28.11.2014 Views

หมวดหินห้วยหินลาด - กรมทรัพยากรธรณี

หมวดหินห้วยหินลาด - กรมทรัพยากรธรณี

หมวดหินห้วยหินลาด - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

- 33 -<br />

ล าดับชั้นของหินโผล่ ประกอบด้วยล าดับชั้นของหินกรวดมน หินทรายปนกรวด และหินทราย<br />

แทรกสลับกันเป็นวัฎจักร ไม่น้อยกว่า 6 วัฏจักร บางช่วงของล าดับหินโผล่ หินกรวดมนเกิดเป็นเลนส์แทรก<br />

เข้ามาในชั้นทราย เลนส์ของหินกรวดมนมีขนาดตั้งแต่ 0.3x1 เมตร ไปจนถึง 2x5 เมตร ซึ่งหินกรวดมนจะมี<br />

ปริมาณเม็ดกรวดหนาแน่นในส่วนล่างของวัฎจักร และมีปริมาณเม็ดกรวดลดน้อยลงไปทางด้านบนของ<br />

วัฎจักร โดยเปลี่ยนจากหินกรวดมนชนิด clast-supported ไปเป็น metrix-supported และเป็นหินทราย<br />

เนื้อปนกรวดจนเป็นหินทรายทั้งหมดในที่สุด แล้วจึงจะกลับมาเริ่มวัฎจักรใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยวัฎจักรหนึ่ง ๆ<br />

มีความหนาประมาณ 60-80 เมตร ล าดับชั้นของหินโผล่แสดงในรูปที่ 4.15 โดยมีรายละเอียดของหินโผล่ที่<br />

พบตามห้วยจานไปจนถึงบริเวณน้ าตกพรานบา จากล่างขึ้นบน ดังนี้<br />

500<br />

Conglomerate (Clast-supported)<br />

400<br />

Conglomerate (Metrix-supported)<br />

Sandstone<br />

300<br />

Siltstone<br />

200<br />

100<br />

รูปที่ 4.15 แท่งล าดับชั้นหินของหินโผล่ที่พบตามล าห้วยจาน<br />

ไปจนถึงบริเวณน้ าตกพรานบา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!