12.07.2015 Views

TXlbj1

TXlbj1

TXlbj1

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

บทที่ 2เทคนิคการอินทิเกรตการอินทิเกรตฟังก์ชันต่าง ๆ มีความส าคัญมาก ดังจะเห็นได้ว่านักคณิตศาสตร์พยายามที่จะสร้างสูตรส าเร็จในการหาค่าอินทิกรัลของฟังก์ชันให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ เพื่อสะดวกต่อการน ามาใช้อย่างรวดเร็ว แต่ก็ไม่สามารถที่จะสร้างสูตรส าหรับฟังก์ชันทุกฟังก์ชันได้ ดังนั้นการหาวิธีการใหม่ ๆ หรือวิธีการที่แตกต่างกันออกไปเพื่อที่จะท าให้สามารถหาอินทิกรัลของฟังก์ชันนั้น ๆได้ ดังนั้นในบทนี้จะเป็นการใช้เทคนิคการอินทิเกรตรูปแบบต่าง ๆ ที่นิยม คือ การอินทิเกรตแบบแยกส่วน การอินทิเกรตฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบต่าง ๆ การอินทิเกรตด้วยวิธีการแทนค่าด้วยฟังก์ชันตรีโกณมิติ การอินทิเกรตโดยแยกเป็นเศษส่วนย่อยและการอินทิเกรตด้วยวิธีอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีเนื้อหาเกี่ยวกับการหาค่าของอินทิกรัลไม่ตรงแบบด้วยและในการตรวจสอบความถูกต้องของค าตอบนั้น ผู้เรียนสามารถฝึกทักษะโดยการใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางคณิตศาสตร์หรืออาจจะใช้วิธีการหาอนุพันธ์ย้อนกลับก็ได้เช่นกัน2.1 การอินทิเกรตแบบแยกส่วนในการหาค่าอินทิกรัลไม่จ ากัดเขตของฟังก์ชันต่าง ๆ ไม่สามารถที่จะใช้สูตรส าเร็จได้เพราะว่าสูตรต่าง ๆ นั้นมีข้อจ ากัด แต่เนื่องจากว่าฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์มีอยู่อย่างมากมายและไม่สามารถที่จะจัดให้อยู่ในรูปของสูตรใดสูตรหนึ่งได้ จ าเป็นต้องใช้วิธีอื่นเข้ามาช่วย การอินทิเกรตแบบแยกส่วน (integration by part) จึงเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้การหาค่าของอินทิกรัลของฟังก์ชันบางฟังก์ชันได้การอินทิเกรตแบบแยกส่วนมีหลักในการหาดังนี้ คือ ก าหนดให้ u และ v เป็นฟังก์ชันของ x จากสูตรของดิฟเฟอเรนเชียลหรือค่าเชิงอนุพันธ์ของ uv ที่ว่าduv udv vdu นั่นคือ udv duv vdu แล้วอินทิเกรตทั้งสองข้าง จะได้udv duv vdu หรือ udv uv vduดังนั้นจะได้ว่า udv uv vduซึ่งเป็นสูตรที่ใช้ส าหรับการอินทิเกรตแบบแยกส่วน


62การใช้สูตรอินทิเกรตแบบแยกส่วนดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับการก าหนดค่าของฟังก์ชันต่าง ๆได้ถูกต้องหรือไม่ การก าหนดค่าของฟังก์ชัน u และ dv ที่เหมาะสม สามารถท าได้ดังนี้ คือ1) dv ที่เลือกจะต้องอยู่ ในรูปที่สามารถหาค่าของอินทิกรัลได้โดยง่าย2) vdu จะต้องอยู่ในรูปที่สามารถหาค่าได้ง่ายกว่าการหาค่าของ udv3) ถ้าค่าของ vdu ไม่สามารถหาค่าอินทิกรัลได้ง่าย เราต้องด าเนินการ vdu โดยใช้การอินทิเกรตแบบแยกส่วนต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะหาค่าของ vdu ได้ในการหาค่าอินทิกรัลแบบแยกส่วนนั้น จ าเป็นต้องอาศัยการอินทิเกรตรูปแบบต่าง ๆ ในบทที่ 1 มาช่วย ส่วนการใส่ค่าคงที่ c นั้น ให้ใส่ในครั้งสุดท้ายหลังจากที่หาค่าอินทิกรัลเสร็จสิ้นแล้วตัวอย่างที่จะน าเสนอต่อไปนี้ เป็นตัวอย่างของการหาค่าอินทิกรัลแบบแยกส่วน พร้อมทั้งให้หลักการแทนค่าฟังก์ชันต่าง ๆ ให้ถูกต้องและเหมาะสมxตัวอย่างที่ 2.1 จงหาค่าของ xe dxวิธีท า ให้ u x ดังนั้น du dxและdv xe dx ดังนั้นx xv e dx eจากสูตรการอินทิเกรตแบบแยกส่วน udv uv vdu แทนค่าจะได้ว่าx x xxe dx xe e dxxx xe e cx e (x 1) c#xจะสังเกตเห็นว่า ไม่ว่าจะหาค่าอินทิกรัลของ x หรือ e ก็สามารถหาค่าได้เช่นเดียวกันแต่ถ้าก าหนดให้ ux e และ dv xdx จะไม่สามารถหาค่า vdu ได้โดยง่าย ดังตัวอย่างจากตัวอย่างที่ 2.1 ถ้าให้u xe ดังนั้น dux e dxและ dv xdx ดังนั้น v xdx 2จากสูตรการอินทิเกรตแบบแยกส่วน udv uv vdu แทนค่าจะได้ว่า2 x 2 x x x e x exe dx 2 22 xxe dx2dxซึ่งการหาค่าของ ไม่ง่ายนักดังนั้นจะเห็นว่าการหาค่าอินทิกรัลแบบแยกส่วนนี้สิ่งที่ส าคัญก็คือ การสมมุติค่าของฟังก์ชันu และ dv ให้เหมาะสม2x


633 x2ตัวอย่างที่ 2.2 จงหาค่าของ x e dx3 x22 x2วิธีท า เนื่องจาก x e dx x xe dx2ให้ u x ดังนั้น du 2xdxและx 2 ดังนั้นdv xe dx1 1v xe dx xe d(x ) e22x2x22 x2จากสูตรการอินทิเกรตแบบแยกส่วน udv uv vdu แทนค่าจะได้ว่า3 x22 1 x2 1 x2x e dx x e e 2xdx2 22 1 x2x2x e e dx21 2 x2 1 x22x e e d(x )2 21 2 x2 1 x2x e e c2 2# การหาค่าของอินทิกรัลของฟังก์ชันที่อยู่ในรูปของ ln x ก็สามารถหาค่าได้ด้วยวิธีการอินทิเกรตแบบแยกส่วน เช่นกันตัวอย่างที่ 2.3 จงหาค่าของ xln xdxวิธีท า ให้ u ln x ดังนั้น1du dxxและ dv xdx ดังนั้น v xdx 2จากสูตรการอินทิเกรตแบบแยกส่วน udv uv vdu แทนค่าจะได้ว่า2 2xln xdx x x 1ln x dx2 2 x2x 1ln x xdx2 22 2x 1 xln x c2 2 22x 1 2ln x x c2 4# ตัวอย่างที่ 2.4 จงหาค่าของ xsin xdxวิธีท า สามารถเลือกก าหนดค่าของ u และ dv ได้หลายวิธีดังนี้คือวิธีที่ 1 ให้ u sin x ดังนั้น du cosxdx2x


64และ dv xdx ดังนั้น v xdx 2จากสูตรการอินทิเกรตแบบแยกส่วน udv uv vdu แทนค่าจะได้ว่า2 2x xxsin xdx sin x cos xdx2 22x cos xdx2 จะเห็นว่า จะหาค่าอินทิกรัลยากกว่าเดิม ดังนั้นจึงไม่ควรเลือกวิธีนี้วิธีที่ 2 ให้ u xsin x ดังนั้น du (xcosx sin x)dxและ dv dx ดังนั้น v dx xจากสูตรการอินทิเกรตแบบแยกส่วน udv uv vdu แทนค่าจะได้ว่าxsin xdx x xsin x x(xcosx sin x)dxเช่นเดียวกันกับวิธีที่ 1 จะเห็นว่า x(xcosx sin x)dx จะหาค่าอินทิกรัลยากกว่าเดิมดังนั้นจึงไม่ควรเลือกวิธีนี้วิธีที่ 3 ให้ u x ดังนั้น du dxและ dv sin xdx ดังนั้น v sin xdx cosxจากสูตรการอินทิเกรตแบบแยกส่วน udv uv vdu แทนค่าจะได้ว่าxsin xdx xcosx ( cosx)dx xcosx cosxdx xcosx sin x cดังนั้น xsin xdx xcosx sin x c#จากตัวอย่างที่ 2.4 จะเห็นว่าถ้าเลือกฟังก์ชัน u และ dv ไม่เหมาะสม ก็จะท าให้หาค่าของอินทิกรัลยุ่งยากขึ้นหรืออาจหาไม่ได้เลย แต่บางครั้งไม่ว่าจะเลือกฟังก์ชัน u และ dv อย่างไร ก็สามารถหาค่าอินทิกรัลได้เสมอตัวอย่างที่ 2.5 จงหาค่าของ arcsin xdxวิธีท า ให้ u arcsin x ดังนั้นและ dv dxdu12x1x ดังนั้น v dx xจากสูตรการอินทิเกรตแบบแยกส่วน udv uv vdu แทนค่าจะได้ว่าxarcsin xdx x arcsin x dx21x 2dx 12 1 2 2 x arcsin x 1 x d(1 x ) 2


65 121 2 2 x arcsin x 1 x d(1 x )212 21 (1 x )x arcsin x 2 1 c22 xarcsin x 1 x cดังนั้น2 arcsin xdx xarcsin x 1 x c#ในบางครั้งการหาค่าอินทิกรัลแบบแยกส่วนไม่สามารถที่จะหาค่าอินทิกรัลได้เลย จ าเป็นต้องใช้การอินทิเกรตแบบแยกส่วนอีกครั้ง ดังตัวอย่างต่อไปนี้xตัวอย่างที่ 2.6 จงหาค่าของ e cosxdxxxวิธีท า ให้ u e ดังนั้น du และ dv cosxdxe dx ดังนั้น v cosxdx sin xจากสูตรการอินทิเกรตแบบแยกส่วน udv uv vdu แทนค่าจะได้ว่าx x xe cosxdx e sin x e sin xdx…….(1)xเนื่องจากการหาค่าของ e sin xdx ไม่สามารถหาค่าได้โดยง่าย ดังนั้นต้องหาค่าของx e sin xdx โดยการอินทิเกรตแบบแยกส่วนอีกครั้งxxให้u e ดังนั้น du e dxและ dv sin xdx ดังนั้น v sin xdx cosxจากสูตรการอินทิเกรตแบบแยกส่วน udv uv vdu แทนค่าจะได้ว่าe x sin xdx e x cosx e x cosxdx……(2)แทนค่าจากสมการ (2) ใน (1) จะได้ว่า x x x xe cosxdx e sin x e cosx e cosxdxx x x e sin x e cosx e cosxdxx x x2 e cosxdx e sin x e cosx c 112x1 xe cosxdx e sin x cosx c2x x x e cosxdx e sin x e cosx c หรือ #


66ในการหาค่าของอินทิกรัลแบบจ ากัดเขตก็สามารถหาได้เช่นเดียวกัน โดยการหาค่าของอินทิกรัลไม่จ ากัดเขต แล้วจึงแทนค่า ซึ่งจะเหมือนกับการแทนค่าจากการหาอินทิกรัลด้วยวิธีทั่ว ๆ ไป ดังเช่นตัวอย่างต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 2.7 จงหาค่าของ 2 3)dx2ln(xวิธีท า พิจารณาหาค่าของ ln(x 3)dx ก่อนดังนี้ให้ u ln(x 3)และ dv dx ดังนั้นdu1 dxx3 ดังนั้น v dx xจากสูตรการอินทิเกรตแบบแยกส่วน udv uv vdu แทนค่าจะได้ว่า2 2xln(x 3)dx xln(x 3) dxx32 22 222 3 xln(x 3) 1 dx2 x32 xln(x 3) 2 x 3ln(x 3) 22 2 (2ln5 2ln1) (2 3ln5 2 3ln1)ดังนั้น22 5ln5 4 ln(x 3)dx 5ln5 4#ส าหรับการหาค่าอินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่มีเลขชี้ก าลังมาก ๆ ก็เช่นเดียวกัน อาจจะใช้การอินทิเกรตแบบแยกส่วนช่วยในการหาค่าของอินทิกรัลได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้3ตัวอย่างที่ 2.8 จงหาค่าของ sec dxวิธีท า ให้ u secx ดังนั้น du secx tan xdxและ dv 2sec xdx ดังนั้น2v sec xdx tan xจากสูตรการอินทิเกรตแบบแยกส่วน udv uv vdu แทนค่าจะได้ว่า3 2sec dx secx tan x secx tan xdx2secx tan x secx(sec x 1)dx3secx tan x (sec x secx)dx3secx tan x sec xdx secxdx3secx tan x sec xdx ln secx tan x c 1


6732 sec dx secx tan x ln secx tan x c 1 #3 1 1sec dx secx tan x ln secx tan x c2 2การหาค่าของอินทิกรัลด้วยวิธีแบบแยกส่วนนี้บางครั้งอาจจะพบกับปัญหาที่ว่าจะต้องหาอินทิกรัลมากกว่า 2 ครั้งอยู่บ่อย ๆ ดังนั้นถ้าเจอปัญหาในลักษณะแบบนี้ สามารถน าสูตรที่เกี่ยวกับการลดทอนของการอินทิเกรตมาใช้ได้ จะช่วยให้เกิดความสะดวกในการหาค่าอินทิกรัลได้และรวดเร็วขึ้น การหาค่าอินทิกรัลแบบแยกส่วนซ้ า ๆ กันมีข้อสังเกต คือค่าของอินทิกรัลที่ได้จะอยู่ในรูปแบบเดิมซึ่งเลขชี้ก าลังจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงก็ได้สูตรการลดทอน ( reduction formula) ที่ใช้อยู่ในขณะนี้มีอยู่มากมาย แต่จะน าเสนอไว้เฉพาะสูตรที่มักจะพบบ่อย ๆ ดังเช่นสูตรต่อไปนี้ก าหนดให้ m, n เป็นจ านวนเต็มใด ๆ และ a , b เป็นค่าคงที่ใด ๆx e dx1 mx ea ax e dxmsin xdx m1sin x cos x m 1 m mm2sin xdxmcos xdx m1cos x sin x m 1m mm2cos xdxm nsin x cos xdx m1 n1sin x cos x n 1m n m nm n2sin x cos xdxm1 n1sin x cos x m 1 sinm2x cosn xdxm n m nm ax m ax m1 axสูตรที่ 1 สูตรที่ 2สูตรที่ 3สูตรที่ 4สูตรที่ 5สูตรที่ 6สูตรที่ 7 หรือโดยที่ mnmm x m m1 x sin bxdx cosbx x cosbxdxb bmm x m m1x cosbxdx sin bx x sin bxdxb b2 2 m 22 2 m x(x a ) 2ma 2 2 m11(x a ) dx (x a ) dx , m 2m 1 2m 1 21 1 x 2m 3 dx dx (x a ) a (2m 2)(x a ) 2m 2 (x a ) สูตรที่ 8 2 2 m 2 2 2 m 1 2 2 m 1สูตรที่ 9โดยที่ m12 2 m 22 2 m 2 2 m1x(a x ) 2ma 1(a x ) dx (a x ) dx , m 2m 1 2m 1 21 1 x 2m 3 dx dx (a x ) a (2m 2)(a x ) 2m 2 (a x ) สูตรที่ 10 2 2 m 2 2 2 m 1 2 2 m 1โดยที่ m1


68การน าสูตรข้างต้นไปใช้นั้น มีหลักอยู่ว่า จะต้องจัดฟังก์ชันให้อยู่ในรูปของสูตรใดสูตรหนึ่งแล้วจึงแทนค่าให้ถูกต้อง ดังเช่นตัวอย่างต่อไปนี้3 2xตัวอย่างที่ 2.9 จงหาค่าของ x e dxวิธีท า จากสูตรการลดทอนสูตรที่ 1 m ax 1 m ax m m1 ax a nแทนค่า m 3, a 2 จะได้ว่า3 2x 1 3 2x 3 2 2xx e dx x e x e dx2 2x e dx x e x e dx 2 2xต้องใช้สูตรการลดทอนเพื่อหา x e dx อีกครั้ง โดยแทนค่า m 2 , a 2 จะได้ว่า3 2x 1 3 2x 3 1 2 2x 2 2x x e dx x e x e xe dx2 2 2 2 1 3 2x 3 2 2x 3 2x x e x e xe dx2 4 2 2xในท านองเดียวกัน ต้องใช้สูตรการลดทอนเพื่อหา xe dx อีกครั้ง โดยแทนค่าm 1, a 2 จะได้ว่า3 2x 1 3 2x 3 2 2x 3 1 2x 1 2x x e dx x e x e xe e dx2 4 2 2 2 1 3 2x 3 2 2x 3 2x 3 2xx e x e xe e d(2x)2 4 4 81 3 2x 3 2 2x 3 2x 3 2xx e x e xe e c2 4 4 8x e dx 1 3 3 3x e x e xe e2 4 4 8 cดังนั้น3 2x 3 2x 2 2x 2x 2x #3ตัวอย่างที่ 2.10 จงหาค่าของ x sin xdxวิธีท า จากสูตรการลดทอนสูตรที่ 5แทนค่า m 3, b 1 จะได้ว่า33 x 3 2 mm x m m1 x sin xdx cosx x cosxdx1 1x sin bxdx cosbx x cosbxdxb b3 2 x cosx 3 x cosxdx…………….. (1)mm x m m1ต้องใช้สูตรการลดทอน สูตรที่ 6 โดยแทนค่า m 2 , b 1 จะได้ว่า2 2x cosxdx x sinbx 2xsin xdxเพื่อหา2x cosxdxx cosbxdx sin bx x sin bxdxb b1 3 2x 3 2 2x 3 2x x e x e xe dx2 4 2


69แทนค่า ใน (1)3x sin xdx 3 2 x cosx 3x sin x 2 xsin xdx 3 x sin xdx x 3 2 sin x 6 xsin xdx ………………. (2)mm x m m1และต้องใช้สูตรลดทอน สูตรที่ 5 อีกครั้ง เพื่อหาค่าของ xsin xdx โดย แทนค่า m 1, b 1 จะได้ว่าxsin xdx xcosx cosxdxx sin bxdx cosbx x cosbxdxb b xcosx sin xแทนค่า ใน (2) x 3 sin xdx x 3 cosx 3x 2 sin x 6xcosx sin x3 2 x cos x 3x sin x 6x cos x 6sin x c3 3 2ดังนั้นจะได้ว่า x sin xdx x cosx 3x sin x 6xcosx 6sin x c#2.2 การอินทิเกรตฟังก์ชันตรีโกณมิติก่อนที่จะกล่าวถึงการอินทิเกรตฟังก์ชันตรีโกณมิตินั้น ควรจะทราบเอกลักษณ์ต่าง ๆ ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ เพราะว่าเป็นส่วนหนึ่งที่จะท าให้ศึกษาเนื้อหาได้อย่างเข้าใจ ดังนั้นผู้เรียนควรจะได้ทบทวนความรู้เกี่ยวกับเอกลักษณ์ต่อไปนี้ และต้องสามารถน าไปประยุกต์ใช้ได้เอกลักษณ์พื้นฐานของฟังก์ชันตรีโกณมิติ โดยที่ x เป็นจ านวนจริง มีดังนี้คือ(อุบล กลองกระโทก, 2546)2 2sin x cos x 12 221cot x cosec x หรือ csc x2 21tan x sec xเอกลักษณ์ของเครื่องหมายของค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติsin( x) sin xcot( x) cot xcos( x) cosxsec( x) secxtan( x) tan xcsc( x) cscxฟังก์ชันของมุมประกอบsinx2 cos xcosx2 sin xtan x 2 cot xcot x 2 tan xsecx 2 cscxcscx 2 secx


70 sin x sin x cos x cos x tan x tan xcot x cot xsec x sec xcsc x cscx sin x sin xcot x cot x cos x cos x tan x tan xsec x sec xcsc x cscxฟังก์ชันของมุมประกอบที่อยู่ในรูปของผลบวกของมุมและผลต่างของมุมsin x y sin x cos y cos x sin ysin x y sin x cos y cos x sin ycos x y cos x cos y sin x sin ycos x y cos x cos y sin x sin ytan x ytan x ytan x tan y1tan x tan ytan x tan y1tan x tan yการเปลี่ยนฟังก์ชันที่เป็นผลคูณให้อยู่ในรูปฟังก์ชันที่เป็นผลบวกหรือผลต่าง2sin x cosy sin(x y) sin(x y)2cosx sin y sin(x y) sin(x y)2cosx cosy cos(x y) cos(x y)2sin x sin y cos(x y) cos(x y)การเปลี่ยนฟังก์ชันที่เป็นผลบวกหรือผลต่างของฟังก์ชันให้อยู่ในรูปผลคูณของฟังก์ชันsin x sin y x y x y2sin cos 2 2 sin x sin y x y x y2cos sin 2 2 cos x cos y x y x y2cos cos 2 2 cos x cos y x y y x2sin sin 2 2 ฟังก์ชันเอกลักษณ์ของมุมสองเท่าและสามเท่าsin2x 2sin x cosx2 2cos2x cos x sin x


7122cos x 1tan 2x2 12sin x2tan x21tan x3sin3x 3sin x 4sin x3cos3x 4cos x cosxtan3x3tan xฟังก์ชันเอกลักษณ์ของมุมครึ่ง3 tan x213tan x2 xsin 21cosx22 xcos 21cosx22 x 1cosxtan 2 1 cosxในการหาค่าของอินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิตินั้น เพื่อความสะดวกในที่นี้จะแบ่งชนิดของฟังก์ชันตรีโกณมิติส าหรับการอินทิเกรตออกเป็น 5 รูปแบบดังนี้รูปแบบที่ 1n sin xdxรูปแบบที่ 2n cos xdxรูปแบบที่ 3m n sin x cos xdxรูปแบบที่ 4m n tan x sec xdxรูปแบบที่ 5m n cot x csc xdxการหาค่าของอินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติข้างต้นนั้น สามารถหาได้ด้วยวิธีดังต่อไปนี้n2.2.1 การหาค่าอินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่อยู่ในรูป sin xdxการหาค่าของnsin xdx โดย n I 0 จะน าเรื่องของการอินทิเกรตแบบแยกส่วนมาสร้างเป็นสูตรส าเร็จเหมือนกับการใช้สูตรลดทอนของฟังก์ชัน และจะได้สูตรเป็นn1พิสูจน์ ก าหนดให้1 n 1nn n n1 n2sin xdx sin xcosx sin xdxu sin x และ dv sin xdxn2ดังนั้นแทนค่าจะได้ว่าdu (n 1)sin x cosxdx และ v sin xdx cosx n n 1 n2 2sin xdx sin x cosx (n 1)sin x cos xdx


72 n1 n2 2 sin x cosx (n 1) sin x (1 sin x)dxn1 n 2 n sin x cosx (n 1) sin xdx sin xdx n1 n2 n sin x cosx (n 1) sin xdx (n 1) sin dxn n n 1 n2(n 1) sin dx sin dx sin x cosx (n 1) sin xdxn n 1 n2n sin dx sin x cosx (n 1) sin xdx1 (n 1)nnn n1 n2sin dx sin x cosx sin xdx#2ตัวอย่างที่ 2.11 จงหาค่าของ sin xdxn 1 n1 n 1n2วิธีท า จากสูตร nnแทนค่า n2 จะได้ว่าsin xdx sin xcosx sin xdx1 2 12 21 1 sin x cosx dx2 21 1 sin x cosx x c2 2 2 21 22sin xdx sin xcosx sin xdx2 1 1ดังนั้น sin xdx sin x cosx x c#2 2n2.2.2 การหาค่าอินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่อยู่ในรูป cos xdxการหาค่าของncos xdx โดย n I 0 จะน าเรื่องของการอินทิเกรตแบบแยกส่วนมาสร้างเป็นสูตรส าเร็จเหมือนกับการใช้สูตรลดทอนของฟังก์ชัน และจะได้สูตรเป็น1 n 1nn พิสูจน์ (ให้ท าเป็นแบบฝึกหัด)n n1 n2cos xdx cos xsin x cos xdxตัวอย่างที่ 2.12 จงหาค่าของ4 cos xdxวิธีท า จากสูตร n 1 n1 n 1n2nnแทนค่า n4 จะได้ว่าcos xdx cos xsin x cos xdx1 4 14 4 4 41 42cos xdx cos xsin x cos xdx


73ในการหาค่าของ2cos xdx1 34 43 2 cos x sin x cos xdx ………………….. (1) ก็ต้องใช้สูตร ดังกล่าวอีกครั้ง โดยการแทนค่า n2cos xdx1 2 1cos xsin x2 2cos xdx1 1cosxsin x dx2 21 1cosxsin x x c12 22 21 22จะได้ว่า แทนค่าในสมการ (1) จะได้1 3 1 1 4 4 2 2 1 3 3 3cos x sin x cosxsin x x c4 8 8#4 3cos xdx cos x sin x cos xsin x x c1m n2.2.3 การหาค่าอินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่อยู่ในรูป sinโดยที่ m , n I 0ถ้ากรณีที่ m 0 สามารถใช้สูตรการลดทอนของรูปแบบที่ 2 ได้ เลย นั่นคือ1 n 1nnn n1 n2cos xdx cos xsin x cos xdxถ้ากรณีที่ n 0 สามารถใช้สูตรการลดทอนของรูปแบบที่ 1 ได้ เช่นกัน นั่นคือ1 m 1mm m m1 m2sin xdx sin xcosx sin xdxส าหรับกรณีที่ m 0 และ n 01) ถ้า m เป็นจ านวนคี่ ให้แทนค่า u cosx2) ถ้า n เป็นจ านวนคี่ ให้แทนค่า u sin x มีหลักการหาอินทิกรัลดังนี้ คือxcos xdx2 2 และแทนค่า sin x 1 cos x2 2 และแทนค่า cos x 1 sin x3) ถ้า m, n เป็นจ านวนคู่ให้ใช้สูตรเอกลักษณ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติเพื่อลดทอนเลขชี้ก าลัง นั่นคือ ใช้สูตรเอกลักษณ์2 1cos2x2 1cos2xsin x และ cos x 223ตัวอย่างที่ 2.13 จงหาค่าของ sin xdxm nวิธีท า จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบที่ 3 sin xcos xdx จะได้ว่า m 3ซึ่งเป็นจ านวนคี่ ดังนั้นสมมุติให้ u cosx นั่นคือ du sin xdxdusin xdx3 2นั่นคือ sin xdx sin xsin xdx หรือ


74แทนค่าจะได้ว่า 3 22(1 cos x)sin xdxsin xdx (1 u )du3u u c3 แทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร xนั่นคือ3หรือ3 cos xsin xdx cosx c33u u c3 #5ตัวอย่างที่ 2.14 จงหาค่าของ cos xdxm nวิธีท า จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบที่ 3 sin xcos xdx จะได้ว่า n 5ซึ่งเป็นจ านวนคี่ ดังนั้นสมมุติให้ u sin x นั่นคือ du cosxdxแทนค่าจะได้ว่า5 4cos xdx cos xcosxdx 2 2(1 sin x) cosxdx2 4 (1 2sin x sin x)cosxdx5 2 4cos xdx (1 2u u )du3 52u u u c3 5แทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร x2 13 55 3 5นั่นคือ cos xdx sin x sin x sin x c#2 3ตัวอย่างที่ 2.15 จงหาค่าของ sin x cos xdxm nวิธีท า จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบที่ 3 sinxcos xdx จะได้ว่า n 3ซึ่งเป็นจ านวนคี่ ดังนั้นสมมุติให้ u sin x นั่นคือ du cosxdx แทนค่าจะได้ว่า2 3 2 2sin x cos xdx sin x cos x cosxdx 2 3 2 22 2 sin x(1 sin x) cosxdxsin x cos xdx u (1 u )du2 4(u u )du3 5u u c3 5


75แทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร xนั่นคือ3 5 #2 3 sin x sin xsin x cos xdx c3 54 3ตัวอย่างที่ 2.16 จงหาค่าของ cos x sin xdxm nวิธีท า จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบที่ 3 sinxcos xdx จะได้ว่า m 3ซึ่งเป็นจ านวนคี่ ดังนั้นสมมุติให้ u cosx นั่นคือ du sin xdx แทนค่าจะได้ว่า4 3 4 2cos x sin xdx cos x sin x sin xdx 4 3 4 24 2cos x sin xdx u (1 u )duแทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร xนั่นคือcos x(1 cos x)sin xdx6 4(u u )du7 5u u c7 57 5 #4 3 cos x cos xcos xsin xdx c7 54 4ตัวอย่างที่ 2.17 จงหาค่าของ sin x cos xdxm nวิธีท า จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบที่ 3 sinxcos xdx จะได้ว่า m 4 และn 4เนื่องจาก 2sin xcosx sin2x ต่างก็เป็นจ านวนคู่ ดังนั้นต้องน าเอกลักษณ์มาช่วยในการเปลี่ยนค่าของฟังก์ชัน1sin 2x164 4 4sin xcos x1 1cos 4x 16 2 1 1 2cos4x cos2 4x64 1 1cos8x 1 2cos4x64 2 1 3 4cos4x cos8x 128ดังนั้น 4 4 1sin x cos xdx 3 4cos4x cos8x dx1281 1 3x sin 4x sin8x c128 8 2#


763 3ตัวอย่างที่ 2.18 จงหาค่าของ sin x cos xdxm nวิธีท า จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบที่ 3 sinxcos xdx จะได้ว่า m 3 และn 3 ต่างก็เป็นจ านวนคี่ ดังนั้นอาจท าได้ 2 วิธี ดังนี้คือวิธีที่ 1 ถ้าพิจารณาว่า m 3 ซึ่งเป็นจ านวนคี่สมมุติให้ u cosx นั่นคือ du sin xdxtanm3 3 2 3sin xcos xdx sin x sin x cos xdxแทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร x2 3 (1 cos x) sin x cos xdx2 3 (1 u )u du5 3(u u )du6 4u u c6 46 4นั่นคือ วิธีที่ 2 ถ้าพิจารณาว่า n 3 ซึ่งเป็นจ านวนคี่สมมุติให้ u3 3 cos x cos xsin x cos xdx c6 4 sin x นั่นคือ du cosxdx3 3 3 2sin xcos xdx sin xcos xcosxdxแทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร xนั่นคือ3 2sin x(1 sin x)cosxdx3 2u (1 u )du3 5(u u )du4 6u u c4 64 6 #3 3 sin x sin xsin xcos xdx c4 62.2.4 การหาค่าอินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่อยู่ในรูปของnx sec xdx m , n I 0m nการหาค่าของอินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่อยู่ในรูป tan x sec x มีหลักการดังนี้คือ1 n 2sec xdx sec x tan x sec xdxn 1 n 11 tan xdx tan x tan xdxm1n n2 n2กรณีที่ m 0 ใช้สูตร m m 1 m 2กรณีที่ n 0 ใช้สูตร


77กรณีที่ m 0 , n 0 มีหลักการหาอินทิกรัล ดังนี้2 21) ถ้า n เป็นจ านวนคู่ ให้แทนค่า u tanx แล้วใช้สูตรเอกลักษณ์ sec x tan x 1แล้วเปลี่ยนทุกฟังก์ชันอยู่ในรูปของ u2 22) ถ้า m เป็นจ านวนคี่ ให้แทนค่า u secx แล้วใช้สูตรเอกลักษณ์ tan x sec x 1แล้วเปลี่ยนทุกฟังก์ชันอยู่ในรูปของ u3) ถ้า m เป็นจ านวนคู่ และ n เป็นจ านวนคี่ ให้ใช้สูตรเอกลักษณ์ เปลี่ยนให้อยู่ในรูปของtan x sec x 1sec x โดยเปลี่ยน2 2และ ต้องใช้สูตร tan xdx ln secx cและ secxdx ln secx tan x c3ตัวอย่างที่ 2.19 จงหาค่าของ sec xdxวิธีท า จะแสดงวิธีการหาจากสูตรลดทอน1 n 2sec xdx sec x tan x sec xdxจากสูตร n n2 n2 n 1 n 1แทนค่า n3 จะได้ว่า 3 1 1sec xdx secx tan x secxdx2 21 1 secx tan x ln secx tan x c#2 23ตัวอย่างที่ 2.20 จงหาค่าของ tan xdxวิธีท า จะแสดงวิธีการหาจากสูตรลดทอน1tan xdx tan x tan xdxm m1 m2จากสูตร m1แทนค่า m3 จะได้ว่า1tan xdx tan x tan xdx21 tan2 x ln secx c#23 2 6ตัวอย่างที่ 2.21 จงหาค่าของ sec xdxm nวิธีท า จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบที่ 4 tan x sec xdx จะได้ว่า n 62ซึ่งเป็นจ านวนคู่ ดังนั้นสมมุติให้ u tan x นั่นคือ du sec xdx6 4 2sec xdx sec x sec xdx2 2 2 (tan x 1) sec xdx


78แทนค่าจะได้ว่า แทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร xนั่นคือ4 2 2 (tan x 2tan x 1) sec xdx6 4 2sec xdx (u 2u 1)du5 3u 2u uc5 35 3 #6 tan x 2tan xsec xdx tan x c5 33 4ตัวอย่างที่ 2.22 จงหาค่าของ tan x sec xdxm nวิธีท า จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบที่ 4 tan x sec xdx จะได้ว่า m 3ซึ่งเป็นจ านวนคี่ ดังนั้นสมมุติให้ u secx นั่นคือ du secx tan xdx แทนค่าจะได้ว่า3 4 2 2tan x sec xdx tan x sec x secx tan xdx 3 4 5 32 3 (sec x 1) sec x secx tan xdx5 3tan x sec xdx (u u )duแทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร xนั่นคือ (sec x sec x) secx tan xdx6 4u u c6 46 4 #3 4 sec x sec xtan x sec xdx c6 4หมายเหตุ ตัวอย่างที่ 2.22 อาจจะพิจารณาส าหรับกรณีที่ n 4 ซึ่งเป็นจ านวนคู่ ดังนั้นจะสมมุติ2ให้ u tan x นั่นคือ du sec xdx ก็ได้เช่นเดียวกัน5 3ตัวอย่างที่ 2.23 จงหาค่าของ sec x tan xdxm nวิธีท า จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบที่ 4 tan x sec xdx จะได้ว่า m 3ซึ่งเป็นจ านวนคี่ ดังนั้นสมมุติให้ u secx นั่นคือ du secx tan xdx 5 3 4 2sec x tan xdx sec x tan x secx tan xdx4 2 sec x(sec x 1)secx tan xdx6 4(sec x sec x)d(secx)


79แทนค่าจะได้ว่า 5 3 6 4sec x tan xdx (u u )duแทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร xนั่นคือ7 5u u c7 57 5 #5 3 sec x sec xsec x tan xdx c7 52 3ตัวอย่างที่ 2.24 จงหาค่าของ tan x sec xdxm nวิธีท า จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบที่ 4 tan x sec xdx จะได้ว่า m 4ซึ่งเป็นจ านวนคู่ และ n 3 แต่เป็นจ านวนคี่ ดังนั้น ใช้สูตรเอกลักษณ์ เปลี่ยนให้อยู่ในรูป2 2ของ sec x โดยเปลี่ยน tan x sec x 12 3 2 3tan x sec xdx (sec x 1)sec xdx5 3 (sec x sec x)dx5 3 sec xdx sec xdx53จะใช้สูตรลดทอนเพื่อหาค่าของ sec xdx และ sec xdxn 1 n2 n 2 n2จากสูตร sec xdx sec x tan x sec xdxn 1 n 1sec xdx 1 sec x tan x 3 sec xdx4 45 3 3ดังนั้น 3 1 1และ sec xdx secx tan x2 2secxdxtan x sec xdx 1 3 sec x tan x sec xdx4 4 sec xdx1 3 1 3sec x tan x sec xdx4 41 3 1 1 1 sec x tan x secx tan x secxdx4 4 2 2 1 3 1 1 1sec x tan x secx tan x ln secx tan x c4 4 2 21 3 1 1sec x tan x secx tan x ln secx tan x c #4 8 82 3 3 3 3นั่นคือ


804 4ตัวอย่างที่ 2.25 จงหาค่าของ tan x sec xdxm nวิธีท า จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบที่ 4 tan x sec xdx จะได้ว่า n 42ซึ่งเป็นจ านวนคู่ ดังนั้นสมมุติให้ u tan x นั่นคือ du sec xdx (tan x4 4 6 4แทนค่าจะได้ 4 4 4 2 2tan x sec xdx tan x sec x sec xdx4 2 2tan x(tan x 1)sec xdx6 4 2 tan x) sec xdxtan x sec xdx (u u )duแทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร xนั่นคือ7 5u u c7 57 5 #4 4 tan x tan xtan x sec xdx c7 52.2.5 การหาค่าอินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่อยู่ในรูปของm n cot x csc xdxm nการหาค่าของอินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่อยู่ในรูป cot x csc x มีหลักการm nหาคล้ายกับฟังก์ชันตรีโกณมิติที่อยู่ในรูป tan x sec x ดังนี้คือ1 n 2csc xdx csc x cot x csc xdxn 1 n 11 cot xdx cot x cot xdxm1n n2 n2กรณีที่ m 0 ใช้สูตร m m 1 m 2กรณีที่ n 0 ใช้สูตรกรณีที่ m 0 , n 0 มีหลักการหาอินทิกรัล ดังนี้2 21) ถ้า n เป็นจ านวนคู่ ให้แทนค่า u cot x แล้วใช้สูตรเอกลักษณ์ csc x cot x 1แล้วเปลี่ยนทุกฟังก์ชันอยู่ในรูปของ u2 22) ถ้า m เป็นจ านวนคี่ ให้แทนค่า u cscx แล้วใช้สูตรเอกลักษณ์ cot x csc x 1แล้วเปลี่ยนทุกฟังก์ชันอยู่ในรูปของ u4) ถ้า m เป็นจ านวนคู่ และ n เป็นจ านวนคี่ ให้ใช้สูตรเอกลักษณ์ เปลี่ยนให้อยู่ในรูปของcot x csc x 1csc x โดยเปลี่ยน2 2และต้องใช้สูตร cot xdx ln sin x cและ cscxdx ln cscx cot x c


813ตัวอย่างที่ 2.26 จงหาค่าของ cot xdxวิธีท า จะแสดงวิธีการหาจากสูตรลดทอน1cot xdx cot x cot xdxm m1 m2จากสูตร m1แทนค่า m3 จะได้ว่า1cot xdx cot x cot xdx21 cot2 x ln sin x c#23 2 4ตัวอย่างที่ 2.27 จงหาค่าของ csc xdxวิธีท า จะแสดงวิธีการหาจากสูตรลดทอน1 n 2csc xdx csc x cot x csc xdxจากสูตร n n2 n2 n 1 n 1แทนค่า n4 จะได้ว่า4 1 2 2 2csc xdx csc x cot x csc xdx3 31 2 2 2 csc x cot x csc xdx3 31 2 2 csc x cot x cot x c3 3# 4ตัวอย่างที่ 2.28 จงหาค่าของ cot x csc xdxm nวิธีท า จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบที่ 5 cotx csc xdx จะได้ว่า n 42ซึ่งเป็นจ านวนคู่ ดังนั้นสมมุติให้ u cot x นั่นคือ du csc xdx แทนค่าจะได้ว่า4 2 2cot x csc xdx cot x csc x csc xdx 2 2 cot x (1 cot x) csc xdx4 33 2(cot x cot x)csc xdxcot x csc xdx (u u )duแทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร xนั่นคือ2 4u u c2 42 4 #4 cot x cot xcot x csc xdx c2 4


823 5ตัวอย่างที่ 2.29 จงหาค่าของ cot x csc xdxm nวิธีท า จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบที่ 5 cotx csc xdx จะได้ว่า n 5ซึ่งเป็นจ านวนคี่ ดังนั้นสมมุติให้ u cscx นั่นคือ du cscxcot xdx แทนค่าจะได้ว่า3 5 2 4cot x csc xdx cot x csc x(cot xcsc x)dx 2 4 (csc x 1) csc x(cot xcsc x)dx3 5 2 4cot x csc xdx (u 1)u duแทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร xนั่นคือ4 6(u u )du5 7u u c5 75 7 #3 5 csc x csc xcot x csc xdx c5 72.3 การอินทิเกรตโดยวิธีการแทนค่าด้วยฟังก์ชันตรีโกณมิติการอินทิเกรตฟังก์ชันบางฟังก์ชันถ้าเปลี่ยนให้อยู่ในรูปฟังก์ชันอื่น ๆ จะท าให้หาค่าของอินทิกรัลได้ง่ายแล้วจึงแทนค่าของฟังก์ชันให้อยู่ในรูปเดิมก็ได้เช่นกัน ดังนั้นการแทนค่าด้วยฟังก์ชันตรีโกณมิติก็สามารถท าได้ โดยที่ตัวที่ถูกอินทิเกรตต้องอยู่ในรูปแบบที่ก าหนด และมีหลักในการแทนค่าดังนี้ คือ (ไอยเรสและเมนเดลสัน. 2540)2 21) ถ้าตัวถูกอินทิเกรตมีตัวประกอบที่เป็น a x แทนค่าด้วย x asinz2 22) ถ้าตัวถูกอินทิเกรตมีตัวประกอบที่เป็น a x แทนค่าด้วย x a tanz2 23) ถ้าตัวถูกอินทิเกรตมีตัวประกอบที่เป็น x a แทนค่าด้วย x aseczหลังจากที่เปลี่ยนฟังก์ชันต่าง ๆ ให้อยู่ในรูปของฟังก์ชันตรีโกณมิติของตัวแปร z แล้วก็ใช้เทคนิคของการอินทิเกรตฟังก์ชันตรีโกณมิติ ได้เท่าไรแล้วจึงค่อยเปลี่ยนฟังก์ชันตรีโกณมิติเป็นฟังก์ชันเดิม2 2 2 2แต่เนื่องจากว่าฟังก์ชันที่เราพบนั้นไม่ใช่ว่าจะอยู่ในรูปของ a x , a x2 2หรือ x a เท่านั้น อาจจะอยู่ในรูปแบบที่แตกต่างออกไป แต่ก็ใช้หลักเดียวกันได้ เช่นกันรูปแบบ ที่มักพบอยู่บ่อย ๆ สามารถแบ่งได้แตกต่างกัน 3 แบบ ดังนี้ คือ2 2 2แบบที่ 1 ตัวถูกอินทิเกรตมีตัวประกอบที่เป็น a b xจัดให้อยู่ในรูป ใหม่ คือa b x a1 x a22 2 2 2 b 2 2


83แทนค่าด้วยxasin zb2 2 2 2ดังนั้นจะได้ว่า a b x a 1sin zacosz2 2 2แบบที่ 2 ตัวถูกอินทิเกรตมีตัวประกอบที่เป็น a b xจัดให้อยู่ในรูป ใหม่ คือแทนค่าด้วยxatan zb22 b a 1x a b a 1 x aa b x a1 x a22 2 2 2 b 2 2222 b a 1x a b a 1 x a2 2 2 2ดังนั้นจะได้ว่า a b x a 1tan zasecz2 2 2แบบที่ 3 ตัวถูกอินทิเกรตมีตัวประกอบที่เป็น b x aจัดให้อยู่ในรูป ใหม่ คือแทนค่าด้วยxaseczb22 2 2 2b2b x a a x 12a 2 2 2 2ดังนั้นจะได้ว่า b x a a sec z 1a tanz222 b a x 1a 2ba x 1aหลังจากที่อินทิเกรตได้แล้วผลลัพธ์จะอยู่ในรูปของตัวแปร z ดังนั้นจึงใช้อัตราส่วนตรีโกณมิติของรูปสามเหลี่ยมเปลี่ยนให้อยู่ในรูปของ z ดังเดิม พิจารณาได้จากตัวอย่างต่อไปนี้


84ตัวอย่างที่ 2.30 จงหาค่าของdx2 2x 4 xวิธีท า จะเห็นว่าฟังก์ชันที่ถูกอินทิเกรต12 2x 4 x2จะมีตัวประกอบอยู่ในรูป 4x2 22 2 2ซึ่งตรงกับ a x นั่นคือ 4 x 2 x จะได้ว่า a2ก าหนดให้ x 2tanzดังนั้นdx22sec zdzdx2sec zdz2 2 22x 4 x 2tan z 4 4tan z 22sec z2 22tan z 4 1tan zsec z dz22tan z 2secz1 secz2 dz4tan z1 sin2 z coszdz41 sin2 zd sin z 411 (sin z) c411 c4sin zแทนค่า z โดยการพิจารณาจากความสัมพันธ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติและรูปสามเหลี่ยมมุมฉากจาก x 2tanz ดังนั้นtan zsin z2x2x4x2dzภาพที่ 2.1 สามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งนั่นคือจะได้ว่าxtan z 2dx 1 c2 2x 4 x 4sin z1 cx424x


8524x c#4xตัวอย่างที่ 2.31 จงหาค่าของdx 324 x 2วิธีท า จะเห็นว่าฟังก์ชันที่ถูกอินทิเกรตดังนั้น1 14 x 4 x3 2 22 2 4xจะมีตัวประกอบอยู่22 22 2 2ในรูป 4 x ซึ่งตรงกับ a x นั่นคือ 4 x 2 x จะได้ว่า a2ก าหนดให้ x 2sinzdx 2coszdz และ2 2 2 24 x 4 2sin z 4 1 sin z 4cos z1 1dx 4 x 4 x 3 2 22 2 4xdx2coszdz24cos z 2cosz1 sec2 zdz41 tan z c4แทนค่า z โดยการพิจารณาจากความสัมพันธ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติและรูปสามเหลี่ยมมุมฉากจาก x 2sinz ดังนั้นsin ztan zx2x4x2ภาพที่ 2.2 สามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งนั่นคือจะได้ว่าxsin z 21 1dx tan z c424x 2 31 x c4 24x#


86ตัวอย่างที่ 2.32 จงหาค่าของ2xdx2x 4วิธีท า จะเห็นว่าฟังก์ชันที่ถูกอินทิเกรตx22x 42จะมีตัวประกอบอยู่ในรูป x 42 22 2 2ซึ่งตรงกับ x a นั่นคือ x 4 x 2 จะได้ว่า a2ก าหนดให้ x 2seczdx 2secz tanzdz2 2 2จะได้ว่า x 4 4sec z 4 2 sec z 1 2tanzดังนั้น2 2x4sec z 2secz tan z dx dz2 x 42tan z3 4sec zdz1 1 4secz tan z seczdz2 2 2secz tan z 2ln secz tan z cแทนค่า z โดยการพิจารณาจากความสัมพันธ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติและรูปสามเหลี่ยมมุมฉากจาก xนั่นคือจะได้ว่าxx 4secz และ tan z 222xdx 2secz tan z 2ln secz tan z c2x 4 2secz ดังนั้น2 2x x 4 x x 4 2 2ln c2 2 2 22ภาพที่ 2.3 สามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งsec z2 2x x 4 x x 4 2ln c2 2x #2ตัวอย่างที่ 2.33 จงหาค่าของ29 4x dxxวิธีท า จะเห็นว่าฟังก์ชันที่ถูกอินทิเกรต9 4xx22จะมีตัวประกอบอยู่ในรูป 9 4x2 2 22 2 2ซึ่งตรงกับ a b x นั่นคือ 9 4x 3 (2x) จะได้ว่า a 3ก าหนดให้xdx3sin z23coszdz2 และ b2


8799 4x 9 4sin z 3 1 sin z 3cos z4จะได้ว่า2 2 2ดังนั้น29 4x 3cosz 3dx coszdzx 3sin z 222cos z 3dzsin z21sin z 3dzsin z 1 3 sin zdzsin z 3 cscz sinz dz 3ln cscz cot z coszc แทนค่า z โดยการพิจารณาจากความสัมพันธ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติและรูปสามเหลี่ยมมุมฉากจากcsczx3sin z2 ดังนั้น3 , cot z2xนั่นคือจะได้ว่าภาพที่ 2.4 สามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งsin z9 4x2x22x3 และ2cosz9 4x39 4x dxx 3 ln cscz cot z cosz c2 23 9 4x 9 4x3ln c 2x 2x 3 sin z3 9 4x2 3ln 9 4x c2x22x #322.4 การอินทิเกรตโดยวิธีการแยกเป็นเศษส่วนย่อยการอินทิเกรตฟังก์ชันที่อยู่ในรูปของฟังก์ชันตรรกยะหรือฟังก์ชันที่อยู่ในรูปเศษส่วนบางครั้งก็สามารถใช้สูตรตรง ๆ ได้ แต่บางครั้งก็ไม่สามารถใช้ได้ ดังนั้นการแยกเป็นเศษส่วนย่อยก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยให้หาค่าของอินทิกรัลของฟังก์ชันตรรกยะได้ แต่การที่เราจะอินทิเกรตเลยนั้นคงไม่ได้ ต้องจัดเศษส่วนดังกล่าวให้อยู่ในรูปของเศษส่วนแท้เสียก่อนหรืออยู่ในรูปแบบที่สามารถหาค่าอินทิกรัลได้ ดังบทนิยามต่อไปนี้


88บทนิยาม 2.1 ถ้า P(x) และ Q(x) เป็นฟังก์ชันพหุนามของ x และP(x)F(x) , Q(x) 0Q(x)จะเรียกฟังก์ชัน F(x) ว่าเศษส่วนตรรกยะ (rational fraction)ถ้าระดับขั้นของ P(x) น้อยกว่าระดับขั้นของ Q(x) เรียก F(x) ว่าเศษส่วนตรรกยะแท้(proper rational fraction) และถ้าระดับขั้นของ P(x) ไม่น้อยกว่าระดับขั้นของ Q(x)เรียก F(x) ว่าเศษส่วนตรรกยะไม่แท้ (improper rational fraction)หมายเหตุ เศษส่วนตรรกยะไม่แท้สามารถเขียนให้อยู่ในรูปของฟังก์ชันพหุนามบวกกับเศษส่วนตรรกยะแท้ได้เสมอ โดยการน า Q(x) ไปหาร P(x)เช่น ตัวอย่างที่เป็นเศษส่วนตรรกยะแท้ คือตัวอย่างที่เป็นเศษส่วนตรรกยะไม่แท้ คือ22x 122x 1,1 3x 103x 5x 6, ,232x 12x 2 2x 134 2x x 1x 3x x 1,3x1x 12เป็นต้นเป็นต้น ดังนั้นจะต้องเขียนเศษส่วนตรรกยะไม่แท้ให้อยู่ในรูป ของฟังก์ชันพหุนามบวกกับเศษส่วนตรรกยะแท้ดังนี้ เช่น22x 1 2 12 22x 1 2x 13x x 1 2 1 x xx 1 x 14 2 2x 3x x 1 (3x 1) x 3 3x 1 x 1ส าหรับเศษส่วนตรรกยะแท้ สามารถเขียนในรูปของเศษส่วนย่อย (partial fraction)เพื่อที่จะสามารถอินทิเกรตได้ง่าย ซึ่งสามารถแบ่งวิธีการเขียนเศษส่วนตรรกยะแท้ให้อยู่ในรูปเศษส่วนย่อย ได้ดังนี้ คือกรณีที่ 1 ตัวประกอบของ Q(x) มีก าลังสูงสุดเป็นหนึ่งและอยู่ในรูป ax b และตัวประกอบแต่ละตัวต้องแตกต่างกันนั่นคือ Q(x) เราสามารถแยกตัวประกอบได้เป็น Q(x) (x a 1)(x a 2)(x a 3) ... (x a n)และสามารถเขียนในรูปของเศษส่วนย่อยได้เป็นP(x) A1 A2 A3An ... Q(x) x a x a x a x a1 2 3 nA1 A2 AP(x)(x 1)(x 2)(x 3) x 1 x 2 x 33เช่น P(x)(x 1)(x 2)(x 3)เมื่อ A 1 , A 2 , A 3 ,..., A n เป็นค่าคงที่ซึ่งจะเห็นว่าการอินทิเกรตฟังก์ชันAx 1 x 2 x 31 A2 A3จะท าได้ยากกว่าการอินทิเกรตฟังก์ชัน


89ตัวอย่างที่ 2.34 จงหาค่าของ 21 dxวิธีท า พิจารณา2x 91 1x 9 (x 3)(x 3)A B x 3 x 3A(x 3) B(x 3)(x 3)(x 3)นั่นคือจะได้ว่า 1 A(x 3) B(x 3)การแก้สมการหาค่าของ A และ B ที่นิยม ท าได้ 2 แบบ คือแบบที่ 1 ใช้วิธีการเทียบสัมประสิทธิ์และการแก้ระบบสมการเชิงเส้นจาก 1 A(x 3) B(x 3) หรือ1 (A B)x (3A 3B)เทียบสัมประสิทธิ์ของ x และค่าคงที่ได้เป็นA B 0 ………………………..(1) ………………………..(2)3A 3B 1แก้ระบบสมการเชิงเส้น จะได้A16 และB1 6แบบที่ 2 ใช้วิธีการสมมุติค่า x ที่เหมาะสมที่จะหาค่าของ A และ B ได้ง่ายจาก 1 A(x 3) B(x 3)สมมุติให้ x 3 จะได้1 A(3 3) B(3 3)1 6A นั่นคือสมมุติให้ x 3 จะได้A1 A( 3 3) B( 3 3)1 6B นั่นคือB161 6จากแบบที่ 1 และ แบบที่ 2 จะได้ค่าของ A และ B เท่ากัน ดังนั้นจะได้1 1 12x 9 6(x 3) 6(x 3)1 1 1 dxx 9 6(x 3) 6(x 3) 1 1 1 1dx dx6 (x 3) 6(x 3) dx 2 1 1 ln x 3 ln x 3 c6 6น าเศษส่วนย่อยที่ได้ไปหาค่าอินทิกรัล


901 x 3ln6 x 3c#ตัวอย่างที่ 2.35 จงหาค่าของ 3 2วิธีท า พิจารณา3 2สมมุติให้x1dxx x 2xx1x1x x 2xx(x 2)(x 1)x1A B C x(x 2)(x 1)x x 2 x 1A(x 2)(x 1) B(x)(x 1) C(x)(x 2)x(x 2)(x 1)ดังนั้น x 1 A(x 2)(x 1) B(x)(x 1) C(x)(x 2)แก้สมการ เพื่อหาค่า A , B และ CC 23B 16A 121 1 2 2x 6(x 2) 3(x 1)สมมุติให้ x 1 จะได้ 2 3C นั่นคือนั่นคือ3 2x 2 จะได้ 1 6B นั่นคือx 0 จะได้ 1 2A นั่นคือx1x x 2xx1dxx x 2xดังนั้น 3 2 1 1 2 dx2x 6(x 2) 3(x 1)1 1 2 ln x ln x 2 ln x 1 c2 6 32x13 lnc1 1 x 2 x 26กรณีที่ 2 ตัวประกอบของ Q(x) มีก าลังสูงสุดเป็นหนึ่งและอยู่ในรูป ax b และตัวประกอบ ดังกล่าวมีบางตัวที่ซ้ ากัน#นั่นคือ Q(x) สามารถแยกตัวประกอบได้เป็น Q(x) 2(x a) (x b)(x c)และสามารถเขียนในรูปของเศษส่วนย่อยได้เป็นเช่นP(x) A1 A2B C 2Q(x) x a xa x b x cP(x) A1 A2B C 2 2(x 3) (x 4)(x 1) x 3 x3 x 4 x 1เมื่อ A 1, A 2 , B ,C เป็นค่าคงที่


91ตัวอย่างที่ 2.36 จงหาค่าของ 3 23x 5dxx x x 1วิธีท า พิจารณาการแยกตัวประกอบของ x 3 x 2 x 1 x 3 x 2 x 13x 5 3x 5ดังนั้น 3 2 22 x x 1 x 12x 1x 1 2x 1 x 1 x x x 1 (x 1) (x 1)A B C x 1 x1x 1 2A(x 1)(x 1) B(x 1) C(x 1)2(x 1) (x 1)2นั่นคือจะได้ว่า 3x 5 A(x 1)(x 1) B(x 1) C(x 1)แก้สมการหา A , B และ C โดยการสมมุติค่าของตัวแปร x2จาก 3x 5 A(x 1)(x 1) B(x 1) C(x 1)สมมุติให้ x 1 จะได้แทนค่า23(1) 5 A(1 1)(1 1) B(1 1) C(1 1)8 2B นั่นคือ B 4สมมุติให้ x 1 จะได้23( 1) 5 A( 11)( 11) B( 11) C( 1 1)2 4C นั่นคือสมมุติให้ x 0 จะได้C23(0) 5 A(0 1)(0 1) B(0 1) C(0 1)5 A B C นั่นคือ11A , B 4 และ C223x 5 1 4 1 3 2 2x x x 1 2(x 1) (x 1)2(x 1)นั่นคือ3 2 212A จะได้ว่า1 23x 5 1 4 1 dxx x x 1 2(x 1) (x 1)2(x 1)1 1 1 1 1 dx 4 dx dx22 (x 1) (x 1)2 (x 1) x1 11 1 ln x 1 4 ln x 1 c2 122


924 1 x 1 ln cx 1 2 x 1#กรณีที่ 3 ตัวประกอบของ Q(x) มีก าลังสูงสุดเป็นสองและอยู่ในรูป2ax bx c และตัวประกอบดังกล่าวแตกต่างกัน2นั่นคือ Q(x) สามารถแยกตัวประกอบได้เป็นและสามารถเขียนในรูปของเศษส่วนย่อยได้เป็นP(x) A A x BQ(x) a x b a x b x c1 2 221 1 2 2 2Q(x) (a x b )(a x b x c )เมื่อ A 1 , A 2 , B 2 เป็นค่าคงที่1 1 2 2 2P(x)A A x B A x B2 2(x 2)(x 2x 3)(x 3x 1) x22x 2x 32x 3x 1P(x) A Bx C Dx E 2 2 2 2(x 2)(x 2x 3)(x 3x 1) x2 x 2x 3 x 3x 11 2 2 3 3เช่น ตัวอย่างที่ 2.37 จงหาค่าของ3 2x x x 24 2 dxx 3x 2วิธีท า พิจารณาการแยกตัวประกอบของ x 4 3x 2 2 x 2 1x 2 2ดังนั้น3 2 3 2x x x 2 x x x 24 2 2 2x 3x 2 (x 1)(x 2)Ax B Cx D 2 2x 1 x 22 2(Ax B)(x 2) (Cx D)(x 1)2 2(x 1)(x 2)3 22 2หรือ อาจจะใช้(A C)x (B D)x (2A C)x (2B D)(x 1)(x 2)3 2 3 2ดังนั้น x x x 2 (A C)x (B D)x (2A C)x (2B D)จะได้ว่า A C 1 , 2A C 1 , B D 1 และ 2B D 2จากการแก้ระบบสมการเชิงเส้น จะได้ A 0 , B 1 , C 1 และ D 0นั่นคือ3 2x x x 2 1 x 4 2 2 2x 3x 2 x 1 x 23 2x x x 2 1 xdx dx4 2 2 2 x 3x 2 x 1 x 2 1 dx x dx2 2x 1 x 2 1 1 1 2 dx d(x 2)2 2x 1 2 x 2


93121 2 tan x ln(x 2) c#2กรณีที่ 4 ตัวประกอบของ Q(x) มีก าลังสูงสุดเป็นสองซ้ ากันและอยู่ในรูป ax bx cนั่นคือ Q(x) สามารถแยกตัวประกอบได้เป็นQ(x) 2 n(ax bx c) เมื่อ n เป็นจ านวนเต็มและสามารถเขียนในรูปของเศษส่วนย่อยได้เป็นP(x) A x B A x B A x B Q(x) ax bx c ax bx c ax bx c1 1 2 2 n n...2 2 nเมื่อ A 1 , A 2 , ..., A n และ B 1 , B 2 , ..., Bnเป็นค่าคงที่P(x)2 2 A x B A x BA x B1 1 2 23 3เช่น 2 3 2 2 2 2 3(x 4x 1) (x 4x 1) (x 4x 1) (x 4x 1)ตัวอย่างที่ 2.38 จงหาค่าของวิธีท าพิจารณา22x22 3 dxx 122x 3 Ax B Cx D (x 1) x 1 (x 1)2 2 2 2 22(Ax B)(x 1) Cx D3 22 2(x 1)Ax Bx (A C)x (B D)2 2(x 1)2 3 2ดังนั้น 2x 3 Ax Bx (A C)x (B D)จะได้ว่า A 0 , B 2 , A C 0 และ B D 3จากการแก้ระบบสมการเชิงเส้น จะได้ A 0 , B 2 , C 0 และ D 1นั่นคือ22x 3 2 1 (x 1) x 1 (x 1)2 2 2 2 222x 3 2 1 dx dx2 2 2 2 2 (x 1) x 1 (x 1) 2 dx 1 dx2 2 2x 1 (x 1)2 1 dx 2 dx 2tan x c2 2x 1 x 11dx(x 1)พิจารณา1และ ต้องใช้วิธีการแทนค่าโดยฟังก์ชันตรีโกณมิติ2 2สมมุติให้ xx2 tanz จะได้ dx sec zdz2 2 และ2 2 2 tan z ดังนั้น x 1 tan z 1 sec z หรือ1


941 41 cos z2 2 4(x 1) sec z1dx2 2(x 1) cos z sec zdz2 cos zdz1cos2z dz 2 1 cos2z 21 sin 2z z c2 2 1 1sin 2z z c24 24 2ดังนั้น 1แทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร x โดยที่ z tan x และภาพที่ 2.5 สามเหลี่ยมมุมฉากซึ่ง tanz xsin2z1จะได้ 2 2 2 ดังนั้น22sinzcoszx 12 2 2x 1 x 12x2x 11 1 2x 1dx tan x c(x 1) 4x 1222x 3 1 x 1 1dx 2tan x tan x c c2 22x 12(x 1)25 1x tan x c22 2(x 1)21 2#2.5 การอินทิเกรตโดยวิธีการแทนค่าแบบอื่น ๆนอกจากการใช้เทคนิคการอินทิเกรตด้วยวิธีต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้ว ยังมีการอินทิเกรตโดยวิธีการแทนค่าแบบอื่น ๆ ( miscellaneous substitution ) ที่ตัวถูกอินทิเกรตอยู่ในรูปของเศษส่วนและมีเครื่องหมายกรณฑ์ที่อยู่ในรูป n 22ax b , q px x หรือ q px xเป็นต้น ปรากฏอยู่ในฟังก์ชันที่ต้องการอินทิเกรตสามารถใช้วิธีการแทนค่าดังต่อไปนี้


95เพื่อเปลี่ยนตัวถูกอินทิเกรตให้อยู่ในรูปแบบเศษส่วนตรรกยะของตัวแปรที่สมมุติขึ้นมาใหม่ ดังนี้1) ถ้ามีเครื่องหมายกรณฑ์อยู่ในรูป n nax b ให้แทนด้วยตัวแปร u ax b หรือnแทน ax b u เช่น 3 332x 1 ให้แทนด้วย u 2x 1 หรือ 2x 1 u2) ถ้ามีเครื่องหมายกรณฑ์อยู่ในรูป n a bx x2 ให้แทนด้วยตัวแปร2 2a bx x (u x)n 22 2 เช่น 2 2x x ให้แทนด้วย 2 2x x (u x)3) ถ้ามีเครื่องหมายกรณฑ์อยู่ในรูป n 2 na bx x ( x)( x) ให้แทนด้วย2 2 22 2 2 n 2ตัวแปร a bx x ( x) u หรือ a bx x ( x) u เช่น 6 x xหรือ n 2 2 22 2 2(3 x)(2 x)ให้แทนด้วย 6 x x (3 x) u หรือ 6 x x (2 x) uตัวอย่างที่ 2.39 จงหาค่าของdx(x 3) x 1วิธีท า เนื่องจากตัวถูกอินทิเกรตมีเครื่องหมายกรณฑ์ เป็น x 1 ซึ่งอยู่ในรูป n ax b22ดังนั้นต้องสมมุติให้ u x 1 หรือ x 1 u ซึ่ง x u 11 1 12 3 4เนื่องจาก2x u 1dx d u 1 2udu du2 จะได้ว่า เปลี่ยนตัวแปร x ทั้งหมดให้อยู่ในรูปตัวแปร u จะได้ว่าdx2udu2(x 3) x 1 (u 4)udu 2 (u2 4) แทนค่า u x 1 จะได้ว่า ดังนั้น dx 2udu 1 u 2 2ln c2(2) u 21 u 2ln c2 u 2dx 1 x 1 2 ln c#(x 3) x 1 2 x 1 2การอินทิเกรตฟังก์ชันที่มีเลขชี้ก าลังของตัวแปรอยู่ในรูปของจ านวนตรรกยะ เช่นx , x , x เป็นต้น สามารถแทนค่าเหล่านั้นด้วยตัวแปรใหม่ ดังนี้ คือก าหนดให้1u x n โดยที่ n เป็นตัวคูณร่วมน้อยของตัวเลขที่เป็นส่วนของเศษส่วน


96ทั้งหมดที่เป็นเลขชี้ก าลังของตัวแปรของฟังก์ชันที่ถูกอินทิเกรต ทั้งนี้เพื่อให้เลขชี้ก าลังของตัวแปรใหม่ที่สมมุติขึ้นเป็นจ านวนเต็ม ดังเช่นตัวอย่างต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 2.40 จงหาค่าของ 3x dxx 41วิธีท า เนื่องจาก x x 2 3และ x x3ซึ่งตัวถูกอินทิเกรตอยู่ในรูปของ n ax bแต่มีทั้ง x และ 3 x จะได้ว่า ตัวคูณร่วมน้อยของ 2 และ 3 คือ 6 ดังนั้น สมมุติให้1u x 6dx1dx d u 6udu du66 5 ซึ่งจะได้ว่า x u โดยที่ ดังนั้น56u duเปลี่ยนตัวแปร x ทั้งหมดให้อยู่ในรูปของตัวแปร u จะได้ว่า1 12 6 2 3x x (u ) u และดังนั้นxu 56u du2x 4 u 4 dx 3 381 13 3 6 2 2x x (u ) uu 6du2u 4 6 4 2 256 6u 4u 16u 64 u2 4x 256dx 6 u 4u 16u 64 du2x 4 u 47 5 3u 4u 16u 1 1u 6 64u 256 tan c 7 5 3 2 2 6 4 2ดังนั้น 3 แทนค่า1u x 6 จะได้37 5 116 61x x 4x 16x2661x dx 6 64x 128tan cx 4 7 5 3 2 6 6 56x x 4 x 16 x 61 x 6 64 x 128tan c 7 5 3 2#ตัวอย่างที่ 2.41 จงหาค่าของ2dxx x x 5วิธีท า เนื่องจากตัวถูกอินทิเกรตมีเครื่องหมายกรณฑ์ เป็น2x x 5n 2a bx x2 2 ดังนั้นต้องสมมุติให้ x x 5 (u x)2 2 2จะได้ว่า x x 5 u 2ux x ซึ่งอยู่ในรูป


97นั่นคือdx2x 2ux u 52u 5x 12u2dx d u 5 du du 12u 2(u u 5)du2(1 2u)2 2เนื่องจาก x x 5 (u x)ดังนั้น2 u u 5x x 5 12u2(1 2u)(2u) (u 5)(2)2(1 2u)2(u u 5)(1 2u)2222222 u 5 u u 5 u 1 2u 1 2u เปลี่ยนตัวแปร x ทั้งหมดให้อยู่ในรูปตัวแปร u จะได้ว่า2dx 1 2(u u 5) 22 2 2 dux x x 5u 5 u u 5 (1 2u)12u 12u1 2du2u 5 1 u 5 1 u 5 2 ln c ln c2 5 u 5 5 u 52 22แทนค่า u จาก x x 5 (u x) จะได้2u x x 5 xดังนั้น22u x x x 5 หรือdx 1 x x 5 x 5 lnc#2 5 2x x x 5 x x 5 x 52xตัวอย่างที่ 2.42 จงหาค่าของ 32 2(2 x x )dx2วิธีท า เนื่องจากตัวถูกอินทิเกรตมีเครื่องหมายกรณฑ์ เป็น 2 x x (2 x)(1 x)ซึ่งอยู่ในรูป n a bx x22 2 2ดังนั้นต้องสมมุติให้ 2 x x (1 x) u2 2จะได้ว่า (2 x)(1 x) (1 x) u2(2 x) (1 x)u


986uดังนั้น dx 2 2และ เนื่องจากดังนั้น(u 1)2ux 2u 12dx d 2 u 2du du u 1 du22 2(u 1)( 2u) (2 u )(2u) 6u(u 1) (u 1)2 2 2 22222 2 2 2 u 2 9u22 22 x x (1 x) u 1 uu 1 (u 1)33 2 23229u 27u2 22 3(2 x x ) (u 1) (u 1)เปลี่ยนตัวแปร x ทั้งหมดให้อยู่ในรูปตัวแปร u จะได้ว่า2 u 6u2 2 22x u 1 (u 1)dx 2 du (2 x x )3 327u2 22 332(u 1)6u 12u 2du327u4 (1 2u2 )du942 u c9u2x จะได้ u จะได้ว่า1x2x 42 x 24 2 x 2 1x dx c c3 9 1x 2 x 9 1 x 2 x 2(2 x x )2 1x 2แทนค่า u จาก 2 x (1 x)u4 4 x9 2 x x2c#การเปลี่ยนฟังก์ชันตรรกยะที่อยู่ในรูปของฟังก์ชันsinx และ cos x หรือฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ ให้เป็นฟังก์ชันตรรกยะในรูปของตัวแปร u สามารถช่วยในการหาค่าอินทิกรัลได้เช่นเดียวกันแล้วจึงเปลี่ยนค่าที่อินทิเกรตได้จากตัวแปร u ให้เป็นตัวแปร x หรือตัวแปรเดิม ซึ่งมีหลักการดังนี้ คือใช้วิธีการแทนค่า x 2arctanu , x จะได้


99ดังนั้น2dx d 2du du 1u2dx du1uและ sin x sin(2arctanu)2arctan u 2 2sin(arctanu) cos(arctanu) u 1 2sin arcsin cos arccos 2 2 1u 1uu 12 2 21u 1u2u1ucosx cos(2arctan x)222cos (arctan u) 12 1 2 12 1u 1u1u22ส าหรับฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ ก็สามารถแทนค่าให้อยู่ในรูปของตัวแปร u ได้ดังนี้ คือtan xsecx2u21u21u1u2จากนั้นให้เปลี่ยนตัวแปรu ให้กลับไปเป็นตัวแปร xเนื่องจาก x 2arctanu จะได้ว่าตัวอย่างที่ 2.43 จงหาค่าของ วิธีท า สมมุติให้ x11sin xdxarctan ucot xcscxx2 ซึ่ง2 2arctanu จะได้ว่า dx du21uเปลี่ยนตัวแปร x ทั้งหมดให้อยู่ในรูปตัวแปร u จะได้ว่า1 1 udx 1sin x 2u1 1u1u2 122 du1u 2u22 (1 u) du2du1u2u1u2u22xu tan 22uและ sin x 21u


100แทนค่า 1 2 2c c1 u 1ux1 2u tan จะได้ว่าdx c21sin xx1tan 2 #ตัวอย่างที่ 2.44 จงหาค่าของ secxdxวิธีท า สมมุติให้ x2 2arctanu จะได้ว่า dx du21uเปลี่ยนตัวแปร x ทั้งหมดให้อยู่ในรูปตัวแปร u จะได้ว่า1u 2secxdx du2 21u 1u1 2du21u1u ln c1uแทนค่าxu tan จะได้ว่า22และsecx x1tansec xdx ln 2 cx1tan 21u1u #22ตัวอย่างที่ 2.45 จงหาค่าของวิธีท า สมมุติให้ /2d1cos2 2arctanu จะได้ว่า d du21uเปลี่ยนตัวแปร ทั้งหมดให้อยู่ในรูปตัวแปร u จะได้ว่า1 1 2d 1cos 1u 1u1 1u2 แทนค่า u2 22 1duและ u du cud1 c1cos tan 2 tan จะได้ว่า 2cos x 1u1u22ดังนั้น /2d1 1 cot 1 11cos tan tan22 4 #นอกจากการแทนค่าด้วยวิธีข้างต้นที่กล่าวมาแล้ว ยังมีวิธีการแทนค่าด้วยวิธีอื่น ๆ อีก ซึ่งจะต้องอาศัยการสังเกตตัวถูกอินทิเกรตว่าจะสมมุติอย่างไร จึงจะท าให้หาวิธีการอินทิเกรตฟังก์ชันของตัวแปรใหม่ได้ง่าย


101ดังนั้นตัวอย่างต่อไปนี้จะเป็นการแทนค่าแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการหาค่าอินทิกรัลในรูปแบบต่าง ๆ กันxตัวอย่างที่ 2.46 จงหาค่าของ 1e dxวิธีท า สมมุติให้xu 1 e2 x ดังนั้น u 1ex 2e u 1 จะได้2x ln(u 1)dx 2u2du u 1นั่นคือ dx 2เปลี่ยนตัวแปร x ทั้งหมดให้อยู่ในรูปตัวแปร u จะได้ว่า2u1 e dx u du2u 1x แทนค่า2u2du2u 1 1 21 du2u 1 l u 1 2u ln c2 u 1u1 2u ln cu1xu 1 e จะได้2uduu 1xxx 1e 11 e dx 2 1 e ln c#xตัวอย่างที่ 2.47 จงหาค่าของวิธีท า สมมุติให้xu e 1xx(e 2)ex dxe 11e 1xดังนั้น e u 1 นั่นคือ x ln(u 1)dx 1 จะได้ 1dx du u 1เปลี่ยนตัวแปร x ทั้งหมดให้อยู่ในรูปตัวแปร u จะได้ว่าx x dx x (e 2)e (u 3)(u 1) 1 due 1u u 1 3 1du u แทนค่า u 3lnu cxu e 1 จะได้ว่าduu 1x x(e 2)e xxx dx e 1 3ln e 1 cx x 1 หรือ e 1e 3ln e 1 c #


102ตัวอย่างที่ 2.48 จงหาค่าของวิธีท า สมมุติให้ดังนั้นxu1x1u12 2x 3 xdxdx 1du u นั่นคือ จะได้ dx 22เปลี่ยนตัวแปร x ทั้งหมดให้อยู่ในรูปตัวแปร u จะได้ว่า1 1 1 dx du2 2 2 2 x 3 x 1 1 u 3 2 u u แทนค่าu12 2 (3u 1) udx12 2 21 (3u 1) d(3u 1)61 (3u 1) 2 c6 121 3u2 1 c31x จะได้ว่า212 21 1 3 1 3 x 1 3 x dx 1 c c c #2 22 2x 3 x2.6 อินทิกรัลไม่ตรงแบบ1udu3 x3 x3 xจากการหาอินทิกรัลจ ากัดเขต b f (x)dx มีข้อจ ากัดว่าฟังก์ชัน f ต้องเป็นฟังก์ชันต่อเนื่องaบนช่วง a,b และเมื่อ a และ b เป็นอนันต์จะไม่สามารถหาด้วยวิธีต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้วได้ ดังนั้นเนื้อหาที่จะกล่าวต่อไปนี้ จะเป็นการหาอินทิกรัลของฟังก์ชัน f บนช่วง [a, ) , ( ,b] หรือ( , ) และอินทิกรัลของฟังก์ชัน f บนช่วง a,b ซึ่ง f ไม่ต่อเนื่องที่จุดบางจุดในช่วงa,bนั้นจะเรียกอินทิกรัลในลักษณะนี้ว่าอินทิกรัลไม่ตรงแบบ ( improper integrals) และจะต้องน าเรื่องลิมิตของฟังก์ชันมาช่วยในการหาค่าอินทิกรัลด้วย (Howard , Irl & Stephen, 2002)พิจารณาการหาอินทิกรัลของฟังก์ชัน f (x) โดยที่ x 1 ซึ่งมีความหมาย2เหมือนกับพื้นที่ใต้โค้ง y f(x) , x 1 ซึ่งเป็นบริเวณ R ดังภาพการหาบริเวณ R ด้วยการหาจากอินทิกรัลจ ากัดเขตท าได้ดังนี้คือ1x


103ภาพที่ 2.6 กราฟแสดงพื้นที่ใต้โค้ง y f(x) , x 1เนื่องจากอินทิกรัลจ ากัดเขตของฟังก์ชัน f (x) บนช่วง 21x1,b คือ b 1 2 dxx1ก าหนดให้1ภาพที่ 2.7 กราฟแสดงพื้นที่ใต้โค้ง f (x) บนช่วง x 21,bb1 1 1 b 1I(b) dx 12x x b bพิจารณาค่าของ b ที่แตกต่างกันไป จะได้ว่า110 1 9I(10) 0.910 10100 1 99I(100) 0.99100 1001,000 1 999I(1,000) 0.9991,000 1,000………………………………………………..1,000,000 1 999,999I(1,000,000) 0.9999991,000,000 1,000,000………………………………………………………………….จะเห็นว่าถ้า b ค่าของ I(b) 1 นั่นคือ ถ้าจะหาบริเวณ R สามารถหาได้จากb1 b 1 1lim I(b) lim dx lim lim 1 1b b b 2b bb1x จากหลักการที่สามารถหาอินทิกรัลไม่ตรงแบบในรูปของลิมิตนี้ สามารถแบ่งการหาอินทิกรัลไม่ตรงแบบที่ส าคัญ ๆ ได้ 3 แบบดังนี้คือb1x


104แบบที่ 1 อินทิกรัลไม่ตรงแบบบนช่วง [a, ) ซึ่งสามารถให้บทนิยามได้ดังนี้ คือบทนิยาม 2.2 ให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง [a, ) อินทิกรัลไม่ตรงแบบบนช่วง [a, )จะแทนด้วยabf (x)dx lim f (x)dx ถ้าลิมิตหาค่าได้baหมายเหตุ ถ้าลิมิตหาค่าได้ จะเรียกf (x)dxและถ้าลิมิตหาค่าไม่ได้จะเรียกว่า ลู่ออก (divergent)xตัวอย่างที่ 2.49 จงหาค่าของ e dx ถ้าหาค่าได้1xวิธีท า เนื่องจาก e เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบน [1, ) ดังนั้นxภาพที่ 2.8 กราฟแสดงพื้นที่ใต้โค้ง หรืออินทิกรัลไม่ตรงแบบรูปนี้ว่า ลู่เข้า (convergent)ay e , x [1, )bx 1 b1xe dx ljm e dxljm bxe 1 1 ljm xb e e 1xดังนั้น e dx จึงลู่เข้า #ตัวอย่างที่ 2.50 จงหาค่าของ1วิธีท า เนื่องจาก1x1e11 dxxภาพที่ 2.9 กราฟแสดงพื้นที่ใต้โค้ง ถ้าหาค่าได้เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบน [1, ) ดังนั้น b 1y , x [1, )x1e1 1dx lim dxxxb1 1b b 1lim ln xb lim ln b ln1b1 lim ln bซึ่งหาค่าไม่ได้bดังนั้น จึงลู่ออกเพราะลิมิตหาค่าไม่ได้ #11 dxxb


105แบบที่ 2 อินทิกรัลไม่ตรงแบบบนช่วง ( ,b] ซึ่งสามารถให้บทนิยามได้ดังนี้ คือบทนิยาม 2.3 ให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง ( ,b] อินทิกรัลไม่ตรงแบบบนช่วง ( ,b]จะแทนด้วย bb f (x)dx lim f (x)dx ถ้าลิมิตหาค่าได้aaตัวอย่างที่ 2.51 จงหาค่าของ1e3xวิธีท า เนื่องจาก e เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบน ( ,1] ดังนั้น3xdx1 13x aa3xe dx lim e dx1lim ea 33x1 3x 3ae e lim a 3 3 3e 33xภาพที่ 2.10 กราฟแสดงพื้นที่ใต้โค้ง y e , x ( ,1]#ตัวอย่างที่ 2.52 จงหาค่าของ1วิธีท า เนื่องจาก3(2x 1)01(2x 1)3dxเป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบน ( ,0] ดังนั้น0 01 1dx lim dx(2x 1) (2x 1) 1y , x ( ,0](2x 1)ภาพที่ 2.11 กราฟแสดงพื้นที่ใต้โค้ง 33a3a031 lim (2x 1) d(2x 1)2aalima 1 4(2x 1)a2 1 1 lim a 4 4(2a 1)1 40a2#


106แบบที่ 3 อินทิกรัลไม่ตรงแบบบนช่วง ( , ) ซึ่งสามารถให้บทนิยามได้ดังนี้ คือบทนิยาม 2.4 ให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง( , ) และ c เป็นจ านวนจริงซึ่งท าให้ อินทิกรัลไม่ตรงแบบc f (x)dx และบนช่วง ( , ) จะแทนด้วยf (x)dx ลู่เข้าแล้ว อินทิกรัลไม่ตรงแบบของฟังก์ชัน fc cf (x)dx f (x)dx f (x)dxcหมายเหตุ เพื่อง่ายต่อการค านวณ f (x)dx นิยมเลือกจ านวนจริง c 0 หรือ0 f (x)dx f (x)dx f (x)dx0ตัวอย่างที่ 2.53 จงหาค่าของวิธีท า เนื่องจาก2xex2dxx22xe เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง ( , ) และจะเลือก c 0 ดังนั้น202x x x2 2xe dx 2xe dx 2xe dx2 x2พิจารณา 0 x0 และ2xe dx lim 2xe dxaalima x2e 1lim 1e0aaa 2 12bxx2 2xe dx lim 2xe dxb0 02b xlim e b 00 1 lim ( 1)bb e 1


107ดังนั้นx22xe dx 11 0ถ้าพิจารณาจากกราฟของฟังก์ชันR 1ภาพที่ 2.12 กราฟแสดงพื้นที่ใต้โค้งx22y 2xe x ดังภาพจะเห็นว่าy 2xe ,( , )ดังนั้น0x2 2xe dx จะมีค่าเป็นจ านวนลบและ0เนื่องจากx2 2xe dx จะมีค่าเป็นจ านวนบวก02xx2 2xe dx 2xe dx202x x x2 2xe dx 2xe dx 2xe dx00x2x2 2xe dx 2xe dx0 0 0#นอกจากการหาอินทิกรัลไม่ตรงแบบทั้ง 3 แบบ ที่กล่าวมาแล้วยังไม่อินทิกรัลไม่ตรงแบบอีกชนิดหนึ่ง ส าหรับกรณีที่ฟังก์ชัน f ไม่ต่อเนื่องที่จุดบางจุดในช่วง a,b เช่น 4 dx ซึ่ง 2ที่จุด x 1 ฟังก์ชัน21-1YD1R 2-2 2 X(x 1)01(x 1)ไม่ต่อเนื่อง และจะเห็นว่าที่จุด x 1 จะได้ค่าของ f (x) หรือ f (x) ดังนั้นจะให้บทนิยามการหาอินทิกรัลไม่ตรงแบบลักษณะนี้ ดังนี้คือบทนิยาม 2.5 ให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง [a,b) และอินทิกรัลไม่ตรงแบบบนช่วง [a,b) จะแทนด้วยbattbalim f (x)xbf (x)dx lim f (x)dx ถ้าลิมิตหาค่าได้ หรือ บทนิยาม 2.6 ให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (a,b] และอินทิกรัลไม่ตรงแบบบนช่วง (a,b] จะแทนด้วยbabtatlim f (x)xaf (x)dx lim f (x)dx ถ้าลิมิตหาค่าได้ หรือ


108ดังนั้นจากตัวอย่าง 4 dx สามารถหาได้โดยใช้หลักดังนี้204 1 41(x 1)1 1 1dx dx dx 2 2 20(x 1) 0(x 1) 1(x 1)t 41 1lim dx lim dx 2 2t1 0(x 1) t1t(x 1)แล้วจึงหาอินทิกรัลไม่ตรงแบบดังกล่าวต่อไป ค่าของอินทิกรัลไม่ตรงแบบจะมีค่าหรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับอินทิกรัลไม่ตรงแบบย่อย ๆ ที่ต้องการหาว่าลู่เข้าหรือไม่ตัวอย่างที่ 2.54 จงหาค่าของ10dx1xวิธีท า เนื่องจาก f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง [0,1) และดังนั้นตัวอย่างที่ 2.55 จงหาค่าของ1วิธีท า เนื่องจาก2(x 3)ดังนั้นนั่นคือ1 tdx lim 2dx2t 1 20 1x 0 1xlim sin 1t x t1 01 1 t1 43lim sin t sin 01sin 1limx111x #2dx(x 3)2เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (3,4] และ24 4dx lim dx2 23(x 3) t3t(x 3) 1 lim (x 3) 4t3 t 1 lim 1t 3 2x3ซึ่งหาค่าไม่ได้1lim(x 3)t34 dxลู่ออก #23(x 3)


109ตัวอย่างที่ 2.56 จงหาค่าของวิธีท า เนื่องจาก2x13[ 1,0) และ (0,8]ดังนั้น81x2132x13dx เป็นฟังก์ชันที่ไม่ต่อเนื่องที่ x 0 แต่ต่อเนื่องบนช่วง8 1 0 1 8 13 3 3 2x dx 2x dx 2x dx1 1 0t 1 8 1lim 2x 3dx lim 2x 3dxt 0 1 t0t2t28 lim 3x 3 lim 3x3t0 t0 1 t2 2 2 2 lim 3t 3 3( 1) 3 lim 3(8) 3 3t 3t0 t0 (0 3) (12 0) 9#2.7 การอินทิเกรตโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางคณิตศาสตร์เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางคณิตศาสตร์ส าหรับการหาค่าของอินทิกรัลแบบต่าง ๆ จึงขอใช้ตัวอย่างในบทที่ 2 บางตัวอย่าง เพื่อแสดงการหาค่าอินทิกรัลและเป็นการตรวจสอบค าตอบด้วย จะสังเกตเห็นว่าบางตัวอย่างอาจจะได้ค าตอบที่อยู่ในรูปที่ไม่เหมือนกันทั้งนี้เนื่องจากการใช้วิธีการอินทิเกรตที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะฟังก์ชันตรีโกณมิติ แต่ถ้าใช้เอกลักษณ์ช่วย ก็สามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นค าตอบที่มีค่าเท่ากัน พิจารณาจากตัวอย่างต่อไปนี้(ด ารงค์ ทิพย์โยธา, 2546)จากตัวอย่างที่ 2.1 – 2.5 ค านวณได้ดังนี้คือ2.12.2xe xx 3dxsimplify e x2xexp( x)1dxsimplify exp x 22 x212.3 xln( x)dxsimplify 2 x2 exp( x) ln( x)121 4 x22.4 xsin( x)dxsimplify sin( x) xcos( x)2.5 asin( x)dxsimplify x asin( x) 1 x 2 expx21 2 e x 1 cos( x)dxsimplify exp( x) cos( x) 1 exp( x)2 2sin( x)


110จากตัวอย่างที่ 2.6 – 2.10 ค านวณได้ดังนี้คือ1asin( x)dxsimplify x asin( x)1 x 2 2 2.6 e x cos( x)dxsimplify 12 exp( x) cos( x) 12 exp( x) sin( x)2.72.82.92 2ln( x 3)dx 5 ln( 5) 4 4.047 sin( x) ln ( 1 sin( x)) ( sec( x)) 31 cos( x) cos xdxsimplify 2cos( x) 2x 3 e 2xdx12 x3 exp( 2 x)3 4 x2 exp( 2 x)2.10 x 3 sin( x)dxsimplify x 3 cos( x) 3 x 2 sin( x)( )2 34 xexp( 2 x) 38 exp( 2 x)6 sin( x)6 xcos( x)จากตัวอย่างที่ 2.11 – 2.15 ค านวณได้ดังนี้คือ2.11 sin x dx( ) 22.12 cos x x2.13 sin x x2.14 cos x xsimplify 1( ) 4 d simplify cos x 4จากตัวอย่างที่ 2.30 – 2.32 ค านวณได้ดังนี้คือ21 cos( x) sin( x)( )31sin( x)( ) 3d simplify cos( x) cos x 3( ) 5 d simplify cos x 52.15 cos( x) 4 sin x dx( ) 31simplify ( )415sin( x)12 x 3 cos( x) sin( x) 3 x8 8( )3 cos( x) 54 cos x 151( )2 7 cos x( )7sin( x)8 sin( x)15 1 112.30 dxsimplify4 x 2 2 x 2 4 x 2( 4 x)12.31 1 xdxsimplify 34 14 x 2 2 4 x 2 2 12.32 x 2 1 dxsimplify x 2 2 x 4 2 x2 2 ln x [( x 2) ( x 2)] 412


111จากตัวอย่างที่ 2.34 – 2.36 ค านวณได้ดังนี้คือ2.34 1dxsimplify 1 x 2 96 ln( x 3)16 ln( x 3)2.35 ( x 1)dxsimplify 1 1 ln( x) x 3 x 2 2 x26 ln( x 2)23 ln( 2.36 ( 3x 5)1 ( ln( 1 x) ln( 1 x) x 8 ln( 1 x) ln( 1 x) x)dxsimplify x 3 x 2 x 12( 1 x)จากตัวอย่างที่ 2.39 และ 2.41 ค านวณได้ดังนี้คือ12.39 dxsimplify atanh 1 ( 1 x) ( x 3) x 1 212 12.41 dxsimplify xx 2 x 51 5 atanh 1510จากตัวอย่างที่ 2.45 และ 2.47 ค านวณได้ดังนี้คือ ( 10 x)x 25 x 512 2.452.46211 cos( x)1 e xdxsimplify 1 12dxsimplify 2 ( 1 exp( x)) 1 22 atanh ( 1 exp( x)) 2.47 e x 2 e x dxsimplify e x 1จากตัวอย่างที่ 2.49 และ 2.52 ค านวณได้ดังนี้คือ exp( x) 3 ln( 1 exp( x))2.492.502.512.52 e x dxsimplify exp( 1)1 1dxsimplify x11e 3x1 dxsimplify exp( 3) 30 11dxsimplify ( 2x 1) 34

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!