28.12.2014 Views

รายงานประชุมGHS School Network2553.pdf - chemical safety section

รายงานประชุมGHS School Network2553.pdf - chemical safety section

รายงานประชุมGHS School Network2553.pdf - chemical safety section

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

รายงานการประชุมสัมมนา<br />

การพัฒนาเครือขายโรงเรียนตนแบบในการนําระบบสากล GHS<br />

ไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน ปที่ 2<br />

ภายใตโครงการโรงเรียนตนแบบเพื่อรณรงคใหนักเรียนและเยาวชนมีความรู<br />

เรื่อง การสื่อสารความเปนอันตรายของสารเคมีตามระบบสากล GHS ป 2553<br />

ระหวางวันที่ 11-12 พฤษภาคม 2553<br />

ณ โรงแรมเดอะ ทวิน ทาวเวอร กรุงเทพมหานคร<br />

จัดโดย<br />

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา สถาบันสิ่งแวดลอมไทย<br />

Office of The Basic Education Commission Food and Drug Administration Thailand Environment Institute


กําหนดการประชุมสัมมนา<br />

สารบัญ<br />

เรื่อง การพัฒนาเครือขายโรงเรียนตนแบบนําระบบสากล GHS ไปบูรณาการในการเรียน<br />

การสอน ปที่ 2 1<br />

คํากลาวรายงาน 4<br />

คํากลาวเปดการประชุม 6<br />

คํากลาวปดการประชุม 8<br />

รายงานการประชุมสัมมนา<br />

รายชื่อผูเขารวมประชุม 9<br />

ประเด็นการประชุมสัมมนา 13<br />

สรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนตนแบบเพื่อให<br />

นักเรียนและเยาวชนมีความรู เรื่อง ขอความแสดงความเปนอันตรายของสารเคมีตามระบบ<br />

สากล GHS 13<br />

โรงเรียนระดับประถมศึกษา 13<br />

โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 16<br />

บทสรุปและขอเสนอแนะจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู 20<br />

แผนการดําเนินงานและแนวทางการพัฒนาโรงเรียนตนแบบ GHS รุนที่ 2 21<br />

เอกสารประกอบการประชุม<br />

ความเปนมาและความหมายของระบบสากลการจัดกลุมผลิตภัณฑเคมีและการติดฉลาก GHS 22<br />

แผนการดําเนินงานและแนวทางการพัฒนาโรงเรียนตนแบบ GHS รุนที่ 2 27<br />

แหลงและสื่อการเรียนรูเรื่อง GHS 29<br />

สรุปผลการประเมินจากผูเขารวมการประชุมสัมมนา 35<br />

ภาคผนวก<br />

ภาพบรรยากาศการประชุมสัมมนาวิชาการ 39<br />

หนา


กําหนดการประชุมสัมมนา<br />

เรื่อง การพัฒนาเครือขายโรงเรียนตนแบบนําระบบสากล GHS ไปบูรณาการในการเรียนการสอน ปที่ 2<br />

ระหวางวันที่ 10-12 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรมเดอะ ทวิน ทาวเวอร กรุงเทพมหานคร<br />

-------------------------<br />

วันจันทร ที่ 10 พฤษภาคม 2553<br />

13.00-17.00 น ลงทะเบียนและรับเอกสารการประชุม<br />

ชมนิทรรศการโรงเรียนตนแบบ GHS Chemical Safety Academy รุนที่ 1<br />

18.00-22.00 น. รับประทานอาหารเย็น<br />

วันอังคารที่ 11 พฤษภาคม 2553<br />

08.00-09.00 น. ลงทะเบียนและรับเอกสารการประชุม<br />

09.00-12.00 น. ชมนิทรรศการโรงเรียนตนแบบ GHS Chemical Safety Academy รุนที่ 1<br />

12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน<br />

13.00-13.15 น. พิธีเปดการประชุมสัมมนา<br />

โดย นายวัฒนา อัครเอกฒาลิน ผูอํานวยการสํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

กลาวรายงานโดย ภญ.อมรรัตน ลีนะนิธิกุล<br />

ผูอํานวยการศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

13.15-13.30 น. ชมวีดิทัศนของโรงเรียนตนแบบที่จัดการเรียนการสอนระบบสากล GHS<br />

13.30-13.45 น. พิธีมอบโลประกาศเกียรติคุณใหแกโรงเรียนตนแบบ GHS Chemical Safety Academy รุนที่ 1<br />

โดย นายวัฒนา อัครเอกฒาลิน ผูอํานวยการสํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

13.45-14.00 น. ถายรูปเปนที่ระลึก<br />

14.00-14.15 น. พักรับประทานอาหารวางและเครื่องดื่ม<br />

14.15-14.30 น. การบรรยายเรื่อง ความเปนมาและความหมายของระบบสากลการจัดกลุมผลิตภัณฑเคมีและ<br />

การติดฉลาก : GHS<br />

โดย ภญ.ดร.ออรัศ คงพานิช สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

1


14.30-17.15 น. การแลกเปลี่ยนความรู รูปแบบและความสําเร็จในการจัดการเรียนการสอนระบบสากล GHS<br />

ในระดับชั้นเรียนตางๆ พรอมปญหาอุปสรรค<br />

• ระดับประถมศึกษา<br />

โดย<br />

1. นางสุนีย เชื้อเจ็ดตน โรงเรียนเชียงแสน อาคาเดมี จังหวัดเชียงราย<br />

2. นางศุภวรรณ ทักษิณ โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร จังหวัดกาญจนบุรี<br />

3. นางวรรณา เวชศาสตร โรงเรียนวัดบานฉาง จังหวัดระยอง<br />

4. นางณัฐกรณ สารปรัง โรงเรียนบานเกา จังหวัดกําแพงเพชร<br />

• ระดับมัธยมศึกษา<br />

โดย<br />

1. นางสาวรัชนก สุวรรณจักร โรงเรียนบุญวาทยวิทยาลัย จังหวัดลําปาง<br />

ดําเนินรายการโดย<br />

1. นางสาวจารุวรรณ ธรรมวิทย สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ<br />

2. นางอมรรัตน ลีนะนิธิกุล สํานักงานคณะกรรมการิสหารและยา<br />

3. ดร.กิตติพจน เพิ่มพูล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรวิทยาลัยเขตกําแพงแสน<br />

18.00-22.00 น. รับประทานอาหารเย็น<br />

วันพุธที่ 12 พฤษภาคม 2553<br />

09.00-11.00 น. การแลกเปลี่ยนความรู รูปแบบและความสําเร็จในการจัดการเรียนการสอนระบบสากล GHS<br />

ในระดับชั้นเรียนตางๆ พรอมปญหาอุปสรรค<br />

• ระดับมัธยมศึกษา (ตอ)<br />

โดย<br />

2. นางสาวบุเรียม พรหมปลัด โรงเรียนกงหราพิชากร จังหวัดพัทลุง<br />

3. นางดวงพร กุลวรางกูร โรงเรียนกะทูวิทยา จังหวัดภูเก็ต<br />

4. นายมนตรี จุนสมบัติ โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยอง<br />

5. นายวิเชตุ ทับเปย โรงเรียนราชประชานุเคราะห 29 จังหวัดศรีษะเกษ<br />

ดําเนินรายการโดย<br />

1. นางจารุวรรณ ธรรมวิทย สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ<br />

2. ภญ.อมรรัตน ลีนะนิธิกุล สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

3. ดร.กิตติพจน เพิ่มพูล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรวิทยาลัยเขตกําแพงแสน<br />

2


11.00-11.30 น. การอภิปราย เรื่อง แผนการทํางานและแนวทางการพัฒนาโรงเรียนตนแบบ GHS รุนที่ 2<br />

โดย<br />

1. ภญ.อมรรัตน ลีนะนิธิกุล สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

2. ภญ.ดร.ออรัศ คงพานิช สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

3. นางรัตนวิภา ธรรมโชติ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน<br />

4. นางสาวศรินทร เศรษฐการุณย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน<br />

11.30-12.00 น. พิธีรับมอบประกาศเกียรติบัตรและปดการประชุม<br />

โดย นายวัฒนา อัครเอกฒาลิน ผูอํานวยการสํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน<br />

…………………………………………..<br />

หมายเหตุ บริการอาหารวางและเครื่องดื่มระหวางการประชุม<br />

3


คํากลาวรายงานการประชุมสัมมนา<br />

เรื่อง การพัฒนาโรงเรียนตนแบบในการนําระบบสากล GHS ไปบูรณาการ<br />

ในการจัดการเรียนการสอน<br />

โดย ภญ. อมรรัตน ลีนะนิธิกุล<br />

ผูอํานวยการศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี<br />

วันที่ 11 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรมเดอะ ทวิน ทาวเวอร กรุงเทพมหานคร<br />

เรียน ทานผูอํานวยการสํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย<br />

ผูทรงคุณวุฒิ ทานวิทยากร<br />

รองประธานสถาบันสิ่งแวดลอมไทย<br />

ทานผูอํานวยการโรงเรียน<br />

ผูเขารวมประชุม และทานผูมีเกียรติทุกทาน<br />

ดิฉัน ในนามของเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา รูสึกมีความยินดีและเปนเกียรติอยางยิ่ง ที่<br />

ไดมาเปนประธานในพิธีเปดการประชุมสัมมนาเรื่อง การพัฒนาโรงเรียนตนแบบในการนําระบบสากล<br />

GHS ไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน ในวันนี้ในโอกาสนี้ ดิฉันขอรายงานความเปนมาของการ<br />

ประชุมสัมมนาโดยครั้งนี้ วาสืบเนื่องมาจากองคการสหประชาชาติ ไดพัฒนาระบบสากลการจัดกลุม<br />

ผลิตภัณฑเคมีและการติดฉลาก (Globally Harmonized System of Classification and Labelling of<br />

Chemicals) หรือเรียกยอ ๆ วา GHS ใหทั่วโลกใชเปนระบบเดียวกัน โดยมีมติใหทุกประเทศนําเอาระบบ<br />

สากล GHS ไปปฏิบัติโดยเร็ว ซึ่งจะเปนประโยชนอยางมากในการพัฒนาการบริหารจัดการความปลอดภัย<br />

ดานสารเคมีอยางยั่งยืน โดยผานทางกลไกการสื่อสารความเปนอันตรายของสารเคมี ในรูปแบบของฉลาก<br />

ที่ชัดเจนและเขาใจงาย เพื่อใหผูบริโภคและประชาชนมีความรูความเขาใจและนําไปสูการใชผลิตภัณฑตาง<br />

ๆ ที่ใชในชีวิตประจําวัน ที่ใชในทางการเกษตรกรรม และในทางอุตสาหกรรมไดอยางถูกตองและ<br />

ปลอดภัย<br />

ดังนั้น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ในฐานะฝายเลขานุการ<br />

คณะกรรมการแหงชาติวาดวยการพัฒนายุทธศาสตรการจัดการสารเคมี ตระหนักดีวาการนําระบบสากล<br />

GHS มาใชและกอใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในอนาคตไมสามารถจะขับเคลื่อนดวยโดยภาคสวนเดียว<br />

จําเปนอยางยิ่งที่จะตองขอความรวมมือสถาบันการศึกษาของประเทศ คือ สํานักงานคณะกรรมการ<br />

การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ เพราะมีบุคลากรที่มีคุณคาเปยมดวยความรูและ<br />

ความสามารถ กระจายอยูทั่วประเทศ เพื่อใหนําความรูเกี่ยวกับระบบสากล GHS ถายทอดใหแกนักเรียน<br />

4


และเยาวชน ซึ่งจะเติบโตเปนผูบริโภคในอนาคต เขาใจการสื่อสารความเปนอันตรายของสารเคมีตาม<br />

ระบบสากล GHS ตอไป<br />

โครงการโรงเรียนตนแบบเรื่อง GHS ไดเริ่มตนขึ้นตั้งแตปงบประมาณ 2552 โดยสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา รวมมือกับสถาบันสิ่งแวดลอมไทย ที่ปรึกษาโครงการ และสํานักงาน<br />

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)ในฐานะหนวยงานหลักที่รวมพัฒนาเครือขายสถานศึกษาและ<br />

ครูผูสอน จัดการประชุมสัมมนาขึ้นครั้งแรก โดยในวันที่ 18 กรกฎาคม 2552 เพื่อชี้แจงและเชิญชวนให<br />

โรงเรียนที่สนใจรวมเขาเปนโรงเรียนตนแบบเรื่อง GHS<br />

ทั้งนี้ โรงเรียนตนแบบรุนที่ 1 จํานวน 9 โรงเรียน ไดแก โรงเรียนบุญวาทยวิทยาลัย ลําปาง,<br />

โรงเรียนบานเกา กําแพงเพชร, โรงเรียนเชียงแสนอคาเดมี เชียงราย, โรงเรียนราชประชานุเคราะห 29 ศรี<br />

สะเกษ, โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร กาญจนบุรี, โรงเรียนวัดบานฉาง ระยอง, โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยา<br />

คาร ระยอง, โรงเรียนกะทูวิทยา ภูเก็ต และโรงเรียนกงหลาพิชากร พัทลุง ไดใหเกียรติรวมงานเปน<br />

โรงเรียนตนแบบ นําสาระเรื่อง GHS บูรณาการเขาสูการเรียนรูการสอน ซึ่งจากการที่คณะผูตรวจเยี่ยม<br />

ประกอบดวยผูแทน อย. ผูแทน สพฐ และผูแทนสถาบันสิ่งแวดลอมไทย ไดไปเยี่ยมชมในชวงเดือน<br />

พฤศจิกายน 2552– เมษายน 2553 พบวาโรงเรียนตนแบบแตละแหงสามารถบูรณาการเรื่อง GHS สูสาระ<br />

การเรียนรูที่เกี่ยวของ เชนกลุมวิทยาศาสตร สุขศึกษา การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ฯลฯ สําหรับชวงชั้น<br />

ตาง ๆ ทั้งระดับมัธยมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับอนุบาล ไดอยางเหมาะสม และมีความ<br />

นาสนใจทําใหเด็กและเยาวชนมีกระบวนการเรียนรูที่จะนําเรื่อง GHS ไปใชประโยชนไดในชีวิตประจําวัน<br />

เพื่อปองกันสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและสิ่งแวดลอม โดยทั้ง 9 โรงเรียน ยังมีศักยภาพที่จะเปน<br />

โรงเรียนตนแบบตัวอยางในการแลกเปลี่ยนประสบการณ กับสถาบันการศึกษาอื่นที่สนใจเขารวมงานใน<br />

ระยะตอไป ซึ่งเปนวัตถุประสงคหลักของการประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรูในครั้งนี้ ซึ่งไดรับเกียรติ<br />

จากผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของ ผูบริหารและคุณครูจาก 31 โรงเรียนเขารวมประชุม เพื่อพัฒนาแนวทาง<br />

การบูรณาการความรวมมือในระดับตอไปคะ<br />

5


คํากลาวเปดการประชุมสัมมนา<br />

เรื่อง การพัฒนาเครือขายโรงเรียนตนแบบในการนําระบบสากล GHS<br />

ไปบูรณาการในการเรียนการสอน ปที่ 2<br />

โดย นายวัฒนา อัครเอกฒาลิน<br />

ผูอํานวยการสํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย<br />

วันที่ 11 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรมเดอะ ทวิน ทาวเวอร กรุงเทพมหานคร<br />

เรียน ทานผูแทนสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน<br />

ผูแทนสถาบันสิ่งแวดลอมไทย<br />

ทานผูอํานวยการโรงเรียน<br />

ผูเขารวมประชุม และทานผูมีเกียรติทุกทาน<br />

กระผม ในนามของเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา รูสึกมีความยินดีและเปนเกียรติอยางยิ่ง<br />

ที่ไดมาเปนประธานในพิธีเปดการประชุมสัมมนาเรื่อง การพัฒนาเครือขายโรงเรียนตนแบบในการนํา<br />

ระบบสากล GHS ไปบูรณาการในการเรียนการสอน ปที่ 2 ในวันนี้<br />

การประชุมสัมมนาในครั้งนี้ จัดขึ้นเปนผลสืบเนื่องมาจากองคการสหประชาชาติ ตระหนักถึง<br />

ความสําคัญตอความปลอดภัยจากการใชสารเคมีสุขภาพของประชาชนจากการใชสารเคมีในกิจกรรมตางๆ<br />

ไมวาจะเปนใชสารเคมีทางภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม ภาคผูบริโภค และที่ใกลทุกคนมากที่สุด คือ<br />

การใชในชีวิตประจําวัน แตเนื่องจากการสื่อสารความเปนอันตรายของสารเคมีทั่วโลกที่ผานมา ที่จะ<br />

สื่อสารใหทุกคนทราบหลายระบบแตกตางกัน องคการสหประชาชาติ จึงไดพัฒนาระบบสากลการจัดกลุม<br />

ผลิตภัณฑเคมีและการติดฉลาก (Globally Harmonized System of Classification and Labelling of<br />

Chemicals) หรือเรียกยอ ๆ วา GHS ขึ้น เพื่อใหทุกประเทศไดนําไปประยุกตและปรับใชในใหเปนระบบ<br />

เดียวกัน ระบบดังกลาวจะสื่อสารความเปนอันตรายของสารเคมีใหประชาชนมีความรู ความเขาใจผาน<br />

กลไกที่สามารถเขาใจงายและชัดเจน คือ ฉลากของผลิตภัณฑซึ่งรวมถึงเอกสารกํากับดวย<br />

ในการนําระบบสากล GHS มาประยุกตใชในประเทศใหเกิดความสําเร็จและเปนประโยชนสูงสุด<br />

และประชาชนอยางยั่งยืนตลอดไปนั้น ตองดําเนินการไปพรอมๆ กันในทุกดานทั้ง 4 มิติที่เกี่ยวของ<br />

ประกอบดวยมิติดานการเมือง คือ มาตรการดานกฎหมายในการนําระบบสากล GHS ไปปฏิบัติใชใน<br />

ประเทศ มิติดานเศรษฐกิจ คือ มาตรการการสนับสนุนสงเสริมเพื่อลดการกีดกันทางการคา มิติดาน<br />

เทคโนโลยี คือ มาตรการสนับสนุนในการนําเทคโนโลยีใหม ๆ มาประยุกตใหเหมาสมกับบริบทของ<br />

ประเทศ และมิติทางดานสังคมและคุณภาพชีวิต คือ การพัฒนาศักยภาพของผูบริโภค ซึ่งจะครอบคลุมถึง<br />

เด็กและเยาวชน เพราะเปนกลุมเปาหมายสําคัญที่เปนรากฐานในการพัฒนาประเทศตอไปในอนาคต ซึ่งใน<br />

6


การสรางและพัฒนาเยาวชนของประเทศ จําเปนจะตองไดรับความรวมมือ และสนับสนุนจาก<br />

กระทรวงศึกษาธิการ โดยเฉพาะสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพราะเปนหนวยงานหลักใน<br />

การผลิตเด็กและเยาวชนของประเทศใหมีความรู เพื่อเติบโตเปนผูใหญที่ดี และมีคุณภาพ<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขอแสดงความยินดีและขอชื่นชมตอโรงเรียนตนแบบรุนที่<br />

1 ทั้ง 9 โรงเรียนจากทั่วประเทศในครั้งนี้ โดยเฉพาะคุณครูที่รับผิดชอบ ที่สามารถนําระบบสากล GHS ไป<br />

บูรณาการ และยอยสาระความรูใหมนี้ ในการเรียนการสอนเด็กแตละชวงชั้น ในทุกระดับ ระดับมัธยมศึกษา<br />

ระดับประถมศึกษา และระดับอนุบาล ไดอยางเหมาะสมอยางดียิ่ง จึงขอใหทานเปนตนแบบตัวอยางในการ<br />

แลกเปลี่ยนประสบการณ ใหแกโรงเรียนอื่น ๆ เพื่อใหการขยายผลการนําระบบสากล GHS ไปขยายผลในวง<br />

กวางตอไป<br />

บัดนี้ ถึงเวลาอันสมควรแลว กระผมขอเปดการประชุมสัมมนา เรื่อง การพัฒนาเครือขาย<br />

โรงเรียนตนแบบในการนําระบบสากล GHS ไปบูรณาการในการเรียนการสอน ปที่ 2 ณ บัดนี้<br />

ขอบคุณ<br />

7


คํากลาวปดการประชุมสัมมนา<br />

เรื่อง การพัฒนาเครือขายโรงเรียนตนแบบในการนําระบบสากล GHS<br />

ไปบูรณาการในการเรียนการสอน ปที่ 2<br />

โดย นายวัฒนา อัครเอกฒาลิน<br />

ผูอํานวยการสํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย<br />

วันที่ 12 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรมเดอะ ทวิน ทาวเวอร กรุงเทพมหานคร<br />

เรียน ทานผูอํานวยการโรงเรียน<br />

ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน<br />

ผูแทนสถาบันสิ่งแวดลอมไทย<br />

ผูเขารวมประชุม และทานผูมีเกียรติทุกทาน<br />

กระผม ในนามของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ฝายเลขานุการคณะกรรมการแหงชาติวา<br />

ดวยการพัฒนายุทธศาสตรการจัดการสารเคมี ขอแสดงความยินดีเปนอยางยิ่ง ที่การประชุมสัมมนาในครั้งนี้<br />

ประสบความสําเร็จอยางดียิ่ง ขอขอบคุณผูแทนสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถาบัน<br />

สิ่งแวดลอมไทย ผูอํานวยการทุกโรงเรียน คณะอาจารยจาก 25 โรงเรียน และผูแทนจากหนวยงานที่เกี่ยวของ<br />

ที่ไดเขารวมประชุม และมีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนประสบการณ และขอคิดเห็นกันอยางกวางขวางในชวง<br />

2 วันนี้<br />

กระผม หวังเปนอยางยิ่งวาความรวมมือในการพัฒนาเครือขายโรงเรียนตนแบบ เรื่อง GHS จะประสบ<br />

ผลสําเร็จ ทําใหเกิดกระบวนการที่ทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ จะชวยกันดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคในการ<br />

พัฒนาเด็กและเยาวชนไทย ที่จะเปนกําลังของชาติในอนาคตได มีความรูความเขาใจในการสื่อสารความเปน<br />

อันตรายของสารเคมีตามระบบสากล GHS เพื่อที่จะเติบโตเปนผูบริโภคที่มีศักยภาพ สามารถใชสารเคมี/<br />

ผลิตภัณฑ ในชีวิตประจําวัน และในการประกอบอาชีพไดอยางถูกตองและปลอดภัย เปนการปองกันอันตราย<br />

ตอสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนและลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ซึ่งทั้งหมดนี้ เพื่อจะเปนรากฐาน<br />

สําคัญของการพัฒนาประเทศและสังคมไทย<br />

กระผม ขออวยพรใหทุกทาน โดยเฉพาะคณะอาจารยจากโรงเรียนในตางจังหวัด เดินทางกลับโดย<br />

สวัสดิภาพ และหวังวาทุกทาน จะใหโอกาสรวมดําเนินการกับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ในการ<br />

เปนโรงเรียนตนแบบฯ ตอไป เพื่อพัฒนางานความปลอดภัยดานสารเคมีใหเกิดขึ้นอยางยั่งยืนตอไป<br />

ขอบคุณครับ<br />

8


รายงานการประชุมสัมมนา<br />

การพัฒนาเครือขายโรงเรียนตนแบบในการนําระบบสากล GHS ไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน ปที่ 2<br />

ผูเขารวมการประชุม<br />

ภายใตโครงการโรงเรียนตนแบบเพื่อรณรงคใหนักเรียนและเยาวชนมีความรู<br />

เรื่อง การสื่อสารความเปนอันตรายของสารเคมีตามระบบสากล GHS ป 2553<br />

ระหวางวันที่ 11-12 พฤษภาคม 2553<br />

ณ โรงแรมเดอะ ทวิน ทาวเวอร กรุงเทพมหานคร<br />

ผูเขารวมประชุม จํานวนรวม 97 คน<br />

เครือขายโรงเรียน จํานวน 52 คน<br />

หนวยงานที่เกี่ยวของ จํานวน 45 คน<br />

เครือขายโรงเรียนที่เขารวมประชุม<br />

: ภาคกลาง<br />

ที่ โรงเรียน ชื่อผูเขารวมประชุม<br />

1 เขาดินวิทยาคาร จังหวัดกาญจนบุรี 1. นางชัญญา ไพศาล ครูชํานาญการ<br />

2. นางศุภวรรณ ทักษิณ ครูชํานาญการ<br />

2 โฆสิตสโมสร จังหวัดกรุงเทพฯ 1. นายสมชาย ถนอมวงศ ครูชํานาญการ<br />

3 บานเกา จังหวัดกําแพงเพชร 1. นางณัฐกรณ สารปรัง ผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. นางสุรสา ประเจิดสกุล ครูชํานาญการ<br />

4 วัดดอนมะโนรา จังหวัดสมุทรสงคราม 1. นายเสวก สินประเสริฐ ครูชํานาญการพิเศษ<br />

2. นางอารี สินประเสริฐ ครูชํานาญการ<br />

5 วัดแสมดํา จังหวัดกรุงเทพฯ 1. น.ส.วลีพร ทองสุข รองผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. นางสุรินทร นอยรักษา ครูชํานาญการ<br />

6 สวนผึ้งวิทยา จังหวัดราชบุรี 1. นายไพรัช หงษเทียม ผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. นางลักขณา ดวงปรึกษา ครูชํานาญการ<br />

7 หาดอมราอักษรลักษณวิทยา 1. น.ส.สุดใจ เทพพิทักษศักดิ์ ครูชํานาญการพิเศษ<br />

จังหวัดสมุทรปราการ<br />

: ภาคตะวันออก<br />

8 เทศบาลมาบตาพุด จังหวัดระยอง 1. นายสมควร ทองเรือง ผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. น.ส.ดารารัตน เข็มจร ครูชํานาญการ<br />

9 มาบตาพุดพันพิทยาคาร<br />

จังหวัดระยอง<br />

1. นายมนตรี จุนสมบัติ รองผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. นางมลิวัลย สินวัตร ครูชํานาญการพิเศษ<br />

10 วัดบานฉาง จังหวัดระยอง 1. นางพัณณชิตา กนกพงษเสถียร<br />

รองผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. นางวรรณา เวชศาสตร ครูชํานาญการพิเศษ<br />

9


: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

11 ราชประชานุเคราะห 29<br />

จังหวัดศรีษะเกษ<br />

1. นายกมสี สมมุติ รองผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. นายวิเชตุ ทับเปย ครูชํานาญการ<br />

3. นางทัศนีย ณ กาฬสินธุ พนักงานราชการ<br />

1. น.ส.ดวงดาว หาญทนงค ครูชํานาญการ<br />

2. นางจีระพันธุ ผองแกว ครูชํานาญการ<br />

12 ศึกษาสงเคราะหนางรอง<br />

จังหวัดบุรีรัมย<br />

: ภาคใต<br />

13 กงหราพิชากร จังหวัดพัทลุง 1. นายศุภชัย ชนะสงคราม ผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. นางจุฑารัตน สงสุรินทร ครูชํานาญการ<br />

3. น.ส.บุเรียม พรหมปลัด ครูชํานาญการ<br />

14 กระทูวิทยา จังหวัดภูเก็ต 1. นางสุนี เลื่อมใส รองผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. นางดวงพร กุลวรางกูร ครูชํานาญการพิเศษ<br />

15 ขนอมพิทยา<br />

จังหวัดนครศรีธรรมราช<br />

1. นางยุพา นาควานิช ครูชํานาญการพิเศษ<br />

2. น.ส.วิราสินี กาวศิริรัตน ครูปฏิบัติการ<br />

16 เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร<br />

ภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต<br />

1. นางพรศิริ จินาพงศ หัวหนาฝายสงเสริมคุณภาพชีวิต<br />

2. น.ส.สุธันยรัตน เพ็ชรพังงา ครูชํานาญการ<br />

17 ศูนยบริการการศึกษานอกระบบและ 1. นางอุทัยวรรณ บํารุงชาติ<br />

การศึกษาตามอัธยาศรัย อ.นาทวี<br />

จ.สงขลา<br />

: ภาคเหนือ<br />

18 เชียงแสน อาคาเดมี จังหวัดเชียงราย 1. นางสุนีย เชื้อเจ็ดตน ผูรับใบอนุญาต<br />

2. นายสมบูรณ บุญเรือง ผูจัดการโรงเรียน<br />

3. น.ส.สุชาดา เงินดี ครูปฏิบัติการ<br />

4. ด.ญ.เมธินี วงศษา<br />

5. ด.ญ.เนตรนภา ศรีธิเปง<br />

19 บานสบคํา จังหวัดเชียงราย 1. นายประเสริฐ สุขสิงหคลี ผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. นางกานดา สิทธิแกว ครูชํานาญการ<br />

20 บานสบรวก จังหวัดเชียงราย 1. นายอุดร จับใจนาย ผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. นายกริชวัช ฐานะกิจ ครูชํานาญการพิเศษ<br />

21 บานหวยเกียง จังหวัดเชียงราย 1. น.ส.พิทยาภรณ เรืองฤทธิ์ ผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. นางไพลิน มหาเทพ ครูชํานาญการ<br />

22 บุญวาทยวิทยาลัย จังหวัดลําปาง 1. น.ส.รัชนก สุวรรณจักร ครูชํานาญการพิเศษ<br />

2. นางวิลาวรรณ บุญทา ครูชํานาญการ<br />

23 พานพิทยาคม จังหวัดเชียงราย 1. นายสุรพัฒน ศรีธรรม รองผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. น.ส.รัชฎา นิ่มทรัพย ครูชํานาญการ<br />

10


: ภาคเหนือ<br />

24 ราชประชานุเคราะห 15<br />

จังหวัดเชียงราย<br />

25 ศึกษาสงเคราะหเชียงใหม<br />

จังหวัดเชียงใหม<br />

หนวยงาน<br />

1. นายกัมพล ไชยนันท ผูอํานวยการโรงเรียน<br />

2. นางอมรา ผลประกอบ ครูชํานาญการ<br />

1. นางรัชนีกร วานิชสมบัติ ครูชํานาญการพิเศษ<br />

2. นางอุรี โยริยะ ครูชํานาญการ<br />

ที่ ชื่อหนวยงาน ชื่อผูเขารวมประชุม<br />

1 กรมวิชาการเกษตร สํานักควบคุมพืช 1. น.ส.อัญชลี นามวงษ นักวิชาการเกษตรชํานาญการ<br />

และวัสดุการเกษตร<br />

2 กรมวิทยาศาสตรการแพทย 1. น.ส.ลักษณา ลือประเสริฐ ผูทรงคุณวุฒิ<br />

2. น.ส.ผองพรรณ หมอกมืด<br />

3 กรมศุลกากร 1. นางวารุณี ทิพางคกุล นักวิทยาศาสตรชํานาญการ<br />

4 กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น 1. นางนิภาวัลย เพ็ชรผึ้ง<br />

5 กองสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม<br />

สํานักอนามัยกรุงเทพมหานคร<br />

1. นายเจริญ วีระอาชากุล นักวิชาการสุขาภิบาล 3<br />

2. น.ส.วันวิสาข เสาศิริ นักวิชาการสุขาภิบาล<br />

3. น.ส.ปริศนา สุทธิประภา นักวิชาการสุขาภิบาล 3<br />

6 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 1. นายกิตติพจน เพิ่มพูล<br />

วิทยาเขตกําแพงแสน<br />

7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1. ผศ.ดร.ศริศักดิ์ สุนทรไชย<br />

8 มูลนิธิบูรณะนิเวศ 1. น.ส.วลัยพร มุขสุวรรณ นักวิจัย<br />

9 มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา 1. ผศ.สําลี ใจดี ประธานมูลนิธิสาธารณสุข<br />

10 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและ 1. น.ส.ชลันดา มูลมี<br />

การสื่อสาร กระทรวงคมนาคม<br />

11 ศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ 1. น.ส.เวฬุรีย ทองคํา นักวิเคราะหโครงการ<br />

12 สถาบันสิ่งแวดลอมไทย 1. ดร.จําเนียร วรรัตนชัยพันธ ผูอํานวยการอาวุโส<br />

2. นางอภิญญา กิ่งสุพรรณ ผูจัดการโครงการ<br />

3. น.ส.พวงผกา ขาวกระโทก เจาหนาที่วิชาการ<br />

4. นางเนตรชนก ขําวงษ เจาหนาที่ประสานงาน<br />

13 สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 1. นายเชวง จาว ประธานกลุมอุตสาหกรรมเคมี<br />

14 สมาคมผูรับจัดการขนสงสินคาระหวาง 1. นายเฉลิมศักดิ์ กาญจนาวรินทร<br />

ประเทศ<br />

15 สมาคมสงเสริมความปลอดภัยและ<br />

อนามัยในการทํางานฯ<br />

1. นางยุวดี จอมพิทักษ ผอ.ศูนยอาชีวอนามัยและ<br />

เวชศาสตรสิ่งแวดลอม จ.ระยอง<br />

16 สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสราง<br />

เสริมสุขภาพแหงชาติ(สสส.) สํานักงาน<br />

แผนงานคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ<br />

1. น.ส.สรรพาพร แกวทอง นักวิชาการแผนงาน<br />

11


หนวยงาน<br />

ที่ ชื่อหนวยงาน ชื่อผูเขารวมประชุม<br />

17 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง 1. นายไชยยันต เกิดเหมาะ รองผูอํานวยการ<br />

เขต 1<br />

18 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา<br />

ขั้นพื้นฐาน<br />

1. น.ส.ศรินทร เศรษฐการุณย นักวิชาการการศึกษา<br />

2. นางรัตนวิภา ธรรมโชติ นักวิชาการการศึกษา<br />

20 สํานักงานคณะกรรมการคุมครอง<br />

ผูบริโภค<br />

1. นางธีพสูร เมธพูลสวัสดิ์<br />

ผอ.กองคุมครองผูบริโภคดานฉลาก<br />

2. นางจิทรยา รุดิรัตน<br />

21 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนา<br />

การเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ<br />

1. นางรสวันต วรรณกะลัศ<br />

นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญ<br />

22 สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน 1. น.ส.จารุวรรณ ธรรมวิทย<br />

แหงชาติ<br />

23 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา 1. นายวัฒนา อัครเอกฒาลิน<br />

ผอ.สํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย<br />

2. น.ส.ศิริพรรณ เอี่ยมรุงโรจน เภสัชกรเชี่ยวชาญ<br />

3. นางอมรรัตน ลีนะนิธิกุล<br />

ผอ.ศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี<br />

4. นายนิรัตน เตียสุวรรณ<br />

ผอ.กองพัฒนาศักยภาพผูบริโภค<br />

5. นางอัจฉรา จารุศรีพันธุ<br />

นักวิชาการชํานาญการพิเศษ<br />

6. นางอรชุดา ธูปถมพงศ เภสัชกรชํานาญการ<br />

7. น.ส.ดุลาลัย เศรฐจินตนิน เภสัชกรชํานาญการ<br />

8. น.ส.วรรณพร ศรีสุคนธรัตน เภสัชกรชํานาญการ<br />

9. น.ส.ออรัศ คงพานิช เภสัชกรชํานาญการ<br />

10. นายณุวัฒน อิ่มสมบูรณ เภสัชกรปฏิบัติการ<br />

11. นายศิริ จันทรเพ็ง เภสัชกรปฏิบัติการ<br />

12. นายมานพ ปยนุสรณ เจาหนาที่ธุรการ<br />

13. น.ส.ธนัชญา เกิดฉาย เจาหนาที่ธุรการ<br />

14. น.ส.ทัศนียา บุญชู เจาหนาที่ธุรการ<br />

15. น.ส.นันทิยา ถวายทรัพย ชางภาพ กอง พศ.<br />

24 UNITAR 1. น.ส.สุธีวรรณ ธรรมโกวิท<br />

12


ประเด็นการประชุมสัมมนาฯ<br />

1. การบรรยายใหความรู เรื่อง ความเปนมาและความหมายของระบบสากลการจัดกลุมผลิตภัณฑ<br />

เคมีและการติดฉลาก Globally Harmonized System of Classification and Labeling of<br />

Chemicals (GHS) โดย ภญ.ดร.ออรัศ คงพานิช ศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (รายละเอียดในเอกสารประกอบการบรรยาย 1)<br />

2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู เรื่อง รูปแบบและความสําเร็จในการจัดการเรียนการสอนระบบสากล<br />

GHS ในระดับชั้นเรียน (ดําเนินรายการโดย ดร.กิตติพจน เพิ่มพูล / ภญ.อมรรัตน ลีนะนิธิกุล /<br />

นางสาวจารุวรรณ ธรรมวิทย)<br />

ระดับประถมศึกษา<br />

1) โรงเรียนเชียงแสน อาคาเดมี จ.เชียงราย<br />

2) โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร จ.กาญจนบุรี<br />

3) โรงเรียนวัดบานฉาง จ.ระยอง<br />

4) โรงเรียนบานเกา จ.กําแพงเพชร<br />

ระดับมัธยมศึกษา<br />

1) โรงเรียนบุญวาทยวิทยาลัย จ.ลําปาง<br />

2) โรงเรียนกงหราพิชากร จ.พัทลุง<br />

3) โรงเรียนกะทูวิทยา จ.ภูเก็ต<br />

4) โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จ.ระยอง<br />

5) โรงเรียนราชประชานุเคราะห 29 จ.ศรีสะเกษ<br />

3. แผนการดําเนินงานและแนวทางการพัฒนาโรงเรียนตนแบบ GHS รุนที่ 2<br />

( โดย ภญ.อมรรัตน ลีนะนิธิกุล / นางสาวศรินทร เศรษฐการุณย / นางรัตนวิภา ธรรมโชติ)<br />

สรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนตนแบบเพื่อใหนักเรียน<br />

และเยาวชนมีความรู เรื่อง ขอความแสดงความเปนอันตรายของสารเคมีตามระบบสากล GHS<br />

(1) การแลกเปลี่ยนเรียนรู เรื่อง รูปแบบและความสําเร็จในการจัดการเรียนการสอนระบบสากล<br />

GHS ในระดับชั้นเรียน<br />

ผูดําเนินรายการ:<br />

ดร.กิตติพจน เพิ่มพูล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรวิทยาลัยเขตกําแพงแสน<br />

ภญ.อมรรัตน ลีนะนิธิกุล สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

นางสาวจารุวรรณ ธรรมวิทย สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ<br />

โรงเรียนระดับประถมศึกษา<br />

1) โรงเรียนเชียงแสน อาคาเดมี / อาจารยสุนีย เชื้อเจ็ดตน ผูรับผิดชอบโครงการ<br />

ขอมูลพื้นฐานโรงเรียน สํานักงานบริหารคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จังหวัดเชียงราย<br />

สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 3<br />

โรงเรียนระดับประถมเปดสอนตั้งแตอนุบาลถึงประถมศึกษาปที่ 6<br />

13


จํานวนนักเรียนรวม 290 คน เปนโรงเรียนขนาดกลาง บุคลากรรวม 12 คน<br />

การดําเนินงานของ<br />

โรงเรียน<br />

โรงเรียนไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการทุกระดับชั้น<br />

เรียน ตั้งแตระดับปฐมวัยถึงระดับประถมศึกษา โดยในระดับปฐมวัยซึ่งเปน<br />

เด็กในวัยที่คอยขางเล็ก และยังมีขอจํากัดของการเรียนรู จึงไดใชกระบวนการ<br />

เลนปนเรียน เสริมสรางทักษะผานเกมส สื่อที่เขาใจงาย<br />

การเผยแพรความรูไปยังชุมชน โดยการจัดแสดงนิทรรศการในงาน<br />

มหกรรมสงเสริมสุขภาพเนื่องในวันสถาปนากระทรวงสาธารณสุข และการ<br />

เผยแพรความรูเกี่ยวกับสัญลักษณความเปนอันตรายของสารเคมีตามระบบ<br />

สากล GHS ในที่ประชุมกํานันผูใหญบานและผูนําชุมชน อ.เชียงแสน<br />

นําเสนอในที่ประชุมสัมมนาครู และที่ประชุมคณะกรรมการองคการบริหาร<br />

สวนตําบลเวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย<br />

แผนงานในอนาคต ◙ ขยายเครือขายโรงเรียนโดยเผยแพรความรูใหกับโรงเรียนในเขต<br />

รับผิดชอบขององคการบริหารสวนตําบลเวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย<br />

ความสําเร็จของโรงเรียน 1) ผูบริหารใหการสนับสนุนและพรอมพัฒนาความรวมมือของครูผูสอน<br />

ผูปกครอง และผูนําทองถิ่น<br />

2) การใชกระบวนการเรียนรูแบบ “ความรู คูความสนุก”<br />

3) เด็กนักเรียนไดรับความรู ความเขาใจอยางแทจริง พรอมทั้งมี<br />

กระบวนการขยายผลใหผูปกครองไดรับความรูไปพรอมกับเด็กนักเรียน<br />

4) ชุมชนเขามามีสวนรวมในการเรียนรู เรื่อง สัญลักษณของความเปน<br />

อันตรายของสารเคมีตามระบบ GHS<br />

ปญหาและอุปสรรค ◙ โรงเรียนยังขาดสื่อการเรียนรู เรื่อง ขอความแสดงความเปนอันตรายของ<br />

สารเคมีตามระบบสากล GHS<br />

2) โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร / อาจารยศุภวรรณ ทักษิณ ผูรับผิดชอบโครงการ<br />

ขอมูลพื้นฐานโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1<br />

โรงเรียนขยายโอกาสเปดสอนตั้งแตอนุบาลถึงมัธยมศึกษาตอนตน<br />

จํานวนนักเรียนรวม 352 คน เปนโรงเรียนขนาดกลาง บุคลากรรวม 19 คน<br />

การดําเนินงานของ<br />

โรงเรียน<br />

โรงเรียนจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ โดยการวิเคราะหหลักสูตร และ<br />

บูรณาการลงในกลุมสาระวิทยาศาสตร เฉพาะ ป.5-ม.3 เทานั้น โดยใชวิธี<br />

ทดลองนําไปสอนและรอพิจารณาผลสัมฤทธิ์กอนที่จะขยายไปยังสาระวิชาอื่น<br />

ครูผูสอนไดดําเนินการแกปญหาเกี่ยวกับการขาดสื่อและผลิตภัณฑ<br />

ติดฉลาก เนื่องจากหายาก ดวยวิธีการผลิตสื่อที่สามารถใชไดทุกชั้นเรียน ซึ่ง<br />

ในระยะแรกมุงการใหความรูมากกวาการสรางจิตสํานึก โดยการใชสื่อวีดีทัศน<br />

เกี่ยวกับอันตรายจากการใชสารเคมีมาใหเด็กนักเรียนไดดูเพื่อใหทราบถึง<br />

อันตรายของสารเคมีกอนนําเขาสูบทเรียนการเรียนรูเรื่อง GHS<br />

แผนงานในอนาคต ◙ โรงเรียนเตรียมขยายผลไปยังกลุมสาระการเรียนรูและชวงชั้นอื่นทั้ง<br />

14


ภายในโรงเรียน และโรงเรียนเครือขาย<br />

◙ การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูบูรณาการฯ และแบบประเมินการ<br />

เรียนรูใหมีความเหมาะสม<br />

◙ การจัดทําเว็บไซตการเรียนรูเรื่อง GHS<br />

ความสําเร็จของโรงเรียน 1) การใชการสื่อสารแบบระเบิดจากขางในเพื่อกระตุนใหนักเรียนเกิด<br />

การเรียนรูดวยตัวเอง<br />

2) จัดหาสื่อการสอนเองและเปนสื่อที่มีคุณภาพสูง และมีแบบทดสอบการ<br />

เรียนรู<br />

3) นักเรียนมีความเขาใจและสามารถนําไปปรับใชในชีวิตประจําวันได<br />

ปญหาและอุปสรรค 1) การดําเนินงานการจัดการเรียนรูไมเปนไปตามแผนการจัดการเรียนรูที่<br />

วางแผนไว<br />

2) ขาดแคลน “สื่อ” ที่ใชเปนตัวอยาง เนื่องจากไมคอยพบสัญลักษณปรากฏ<br />

บนผลิตภัณฑในทองตลาด<br />

3) โรงเรียนวัดบานฉาง / อาจารยวรรณา เวชศาสตร ผูรับผิดชอบโครงการ<br />

ขอมูลพื้นฐานโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 1<br />

โรงเรียนระดับประถมเปดสอนตั้งแตอนุบาลถึงประถมศึกษาปที่ 6<br />

จํานวนนักเรียนรวม 2,150 คน เปนโรงเรียนขนาดใหญพิเศษ บุคลากรรวม<br />

56 คน<br />

การดําเนินงานของ เนื่องจากโรงเรียนอยูในบริบทของพื้นที่เสี่ยงในเขตอุตสาหกรรม<br />

โรงเรียน<br />

โรงเรียนจึงใชกระบวนการเรียนรูสูนักเรียนโดยตรง (ไมตองสรางความ<br />

ตระหนัก) โดยใชกระบวนการในการปองกันตัวเองเพื่อใหสามารถนําไปใชใน<br />

ชีวิตประจําวันได<br />

ในการจัดการเรียนการสอนเริ่มจากใหความรูแกครูซึ่งเปนหัวหนา<br />

กลุมสาระกอน หลังจากนั้นครู(หัวหนากลุมสาระ) นําความรูไปขยายผลตอกับ<br />

ครูในกลุมสาระของตนเอง จากนั้นแตละกลุมสาระบริหารจัดการเนื้อหาเขาสู<br />

รายวิชา จัดทําแผนการเรียนรูโดยบูรณาการเขากลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ /<br />

วิทยาศาสตร / คอมพิวเตอร / ภาษาตางประเทศ และการงานพื้นฐานอาชีพ<br />

แผนงานในอนาคต ◙ บูรณาการสอดแทรกความรูเรื่องขอความแสดงเปนอันตรายของสารเคมี<br />

ตามระบบสากล GHS โดยนําเขาสูหลักสูตรทองถิ่น “แนวทางการรับมือ<br />

อุตสาหกรรมใหกับโรงเรียน 129 แหง”<br />

ความสําเร็จของโรงเรียน 1) มีการเรียนรูเกิดขึ้นจริง ซึ่งสามารถวัดไดจากนักเรียนที่สามารถตอบ<br />

คําถามเกี่ยวกับ GHS ได เมื่อคณะผูตรวจเยี่ยมซักถาม<br />

2) การใชสื่อที่หลากหลาย<br />

3) เกิดการเรียนรูอยางเปนรูปธรรม และสามารถปองกันตัวเองจากอันตราย<br />

ของสารเคมีไดอยางเหมาะสม<br />

15


4) การใหความรูแกครูผูสอนดวยความสมัครใจกอใหเกิดความสําเร็จตอ<br />

การเรียนการสอนสูนักเรียนอยางแทจริงและเหมาะสม<br />

ปญหาและอุปสรรค ◙ ขาดแคลน “สื่อ” ที่ใชเปนตัวอยาง เนื่องจากไมคอยมีปรากฏบน<br />

ผลิตภัณฑ และสื่อมีนอยไมพอตอจํานวนนักเรียน<br />

4) โรงเรียนบานเกา / ผอ.ณัฐกรณ สารปรัง ผูรับผิดชอบโครงการ<br />

ขอมูลพื้นฐานโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากําแพงเพชร เขต 1<br />

โรงเรียนระดับประถมเปดสอนตั้งแตอนุบาลถึงประถมศึกษาปที่ 6<br />

จํานวนนักเรียนรวม 126 คน เปนโรงเรียนขนาดเล็ก บุคลากรรวม 9 คน<br />

การดําเนินงานของ<br />

โรงเรียน<br />

เนื่องจากโรงเรียนเปนโรงเรียนขนาดเล็ก มีจํานวนบุคลากรนอย ทาง<br />

โรงเรียนจึงไดจัดการเรียนรู เรื่อง อันตรายของสารเคมีตามระบบสากล GHS<br />

โดยดําเนินเปนกิจกรรมคายการเรียนรู เรื่อง “การสื่อสารความเปนอันตราย<br />

ของสารเคมีตามระบบสากล GHS” โดยมีกลุมเปาหมายเปนนักเรียน<br />

ประถมศึกษาปที่ 4-6 ระยะเวลา 3 วัน ใชกระบวนการเรียนรูแบบวิเคราะห<br />

KWL เพื่อสรางความรู ความเขาใจ และความตระหนักแกนักเรียนและชุมชน<br />

ในเรื่องความปลอดภัยในการใชสารเคมีตามระบบสากล GHS<br />

แผนงานในอนาคต ◙ จัดทําแผนการเรียนรูแบบบูรณาการ สําหรับชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6<br />

โดยบูรณาการเขาสูหลักสูตรตามกลุมสาระวิชาใหครบทั้ง 8 กลุมสาระ<br />

ความสําเร็จของโรงเรียน 1) การใชกระบวนการเรียนรูแบบวิเคราะห KWL ทําใหนักเรียนไดคิด<br />

วิเคราะห สังเคราะห เกิดการเรียนรูดวยตนเอง นักเรียนแสดงความสนใจ<br />

ในการเรียนรู และสามารถถายทอดความรูสูชุมชนไดอยางเหมาะสม<br />

2) กอใหเกิดการเรียนรูอยางเปนรูปธรรม และสามารถปองกันตัวเองจาก<br />

อันตรายของสารเคมีไดอยางเหมาะสม<br />

3) นักเรียนเขาใจและสามารถนําไปปรับใชในชีวิตประจําวันได<br />

ปญหาและอุปสรรค ◙ ขาดแคลน “สื่อ” ที่ใชเปนตัวอยาง เนื่องจากไมคอยมีปรากฏบน<br />

ผลิตภัณฑในทองตลาด<br />

โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา<br />

5) โรงเรียนบุญวาทยวิทยาลัย / อาจารยรัชนก สุวรรณจักร ผูรับผิดชอบโครงการ<br />

ขอมูลพื้นฐานโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําปาง เขต 1<br />

โรงเรียนระดับมัธยมเปดสอนตั้งแตมัธยมศึกษาตอนตนถึง<br />

มัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวนนักเรียนรวม 2,518 คน เปนโรงเรียนขนาด<br />

ใหญพิเศษ บุคลากรรวม 224 คน<br />

การดําเนินงานของ<br />

โรงเรียน<br />

โรงเรียนไดจัดทําโครงการ GHS รวมสงเสริมและพัฒนาทักษะ<br />

กระบวนการคิดแกผูสอนในทุกกลุมสาระการเรียนรู คือ วิทยาศาสตร<br />

ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษา<br />

และพลศึกษา ศิลปะ และการงานอาชีพและเทคโนโลยี และงานแนะแนว<br />

16


เพื่อใหครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช GHS นําไปสูทักษะ<br />

กระบวนการคิด เพื่อสงเสริมใหนักเรียนสามารถเรียนรูไดเต็มตามศักยภาพ<br />

และเปนทรัพยากรที่มีคุณภาพตอไป โดยใชเทคนิคครูแกนนําเปน<br />

ผูรับผิดชอบโครงการทําเปนตัวอยางใหครูทานอื่นดูและใหกําลังใจ ชวยชี้แนะ<br />

แนวทางอยางใกลชิด<br />

จากการเรียนการสอนที่ดําเนินการไดกอใหเกิดชมรมที่กอตั้งโดย<br />

นักเรียนระดับชันมัธยมศึกษาปที่ 5 ภายใตชื่อ “ชมรมพิทักษโลกใหสดใส<br />

ปลอดภัยสารเคมี” และการจัดกิจกรรมรณรงคภายในโรงเรียน และโรงเรียน<br />

กับบาน(ครอบครัว) ของนักเรียน เชน การประกวดวาดภาพ คําขวัญ<br />

ภาพถาย และครอบครัว GHS เปนตน<br />

แผนงานในอนาคต ◙ การขยายความรูสูชุมชน “บุญวาทยนํา GHS สูชุมชน”<br />

ความสําเร็จของโรงเรียน 1) การมีแกนนํา/ผูรับผิดชอบโครงการที่มีคุณภาพ ผานระบบการสื่อสารที่ดี<br />

และสามารถเปนตัวอยางที่ดี ซึ่งเปนสวนสงเสริมใหการดําเนินงาน<br />

โครงการมีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

2) โรงเรียนสามารถดําเนินงานโครงการโดยกําหนดตัวชี้วัดไดชัดเจน<br />

ปญหาและอุปสรรค ◙ ขาดแคลน “สื่อ” ที่ใชเปนตัวอยางผลิตภัณฑในการเรียนการสอน<br />

6) โรงเรียนกงหราพิชากร / อาจารยบุเรียม พรหมปลัด ผูรับผิดชอบโครงการ<br />

ขอมูลพื้นฐานโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง เขต 2<br />

โรงเรียนระดับมัธยมเปดสอนตั้งแตมัธยมศึกษาตอนตนถึง<br />

มัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวนนักเรียนรวม 471 คน เปนโรงเรียนขนาดกลาง<br />

บุคลากรรวม 30 คน<br />

การดําเนินงานของ<br />

โรงเรียน<br />

โรงเรียนดําเนินกิจกรรมโดยการนําเนื้อหาความรู เรื่อง การสื่อสาร<br />

ความเปนอันตรายของสารเคมีตามระบบสากล GHS มาจัดทําแผน และสื่อ<br />

ประกอบการเรียนรู ทดลองสอนกับนักเรียนผานการบูรณาการการเรียนการ<br />

สอนเขากับรายวิชาในกลุมสาระการงานอาชีพ และนําไปบูรณาการในกลุม<br />

สาระทั้ง 8 กลุมสาระ คือ กลุมสาระวิทยาศาสตร การงานอาชีพและ<br />

เทคโนโลยี ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ คณิตศาสตร สุขศึกษาและพล<br />

ศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และศิลปะ โดยมีดําเนินการ<br />

รวมกันระหวางครูผูสอนกลุมสาระตางๆ ดวยการใชเนื้อหาเกี่ยวกับการ<br />

สื่อสารความเปนอันตรายของสารเคมีตามระบบสากล GHS แทรกในสาระที่<br />

สอนอยูทําใหเกิดความหลากหลายของกิจกรรมและผลงานของนักเรียนตาม<br />

สาระตางๆ ที่แสดงออกถึงการเรียนรูและเขาใจ<br />

แผนงานในอนาคต ◙ การจัดทําหลักสูตรบูรณาการการจัดการเรียนการสอนเรื่อง การสื่อสาร<br />

ความเปนอันตรายของสารเคมีตามระบบสากล GHS และขยายผล<br />

สูโรงเรียนเครือขาย<br />

17


◙ การจัดตั้งกลุมเฝาระวังอันตรายของสารเคมี<br />

ความสําเร็จของโรงเรียน 1) การใชกระบวนการเรียนรูผานครูแกนนําคูกับนักเรียนแกนนําสงผลใหมี<br />

การเรียนรูอยางตอเนื่องและสามารถพัฒนาตอไปไดอยางเหมาะสม<br />

2) การสงเสริมใหเด็กดอยโอกาส (เด็กพิการ) มีบทบาทในกิจกรรมการ<br />

เรียนรู ซึ่งเปนการเสริมสรางโอกาสใหเด็กดอยโอกาสใหเกิดการเรียนรู<br />

ตามหลัก “สุขนิยม”<br />

3) การใชแรงจูงใจใหเด็กนักเรียนไดเรียนรูดวยการแลกแตมกับวิชาเคมี<br />

4) โรงเรียนเปนแกนนําในการสงเสริมการเรียนรูไปพรอมกับชุมชน<br />

ปญหาและอุปสรรค 1) ขาดแคลนงบประมาณในการพัฒนาโครงการอยางตอเนื่อง<br />

2) การเชื่อมโยงเนื้อหาระหวางกลุมสาระตางๆ ยังไมชัดเจน<br />

3) ขาดความตอเนื่องของการทํากิจกรรม เนื่องจากนักเรียนมีเวลาใหกับการ<br />

ทํากิจกรรมนอย<br />

4) ขาดแคลนสื่ออุปกรณที่จะนํามาใชในการจัดการเรียนการสอน<br />

7) โรงเรียนกะทูวิทยา / อาจารยดวงพร กุลวรางกูล ผูรับผิดชอบโครงการ<br />

ขอมูลพื้นฐานโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาภูเก็ต เขต 2<br />

โรงเรียนระดับมัธยมเปดสอนตั้งแตมัธยมศึกษาตอนตนถึง<br />

มัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวนนักเรียนรวม 958 คน เปนโรงเรียนขนาดใหญ<br />

บุคลากรรวม 46 คน<br />

การดําเนินงานของ<br />

โรงเรียน<br />

โรงเรียนไดดําเนินการบูรณาการในกลุมสาระการเรียนรูวิชา<br />

วิทยาศาสตรเปนหลัก และมีการบูรณาการในกลุมสาระสุขศึกษาและพลศึกษา<br />

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาษาตางประเทศ และ ศิลปะ เปนลําดับ<br />

รองลงไป โดยมีการจัดแผนการเรียนรูแบบบูรณาการในระดับชั้นมัธยมศึกษา<br />

ปที่ 2 เรื่อง ความปลอดภัยในการใชสารเคมี จํานวน 5 แผน นอกจากนี้ยังมี<br />

การจัดทําแผนพับ และการจัดบอรดประชาสัมพันธในโรงเรียนดวย<br />

แผนงานในอนาคต 1) จัดทําเวปไซตเผยแพรความรู<br />

2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จัดทําโครงงานวิทยาศาสตร<br />

3) จัดคายบูรณาการในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย<br />

4) สรางเครือขายความรูกับโรงเรียนในชุมชน<br />

ความสําเร็จของโรงเรียน 1) โรงเรียนกะทูวิทยามีการจัดการเรียนรูที่แตกตางจากโรงเรียนอื่น คือ<br />

การจัดทําแผนการเรียนรูเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องตนเมื่อไดรับ<br />

อันตรายจากสารเคมี ซึ่งนาจะเปนตัวอยางที่ดีแกโรงเรียนเครือขายตอไป<br />

2) จากการจัดการเรียนการสอนกอใหเกิดพฤติกรรมการใชสารเคมีของ<br />

นักเรียนเปลี่ยนไป คือ อานฉลากกอนใชและใชอยางปลอดภัย<br />

ปญหาและอุปสรรค ◙ โรงเรียนขาดแคลนสื่อการเรียนรู เรื่อง ขอความแสดงความเปนอันตราย<br />

ของสารเคมีตามระบบสากล GHS<br />

18


8) โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร / อาจารยสุภาภรณ ยาพรหม ผูรับผิดชอบโครงการ<br />

ขอมูลพื้นฐานโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 1<br />

โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาเปดสอนตั้งแตมัธยมศึกษาตอนตนถึง<br />

มัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวนนักเรียนรวม 2,028 คน เปนโรงเรียนขนาด<br />

ใหญพิเศษ บุคลากรรวม 97 คน<br />

การดําเนินงานของ โรงเรียนใชกระบวนการเรียนรูแบบการรักษาและปองกันเพื่อการ<br />

โรงเรียน<br />

ดํารงชีวิตไดอยางมีความสุขเชนเดียวกับโรงเรียนวัดบานฉางเนื่องจากบริบท<br />

พื้นที่คลายคลึงกัน โดยดําเนินการออกแบบหนวยการเรียนรู เรื่องการสื่อสาร<br />

ความเปนอันตรายของสารเคมีตามระบบสากล GHS สอดแทรกในกลุมสาระ<br />

การเรียนรูวิทยาศาสตร ดังนี้<br />

๏ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง สารเคมีใกลตัว<br />

๏ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เรื่อง สารและการเปลี่ยนแปลง<br />

๏ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/2 เรื่อง สารเคมีกับชีวิตประจําวัน<br />

โดยมีการใหความรูแกนักเรียนเกี่ยวกับกลุมสารเคมีอันตราย อันตรายจาก<br />

การใชสารเคมี การใชสารเคมีอยางปลอดภัย จากสื่อที่ครูสรางสรรคขึ้น และ<br />

จากเว็บไซดที่เกี่ยวของ<br />

แผนงานในอนาคต ◙ การบูรณาการการเรียนรูในทุกกลุมสาระ โดยจัดทําสาระเพิ่มเติม ใน<br />

รายวิชาวิทยาศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย<br />

ตามหลักสูตรแกนกลาง 2551<br />

ความสําเร็จของโรงเรียน 1) โรงเรียนมีการดําเนินที่แตกตางจากโรงเรียนอื่น คือ การวิเคราะหเนื้อหา<br />

เรื่อง GHS กอน แลวจึงนําเขาสูหนวยการเรียนรูที่สอดคลองกัน<br />

การดําเนินงานดังกลาวสงผลใหเกิดการเรียนรูที่เหมาะสมและชัดเจน<br />

เปนการสรางทักษะการใชชีวิตใหมีความสุขและปลอดภัย<br />

2) โรงเรียนมีความตระหนักในเรื่องของสารเคมีเปนพื้นฐานอยูแลว เมื่อ<br />

โครงการเขาไปจึงตอบรับเขาสูการเรียนรูโดยตรงและเปนการสงเสริม<br />

การใชชีวิตอยางมีความสุขและปลอดภัย<br />

3) โรงเรียนไดมอบใบงาน/กิจกรรมใหนักเรียนนําไปทําที่บาน ซึ่งมีผลทําให<br />

เกิดการขยายการเรียนรูไปสูผูปกครองไดในลําดับตอไป<br />

ปญหาและอุปสรรค ◙ เนื่องจากเวลาในการเรียนการสอนไมเพียงพอ ทําใหครูผูสอนทําการ<br />

สอนไมเปนไปตามกิจกรรมที่ไดออกแบบไว เชน กิจกรรมการสํารวจ<br />

กิจกรรมเผยแพรความรูสูชุมชน เปนตน<br />

9) โรงเรียนราชกระชานุเคราะห 29 / อาจารยวิเชต ทับเปย ผูรับผิดชอบโครงการ<br />

ขอมูลพื้นฐานโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 1<br />

โรงเรียนแบบการศึกษาสงเคราะหรับนักเรียนแบบสหศึกษา นักเรียน<br />

อยูประจําซึ่งสวนใหญเปนเด็กที่ดอยโอกาส เด็กพิเศษ เปดสอนตั้งแต<br />

ประถมศึกษาปที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปที่ 6 จํานวนนักเรียนรวม 906 คน เปน<br />

19


โรงเรียนขนาดใหญ บุคลากรรวม 63 คน<br />

การดําเนินงานของ เนื่องจากโรงเรียนเปนโรงเรียนประจํา การเรียนการสอนสวนใหญ<br />

โรงเรียน<br />

รวมทั้งการเรียนการสอนเรื่อง GHS ใชการถายทอดโดยมีวัตถุประสงคให<br />

นักเรียนนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน (สอนการใชชีวิตที่ดีใหนักเรียน)<br />

เชน โรงเรียนมีหมูบาน 40 ป ราชประชานุเคราะห โดยแตละบานจะมี<br />

นักเรียนระดับมัธยมศึกษาทั้งตอนตนและตอนปลายอยูรวมกัน มีภารกิจที่<br />

ตองรับผิดชอบกิจกรรมทุกอยางในบานรวมกัน และมีการปลูกผักปลอด<br />

สารพิษ ไมมีการใชสารเคมี โดยไดมีการสอดแทรกสาระความรูใหนักเรียนได<br />

เรียนรูเกี่ยวกับสารเคมีและสัญลักษณอันตราย GHS<br />

โรงเรียนดําเนินการในการปดปายประชาสัมพันธ GHS บริเวณตางๆ<br />

ภายในโรงเรียน เชน อาคารเรียน หอนอน และหองปฏิบัติการตางๆ<br />

นอกจากนี้ยังมีการรายการเสียงตามสายเพื่อเผยแพรความรูภายในโรงเรียน<br />

วันละ 2 ครั้ง (เวลาพักกลางวัน และเวลาเย็น 16.30-18.00 น.)<br />

แผนงานในอนาคต ◙ การบูรณาการเนื้อหา GHS ลงในหลักสูตรการสอนตามมาตรฐานและ<br />

ตัวชี้วัดที่กําหนด และพิจารณาการดําเนินงานของโรงเรียนอื่นเพื่อนําไป<br />

ประยุกตใชใหสอดคลองกับบริบทของโรงเรียน<br />

ความสําเร็จของโรงเรียน 1) โรงเรียนใชหลักการสอนวิธีการใชชีวิตและการดํารงชีวิตในชีวิตประจําวัน<br />

อยางเหมาะสม<br />

2) โรงเรียนใชกระบวนการตอยอดจากโครงการที่ไดทําแลวเปนแนวทางเขา<br />

สูการเรียนรูเรื่อง GHS ไดอยางเหมาะสมกอใหเกิดการเรียนรูอยาง<br />

ตอเนื่อง<br />

ปญหาและอุปสรรค 1) เนื่องจากในชีวิตประจําวันของบุคลากรในโรงเรียนมีการใชสารเคมี<br />

คอนขางนอยมาก จึงพบขอจํากัดในเรื่องของการหาตัวอยางฉลาก<br />

ผลิตภัณฑสําหรับเปนสื่อการสอน<br />

2) ขาดความตอเนื่องของทีมครูแกนนําในการดําเนินกิจกรรมของโครงการ<br />

3) ขาดงบประมาณสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง GHS<br />

บทสรุปและขอเสนอแนะจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู : การพัฒนาโรงเรียนตนแบบฯ ในการ<br />

จัดการเรียนการสอนโดยนําระบบสากล GHS ไปบูรณาการ<br />

1) โรงเรียนตนแบบฯ มีศักยภาพและสามารถนําความรู เรื่อง ขอความแสดงความเปนอันตราย<br />

ของสารเคมีตามระบบสากล GHS ไปบูรณาการเขาสูหนวยการเรียนรูไดอยางเหมาะสม<br />

2) การเรียนรูสามารถตอยอดและสรางสรรคไดโดยไมมีขีดจํากัด ดังเชน การใชสื่อวีดีทัศนที่<br />

นําเสนอโดยโรงเรียนเขาดินวิทยาคารซึ่งคนความาจากอินเทอรเน็ต เปนตน<br />

3) การดําเนินงานโครงการใหประสบผลสําเร็จตองอาศัยความรวมมือของคณะทํางานหรือคณะครู<br />

ผูนําที่มีคุณภาพ<br />

4) คุณครูสามารถใชสื่อการสอนไดทุกรูปแบบ และควรเปนการเรียนรู คูความสนุก เนื่องจากชวย<br />

ทําเรื่องยากใหเปนเรื่องงายได เชน การเรียนรูโดยใชเกมสเปนสื่อในการเรียนรู เปนตน<br />

20


5) การสอดแทรกสาระความรูใหนําไปสูการปฏิบัติในการใชชีวิตประจําวันของนักเรียน<br />

6) การสื่อสารความรูเพื่อสรางความตระหนักจากนักเรียนไปสูผูปกครองสามารถสอดแทรกไปกับ<br />

การบานของเด็กนักเรียน ซึ่งเปนชองทางการสื่อสารที่เผยแพรความรูสูชุมชนได<br />

7) การใหความรูควรหลีกเลี่ยงวิธีการกดดัน โดยอาจใชวิธีกระตุนใหเกิดพฤติกรรมโดยมีการทํา<br />

เปนตัวอยาง<br />

8) การสรางขวัญและกําลังใจเปนสวนหนึ่งของการกระตุนใหเกิดพลังในการพัฒนางานของทีมงาน<br />

ได จึงควรมีการมอบเกียรติบัตรใหกับทีมงานโรงเรียนที่รวมกันดําเนินงาน<br />

(2) แผนการดําเนินงานและแนวทางการพัฒนาโรงเรียนตนแบบ GHS รุนที่ 2<br />

ภญ.อมรรัตน ลีนะนิธิกุล ผูอํานวยการศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี สํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา นําเสนอแผนการดําเนินงานและแนวทางการพัฒนาโครงการโรงเรียนตนแบบ<br />

GHS รุนที่ 2 โดยสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจะประสานความรวมมือกับสํานักงานคณะกรรมการ<br />

การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อพัฒนาการเรียนรูในเรื่อง ความเปนอันตรายของสารเคมีตามระบบสากล GHS สู<br />

นักเรียนและเยาวชน โดยจะเปดรับสมัครโรงเรียนที่สนใจเขารวมโครงการโรงเรียนตนแบบ GHS รุนที่ 2 ทั้ง<br />

โรงเรียนที่เปนเครือขาย และโรงเรียนโรงเรียนตนแบบในรุนที่ 1 ที่มีการสงเสริมแนวทางในการพัฒนา<br />

โครงการตอ สามารถสมัครเขารวมโครงการได โดยกําหนดระยะเวลาการดําเนินงานของโครงการจํานวน<br />

11 เดือน (พฤษภาคม 2553 – มีนาคม 2554) (รายละเอียดในเอกสารประกอบการบรรยาย 2) โดย<br />

นางสาวศรินทร เศรษฐการุณย และนางรัตนวิภา ธรรมโชติ ผูแทนจากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น<br />

พื้นฐาน ไดใหขอเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดําเนินงานในระยะตอไปวา ควรเชิญศึกษานิเทศนจาก<br />

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่โรงเรียนตนแบบฯ สังกัดอยูเขามาชวยกํากับดูแล ใหคําแนะนําตอการ<br />

ดําเนินงานของโรงเรียน และรวมเปนคณะกรรมการประเมินการจัดการเรียนรูตามแผนการดําเนินงานของ<br />

โครงการเพื่อสงเสริมการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืนตอไป<br />

21


เอกสารประกอบการบรรยาย 1<br />

ความเปนมาและความหมายของระบบสากลการจัดกลุมผลิตภัณฑเคมี<br />

และการติดฉลาก Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals<br />

(GHS)<br />

22


ที่มาและความหมายของ GHS<br />

ระบบสากลการจัดกลุมผลิตภัณฑเคมีและการติดฉลาก หรือ Globally Harmonized System of<br />

Classification and Labeling of Chemicals (GHS) เปนการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ 21 บทที่ 19 วา<br />

ดวยการจัดการสารเคมีเปนพิษ โดยมีจุดเริ่มตนจากผลงานทางวิชาการของ Inter-Organization Programme<br />

for the Sound Management of Chemicals (IOMC) ที่จัดทําแลวเสร็จเมื่อป 2001 และสงผลใหมีการจัดตั้ง<br />

คณะอนุกรรมการผูเชี่ยวชาญดาน GHS ขององคการสหประชาชาติ หรือ UN Economic and Social<br />

Council’s Subcommittee of Experts on GHS (UNSCEGHS) เพื่อพัฒนาระบบสากล GHS อยางตอเนื่อง<br />

ตลอดจนสงเสริมใหประเทศตางๆ นําระบบ GHS ไปปฏิบัติจริง ซึ่งสอดคลองกับมติที่ประชุมสุดยอดวาดวยการ<br />

พัฒนาที่ยั่งยืน (ป 2002) ที่กําหนดเปาหมายใหมีการดําเนินงานอยางเต็มรูปแบบทั่วโลกภายในป 2008<br />

จากมติที่ประชุมสหประชาชาติดังกลาว ในป 2003 ประเทศไทยไดประกาศจุดยืนในที่ประชุม Asia-<br />

Pacific Economic Cooperation (APEC) ใหประเทศสมาชิกเขตเศรษฐกิจ APEC รวมมือกันสนับสนุนการ<br />

เรงรัดพัฒนาศักยภาพและกระตุนใหเกิดการปฏิบัติตามระบบ GHS ภายในป 2006 นอกจากนี้ ที่ประชุมเวที<br />

ความรวมมือระหวางรัฐบาลวาดวยความปลอดภัยดานสารเคมี ครั้งที่ 4 (IFCS Forum IV) ซึ่งจัดขึ้นในป<br />

เดียวกัน ณ ศูนยประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพมหานคร ไดมีมติใหประเทศสมาชิกนําระบบสากล GHS ไป<br />

ปฏิบัติภายในป 2008 เนื่องจากเห็นวาระบบ GHS จะมีสวนชวยสงเสริมการจัดการดานสารเคมีระหวาง<br />

ประเทศ เพื่อความปลอดภัยของสุขภาพมนุษยและสิ่งแวดลอม รวมทั้งลดขอกีดกันทางการคาผลิตภัณฑเคมี<br />

ระหวางประเทศอีกดวย<br />

GHS คืออะไร<br />

ระบบสากลการจัดกลุมสารเคมี / เคมีภัณฑและการติดฉลาก Globally Harmonized System of<br />

Classification and Labeling of Chemicals (GHS) เปนระบบมาตรฐานที่องคการสหประชาชาติพัฒนาขึ้นใหม<br />

เพื่อใหทั่วโลกจัดกลุมเคมีภัณฑตามความเปนอันตรายของสารเคมีที่เปนสวนประกอบทั้งทางดาน<br />

• ทางกายภาพ<br />

• สุขภาพ<br />

• สิ่งแวดลอม<br />

รวมทั้งใหมีระบบสื่อสารเกี่ยวกับความเปนอันตรายของสารเคมีที่เปนมาตรฐานสากลในรูปของ<br />

• ฉลากเคมีภัณฑ (LABEL)<br />

• เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (Safety Data Sheet หรือ SDS)<br />

23


การจัดกลุมสารเคมี / เคมีภัณฑ ในระบบสากล GHS ตามความเปนอันตราย<br />

อันตรายทางกายภาพ 16 ประเภท<br />

อันตรายทางสุขภาพ 10 ประเภท<br />

• วัตถุระเบิด<br />

• ความเปนพิษเฉียบพลัน<br />

• กาซไวไฟ<br />

• การกัดกรอน / การระคายเคืองผิวหนัง<br />

• ละลองลอยไวไฟ<br />

• การทําลายดวงตาอยางรุนแรง / การระคาย<br />

• กาซออกซิไดส<br />

เคืองตอดวงตา<br />

• กาซภายใตความดัน<br />

• การทําใหไวตอการกระตุนอาการแพตอ<br />

• ของเหลาวไวไฟ<br />

ระบบทางเดินหายใจหรือผิวหนัง<br />

• ของแข็งไวไฟ<br />

• การกอใหเกิดการกลายพันธุของเซลล<br />

• สารที่ทําปฏิกิริยาไดดวยตนเอง<br />

สืบพันธุ<br />

• ของเหลวที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ • การกอมะเร็ง<br />

• ของแข็งที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ • ความเปนพิษตอระบบสืบพันธุ<br />

• สารที่เกิดความรอนไดเอง<br />

• ความเปนพิษตอระบบอวัยวะเปาหมายจา<br />

• สารซึ่งสัมผัสกับน้ําแลวใหกาซไวไฟ<br />

การไดรับสารเพียงครั้งเดียว<br />

• ของเหลวออกซิไดส<br />

• ความเปนพิษตอระบบอวัยวะเปาหมายจาก<br />

• สารเพอรออกไซดอินทรีย<br />

การไดรับสารซ้ํากันหลายครั้ง<br />

• สารกัดกรอนโลหะ<br />

• ความเปนอันตรายจากการสําลัก<br />

อันตรายทางสิ่งแวดลอม 1 ประเภท<br />

• ความเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอมในน้ํา<br />

9 สัญลักษณตามระบบสากล GHS<br />

อันตรายตอสุขภาพ :<br />

อันตรายทางกายภาพ:<br />

อันตรายตอสิ่งแวดลอม:<br />

24


องคประกอบของฉลาก (Label) ตามระบบสากล GHS<br />

1. ชื่อผลิตภัณฑ<br />

2. ชื่อสารเคมีที่เปนสวนประกอบสําคัญ / ที่เปนอันตรายในผลิตภัณฑ และปริมาณ<br />

3. สัญลักษณแสดงความเปนอันตรายของสารเคมี<br />

(Hazard Pictogram)<br />

4. คําสัญญาณ: อันตราย ระวัง<br />

(Signal Word) (Danger) (Warning)<br />

5. ขอความแสดงความเปนอันตราย ละอองลอยไวไฟ ระคายเคืองผิวหนัง<br />

(Hazard Statement)<br />

อันตราย<br />

(Signal Word)<br />

ระวัง<br />

(Danger) (Warning)<br />

6. ขอควรปฏิบัติเพื่อปองกันอันตราย -เก็บใหหางจากเปลวไฟ -ใชถุงมือปองกันเก็บรักษา กําจัดกาก และ<br />

จัดการเมื่อมีเหตุฉุกเฉิน(Precautionary Statement)<br />

7. ชื่อผูผลิต และขอมูลอื่นๆ เชน วันที่ผลิต และหมดอายุ และ หมายเลขโทรศัพทฉุกเฉิน<br />

GHS SDS<br />

(เอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี): 16 หัวขอ<br />

1. ขอมูลทั่วไปของสารเคมี และผูผลิต<br />

2. ขอมูลเกี่ยวกับอันตรายของสารเคมี - การจัดกลุม -ฉลาก<br />

3. สวนผสม ระบุชื่อสามัญทางเคมีและปริมาณ<br />

4. การปฐมพยาบาล<br />

5. การปฏิบัติเมื่อเกิดไฟไหม<br />

6. การปฏิบัติเมื่อเกิดการรั่วไหล<br />

7. การใชและการจัดเก็บ<br />

8. คามาตรฐานความปลอดภัย/การควบคุม/การปองกันสวนบุคคล<br />

9. คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี<br />

10. ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา<br />

11. ขอมูลดานพิษวิทยาของสารเคมี เชน พิษเฉียบพลัน พิษเรื้อรัง การกอมะเร็ง ฯลฯ<br />

12. ขอมูลผลกระทบตอระบบนิเวศน<br />

13. การกําจัด/ทําลายกาก<br />

14. ขอมูลสําหรับการขนสง<br />

15. ขอมูลเกี่ยวกับการควบคุม/กฎระเบียบ<br />

16. ขอมูลอื่น ๆ<br />

25


เอกสารประกอบการบรรยาย 2<br />

แผนการดําเนินงานและแนวทางการพัฒนาโรงเรียนตนแบบ GHS รุนที่ 2<br />

27


แผนการดําเนินงานและแนวทางการพัฒนาโรงเรียนตนแบบ GHS รุนที่ 2<br />

กิจกรรม<br />

1. ประสัมมนาพัฒนาเครือขาย<br />

โรงเรียนตนแบบในการนําระบบ<br />

สากล GHS ไปบูรณาการในการ<br />

เรียนการสอน ปที่ 2<br />

2. เชิญชวนโรงเรียนเขารวม<br />

โครงการโรงเรียนตนแบบ GHS<br />

รุนที่ 2<br />

3. เปดรับสมัครเขารวมโครงการ<br />

โรงเรียนตนแบบ GHS รุนที่ 2<br />

4. ประชุมคณะกรรมการ<br />

พิจารณาคัดเลือกโรงเรียน<br />

ตนแบบ GHS รุนที่ 2<br />

5. แจงผลการพิจารณาคัดเลือก<br />

โรงเรียนตนแบบ GHS รุนที่ 2<br />

6. เยี่ยมชมการดําเนินงาน<br />

โรงเรียนตนแบบ GHS รุนที่ 2<br />

ป 2553 ป 2554<br />

พค มิย กค สค กย ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย<br />

<br />

<br />

หมายเหตุ<br />

โรงเรียนสงแผนการจัดการเรียนรู<br />

อันตรายของสารเคมีตามระบบสากล<br />

(GHS) ใหสํานักงาน อย. พิจารณา<br />

<br />

สนับสนุนโรงเรียนตนแบบโรงเรียนละ<br />

5,000 บาท<br />

<br />

28


เอกสารประกอบการบรรยาย 3<br />

แหลงและสื่อการเรียนรูเรื่อง GHS , Chemical Safety Academy<br />

และ International Chemical Safety Cards (ICSCs)<br />

29


Company<br />

LOGO<br />

แหลงและสื่อการเรียนรูเรื่อง<br />

•GHS<br />

• Chemical Safety Academy<br />

• International Chemical Safety Cards (ICSCs)<br />

ศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

2<br />

30


3<br />

4<br />

31


www.fda.moph.go.th<br />

5<br />

www.fda.moph.go.th<br />

6<br />

32


You Tube : โรงเรียนตนแบบ GHS<br />

7<br />

เพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของรวมกัน<br />

ขับเคลื่อนกระบวนการเรียนรูเรื่องความปลอดภัยดานสารเคมี<br />

ในเด็กและเยาวชน ผานเครือขายโรงเรียน และชุมชนตอไป<br />

8<br />

33


WHO / IPCS International Chemical Safety<br />

Cards (ICSCs) ภาษาไทย<br />

www.fda.moph.go.th<br />

9<br />

www.fda.moph.go.th<br />

10<br />

34


แบบประเมินผล<br />

ประชุมสัมมนา<br />

เรื่อง “การพัฒนาเครือขายโรงเรียนตนแบบในการนําระบบสากล GHS ไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน ปที่ 2”<br />

ณ โรงแรมเดอะ ทวิน ทาวเวอร กรุงเทพมหานคร<br />

วันที่ 11 – 12 พฤษภาคม 2553<br />

****************************************************<br />

I. ความเห็นเกี่ยวกับการจัดประชุมสัมมนา โปรดกาเครื่องหมาย ในชองระดับความคิดเห็น<br />

หัวขอจัดการประชุมสัมมนาทางวิชาการ<br />

ระดับความคิดเห็น(รอยละ)<br />

ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก<br />

สวนของผูเขารับการอบรม/ประชุม/สัมมนา<br />

1 ความรู ความเขาใจ กอน การเขารับการประชุมสัมมนาวิชาการ - 30.7 38.5 20.5 10.3<br />

2 ความรู ความเขาใจ หลัง การเขารับการประชุมสัมมนาวิชาการ 46.2 48.7 5.1 - -<br />

3 เนื้อหาที่ทานสามารถนําไปประยุกตใชในการปฏิบัติงาน 51.3 46.2 2.5 - -<br />

4 โอกาสที่ทานไดแลกเปลี่ยน เรียนรูประสบการณ 48.7 41.1 5.1 5.1 -<br />

สวนของวิทยากร<br />

5 ความรอบรูของวิทยากรในหัวขอที่บรรยาย 64.1 33.3 2.6 - -<br />

6 การใชเทคนิคการระดมสมองและศิลปะในการถายทอดของ 51.3 46.1 - 2.6 -<br />

วิทยากร<br />

7 การใชสื่อและโสตทัศนูปกรณในการถายทอดความรู 33.3 64.1 2.6 - -<br />

8 เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาวิชาการ 41.0 51.3 5.1 2.6 -<br />

สวนของผูจัดการประชุมสัมมนาวิชาการ<br />

9 การประสานงาน/ประชาสัมพันธกอนการจัด 61.5 28.2 7.7 2.6 -<br />

10 การตอนรับและการลงทะเบียน 82.0 7.7 10.3 - -<br />

11 สถานที่จัด 74.3 23.1 2.6 - -<br />

12 ระยะเวลาที่จัด 59.0 30.7 10.3 - -<br />

13 ภาพรวมของการดําเนินการจัดครั้งนี้ 64.1 33.3 2.6 - -<br />

II. สิ่งที่ไดรับหลังการประชุมสัมมนาวิชาการ<br />

1. องคความรู/ประสบการณและแนวทางการนําเรื่อง GHS ไปใชในกระบวนการเรียนการสอนไดอยางดี<br />

2. ไดรับความรูเกี่ยวกับระบบ GHS เพิ่มขึ้นนําไปใชในกระบวนการจัดการเรียนการสอนได<br />

3. รูปแบบการบูรณาการการเรียนการสอนที่ชัดเจน กิจกรรมที่หลากหลายในการดําเนินงาน GHS และเทคนิค<br />

การผลิตสื่อและการใชสื่อจากโรงเรียนตนแบบ<br />

4. แนวทางการดําเนินงานของโรงเรียนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู<br />

5. ความหลากหลายในการจัดการเรียนการสอนระบบสากล GHS ในระดับชั้นเรียนตางๆ<br />

6. ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูไดประสบการณอยางมากเพื่อนําไปเปนแบบอยางที่ดี<br />

35


II. สิ่งที่ไดรับหลังการประชุมสัมมนาวิชาการ (ตอ)<br />

7. การแลกเปลี่ยนเรียนรู สามารถนําไปปรับใชได<br />

8. ไดเห็นรูปแบบของการจัดกิจกรรม GHS ในโรงเรียนตางๆ ที่เปนรูปธรรม และไดแนวคิดที่หลากหลายในการ<br />

จัดกิจกรรมแบบบูรณาการในโรงเรียน เชนจัดในรูปแบบเกมส คาย กิจกรรมรณรงค และการบูรณาการใน<br />

การเรียนการสอน<br />

9. ความรูเรื่อง GHS เกี่ยวกับความอันตรายของสารเคมี ชวยใหตระหนักถึงความสําคัญในการชวยกันปองกัน<br />

สารเคมี และยังไดแลกเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนรูเพื่อนําไปจัดสอน จัดกิจกรรมใหกับนักเรียนในโรงเรียน<br />

10. ไดรับประสบการณการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางโรงเรียนเพื่อเปนแนวทางในการนําไปใชในการจัดการเรียน<br />

การสอนได<br />

11. แนวทางการพัฒนาในการดําเนินโครงการใหขยายเพิ่มขึ้นในรูปของการบูรณาการ แตไมตองทุกกลุมสาระ<br />

และขอคิดเห็นตางๆ ของแตละโรงเรียน<br />

12. ทําใหไดรับความรูในเรื่องของ GHS มากขึ้น และสามารถนําไปเผยแพรใหกับนักเรียนและชุมชนได เพื่อให<br />

คนไทยมีความตระหนักในดานการใชสารเคมีและผลของการใชสารเคมีอยางไมระมัดระวัง ซึ่งจะทําใหเกิดผล<br />

ตอชีวิตอยางไร<br />

13. การนําระบบสากล GHS ไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนนั้นมีเทคนิคกระบวนการหลากหลาย และ<br />

ควรจัดใหเหมาะสมกับวัยของนักเรียน ซึ่งจะสงผลดีตอการเพิ่มเครือขายประชากรที่ตระหนักในการดูแลรักษา<br />

สิ่งแวดลอมในปจจุบันและอนาคต<br />

14. ความรูและประสบการณ แนวทางการนําไปใชในการเรียนการสอน และการนําไปประยุกตใช<br />

15. ทราบแนวทางหลากหลายในการดําเนินการพัฒนาโรงเรียนเปนโรงเรียนตนแบบ GHS<br />

16. นําความรูไปปรับประยุกตใชและถายทอดใหกับบุคคลตางๆ โดยรวมที่เกี่ยวของ<br />

17. จะนําความรูที่ไดรับไปประชุมรวมกับคณะบุคลากรในโรงเรียนเพื่อเผยแพรความรูและนําเขาสูการจัดการ<br />

เรียนการสอนในการเผยแพรความรูแกนักเรียน นักเรียนนําไปสูผูปกครอง<br />

18. องคความรูที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจากโรงเรียนตนแบบ ไดรูจักเพื่อนรวมอุดมการณจากที่<br />

ตางๆ<br />

19. ประสบการณ ความรูเกี่ยวกับสัญลักษณอันตรายทางเคมี แนวทางการพัฒนางาน<br />

20. นําความรูและประสบการณไปประยุกตใชในโรงเรียน เพื่อเตรียมความพรอมในการเปนโรงเรียนตนแบบ<br />

21. ไดเพื่อน ไดความมีน้ําใจของผูรวมเขารับการอบรมและจากวิทยากร ไดรับความรูและประสบการณ ตัวอยางที่<br />

ประสบความสําเร็จ แนวทางการดําเนินงานเพื่อนําไปปรับใชในสวนงานของเราใหดี และพัฒนายิ่งขึ้นกวาเดิม<br />

22. แนวคิด วิธีการและองคความรูใหมๆ รวมทั้งเกิดความตระหนักฯ<br />

23. ประสบการณการทํางานของโรงเรียนตนแบบไปปรับใชกับโรงเรียนตนเอง<br />

24. เครือขายการเรียนรูที่เพิ่มขึ้น สื่อสําหรับการจัดการเรียนรู แนวทางการจัดการเรียนรูที่ประสบผลสําเร็จ<br />

25. จะนําเอาผลที่ไดรับจากการประชุมสัมมนาไปปฏิบัติในโรงเรียนใหไดมากที่สุด<br />

36


II. สิ่งที่ไดรับหลังการประชุมสัมมนาวิชาการ (ตอ)<br />

26. เทคนิคการจัดการเรียนรูการนําระบบสากล GHS ไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน กลยุทธตางๆ ใน<br />

การทําใหการจัดการเรียนรู GHS ไปสูความสําเร็จ และการรูจักการใชสื่อตางๆ เพื่อใชกับนักเรียนในการ<br />

จัดการเรียนรู GHS และการประยุกตใช<br />

27. ความรูความเขาใจในอันตรายและความปลอดภัยดานเคมีวัตถุ หลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่เกิดจากสารเคมี และ<br />

การศึกษารายละเอียดจากฉลากสินคาและขอมูลที่เกี่ยวของ<br />

28. ไดรับความรูเพิ่มขึ้นรวมถึงการจัดทําสื่อการสอน<br />

III. ขอคิดเห็น /ขอเสนอแนะอื่นๆ เกี่ยวกับการดําเนินการพัฒนาโรงเรียนตนแบบในระยะตอไป<br />

1. จัดประกวดการผลิตสื่อการเรียนการสอนเรื่อง GHS จัดประกวดโครงการที่เกี่ยวกับการดําเนินงานเรื่อง GHS<br />

และเปดพื้นที่เว็บไซตเพื่อใหโรงเรียนไดนําผลงาน/กิจกรรมเขามาโพสต<br />

2. การจัดทําสื่อฯ เพื่อสนับสนุนการเรียนรู และมีเว็บไซตที่เหมาะกับนักเรียนกลุมอายุตาง ๆ เพื่อการเรียนรู<br />

3. การติดตามการดําเนินงาน อยางนอยปละครั้งและควรจะจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูปละครั้ง<br />

4. นําความรูที่ไดไปรายงานตอผูบริหาร และเสนอเปนโครงการของโรงเรียนตอที่ประชุมโรงเรียน นําไป<br />

บูรณาการกิจกรรม GHS กับกิจกรรมในโรงเรียนที่มีอยูเดิม และการบูรณาการการเรียนรูทําใหกิจกรรม<br />

หลากหลาย เพื่อเติมเต็มนักเรียนตลอดเวลา<br />

5. จัดนักเรียนเขาคายทํากิจกรรมรณรงค ใหกับนักเรียนในโรงเรียนตนแบบ เพื่อใหนักเรียนตระหนักถึง<br />

ความสําคัญ และใหโรงเรียนตนแบบหาเครือขายเพิ่มเติม<br />

6. ควรมีโครงการแบบนี้อยางตอเนื่องทุกป และควรสนับสนุนงบประมาณใหมากกวานี้ และควรเปดโอกาสใหมี<br />

โครงการเยี่ยมชมโรงเรียนตนแบบ<br />

7. การดําเนินกิจกรรมของโครงการเปนสิ่งสําคัญที่จะปลูกฝงเรื่องของ GHS ฉะนั้นการคิดกระบวนการของ<br />

กิจกรรมจึงมีความจําเปนในการดําเนินโครงการมาก<br />

8. ใหความรูแกโรงเรียนตนแบบในดานของวิธีการเก็บรักษา และการทําลายสารเคมีหรือวัตถุอันตรายหลังจาก<br />

หมดอายุหรือใชหมดแลวดวยวิธีการที่ถูกตอง<br />

9. การดําเนินการพัฒนาโรงเรียนตนแบบ ควรกระทําอยางตอเนื่อง เพราะจะไดแลกเปลี่ยนประสบการณ<br />

ซึ่งกันและกัน และจะไดมีโรงเรียนเครือขายเพิ่มมากขึ้นเพื่อขยายสูสากล<br />

10. การขยายผลไปยังชุมชนตางๆ<br />

11. ควรจะใหสื่อฯ หรือเครื่องมือเพื่อเผยแพรแกทางโรงเรียนที่เขารวมโครงการ ควรจัดงบประมาณสนับสนุนการ<br />

ดําเนินงานใหเพียงพอ เพื่อการสอนและการจัดทําหลักสูตรโรงเรียน และควรมีการศึกษาดูงานโรงเรียน<br />

ตนแบบอื่นๆ<br />

12. ใหมีการนิเทศติดตามการดําเนินงาน จัดเวทีใหทุกโรงเรียนทั้งตนแบบ/เครือขายนําเสนอผลงาน ใหโรงเรียน<br />

ตนแบบ/เครือขายไปสรางเครือขายเพิ่ม และใหความรูเพิ่มเติม (เอกสารหรือการอบรม)<br />

37


III. ขอคิดเห็น /ขอเสนอแนะอื่นๆ เกี่ยวกับการดําเนินการพัฒนาโรงเรียนตนแบบในระยะตอไป (ตอ)<br />

13. เกณฑการคัดเลือกโรงเรียนตนแบบไมชัดเจน สงผลงานเหมือนกันแตไมไดเปนโรงเรียนตนแบบ และการจะ<br />

เปนโรงเรียนตนแบบที่สมบูรณจะตองไดรับการสนับสนุนจากหลายฝาย ดังนั้นการดําเนินการคัดเลือกจึงตอง<br />

ศึกษาขอมูลรอบดานของโรงเรียนนั้นโดยการสังเกต สัมภาษณผูเกี่ยวของ<br />

14. ควรสนับสนุนสื่อสําเร็จรูปเพิ่มเติมเพราะบางครั้งบางโรงเรียน งบประมาณในการผลิตสื่อมีนอย โดยเฉพาะที่<br />

ตองใชเทคนิคในการประดิษฐสื่อ เพราะขาดบุคลากรดานเทคนิค<br />

15. อย. ควรสนับสนุนงบประมาณ สื่อ อุปกรณ เชน หนังสือที่เกี่ยวของ โปสเตอร ฯลฯ ที่เกี่ยวของกับ GHS ให<br />

พอเพียง การติดตามการดําเนินงานของโรงเรียน การจัดประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู สรุปผลการ<br />

ดําเนินงาน ปญหาอุปสรรค ขอเสนอแนะ เมื่อสิ้นปการศึกษา<br />

16. อย. ควรจะมีเอกสารความรูสงใหเพิ่มเติม เพราะการไปสืบคนขอมูลการกําจัดสารเคมีในหองปฏิบัติการดวย<br />

ตนเอง หรือหาหนวยงานที่รับไปกําจัดไมได เนื่องจากบางทองถิ่นยังไมมีหนวยงานที่รับกําจัด<br />

17. สนับสนุนงบประมาณอยางเหมาะสม จัดสื่อใหอยางพอเพียง จัดนิทรรศการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู<br />

18. ใหจัดหาสื่อเพิ่มเติมใหเพื่อการพัฒนาตอไป<br />

19. จัดใหมีการขยายเครือขายจากโรงเรียนตนแบบ แตควรมีงบสนับสนุนใหโรงเรียนตนแบบในการขยาย<br />

เครือขาย ไมวาจะเปนงบประมาณ หรืออุปกรณตางๆ เชน หนังสือ GHS แผนซีดี เปนตน<br />

20. ควรเชิญสถานศึกษานอกระบบมารวมประชุมเพื่อสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับสารพิษใหกลุมเปาหมายที่อยู<br />

นอกระบบไดมีสวนรวมในการพัฒนาดวย<br />

38


ภาคผนวก<br />

ภาพบรรยากาศการประชุมสัมมนาฯ วันที่ 11-12 พฤษภาคม 2553<br />

ณ โรงแรมเดอะ ทวิน ทาวเวอร กรุงเทพมหานคร<br />

39


หากตองการรายละเอียดเพิ่มเติม ติดตอไดที่<br />

ศูนยพัฒนานโยบายแหงชาติดานสารเคมี<br />

หอง 419 อาคาร 3 ชั้น 4<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข<br />

ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000<br />

โทรศัพท 0-2590-7289, 0-2591-8478 โทรสาร 0-2590-7287<br />

Email: Chemical_Safety@fda.moph.go.th หรือ<br />

Website: http://ipcs.fda.moph.go.th/csnet/index.asp

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!