอากาศชื้นได คลอรีน ซัลเฟอรออกไซด กรดซัลฟุริก และไฮโดรเจนคลอไรดสารทําปฏิกิริยารุนแรงกับน้ํา ทําลายโลหะหลายชนิดเมื่อมีน้ําคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :ไมไดกําหนดคา TLVไมไดกําหนดคา MAKวิถีทางของการไดรับสัมผัส :สามารถเขาสูรางกายไดโดยการหายใจเอาไอระเหยของสารความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารมีฤทธิ์กัดกรอนดวงตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ การสูดดมไอระเหยของสารอาจทําใหเกิดอาการปอดบวมน้ํา (ดูหมายเหตุ) สารอาจมีผลตอทางเดินหายใจ การสัมผัสอาจทําใหเสียชีวิต ผลอาจเกิดขึ้นภายหลังควรอยูภายใตการดูแลของแพทย.คุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด : 69.1 ํCจุดหลอมเหลว : -54.1 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 1.67การละลายในน้ํา : เกิดปฏิกิริยากันความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C : 14.8ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 4.65ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศ ที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1.5ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจตอสิ่งแวดลอมทางน้ําเปนพิเศษหมายเหตุอาการปอดบวมน้ํา มักจะไมปรากฏทันที จนเวลาผานไป 2-3 ชั่วโมง อาการจะรุนแรงขึ้นถามีการออกแรงอยางหนัก ดังนั้นตองใหพักและใหแพทยตรวจและสังเกตอาการ ควรทําการรักษาระบบการหายใจที่เหมาะสมในทันทีโดยแพทยหรือผูที่ไดรับมอบหมายหามนําชุดทํางานกลับบาน หามใชสารใกลกับไฟ พื้นผิวที่รอน หรือระหวางการเชื่อมโลหะตางๆขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล294


TEMEPHOS เทเมฟอส ICSC :0199วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2007O,O,O',O'-Tetramethyl O,O'-thiodi-p-phenylene bis(phosphorothioate)O,O'-(Thiodi-4,1-phenylene) bis(O,O-dimethylphosphorothioate)Phosphorothioic acid, O,O'-(thiodi-4,1-phenylene) O,O,O',O'-tetramethyl esterCAS # 3383-96-8 C 16 H 20 O 6 P 2 S 3RTECS # TF6890000 Molecular mass: 466.5UN # 2783การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสอันตรายเฉียบพลัน/อาการการติดไฟ ติดไฟได ตํารับที่เปนของเหลวที่มีตัวทําละลายอินทรียอยูอาจติดไฟได เมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิดการปองกันการปฐมยาบาล/การดับไฟหามอยูใกลเปลวไฟ ใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดการไดรับสัมผัส -- ปองกันการฟุงกระจายของฝุนสารปองกันการเกิดไอหมอกของสารการสูดดม มึนงง คลื่นไส กลามเนื้อกระตุก ดูดระบายอากาศเหงื่อออก รูมานตาหด(ไมตองถาสารเปนผง)กลามเนื้อเปนตะคริว ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่น้ําลายไหลมาก อาเจียน ทองเสีย หรือใชเครื่องปองกันการหายใจหายใจลําบาก ชัก หมดสติทางผิวหนังอาจถูกดูดซึม(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)กรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ํา--ใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบู นําสงแพทยทันทีทางดวงตา ตาพรา สวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกันพรอมเครื่องปองกันการหายใจการกลืนกิน ปวดทอง (ดูเพิ่มเติม การสูดดม) หามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆ(ถอดคอนแทคเลนสถาทําได)นําสงแพทยบวนปาก นําสงแพทย295


TEMEPHOS เทเมฟอส ICSC :0199การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากการปองกันสวนบุคคล: สวมเครื่องกรองหายใจสําหรับกาซอินทรียและปรับมาสําหรับความเขมขนของสารที่ปนเปอนในอากาศหามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอม เก็บกวาดสารที่หกออกมาใสภาชนะที่มีฝาปด ถาเปนไปไดทําใหสารชื้นกอนเพื่อปองกันไมใหเกิดฝุนสาร เก็บกวาดสวนที่เหลืออยางระมัดระวังแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยหามขนสงพรอมอาหารหรืออาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลUN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: IIIGHS Classificationอันตรายเปนพิษเมื่อสัมผัสกับผิวหนังเปนอันตรายหากกลืนกินเปนอันตรายหากสูดดมมีผลใหระบบประสาทถูกทําลายเปนพิษอยางมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ําเปนพิษอยางมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ําและผลจะคงอยูนานการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61GT7-III ตองมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิงเก็บแยกจากอาหารหรืออาหารสัตว เก็บในที่ปดสนิทเก็บในบริเวณที่ไมมีทางระบายน้ําหรือทอระบายน้ําเขาถึงIPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล296


TEMEPHOS เทเมฟอส ICSC :0199ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ผลึกหรือของเหลวไมมีสีหรือสีขาวอันตรายทางเคมี : สารสลายตัวเมื่อไดรับความรอนหรือเผาไหม ทําใหเกิดควันที่เปนพิษ รวมถึง ฟอสฟอรัสออกไซด และซัลเฟอรออกไซดคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: (as TWA) 1 mg/m 3 Inhalable fraction and vapor (skin); A4 (not classifiable as a human carcinogen); BEI issued; (ACGIH 2006).ไมไดกําหนดคา MAKวิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนจนถึงขั้นเปนพิษอยางชาๆ หรือไมเกิดขึ้นผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : ยับยั้งเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส สารอาจมีผลตอระบบประสาท ทําใหเกิดการชักและกดการหายใจ ผลอาจเกิดภายหลัง ควรอยูภายใตการดูแลของแพทย การสัมผัสสารเกินกวา คาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางานอาจสงผลใหเสียชีวิตไดผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะยาวหรือไดรับซ้ําๆ: เปนสารที่ยับยั้งเอนไซมโคลีนเอสเทอเรส อาจสงผลแบบเรื้อรังไดดูเพิ่มเติม อันตรายเฉียบพลัน/อาการคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือด (สลายตัว) : 120-125 ํCจุดหลอมเหลว : 30 ํCความหนาแนน : 1.3 g/cm 3ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมการละลายในน้ํา : ไมละลายน้ําความดันไอ Pa ที่ 25 ํ C : นอยมากสัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 5.96สารเปนพิษอยางมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา สารนี้อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ควรใหความสนใจตอผึ้งเปนพิเศษ อาจเกิดการสะสมของสาร สารนี้เขาสูสิ่งแวดลอมไดจากการใชตามปกติ ตองระวังเปนพิเศษ ในการหลีกเลี่ยงการทําใหสารเขาสูสิ่งแวดลอมเพิ่มเติม เชนการกําจัดสารโดยวิธีที่ไมเหมาะสมหมายเหตุอันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะๆ ตองไดรับการรักษาอยางเฉพาะเจาะจงในกรณีที่ไดรับพิษจากสารนี้ ตองมีคําแนะนําวิธีการรักษาที่ถูกตองเตรียมพรอมไว ตัวทําละลายชวย (carrier solvents) ที่ใชในตํารับที่ขายในทองตลาดอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนสมบัติทางกายภาพและความเปนพิษได สารชนิด technical grade (90-95%) เปนของเหลวขนหนืดสีน้ําตาล ชื่อการคา ไดแก Abate, Abathion, Swebate, Nimitex และ Biothionขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล297


TETRAMETHYL LEAD เตตระเมทธิล ลีด ICSC :0200วันที่มีการทบทวนวรรณกรรม (Date of Peer-Review) : เมษายน 2005Tetramethyl plumbaneCAS # 75-74-1 Pb(CH 3 ) 4 / C 4 H 12 PbRTECS # TP4725000 Molecular mass: 267.4UN # 1649EC Annex 1 Index # 082-002-00-1EC/EINECS # 200-897-0การเกิดอันตราย/การไดรับสัมผัสการติดไฟอันตรายเฉียบพลัน/อาการไวไฟเมื่อติดไฟใหควัน (หรือกาซ)ที่ระคายเคืองหรือเปนพิษการระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกวา 37.8 องศาเซลเซียส อาจเกิดสวนผสมของไอ/ อากาศที่ระเบิดไดการไดรับสัมผัสการสูดดม ชัก มึนงง ปวดศีรษะ คลื่นไสหมดสติ อาการอาจเกิดภายหลัง(ดูหมายเหตุ)ทางผิวหนัง อาจถูกดูดซึม(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)ทางดวงตาการกลืนกินปวดทอง ปวดแสบปวดรอนทองเสีย ชา(ดูเพิ่มเติม การสูดดม)การปองกันหามอยูใกลเปลวไฟหรือประกายไฟ และหามสูบบุหรี่ที่อุณหภูมิสูงกวา 37.8 ํCทําเปนระบบปดมีการดูดระบายอากาศ ใชอุปกรณไฟฟาที่สามารถปองกันการเกิดระเบิดไดปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยโดยเครงครัดดูดระบายอากาศใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่หรือใชเครื่องปองกันการหายใจการปฐมยาบาล/การดับไฟใชสารดับเพลิงผง น้ําฉีด โฟมหรือคารบอนไดออกไซดกรณีเกิดไฟไหม ลดอุณหภูมิของถังเก็บโดยการฉีดน้ําใหดับไฟจากที่กําบังที่ปลอดภัยปรึกษาแพทยในทุกกรณีใหรับอากาศบริสุทธิ์ นอนพักนําสงแพทยสวมถุงมือและเสื้อผาปองกัน ถอดเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออกลางและทําความสะอาดผิวหนังดวยน้ําและสบู นําสงแพทยสวมแวนนิรภัยหรือหนากากปองกันพรอมเครื่องปองกันการหายใจหามดื่ม รับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ระหวางทํางานลางมือกอนรับประทานอาหารลางตาดวยน้ํามากๆหลายๆนาที(ถอดคอนแทคเลนส ถาทําได)จากนั้นนําสงแพทยบวนปากใหดื่มผงถานกัมมันตละลายน้ํานําสงแพทย298


TETRAMETHYL LEAD เตตระเมทธิล ลีด ICSC :0200การจัดการเมื่อมีการรั่วไหล การบรรจุและติดฉลากเคลื่อนยายผูคนจากพื้นที่อันตราย ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ เก็บรวบรวมสารที่เปนของเหลวที่หกออกมาใสในภาชนะที่ปดสนิทใหมากที่สุดใชทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย(inert absorbent)โรยที่ของเหลวที่เหลือแลวนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย หามปลอยสารนี้เขาสูสิ่งแวดลอม(การปองกันสวนบุคคล: ชุดปองกันที่ครบถวนรวมถึงเครื่องชวยหายใจติดตัว)เก็บในบรรจุภัณฑที่ไมแตก หากเก็บในบรรจุภัณฑที่แตกได ใหนําบรรจุภัณฑนั้นไปใสในภาชนะที่ไมแตกและปดมิดชิดหามขนสงพรอมกับอาหารและอาหารสัตวเปนมลภาวะทางทะเลNote : A,E,1EU ClassificationSymbol: T+, NR: 61-26/27/28-33-62-50/53S: 53-45-60-61UN ClassificationUN Hazard Class: 6.1UN Pack Group: Iการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การเก็บรักษาTransport Emergency Card: TEC (R)-61S1649NFPA Code: H 3; F 3; R 3;IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyเก็บในที่ปองกันไฟได เก็บแยกจากสารออกซิไดซอยางแรงกรดแก อาหารและอาหารสัตว เก็บในที่เย็นและปดสนิทเก็บในที่ที่ไมมีทอระบายน้ําเขาถึงการพัฒนา International Chemical Safety Card (ICSC) ดําเนินการโดย IPCS หรือโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางดานสารเคมี ซึ่งเปนความรวมมือระหวางองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และองคการอนามัยโลก (WHO) รวมกับสหภาพยุโรป (Commission of the EuropeanCommunities) ©IPCS, CEC 2005การแปล ICSC เปนภาษาไทย ดําเนินการโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล299


TETRAMETHYL LEAD เตตระเมทธิล ลีด ICSC :0200ขอมูลสําคัญสถานะทางกายภาพลักษณะ : ของเหลวไมมีสี มีกลิ่นเฉพาะตัวอันตรายทางกายภาพ : ไอระเหยหนักกวาอากาศอันตรายทางเคมี : หากสารไดรับความรอนมากกวา 90 ํC อาจเกิดการระเบิดได สารสลายตัวเมื่อเผาไหมเกิดเปนกาซพิษ รวมถึงปรอท ปรอทออกไซด ทําปฏิกิริยารุนแรงกับสารออกซิไดซที่แรง กรดแก และ กรดไนตริก สารทําลายยางคาขีดจํากัดที่ยอมใหสัมผัสไดจากการทํางาน :TLV: (as lead) 0.15 mg/m 3 as TWA; (skin); (ACGIH 2005).MAK: 0.05 mg/m 3 ; Peak limitation category: II(2); skin absorption (H); Pregnancy risk group: D; (DFG 2004).วิถีทางของการไดรับสัมผัส : สามารถเขาสูรางกายโดยการหายใจ เขาทางผิวหนังและโดยการกลืนกินความเสี่ยงจากการหายใจ : ที่อุณหภูมิ 20 ํC การระเหยของสารจะทําใหอากาศปนเปอนและเปนพิษอยางรวดเร็วผลของการไดรับสัมผัสสารในระยะสั้น : สารอาจมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง เปนผลใหสมองผิดปกติ ผลอาจเกิดขึ้นภายหลังดังนั้นควรอยูภายใตการดูแลของแพทย การไดรับสัมผัสอาจทําใหเสียชีวิตคุณสมบัติทางกายภาพจุดเดือดที่ 1.33 kPa: 110 ํCจุดหลอมเหลว : -27.5 ํCความหนาแนนสัมพัทธ(น้ํา=1) : 2.0การละลายในน้ํา : ไมละลายน้ําความดันไอ kPa ที่ 20 ํ C :3.0ความหนาแนนไอสัมพัทธ(อากาศ = 1) : 6.5ความหนาแนนสัมพัทธของสวนผสม ไอ/อากาศที่ 20 ํ C (อากาศ=1) : 1.23จุดวาบไฟ : 37.8 ํC c.c.(closed cup)อุณหภูมิที่ติดไฟไดเอง :254 ํCคาจํากัดการระเบิด รอยละของปริมาตรสารในอากาศ: 1.8-?สัมประสิทธิ์การแบงสวน Octanol/น้ํา ตาม log Pow : 6.2ขอมูลผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสารเปนพิษอยางมากตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา การสะสมของสารในสิ่งมีชีวิตในหวงโซอาหารอาจเกิดขึ้นได เชน สัตวจําพวกหอย หรือ ปลาหมายเหตุสารที่จําหนายในทองตลาดเปนสารไมบริสุทธิ์ มีสีแดง สม หรือน้ําเงิน ซึ่งเติมสารที่ทําใหคงตัว (1,2-dichloroethane, toluene) อันตรายขึ้นกับความรุนแรงของการไดรับสัมผัสสาร ควรไปรับการตรวจจากแพทยเปนระยะ ไมสามารถใชกลิ่นของสารในการเปนเครื่องเตือนเมื่อปริมาณสารเกินคาจํากัดที่ยอมใหสัมผัสสารไดจากการทํางาน หามนําชุดทํางานกลับบานขอมูลเพิ่มเติม©IPCS, CEC 2005ICSC ฉบับภาษาไทย จัดทําโดยศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยารวมกับคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล300


IPCSInternational Programmeon Chemical Safetyการพัฒนา International Chemical Safety Card (<strong>ICSCs</strong>) ดําเนินการโดยโครงการระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยดานสารเคมี (IPCS)รวมกับ องคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP)องคการอนามัยโลก (WHO) และคณะกรรมาธิการประชาคมแหงสหภาพยุโรป(Commission of the European Communities)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!