04.01.2015 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

วิทยานิพนธ<br />

เรื่อง<br />

การสกัดสารสําคัญจากสมุนไพรฟาทะลายโจรดวยเอทิลแอลกอฮอล<br />

Extraction of Active Ingredients from Andrographis Paniculata<br />

Using Ethyl Alcohol<br />

โดย<br />

นายกิตติศักดิ์ พงศพิสิฐสันต<br />

เสนอ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี)<br />

พ.ศ. 2549<br />

ISBN 974-16-1905-7


กิตติกรรมประกาศ<br />

ขาพเจาขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารยผึ่งผาย พรรณวดี และรองศาสตราจารย<br />

สุรพจน วงศใหญ ที่ไดชวยเหลือในการวางแผนงานวิจัยในวิทยานิพนธฉบับนี้ ตลอดจนการใหคํา<br />

ปรึกษาแนะนําและตรวจแกไขขอบกพรองตาง ๆ ขอกราบขอบพระคุณ อาจารยมานพ เจริญไชย<br />

ตระกูล กรรมการที่ปรึกษาวิชาเอก อาจารย มณฑล ฐานุตตมวงศ กรรมการที่ปรึกษาวิชารอง และ<br />

รองศาสตราจารยวิทยา ปนสุวรรณ อาจารยผูแทนบัณฑิตวิทยาลัย ที่กรุณาใหคําปรึกษาแนะนําและ<br />

ชวยเหลือในการทําวิทยานิพนธใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี<br />

ขอขอบคุณ คุณพอ คุณแม และคุณยรรยง สุขคลาย รวมทั้งบุคลากรคณะการแพทยแผน<br />

ตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต ที่คอยใหความชวยเหลือ ชี้แนะและสนับสนุนการทําวิทยานิพนธจน<br />

สําเร็จลุลวงได<br />

กิตติศักดิ์ พงศพิสิฐสันต<br />

เมษายน 2549


(1)<br />

สารบัญ<br />

หนา<br />

สารบัญ…………………………………………………………………………………………...(1)<br />

สารบัญตาราง…………………………………………………………………………………….(2)<br />

สารบัญภาพ………………………………………………………………………………………(5)<br />

คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ……………………………………………………………………(6)<br />

คํานํา……………………………………………………………………………………………....1<br />

วัตถุประสงค……………………………………………………………………………..3<br />

ขอบเขตการวิจัย………………………………………………………………………….3<br />

การตรวจเอกสาร………………………………………………………………………………….4<br />

อุปกรณและวิธีการ...…………………………..…………………………....................................16<br />

อุปกรณและสารเคมี.........................................................................................................16<br />

วิธีการ..............................................................................................................................19<br />

ผลและการวิจารณ……………………………………………………………………………….23<br />

สรุปผลการทดลอง.……………………………………………………………………………...29<br />

ขอเสนอแนะ..................................................................................................................................30<br />

เอกสารและสิ่งอางอิง…………………………………………………………………………….35<br />

ภาคผนวก………………………………………………………………………………………..37<br />

ภาคผนวก ก ขอมูลการการสกัดสารสําคัญจากฟาทะลายโจรในระดับหองปฏิบัติการ...38<br />

ภาคผนวก ข ขอมูลการสกัดสารสําคัญจากฟาทะลายโจรในระดับกอนโรงงาน<br />

ตนแบบ.....................................................................................................52<br />

ภาคผนวก ค ดุลมวล ดุลพลังงาน และการคํานวณตนทุนวัตถุดิบเบื้องตน.....................61<br />

ภาคผนวก ง ขอมูลความเปนขั้ว(polarity)ของตัวทําละลายอินทรีย................................76<br />

ภาคผนวก จ ขอมูลคุณสมบัติทางกายภาพและโครงสรางของเอทิลแอลกอฮอล<br />

และน้ํา......................................................................................................78


(2)<br />

สารบัญตาราง<br />

ตารางที่ หนา<br />

1 องคประกอบทางเคมีที่ปรากฎในสมุนไพรฟาทะลายโจร………………………....8<br />

2 ปริมาณสารสําคัญประเภทไดเทอรปนอยดแลคโตนในใบของ<br />

ฟาทะลายโจรที่เก็บเกี่ยวในแตละเดือน…………………………………………...10<br />

3 แสดงผลของการเก็บเกี่ยวและสถานที่ที่ใชในการปลูกตอปริมาณสารสําคัญ<br />

ประเภทแลคโตนในฟาทะลายโจร…………………………… ………………….11<br />

4 เครื่องมือ และอุปกรณ ที่ใชในการวิเคราะหหาปริมาณแอนโดรกราโฟไลด...........18<br />

5 สารเคมีที่ใชในการหาปริมาณแอนโดรกราโฟไลดดวย HPLC……………….......18<br />

6 แสดงปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในวัตถุดิบ ในกาก และในสารละลายเมื่อสิ้นสุด<br />

การสกัด รอยละความแตกตางดุลมวลเมื่อสกัดดวยตัวทําละลายเอทิลแอลกอออล<br />

85% และ 95%.................................................................…………………….…...23<br />

7 แสดงปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในวัตถุดิบ ในกาก และในสารละลายเมื่อสิ้นสุด<br />

การสกัด รอยละความแตกตางดุลมวลเมื่อสกัดดวยตัวทําละลายเอทิลแอลกอออล<br />

85% เทากับ 1:10 และ 1:5……………………………...……………..…………..25<br />

8 แสดงปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในสารสกัด รอยละของแข็งในสารสกัด และ<br />

ปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง..................................................................28<br />

9 แสดงคาใชจายเบื้องตนของวัตถุดิบ และอัตราคาพลังงานไฟฟาในกระบวนการ<br />

ตางๆ.......................................................................................................................34<br />

ตารางผนวกที่<br />

ก1 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 95% เทากับ<br />

1:16 โดยน้ําหนักแหง…..........................................................................………….39<br />

ก2 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดทั้งหมดในสารสกัด วัตถุดิบ และกากที่<br />

อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 95% เทากับ 1:16...............………....40<br />

ก3 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง 1 กรัม และเปอรเซ็นตการ<br />

สกัดที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 95% เทากับ 1:16..........……..41<br />

ก4 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ<br />

1:16 โดยน้ําหนักแหง.......................………………………………………….…..42


(3)<br />

สารบัญตาราง (ตอ)<br />

ตารางผนวกที่ หนา<br />

ก5 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดทั้งหมดในสารสกัด วัตถุดิบ และ<br />

กากที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:16....................43<br />

ก6 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง 1 กรัม และเปอรเซ็นต<br />

การสกัดที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ1:16..............43<br />

ก7 ปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในวัตถุดิบคิดเทียบโดยน้ําหนักแหง.....……………..44<br />

ก8 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85%<br />

เทากับ 1:10 โดยน้ําหนักแหง..........………………………………………….…..45<br />

ก9 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดทั้งหมดในสารสกัด วัตถุดิบ และ<br />

กากที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:10.……….….46<br />

ก10 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง 1 กรัม และเปอรเซ็นต<br />

การสกัดที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:10…..…..46<br />

ก11 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85%<br />

เทากับ 1:5 โดยน้ําหนักแหง.....................…………..…………………………....47<br />

ก12 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดทั้งหมดในสารสกัด วัตถุดิบ<br />

และกากที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:5..….…...48<br />

ก13 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง 1 กรัม และเปอรเซ็นต<br />

การสกัดที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:5.......…..48<br />

ก14 ขอมูลผลการสกัดแบบสองขั้นตอนที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิล<br />

แอลกอฮอล 85% เทากับ 1:5 โดยน้ําหนักแหง..............………………………...49<br />

ก15 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดทั้งหมดในสารสกัด วัตถุดิบ และ<br />

กากของการสกัดแบบสองขั้นตอนที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล<br />

85% เทากับ 1:5 โดยน้ําหนักแหง........................................................................50<br />

ก16 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง 1 กรัม และเปอรเซ็นต<br />

การสกัดแบบสองขั้นตอนที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85%<br />

เทากับ 1:5 โดยน้ําหนักแหง................................................................................50


(4)<br />

สารบัญตาราง (ตอ)<br />

ตารางผนวกที่ หนา<br />

ข1 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85%<br />

เทากับ 1:10 โดยน้ําหนักแหง ที่ความเร็วของใบกวน 560 รอบตอนาที...................53<br />

ข2 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85%<br />

เทากับ 1:10 โดยน้ําหนักแหง ที่ความเร็วของใบกวน 1,120 รอบตอนาที.........…..54<br />

ข3 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85%<br />

เทากับ 1:5 โดยน้ําหนักแหง ที่ความเร็วของใบกวน 560 รอบตอนาที....…………55<br />

ข4 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85%<br />

เทากับ 1:5 โดยน้ําหนักแหง ที่ความเร็วของใบกวน 1,120 รอบตอนาที.........……56<br />

ข5 ขอมูลผลการสกัดเมื่อแชทิ้งไวเปนเวลา 24 ชั่วโมง ที่อัตราสวนฟาทะลายโจร<br />

ตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:5 โดยน้ําหนักแหง และความเร็วของใบกวน<br />

560 รอบตอนาที......................................................................................….......….57<br />

ข6 ขอมูลผลการสกัดเมื่อแชทิ้งไวเปนเวลา 24 ชั่วโมง ที่อัตราสวนฟาทะลายโจร<br />

ตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:10 โดยน้ําหนักแหง และความเร็วของ<br />

ใบกวน 560 รอบตอนาที....…………………….........................................……....58<br />

ข7 แสดงปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในสารสกัด ปริมาณแลคโตนรวมในสารสกัด<br />

และรอยละแอนโดรกราโฟไลดตอแลคโตนรวม……………...................………59<br />

ค1 ขอมูลราคาตนทุนวัตถุดิบ สารเคมี และอัตราคาพลังงานไฟฟา.......………...……75<br />

ง1 คาความเปนขั้ว(polarity) ของตัวทําละลายสารอินทรียชนิดตางๆ...............…..….77<br />

จ1 สมบัติทางกายภาพและโครงสรางของเอทิลแอลกอฮอล และน้ํา...........….……....79


(5)<br />

สารบัญภาพ<br />

ภาพที่ หนา<br />

1 ลักษณะลําตนและใบของฟาทะลายโจร……………………………………………5<br />

2 แสดงสูตรโครงสรางทางเคมีของสารสําคัญประเภทแลคโตนในฟาทะลายโจร…...7<br />

3 (ก) ถังกวนขนาด 50 ลิตร (ข)ใบกวนแบบพิชดเบลดเทอรไบน 45 องศา......……..17<br />

4 ถังกวนพรอมมอเตอรและชุดควบคุมความเร็วรอบ.......………………………….17<br />

5 อัตราสวนความเขมขนตอความเขมขนสมดุลของแอนโดรกราโฟไลดในสาร<br />

ละลายสกัดที่เวลาตางๆ เมื่ออัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ<br />

1:5 และ 1:10 ที่ความเร็วรอบของใบกวนเทากับ 560 และ 1,120 รอบตอนาที.......26<br />

6 การเปรียบเทียบอัตราสวนความเขมขนตอความเขมขนสมดุลที่เวลาตางๆ<br />

ในกรณีที่มีและไมมีการแชวัตถุดิบในเอทิลแอลกอฮอล 85% เปนเวลา 24 ชั่วโมง<br />

กอนเริ่มการกวนเมื่ออัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล เทากับ 1:5 และ 1:10<br />

และความเร็วรอบของใบกวนเทากับ 560 รอบตอนาที...............………………...27<br />

7 แผนผังกระบวนการสกัดฟาทะลายโจร.................................................................31


(6)<br />

Cp = คาความจุความรอน ( J / mol o C)<br />

คําอธิบายสัญลักษณและตัวยอ<br />

D = เสนผาศูนยกลางของใบกวน (เซนติเมตร)<br />

G = กรัม<br />

H = เอนทัลป ( J / mol)<br />

Mg = มิลลิกรัม<br />

ml = มิลลิลิตร<br />

P.I. = Polarity index (syder)<br />

Q = ปริมาณความรอน (J)<br />

T C = Critical temperature<br />

Tr = Reduced temperature<br />

W = ความกวางของแผนใบกวน (เซนติเมตร)


1<br />

การสกัดสารสําคัญจากสมุนไพรฟาทะลายโจรดวยเอทิลแอลกอฮอล<br />

Extraction of Active Ingredients from Andrographis Paniculata<br />

Using Ethyl Alcohol<br />

คํานํา<br />

ฟาทะลายโจรเปนสมุนไพรที่ใชกันอยางกวางขวางและรูจักกันมานาน มีชื่อวิทยาศาสตรวา<br />

Andrographis Paniculata มีชื่อพื้นเมืองอื่นๆวา ฟาทะลาย ยากันงู น้ําลายพังพอน มีสรรพคุณ คือ แก<br />

การติดเชื้อ ระงับการอักเสบ แกไขหวัด แกรอนใน แกเจ็บคอ ตานไวรัส และเปนยาเจริญอาหาร<br />

ปจจุบันสมุนไพรฟาทะลายโจรถูกบรรจุไวในบัญชีหลักแหงชาติ (คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชี<br />

หลักแหงชาติ, 2542) และเนื่องจากผลิตภัณฑฟาทะลายโจรเปนหนึ่งในสมุนไพรที่ใชในงาน<br />

สาธารณะสุขมูลฐาน โดยสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณะสุข มีการแกไข<br />

พระราชบัญญัติยาโดยอนุญาตขึ้นทะเบียนตํารับยาแผนโบราณมาตรา 79 และการแกไขรายการใน<br />

ทะเบียนตํารับยาตามมาตรา 81 เฉพาะสมุนไพรเดี่ยว ไดแก ขมิ้นชัน ฟาทะลายโจร มะระขี้นก ขิง<br />

และชุมเห็ดเทศ ทําใหในปจจุบันมีการผลิตฟาทะลายโจรทั้งในลักษณะอัดเม็ดและลักษณะผงบรรจุ<br />

แคปซูล โดยผูผลิตมีทั้งโรงพยาบาลที่ผลิตยาจากสมุนไพรขึ้นใชเองภายในโรงพยาบาล รวมทั้งเพื่อ<br />

การจําหนายดวย และกลุมแมบานเกษตรกรในจังหวัดตางๆ<br />

ผลิตภัณฑฟาทะลายสวนใหญอยูในรูปของผงบดแหง ซึ่งไดจากการนําสวนลําตนเหนือดิน<br />

ที่ทําใหแหงแลวนํามาบดใหเปนผง บรรจุในแคปซูล และรับประทานครั้งละประมาณ 4 แคปซูล<br />

แคปซูลละประมาณ 250 - 350 มิลลิกรัม) การรับประทานยาในปริมาณมาก เปนขอดอยในเชิงการ<br />

ตลาดนอกจากนี้ฟาทะลายโจรจากแหลงปลูกที่ตางกัน ระยะเวลาหรือฤดูการเก็บเกี่ยวที่ตางกันยอมมี<br />

ปริมาณสารสําคัญที่ตางกันดวย (Jain et al., 2000) การกําหนดขนาดรับประทานจึงทําไดยากการ<br />

สกัดสารสําคัญจาก ฟาทะลายโจร เพื่อใหมีตัวยาเขมขนขึ้น และมีปริมาณยาที่แนนอน จึงเปนทาง<br />

ออกของปญหานี้<br />

ตัวยาหรือสารสําคัญในฟาทะลายโจรซึ่งเปนสารออกฤทธิ์ในการรักษา มีอยูทั้งในใบ ลําตน<br />

และกาน เปนสารประเภทแลคโตน (lactone) มีรสขม ไดแก แอนโดรกราโฟไลด (andrographolide)


2<br />

ดีออกซีแอนโดรกราโฟไลด (deoxyandrographolide) และนีโอแอนโดรกราโฟไลด (neoandrogra<br />

pholide) เปนตน การทดลองในระดับหองปฏิบัติการแสดงวา สารสําคัญสามารถสกัดไดดวยตัวทํา<br />

ละลาย โดยใชฟาทะลายโจร (สวนลําตนเหนือดิน) บดแหงและตัวทําละลายเปนเอทิลแอลกอฮอล<br />

95 เปอรเซ็นต(พรพินธุ และคณะ, 2540; วันวิสาข และศิริรัตน, 2542) สารละลายที่ไดสามารถถูกทํา<br />

ใหมีความเขมขนมากขึ้นโดยการระเหยตัวทําละลายออก และอบสารละลายเขมขนจนไดเปนผลิต<br />

ภัณฑสารสกัดแหง<br />

การทดลองสกัดในถังกวนขนาด 1 ลิตร โดยใชเอทิลแอลกอฮอลที่มีความเขมขน 60, 70<br />

และ 80% และน้ําเปนตัวทําละลาย วัตถุดิบฟาทะลายโจรที่ใชมีขนาดอนุภาคเฉลี่ย 0.1-0.8<br />

มิลลิเมตร และทําการทดลองสกัดที่อุณหภูมิ 40, 50 และ 60 องศาเซลเซียส ผลการทดลองแสดงวา<br />

การสกัดดวยเอทิลแอลกอฮอล 80% ใหความเขมขนของแอนโดรกราโฟไลดสูงที่สุด และขนาด<br />

อนุภาคของวัตถุดิบในชวง 0.1-0.8 มิลลิเมตร ไมมีผลตอความเร็วในการสกัดหรือปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดที่ถูกสกัดได และเมื่อเพิ่มอุณหภูมิที่ใชในการสกัดพบวาความเขมขนของแอนโดรกรา<br />

โฟไลดที่ถูกสกัดไดเพิ่มขึ้น(Wongkittipong et al., 2004)<br />

การศึกษาการสกัดสารสําคัญจากสมุนไพรฟาทะลายโจรในระดับกอนโรงงานตนแบบที่ใช<br />

ถังกวนขนาด 50 ลิตร ซึ่งมีใบกวนแบบพิชดเบลดเทอรไบนเขาดานขางถัง โดยมีมุมใบเอียง 45<br />

องศา (PBT45) และมุมเพลาของใบกวนเทากับ 15 องศา ซึ่งทดสอบแลวใหการกระจายตัวของ<br />

อนุภาคของแข็งในของเหลวอยางสม่ําเสมอโดยวัดการกระจายตัวของเม็ดพลาสติกในถังกวน วัตถุ<br />

ดิบที่ใชเปนฟาทะลายโจรบดแหงมีขนาดอนุภาคเฉลี่ย เทากับ 0.093 มิลลิเมตร การทดลองสกัดที่<br />

อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 95% เทากับ 1:10 และ 1:7.5 และกวนเปนเวลา 8 ชั่ว<br />

โมง ดวยความเร็วรอบของใบกวนอยูในชวง 560 - 1,120 รอบตอนาที ผลการทดลองแสดงวา<br />

การสกัดถือไดวาสมดุลเมื่อใชเวลาปฏิบัติการ 5 ชั่วโมง(ยรรยง, 2547)<br />

โครงการวิจัยนี้เปนการทดลองสกัดในระดับหองปฏิบัติการและการทดลองผลิตในระดับ<br />

การผลิตที่สูงขึ้นคือระดับกอนโรงงานตนแบบโดยใชเอทิลแอลกอฮอล 85% ซึ่งเปนความเขมขน<br />

ของเอทิลแอลกอฮอลที่ถูกกําหนดใหใชในวิธีการหาปริมาณแลคโตนรวมในฟาทะลายโจรดิบ<br />

(Thai Herbal Pharmacopoeia, 1995) และเอทิลแอลกอฮอล 95% ซึ่งเปนความเขมขนที่มีขายในเชิง<br />

การคา


3<br />

วัตถุประสงค<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาการสกัดสารสําคัญจากสมุนไพรฟาทะลายโจรใน<br />

ระดับหองปฏิบัติการ และการสกัดโดยใชถังกวนขนาดกอนโรงงานตนแบบ เพื่อหาสภาวะการ<br />

ปฏิบัติการที่เหมาะสมในการสกัด ไดแก ความเขมขนของตัวทําละลายเอทิลแอลกอฮอล อัตรา<br />

สวนของวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล ความเร็วรอบของใบกวน เวลาปฏิบัติการที่เหมาะสมเมื่อ<br />

ระบบเขาสูสมดุล และรวบรวมขอมูลเชิงวิศวกรรมเพื่อประโยชนในการขยายขนาดสูระดับโรงงาน<br />

ตนแบบ<br />

ขอบเขตการวิจัย<br />

งานวิจัยการสกัดสารสําคัญจากสมุนไพรฟาทะลายโจรดวยเอทิลแอลกอฮอล 85 และ 95 %<br />

ไดแบงการทดลองออกเปนสองสวน สวนที่หนึ่งเปนการทดลองการสกัดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

โดยจะทําการทดลองสกัดฟาทะลายโจรแบบหนึ่งขั้นตอน(single stage)ที่อัตราสวนวัตถุดิบตอ<br />

เอทิลแอลกอฮอล เทากับ 1:16, 1:10 และ 1:5 ตามลําดับ และการสกัดแบบสองขั้นตอน(multi<br />

stage) ที่อัตราสวนเทากับ 1:5 กากที่ไดจากการสกัดที่อัตราสวน 1:5 จะถูกสกัดซ้ําอีกครั้งดวยวิธี<br />

การทดลองเดียวกันกับครั้งแรก โดยใชเอทิลแอลกอฮอลในปริมาณที่เทากับการสกัดครั้งแรก ทําให<br />

ปริมาตรรวมของแอลกอฮอลที่ใชสกัดสองขั้นตอนเทากับปริมาณแอลกอฮอลที่ใชที่อัตราสวนวัตถุ<br />

ดิบตอแอลกอฮอลเทากับ 1:10 สวนที่สองเปนการทดลองสกัดในระดับกอนโรงงานตนแบบในถัง<br />

กวนขนาด 50 ลิตร ซึ่งมีใบกวนแบบพิชดเบลดเทอรไบนเขาดานขางถัง และมุมเพลาของใบกวนเทา<br />

กับ 15 องศา ซึ่งทดสอบแลววาใหการกระจายตัวของฟาทะลายโจรในตัวทําละลายไดดี (ยรรยง,<br />

2547) โดยทําการทดลองสกัดที่อัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล เทากับ 1:10 และ 1:5 ดวย<br />

ความเร็วของใบกวนเทากับ 560 และ 1,120 รอบตอนาที


4<br />

การตรวจเอกสาร<br />

1. ขอมูลเกี่ยวกับฟาทะลายโจร<br />

ก. ชื่อพฤกษศาสตร และชื่อเรียกอื่นๆ<br />

ฟาทะลายโจร มีชื่อวิทยาศาสตรวา Andrographis paniculata (Burm. F.) Wall. ex Nees<br />

อยูในวงศ Acanthaceae พบทั่วไปในทวีปเอเซีย มีชื่อเรียกแตกตางกันตามทองถิ่น ไดแก ฟาทะลาย<br />

น้ําลายพังพอน (กรุงเทพฯ) หญากันงู (สงขลา) ฟาสาง (พนัสนิคม) เขตตายยายคลุม (โพธาราม)<br />

สามสิบดี (รอยเอ็ด) เมฆทะลาย (ยะลา) ฟาสะทาน (พัทลุง) Kalmegh (อินเดีย) Chaun Xin Lian<br />

(จีน) และ Hempudu Bumi (มาเลย) ทุกสวนของฟาทะลายโจร มีรสขมจัดจนเรียกพืชชนิดนี้วาจาว<br />

แหงความขม “ King of the Bitterness”<br />

ข. ลักษณะทางพฤกษศาสตร<br />

ฟาทะลายโจรพบทั่วไปในทวีปเอเซียโดยทุกสวนของฟาทะลายโจร มีรสขมจัดจนเรียก<br />

พืชชนิดนี้วาจาวแหงความขม ฟาทะลายโจรเปนไมลมลุกขึ้นไดทั่วไปในดินทุกชนิด พบอยูตามปา<br />

ดงดิบ ปาสน ปากอ ปาเต็งรัง เปนพืชตระกูลเดียวกับตอยติ่งและทองพันชั่ง สูงประมาณ 40-70<br />

เซนติเมตร ลําตนตรง สวนปลายกิ่งเปนสี่เหลี่ยมกิ่งใบสีเขียวแก แตกกิ่งออกดานขาง ใบจะออกตรง<br />

ขามกันเปนคูๆ กานใบสั้นมากหรือไมมีกานใบ แผนใบรูปยาวรี ปลายเรียวแหลม โคนแหลม ขอบ<br />

ใบเรียบเปนรอยหยักนอย ๆ (ภาพที่ 1)


5<br />

ภาพที่ 1 ลักษณะลําตนและใบของฟาทะลายโจร<br />

ค. การใชประโยชนทางยา<br />

ฟาทะลายโจรเปนพืชสมุนไพรที่ชาวอินเดียและจีนนํามาใชประโยชนทางยาแตโบราณ<br />

โดยอินเดียใชสมุนไพรนี้ในการผสมยาอยางนอย 26 สูตร และมักใชเปนยาขมเจริญอาหาร แกทอง<br />

รวง แกไข และขับพยาธิในทอง สวนชาวจีนก็ใชกันมานานมาก การแพทยจีนจัดฟาทะลายโจรไวใน<br />

ทําเนียบยาตําราหลวง โดยใชเปนยาเดี่ยว รักษาไดหลายโรค ปรากฏในเภสัชตํารับของประเทศจีน<br />

ในชื่อ ชวนซินเหลียน สวนที่ใชคือตนแหง (ไมมีราก) เก็บในชวงตนฤดูใบไมรวง นํามาลางให<br />

สะอาด หั่น ตากแหง ซึ่งในเภสัชตําหรับไดกําหนดไววาตองมีใบไมต่ํากวา 30% และไดมีการสกัด<br />

สมุนไพรฟาทะลายโจรมาใชเปนยาแผนปจจุบันหลายรูปแบบ เชน ยาเม็ด ยาฉีด เปนตน ตัวอยางยา<br />

เม็ดของจีน ไดแก Kang Yan Tablets, Chuanxinlian Tablets และ Chuanxinlian Antiphologistic Pill<br />

สําหรับยาฉีด มีชื่อวา Yamdepieng และ Chuanxinlian Ruangas Injection (พเยาว, 2529) สารสกัด<br />

จากฟาทะลายโจรที่ใชเปนยาแผนปจจุบันเหลานี้ ใชในการรักษาอาการทางคลีนิก เชน ไขหวัดใหญ<br />

การติดเชื้อของทางเดินหายใจสวนตน เจ็บคอ ทอลซิลอักเสบ ซึ่งมีผลตอการรักษาคอนขางดี สวน<br />

ประเทศในกลุมสแกนดิเนเวียก็มีรายงานถึงการใชสมุนไพรนี้ในการปองกันและรักษาโรคหวัด


6<br />

ประเทศไทยมีการใชประโยชนทางยาจากฟาทะลายโจรโดยใชทั้งตนหรือเฉพาะใบ การ<br />

เก็บเกี่ยวมาใชจะเก็บกอนที่ฟาทะลายโจรจะมีดอก วิธีการใชฟาทะลายโจรของไทยในทางยามี<br />

หลายรูปแบบ เชน ยาตม ยาดองเหลา ยาลูกกลอน ตํารายากลางบานนํามาใชเปนยาแกฝหนอง โดย<br />

ใชในรูปใบสดคอนขางแกประมาณ 1 กํามือ เอาเกลือ 3 เม็ด ใสผสมตํารวมกันพอละเอียดดี เอาสุรา<br />

ครึ่งถวยชา น้ําครึ่งชอนชา ใสรวมลงไป คนใหเขากัน เทน้ํากินคอนถวยชา กากที่เหลือพอกแผลฝ<br />

แลวเอาผาสะอาดพันไว พอกใหมๆจะรูสึกปวดหนอยๆ ในปจจุบันมีการผลิตเปนยาแคปซูลโดยใส<br />

ผงของใบฟาทะลายโจรบดแหงขนาด 250 มิลลิกรัม ยาเม็ดฟาทะลายโจรขนาด 250 มิลลิกรัมโดย<br />

โรงงานเภสัชกรรมทหาร กรมการอุตสาหกรรมทหาร กระทรวงกลาโหม สรรพคุณในตํารับยาไทย<br />

มีหลายประการ เชน ใชทั้งตนขับเสมหะภายหลังผาตัดทอนซิลอักเสบ สวนของใบใชแกไข แกบิด<br />

แกทองเสีย ทองเดินเนื่องจากเชื้อ Staphylococcus เปนยาบํารุง แกเจ็บคอ แกฝ แกแผลบวมอักเสบ<br />

แกงูสวัดและเริม เปนตน รายงานทางคลินิกพบวาสารออกฤทธิ์ของฟาทะลายโจรมีประสิทธิภาพใน<br />

การตอตานการอักเสบ ฆาเชื้อแบคทีเรีย (antibacterial) กระตุนภูมิคุมกันโดยการเพิ่มประสิทธิภาพ<br />

ของเม็ดเลือดขาวในการกลืนทําลายสิ่งแปลกปลอม (phayocytosis) ปองกันการแข็งตัวของเลือด<br />

ยับยั้งเชื้อไวรัส ยับยั้งและทําลายเซลมะเร็ง ทําใหการยอยอาหารดีขึ้น ลดไข นอกจากนี้ยังมีผลตอ<br />

การบีบตัวของกลามเนื้อ<br />

ง. สวนประกอบทางเคมี<br />

ในวงการแพทยจีนและอินเดีย ไดทําการศึกษาสวนประกอบทางเคมีของสารออกฤทธิ์ที่<br />

สําคัญมาเปนเวลานานและอยางตอเนื่อง พบวาทุกสวนของฟาทะลายโจรมีสารออกฤทธิ์ โดยใน<br />

สวนใบของฟาทะลายโจรมีสารออกฤทธิ์ในปริมาณมากที่สุด คือ สารประกอบในกลุมแลคโตน<br />

(lactone) สารออกฤทธิ์ที่สําคัญ ไดแก แอนโดรกราโฟไลด (andrographolide) ดีออกซีแอนโดร<br />

กราโฟไลด (deoxyandrographolide) นีโอแอนโดรกราโฟไลด (neoandrographolide) 14-ดีออกซี-<br />

11, 12-ไดดีไฮโดรแอนโดรกราโฟไลด (14-deoxy-11, 12-didehydroandrographolide) และพานิโค<br />

ไลด (panicolide) (ภาพที่ 2) นอกจากนี้ยังมีองคประกอบทางเคมีอื่น ๆ อีกดังแสดงในตารางที่ 1


7<br />

(1) Andrographolide (2) 14-Deoxy-11,12-didehydroandrographolide<br />

(3) Neoandrographolide (4) Deoxyandrographolide-19β-Glucoside<br />

ภาพที่ 2 แสดงสูตรโครงสรางทางเคมีของสารสําคัญประเภทแลคโตนในฟาทะลายโจร


8<br />

ตารางที่ 1 องคประกอบทางเคมีที่ปรากฏในสมุนไพรฟาทะลายโจร<br />

ชนิดขององค<br />

ประกอบ<br />

แลคโตน<br />

เฟลโวน<br />

องคประกอบ<br />

แอนโดรกราโฟไลด<br />

นีโอแอนโดรกราโฟไลด<br />

Deoxyandrographolide-19β-D-<br />

Glucoside<br />

14-Deoxy-11, 12-didehydroandrographolide<br />

14-Deoxyandrographolide<br />

Andrographiside<br />

Andrographoside<br />

14-Deoxyandrographoside<br />

14-Deoxy-12-methoxyandrographolide<br />

Andrograpanin<br />

Homoandrographolide<br />

Panicolide<br />

14-Deoxy-11-oxoandrographolide<br />

Paniculide A<br />

Paniculide B<br />

Paniculide C<br />

3, 14-dideoxyandrographolide<br />

Andrographin<br />

Panicolin<br />

Mono-O-methywightin<br />

Apigenin-4, 7-di-o-dimethyl ether<br />

5-Hydroxy-2 , 3 , 7 , 8 – tetramethoxy<br />

flavone<br />

สวนของพืช<br />

ใบ, ราก,whole plant, ลํา<br />

ตน<br />

ใบ, whole plant<br />

ใบ<br />

Whole plant<br />

ใบ, Whole plant<br />

ลําตน<br />

ลําตน<br />

ลําตน<br />

ใบ<br />

ใบ<br />

ใบ<br />

ใบ<br />

Whole plant<br />

ใบ, tissue culture<br />

ใบ, tissue culture<br />

ใบ, tissue culture<br />

ลําตน<br />

ราก<br />

ราก<br />

ราก<br />

ราก


9<br />

ตารางที่ 1 (ตอ)<br />

ชนิดของ<br />

องคประกอบ<br />

สารอื่น ๆ<br />

องคประกอบ<br />

5-Hydroxy-7,8-dimethoxy flavone<br />

(dl)-5-Hydroxy-7,8-dimethoxy flavone<br />

Andrographan<br />

Andrographon<br />

Andrographosterin<br />

2-cis-6-trans farnesol<br />

2-trans-6-trans farnesol<br />

Caffeic acid (3, 4-dihydroxycinnamic acid)<br />

Chlorogenic acid<br />

3, 5-Dicaffeoyl-d-quinic acid<br />

KH 2 PO 4<br />

KCl<br />

NaCl<br />

สวนของพืช<br />

ราก<br />

ใบ<br />

ใบ<br />

ใบ<br />

ทุกสวน<br />

ทุกสวน<br />

ทุกสวน<br />

ใบ<br />

ใบ<br />

ใบ<br />

ทุกสวน<br />

ทุกสวน<br />

ทุกสวน<br />

ที่มา: ยรรยง (2547)<br />

จ. ขอมูลทั่วไปของสารแอนโดรกราโฟไลด<br />

แอนโดรกราโฟไลดเปนสารประกอบประเภทแลคโตน ผลึกเปนรูปเหลี่ยมยาว ไมมีสี<br />

สามารถละลายไดดีในเมทิลแอลกอฮอล เอทิลแอลกอฮอล อะซิโตน และละลายไดเล็กนอยในน้ํา<br />

และคลอโรฟอรม แตไมละลายในอีเทอร มีสูตรเคมีคือ C 20 H 30 O 5 มีน้ําหนักโมเลกุล 350.4 มีจุด<br />

หลอมเหลว 228-230 องศาเซลเซียส แอนโดรกราโฟไลดเปนสารที่พบมากที่สุดโดยพบในฟา<br />

ทะลายโจรที่ปลูกในประเทศไทยถึง 1.7 เปอรเซ็นต นอกจากนี้ปริมาณสารสําคัญในใบฟาทะลาย<br />

โจรขึ้นอยูกับระยะเวลาในการเก็บเกี่ยวและสถานที่ที่ใชปลูก จากการศึกษาปริมาณของสาร<br />

ประกอบไดเทอรปนอยดแลคโตนในใบของสมุนไพรฟาทะลายโจรที่เก็บเกี่ยวในแตละเดือน พบวา<br />

มีดีไฮโดรแอนโดรกราโฟไลดสูงสุดในเดือนเมษายน ต่ําสุดในเดือนธันวาคม แอนโดรกรา โฟไลด


10<br />

มีปริมาณสูงสุดในเดือนพฤศจิกายน ต่ําสุดเดือนกุมภาพันธ นีโอแอนโดรกราโฟไลดมีปริมาณสูงสุด<br />

ในเดือนธันวาคมต่ําสุดในเดือนเมษายนและพฤษภาคม สวน deoxyandrographolide - 19β-<br />

Glucoside มีปริมาณสูงสุดในเดือนมีนาคม ต่ําสุดจนไมสามารถตรวจวัดไดในเดือนตุลาคมและ<br />

พฤศจิกายน (ตารางที่ 2) (ยรรยง, 2547)<br />

ตารางที่ 2 ปริมาณสารสําคัญประเภทไดเทอรปนอยดแลคโตนในใบของฟาทะลายโจรที่เก็บ<br />

เกี่ยวในแตละเดือน<br />

เดือนที่ เปอรเซ็นตของสารสําคัญประเภทไดเทอรปนอยดแลคโตน<br />

เก็บเกี่ยว C-2 C-3 C-4 C-5<br />

มกราคม<br />

กุมภาพันธ<br />

มีนาคม<br />

เมษายน<br />

พฤษภาคม<br />

มิถุนายน<br />

กรกฎาคม<br />

สิงหาคม<br />

กันยายน<br />

ตุลาคม<br />

พฤศจิกายน<br />

ธันวาคม<br />

3.97<br />

4.18<br />

5.14<br />

7.30<br />

4.43<br />

5.52<br />

5.66<br />

3.58<br />

1.45<br />

0.69<br />

0.84<br />

0.61<br />

1.17<br />

0.82<br />

1.01<br />

1.99<br />

3.01<br />

3.13<br />

3.43<br />

4.27<br />

4.86<br />

5.58<br />

6.02<br />

4.43<br />

1.95<br />

1.51<br />

1.64<br />

0.67<br />

0.66<br />

0.93<br />

0.94<br />

1.27<br />

1.34<br />

1.41<br />

0.95<br />

2.02<br />

2.03<br />

3.22<br />

3.81<br />

1.19<br />

0.71<br />

1.06<br />

0.88<br />

0.81<br />

0.54<br />

0.00<br />

0.00<br />

1.11<br />

ที่มา: ยรรยง (2547)<br />

C-2 = 14-Deoxy-11, 12-didehydroandrograholide<br />

C-3 = Andrographolide<br />

C-4 = Neoandrographolide<br />

C-5 = Deoxyandrographolide-19β-Glucoside


11<br />

นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาผลของการเก็บเกี่ยวและสถานที่ที่ใชในการปลูกตอปริมาณสาร<br />

สําคัญประเภทแลคโตนในฟาทะลายโจรพบวา ปริมาณสารสําคัญประเภทแลคโตนในตนฟาทะลาย<br />

โจรที่ปลูกในจังหวัดประจวบคีรีขันธ มีมากกวาตนฟาทะลายโจรที่ปลูกในจังหวัดนครปฐม ปริมาณ<br />

สารสําคัญประเภทแลคโตนมีสูงสุดในสวนของใบ โดยจะมีสูงสุดในระยะออกดอก ต่ําสุดในระยะ<br />

ติดฝกแก สวนของลําตนมีปริมาณสารสําคัญประเภทแลคโตนต่ําที่สุดโดยจะมีสูงสุดในระยะติดฝก<br />

แก (ตารางที่ 3) (นาถฤดี, 2532)<br />

ตารางที่ 3 แสดงผลของการเก็บเกี่ยวและสถานที่ที่ใชในการปลูกตอปริมาณสารสําคัญประเภท<br />

แลคโตนในฟาทะลายโจร<br />

แปลง<br />

ทดลอง<br />

นครปฐม<br />

ประจวบคีรีขันธ<br />

การเก็บเกี่ยว<br />

กอนออกดอก<br />

ออกดอก<br />

ติดฝกออน<br />

ติดฝกแก<br />

กอนออกดอก<br />

ออกดอก<br />

ติดฝกออน<br />

ติดฝกแก<br />

ปริมาณสารสําคัญประเภทแลคโตน (%)<br />

ทั้งตน ใบ ลําตน<br />

6.09<br />

7.31<br />

5.29<br />

4.80<br />

7.05<br />

9.79<br />

6.72<br />

5.54<br />

6.80<br />

9.81<br />

6.79<br />

6.44<br />

9.54<br />

12.52<br />

7.25<br />

6.63<br />

2.28<br />

2.06<br />

9.93<br />

4.67<br />

3.02<br />

5.81<br />

6.25<br />

6.89<br />

ที่มา:นาถฤดี (2532)<br />

จากการศึกษาคุณภาพทางเคมีของฟาทะลายโจรจํานวน 15 ตัวอยาง ซึ่งเก็บจากแหลงปลูก<br />

ตางๆ ในชวงเวลาที่แตกตางกัน โดยศึกษาเปรียบเทียบกับตัวอยางฟาทะลายโจรของจีน ตามขอ<br />

กําหนดคุณภาพมาตรฐานของฟาทะลายโจรในประเทศจีน ปริมาณสารแลคโตนซึ่งเปนสารออก<br />

ฤทธิ์ไมควรนอยกวา 6 % พบวาในจํานวน 15 ตัวอยาง มี 2 ตัวอยางที่มีปริมาณสารประเภทแลคโตน<br />

ต่ํากวา 6% (เรณู, 2531)


12<br />

การศึกษาผลกระทบของตัวแปรในการทดลองที่มีตอกระบวนการสกัดฟาทะลายโจรใน<br />

ระดับหองปฎิบัติการ ไดแก อุณหภูมิ ความเขมขนของตัวทําละลาย และขนาดอนุภาคฟาทะลาย<br />

โจร ตัวทําละลายที่ใชในการทดลองนี้คือ เอทิลแอลกอฮอล 60%, 70%, 80% และน้ํากลั่นที่<br />

อุณหภูมิ 40, 50 และ 60 องศาเซลเซียส โดยมีขนาดเฉลี่ยของอนุภาคฟาทะลายโจรอยูในชวง<br />

ระหวาง 0.1-0.8 มิลลิเมตร ผลการทดลองแสดงวา เปอรเซ็นตการสกัดสูงที่สุดเมื่อสกัดดวย<br />

เอทิลแอลกอฮอล 80 % ที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ความแตกตางของขนาดอนุภาคฟาทะลายโจร<br />

ในชวงระหวาง 0.1-0.8 มิลลิเมตร ถือไดวาไมมีผลตอการสกัด (Wongkittipong et al, 2004)<br />

การศึกษาการสกัดสารสําคัญจากสมุนไพรฟาทะลายโจรในระดับกอนโรงงานตนแบบที่ใช<br />

ถังกวนขนาด 50 ลิตร ซึ่งมีใบกวนแบบพิชดเบลดเทอรไบนเขาดานขางถัง โดยมีมุมใบเอียง 45<br />

องศา (PBT45) และมุมเพลาของใบกวนเทากับ 15 องศา ซึ่งทดสอบแลวใหการกระจายตัวของ<br />

อนุภาคของแข็งในของเหลวอยางสม่ําเสมอโดยวัดการกระจายตัวของเม็ดพลาสติกในถังกวน วัตถุ<br />

ดิบที่ใชเปนฟาทะลายโจรบดแหงมีขนาดอนุภาคเฉลี่ย เทากับ 0.093 มิลลิเมตร การทดลองสกัดที่<br />

อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 95% เทากับ 1:10 และ 1:7.5 และกวนเปนเวลา 8 ชั่ว<br />

โมง ดวยความเร็วรอบของใบกวนอยูในชวง 560 - 1,120 รอบตอนาที ผลการทดลองแสดงวา<br />

การสกัดถือไดวาสมดุลเมื่อใชเวลาปฏิบัติการ 5 ชั่วโมง (ยรรยง, 2547)<br />

นอกจากนี้จากการศึกษากระบวนการสกัดฟาทะลายโจรในระดับหองปฏิบัติการ พบวา<br />

การอบแหงสารสกัดฟาทะลายโจรควรอบแหงที่อุณหภูมิไมสูงกวา 55 องศาเซลเซียส เพื่อไมใหตัว<br />

ยาเสื่อมคุณภาพ (วันวิสาข และคณะ, 2542)<br />

โครงการวิจัยนี้เปนการทดลองสกัดในระดับหองปฏิบัติการและการทดลองผลิตในระดับ<br />

การผลิตที่สูงขึ้นคือระดับกอนโรงงานตนแบบโดยใชเอทิลแอลกอฮอล 85 % ซึ่งเปนความเขมขน<br />

ของเอทิลแอลกอฮอลที่ถูกกําหนดใหใชในวิธีการหาปริมาณแลคโตนรวมในฟาทะลายโจรดิบ<br />

(Ethanol-soluble extractive) ซึ่งระบุใน Thai Herbal Pharmacopoeia, 1995 และเอทิลแอลกอฮอล<br />

95% ซึ่งเปนความเขมขนที่มีขายในเชิงการคา


13<br />

2. การสกัด<br />

ก. การสกัดของแข็งดวยของเหลว (Solid-Liquid Extraction)<br />

การสกัดในระบบของแข็ง-ของเหลว หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวาการลางออก (Leaching)<br />

เปนการแยกเอาสารที่ตองการออกจากวัตถุที่เปนของแข็งโดยใชของเหลวเปนตัวพา โดยอาศัยหลัก<br />

การถายเทมวลจากของแข็งไปยังตัวทําละลายของเหลว และความสามารถในการละลาย<br />

กระบวนการนี้ใชกันอยางแพรหลายทางเคมีวิศวกรรม โดยเฉพาะการสกัดสารจากธรรมชาติ เชน<br />

การสกัดสารจากเม็ดกาแฟ การสกัดน้ํามันจากเมล็ดพืช เปนตน โดยใชตัวทําละลายที่เหมาะสมไมวา<br />

จะเปนน้ํา หรือตัวทําละลายอินทรีย การสกัดในระบบของแข็ง-ของเหลว เมื่อนํามาใชในการสกัด<br />

สมุนไพร จึงเปนกระบวนการที่สกัดเอาตัวยาที่มีฤทธิ์ในการรักษาออกจากสมุนไพร โดยใชตัวทํา<br />

ละลายที่เหมาะสม<br />

โดยทั่วไปการสกัดในระบบของแข็งของ-ของเหลว จะประกอบดวยกระบวนการสําคัญ 3<br />

กระบวนการ ไดแก<br />

1. การเปลี่ยนสถานะของตัวถูกละลาย ขณะที่ละลายในตัวทําละลาย<br />

2. การแพรของตัวถูกละลายในตัวทําละลาย (ภายในอนุภาคของแข็ง)<br />

3. การถายเทมวลของตัวถูกละลายภายในอนุภาคของแข็ง ไปสูสารละลายทั้งหมด<br />

ข. กลไกของการสกัด<br />

ขั้นที่ 1 การแพรของตัวทําละลายเขาสูของแข็ง และการละลายของตัวถูกละลายในตัว<br />

ทําละลาย (ภายในอนุภาคของแข็ง) ขั้นนี้ตัวทําละลายจะแพรเขามาภายในของแข็งเพื่อจับตัวถูก<br />

ละลาย การเพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสระหวางของแข็งและตัวทําละลายของเหลว โดยการบดใหมีขนาดเล็ก<br />

ลงเพื่อลดระยะทางที่ตัวถูกละลายตองผานใหสั้นลง ชวยเพิ่มความเร็วในการสกัดได<br />

อิ่มตัว)<br />

ขั้นที่ 2 สารละลายที่ไดจากขั้นที่ 1 แพรออกมาที่ผิวของของแข็ง (ถือวาเปนสารละลาย


14<br />

ขั้นที่ 3 การถายเทมวลของตัวถูกละลายจากผิวของของแข็ง ไปสูสารละลายทั้งหมด<br />

การกวนขณะทําการสกัดจะชวยใหการถายเทมวลสารเกิดเร็วขึ้น<br />

ค. วิธีการสกัด<br />

โดยทั่วไปการสกัดอาจแบงไดเปน 2 แบบ คือ แบบหนึ่งขั้นตอน (single stage) และการ<br />

สกัดแบบสองขั้นตอน (multiple stages) โดยที่ stages คือ หนวยของเครื่องสกัดตั้งแต 2 ตัวขึ้นไป ที่<br />

ใชในการสกัดชวงเวลาหนึ่ง โรงงานขนาดใหญที่ใชการผลิตแบบตอเนื่องจะมีหลักการสําหรับการ<br />

สกัดดังนี้<br />

1) การสกัดแบบหนึ่งขั้นตอน (Single stage extraction)<br />

ก. การสัมผัสกันระหวางของแข็งและของเหลว ทําใหไดกากและสารสกัด<br />

ข. ถาเวลาที่ใชในการสกัดเพียงพอจะเกิดสมดุลขึ้น<br />

ค. ไมสามารถสกัดสารที่ตองการไดอยางสมบูรณ<br />

ง. ปริมาณสารที่ถูกสกัดเพิ่มขึ้นไดโดยการเพิ่มอัตราการไหลของตัวทําละลาย (เปน<br />

การลดความเขมขนของสารละลายดวย) แตเมื่อเอาตัวทําละลายออกจากตัวถูก<br />

ละลาย ทําใหไดปริมาณสารที่ตองการมากขึ้น<br />

2) การสกัดแบบสองขั้นตอน(Multiple stages extraction)<br />

การสกัดแบบสองขั้นตอน คือการนํากากที่ไดจากการสกัดในขั้นตอนแรกมาสกัดซ้ํา<br />

อีกครั้งดวยวิธีทดลองเดียวกันกับครั้งแรก โดยใชเอทิลแอลกอฮอลในปริมาณที่เทากับการสกัดใน<br />

ครั้งแรก<br />

ง. การเลือกตัวทําละลาย<br />

การสกัดเอาตัวยาออกจากสมุนไพร เพื่อใหไดสารเคมีที่มีฤทธิ์ทางการรักษาเพียงสาร<br />

เดียวจะชวยใหตัวยานั้นมีความคงตัวมากขึ้น และสามารถจํากัดความแรงของตัวยาที่ได ใหมีขนาดที่<br />

ถูกตองในการรักษามากขึ้น ยารักษาโรคในปจจุบันมักไดจากการนําสารที่ไดจากสมุนไพรมาทํา


15<br />

การสกัดจนไดสารที่มีฤทธิ์ทางการรักษาที่บริสุทธิ์มากขึ้น หรืออาจไดจากการสังเคราะหขึ้นมา<br />

หรืออาจไดจากทั้งการสังเคราะหและการสกัดพรอมกัน การสกัดตัวยาออกจากสมุนไพรนั้นควรจะ<br />

ตองพยายามสกัดใหไดเฉพาะสารที่ตองการและกําจัดสารที่ไมมีฤทธิ์ทางการรักษาออกใหไดมากที่<br />

สุด ดังนั้นจึงจําเปนตองเลือกใชตัวทําละลายที่เหมาะสมในการสกัดสมุนไพรแตละชนิด การเลือก<br />

ตัวทําละลายตองคํานึงถึงปจจัยที่สําคัญตางๆ ตอไปนี้ (กนกวรรณ และคณะ, 2543)<br />

1. ความสามารถในการละลายสารที่ตองการสกัด<br />

2. อัตราเร็วของการแทรกซึมสูตัวถูกละลาย<br />

3. สามารถแยกออกจากสารที่ถูกสกัดไดโดยงายและนํากลับมาใชใหมได<br />

4. ความสะดวกในการแปรรูปสารละลายที่สกัดไดใหเปนไปตามที่ตองการ<br />

5. มีความคงตัว<br />

6. มีความปลอดภัย ตองไมเปนพิษ ไมติดไฟและไมระเบิดงาย<br />

7. ไมทําปฏิกิริยากับเครื่องมือที่ใช<br />

8. ราคาถูก<br />

นอกจากนี้ขอมูลที่เกี่ยวกับการทดสอบตัวทําละลายที่เหมาะสมในการสกัดสารสําคัญ<br />

จําพวกแลคโตนซึ่งไดระบุไวใน Thai Herbal Pharmacopia, V1, 1995 แสดงวาแอนโดรกราโฟไลด<br />

สามารถละลายไดในอะซิโตน อีเทอร คลอโรฟอรม และเมทิลแอลกอฮอล แตละลายไดนอยในน้ํา<br />

และเนื่องจากเมทิลแอลกอฮอลและเอทิลแอลกอฮอลมีความเปนขั้วใกลเคียงกัน (ตารางภาคผนวกที่<br />

ง1) แตเมทิลแอลกอฮอลเปนสารมีพิษ ในขณะที่เอทิลแอลกอฮอลไมเปนพิษ จึงใชเอทิลแอลกอฮอล<br />

แทนเมทิลแอลกอฮอล (นาฎยา และคณะ, 2541)


16<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

อุปกรณและสารเคมี<br />

1. ถังกวนขนาด 50 ลิตร ทําจากเหล็กไรสนิม ที่มีใบกวนแบบพิชดเบลดเทอรไบน 45 องศา<br />

ติดตั้งเขาดานขางของถังหางผนังเขามา 5 เซนติเมตร สูงจากกนถัง 17.5 เซนติเมตร และมุมเพลาของ<br />

ใบกวนเทากับ 15 องศา ขนาดเสนผาศูนยกลางใบกวน (D) เทากับ 9.5 เซนติเมตร ความกวางของ<br />

แผนใบกวน (W) เทากับ 1.9 เซนติเมตร (ภาพที่ 3 )<br />

2. มอเตอรกันระเบิด จากบริษัท ทรานสมิสชั่นเทค จํากัด(Flameproof Ac motor<br />

EEXDIIBT5 Size ½ HP, 4 pole, 220 V/ 380 V / 3 PH / 50 Hz , B5 flang mounted as brand ISGEV<br />

, Italy) (ภาพที่ 4)<br />

3. ชุดควบคุมความเร็วรอบของมอเตอรที่สามารถควบคุมคาความถี่กระแสไฟฟา 0-50 Hz<br />

จากบริษัท ทรานสมิสชั่นเทค จํากัด ( Inverter size 1 HP , as T-vertor ) (ภาพที่ 4)<br />

4. เครื่อง Ultrasonic bath (Crest Ultrasonics (Malaysia) SDN.BHD.)<br />

5. ตูอบแหง (WTC binder)<br />

6. เครื่อง water bath<br />

7. แอลกอฮอลมิเตอร<br />

8. เอทิลแอลกอฮอล (ความบริสุทธิ์ 95% จากองคการสุรา กรมสรรพสามิตร)<br />

9. ผงฟาทะลายโจรบดแหงจากสวนของกิ่งกาน และใบ<br />

10. สารแอนโดรกราโฟไลดมาตรฐาน (ความบริสุทธิ์ 98% จาก บริษัท Aldrich)


17<br />

h4<br />

h3<br />

h2<br />

r1<br />

r2<br />

0.54 m<br />

w<br />

D<br />

45°<br />

h1<br />

0.345 m<br />

(ก)<br />

(ข)<br />

ภาพที่ 3 (ก) ถังกวนขนาด 50 ลิตร (ข) ใบกวนแบบพิชดเบลดเทอรไบน 45 องศา<br />

ที่มา : ยรรยง (2547)<br />

ภาพที่ 4 ถังกวนพรอมมอเตอรและชุดควบคุมความเร็วรอบ<br />

ที่มา: ยรรยง (2547)


18<br />

เครื่องมือวิเคราะห<br />

ตารางที่ 4 เครื่องมือ และอุปกรณ ที่ใชในการการวิเคราะหหาปริมาณแอนโดรแกรโฟไลด<br />

เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการวิจัย บริษัท, เมือง, ประเทศ<br />

1. High Performance Liquid Chromatographic System,<br />

Spectra System Isocratic Pump, P-1000 uv/vis<br />

Detectors<br />

Thermo Separation Co., Ltd.,<br />

CA, USA<br />

2. Column Inertsil ODS-3 (5 µm, 4.6 mm ID.x15 cm) GL Sciences Inc., Japan<br />

3. Electronic Analytical Balance "Mettler" AE-240 Metter-Toledo AG,<br />

Greifense,Switzerland<br />

4. Automatic Micropipette Calibra microsyringe MS-R Brand GmbH& C., Wertheim,<br />

100<br />

Germany<br />

5. Cellulose acetate membrane filter 0.45 µ Sartorius, AG, Goettinger,<br />

Germany<br />

ตารางที่ 5 สารเคมีที่ใชในการหาปริมาณแอนโดรแกรโฟไลด ดวย HPLC<br />

สารเคมีที่ใช GRADE บริษัท,เมือง,ประเทศ<br />

1. Standard Andrographolide Analytica Grade (AR) Sigma, St. Louis, Mo USA<br />

2. Methanol Analytical(AR) Merck, Darmstadt, Germany<br />

3. Lead dioxide Analytical(AR) Merck<br />

4. Lead diacetate Analytical(AR) Carlo EK BA<br />

5. Absolute ethanol Analytical(AR) Merck<br />

6. Sodium sulphate Analytical(AR) Merck<br />

7. Decolorizing charcoal Analytical(AR) Merck<br />

8. Sodium hydroxide Analytical(AR) Merck


19<br />

วิธีการ<br />

1. วิธีการหาปริมาณแอนโดรกราโฟไลด ดวย HPLC (พรรณทิพา และณัฐพล, 2544)<br />

1. การวิเคราะหหาปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในฟาทะลายโจร โดยใช reversed-phase<br />

HPLC Chromatography<br />

1.1 การเตรียมสารละลายมาตรฐาน<br />

ชั่งสารมาตรฐานแอนโดรกราโฟไลดใหมีความเขมขน 20 มิลลิกรัม / 100<br />

มิลลิลิตร โดยใช เมทิลแอลกอฮอล / น้ํา (50:50 ,v/v) เปนตัวทําละลาย<br />

1.2 การทํา calibration graph<br />

ปเปตสารละลายมาตรฐานแอนโดรกราโฟไลดในขอ 1.1 ปริมาตร 1, 2, 3, 4, 5<br />

และ 6 มิลลิลิตร เทใสลงในขวดรูปชมพูขนาด 10 มิลลิลิตร แยกกันละลายและปรับปริมาตรดวย<br />

เมทิลแอลกอฮอล / น้ํา (50:50 ,v/v) แลวฉีดปริมาตร 20 µl<br />

1.3 การเตรียมตัวอยางฟาทะลายโจร<br />

ชั่งตัวอยางฟาทะลายโจรที่เปนวัตถุดิบ 100 มิลลิกรัม, สารสกัด 1 กรัม และ กาก 1<br />

กรัม แยกกันใสลงในขวดรูปชมพูปริมาตร 50 มิลลิลิตร แลวเติมเมทิลแอลกอฮอล/น้ํา ปริมาตร 40<br />

มิลลิลิตร (50:50 ,v/v) และนําไปทําใหละลาย(sonicate)ในเครื่อง ultrasonic bath เปนเวลา 30 นาที<br />

จากนั้นปรับปริมาตรใหครบดวยเมทิลแอลกอฮอล / น้ํา (50:50 ,v/v) ผสมใหเขากัน กรองผาน<br />

กระดาษกรองขนาด 0.45 µm กอนฉีดปริมาตร 20 µl ทําการวิเคราะหแบบ triplicate<br />

1.4 Chromatographic conditions :<br />

Column : Inertsil ODS-3 (5 µm, 4.6 mm I.D. × 15 cm)<br />

Mobile phase : methanol / water (60:40, v/v )<br />

Flow – rate : 1 ml / min<br />

Detector : 254 nm<br />

Injection volume : 20 µl


20<br />

1.5 ปริมาณของแอนโดรกราโฟไลดและแลคโตนรวมคํานวณจากพื้นที่ของพีคใน<br />

โครมาโทแกรม<br />

2. วิธีการหาปริมาณแลคโตนรวม(Ethanol-soluble Extractive) (Thai Herbal Phamacopoeia , V.1,<br />

1995)<br />

1. นําภาชนะสําหรับใสสารสกัดมาอบไลความชื้นที่อุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส อยางนอย<br />

3 ชั่วโมง หลังจากนั้นทิ้งไวใหเย็นใน Desiccators<br />

2. นําภาชนะที่เย็นแลวมาชั่งหาน้ําหนักภาชนะเปลา บันทึกคา<br />

3. เทตัวอยางสารละลายสกัดลงในภาชนะ แลวนําไปชั่งน้ําหนักอยางรวดเร็ว บันทึกคาน้ํา<br />

หนักสารสกัด<br />

4. นําสารสกัดไประเหยแหงที่อุณหภูมิประมาณ 50 องศาเซลเซียสดวย water bath จนแหง<br />

เปนเวลา 20 นาที แลวนําเขาตูอบที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส จนมีน้ําหนักคงที่ แลวจึงบันทึกคา<br />

น้ําหนัก<br />

5. คํานวณรอยละของแข็งจากขอมูลน้ําหนักที่ไดบันทึกไว<br />

3. วิธีการทดลองสกัดสารแอนโดรกราโฟไลดดวยเอทิลแอลกอฮอล<br />

การสกัดสารสําคัญจากวัตถุดิบฟาทะลายโจรแหงที่มีขนาดอนุภาคเฉลี่ยเทากับ 0.09<br />

มิลลิเมตร ไดแบงเปนการทดลองออกเปน 2 สวน คือ การทดลองสกัดในระดับหองปฏิบัติการ และ<br />

การทดลองสกัดในระดับกอนโรงงานตนแบบ<br />

3.1 การทดลองในระหองปฏิบัติการ<br />

3.1.1 การทดลองเปรียบเทียบรอยละผลได (% yield) ของการสกัดดวยเอทิล<br />

แอลกอฮอล 85 % และ 95% ที่อัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล เทากับ 1:16<br />

นําวัตถุดิบ 5 กรัม (โดยน้ําหนักแหง) และเอทิลแอลกอฮอลปริมาตร 100<br />

มิลลิลิตร คิดเปนอัตราสวนเทากับ 1:16 โดยน้ําหนัก ใสในขวดรูปชมพู กวนเปนเวลา 6 ชั่วโมง<br />

ดวยเครื่องกวนแมเหล็กไฟฟา ตั้งทิ้งไวเปนเวลา 18 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิหอง จากนั้นนําตัวอยางสาร


21<br />

สกัดที่ไดจากการกรองไปวิเคราะหหาความเขมขนของแอนโดรกราโฟไลดในสารละลายดวยเครื่อง<br />

HPLC ตามวิธีที่ไดผานการตรวจสอบความเที่ยงตรงแลว (พรรณทิพา และณัฐพล, 2544) ปริมาณ<br />

สารสกัด วัตถุดิบ และเวลาที่ใชในแตละขั้นตอนของการทดลองไดปฏิบัติตามวิธีการหาปริมาณ<br />

แลคโตนรวม (Ethanol-soluble Extractive) ที่ระบุใน Thai Herbal Phamacopoeia , V.1, 1995<br />

รอยละผลได หรือรอยละการสกัด ซึ่งเปนคาที่สําคัญในกระบวนการผลิต จะถูก<br />

รายงาน คารอยละผลไดในงานวิจัยนี้คือ ปริมาณแอนโดรกราโฟไลดที่สกัดออกมาได หารดวย<br />

ปริมาณแอน โดรกราโฟไลดในวัตถุดิบ คูณดวยรอย ความนาเชื่อถือของขอมูลถูกตรวจสอบโดย<br />

ดุลมวลของแอนโดรกราโฟไลด โดยการเปรียบเทียบปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในวัตถุดิบวาใกล<br />

เคียงกับผลรวมของปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในสารสกัดและในกากเพียงใด<br />

3.1.2 การทดลองเปรียบเทียบรอยละผลไดของการสกัดที่ใชอัตราสวนวัตถุดิบตอ<br />

เอทิลแอลกอฮอล 85 % เปน 1:5 และ 1:10<br />

ขั้นตอนการดําเนินการทดลองจะปฏิบัติเชนเดียวกับการทดลอง 1.1 แตตางกันที่<br />

ปริมาณของวัตถุดิบและตัวทําละลายที่ใช ในกรณีนี้ใชวัตถุดิบ 8.44 กรัมโดยน้ําหนักแหง ตอ<br />

เอทิลแอลกอฮอล 84.35 กรัม ที่อัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล 85 % เทากับ 1:10 และเตรียม<br />

ฟาทะลายโจรบดแหง 16.87 กรัมโดยน้ําหนักแหงตอเอทิลแอลกอฮอล 84.35 กรัม ที่อัตราสวนวัตถุ<br />

ดิบตอเอทิลแอลกอฮอล 85 % เทากับ 1:5<br />

กากที่ไดจากการสกัดที่อัตราสวน 1:5 ถูกสกัดซ้ําอีกครั้งดวยวิธีทดลองเดียวกัน<br />

กับครั้งแรก โดยใชเอทิลแอลกอฮอล 85 % ในปริมาณที่เทากับการสกัดครั้งแรก ทําใหปริมาตรรวม<br />

ของแอลกอฮอลที่ใชสกัดสองขั้นตอนเทากับปริมาณแอลกอฮอลที่ใชที่อัตราสวนวัตถุดิบตอ<br />

แอลกอฮอลเทากับ 1:10<br />

3.2 การสกัดในระดับกอนโรงงานตนแบบ<br />

การทดลองสกัดทําในถังกวนขนาด 50 ลิตร ที่มีใบกวนแบบพิชดเบลดเทอรไบน 45<br />

องศา โดยติดตั้งเขาดานขางของถัง (ภาพที่ 3 และ 4) หางผนังเขามา 5 เซนติเมตร สูงจากกนถัง 17.5<br />

เซนติเมตร และมุมเพลาของใบกวนเทากับ 15 องศา ขนาดเสนผาศูนยกลางใบกวน (D) เทากับ 9.5


22<br />

เซนติเมตร ความกวางของแผนใบกวน (W) เทากับ 1.9 เซนติเมตร ใชมอเตอรกันระเบิดขนาด 0.5<br />

แรงมา ถังกวนนี้ไดผานการตรวจสอบการกระจายตัวของอนุภาคโดยการวัดปริมาณเม็ดพลาสติก<br />

ตอหนวยปริมาตรของสารแขวนลอย (suspension) ที่ตําแหนงตางๆ ในถังกวน ซึ่งทดสอบแลววา<br />

ใหการกระจายตัวของฟาทะลายโจรในตัวทําละลายไดดี (ยรรยง , 2547)<br />

3.2.1 การทดลองการสกัดดวยอัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล 85 % เปน 1:5<br />

และ 1:10 ที่อัตราเร็วของใบกวนเทากับ 1,120 และ 560 รอบตอนาที เพื่อหาระยะเวลาปฏิบัติการที่<br />

เหมาะสมเมื่อระบบเขาสูสมดุล<br />

การทดลองสกัดใชวัตถุดิบ 3.7 กิโลกรัมโดยน้ําหนักแหง ตอ 37 กิโลกรัม ของ<br />

เอทิลแอลกอฮอล 85 % ที่อัตราสวน1:10 และใชวัตถุดิบ 7 กิโลกรัม โดยน้ําหนักแหง ตอ 35<br />

กิโลกรัม ของเอทิลแอลกอฮอล 85 % ที่อัตราสวนเทากับ 1:5 ทําการสกัดที่ความเร็วรอบของใบ<br />

กวนเทากับ 560 และ 1,120 รอบตอนาที โดยการสกัดในแตละงวดใชเวลาไมต่ํากวา 8 ชั่วโมง มี<br />

การเก็บตัวอยางโดยเปดวาลวดานขางถังที่เวลา 0, 0.33, 0.67, 1, 1.5, 2, 2.5, 3, 3.5, 4, 4.5, 5, 6 และ 8<br />

ชั่วโมง แลวกรองแยกสารสกัดออกจากกากฟาทะลายโจรในทันที นําสารสกัดมาวิเคราะหหา<br />

ปริมาณสารสําคัญแอนโดรกราโฟไลดดวยเครื่อง HPLC นอกจากนี้ผูทําการทดลองยังไดทําการแช<br />

ทิ้งไวและกวนเปนครั้งคราว (คราวละหลายชั่วโมง) เปนเวลาอีก 4 วัน หลังจากการกวนครบ 8<br />

ชั่วโมง เพื่อดูแนวโนมความเขมขนของสารแอนโดรกราโฟไลดที่สกัดได<br />

นอกจากนี้ยังไดทําการทดลองแชวัตถุดิบในเอทิลแอลกอฮอล 85% เปนเวลา 24<br />

ชั่วโมงกอนเริ่มขั้นตอนการกวน เพื่อเปรียบเทียบระยะเวลาหรือพลังงานที่ใชสําหรับการกวน เมื่อ<br />

แชจนครบ 24 ชั่วโมง ทําการกวนเปนเวลา 10 วินาที เพื่อใหความเขมขนของสารละลายสม่ําเสมอ<br />

แลวจึงเก็บตัวอยางสารสกัด จากนั้นจึงเริ่มกวนเปนเวลา 8 ชั่วโมง ดวยอัตราความเร็วของใบกวน<br />

เทากับ 560 รอบตอนาที ที่อัตราสวนของวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:5 และ 1:10<br />

การเก็บตัวอยางสารสกัดปฏิบัติตามวิธีที่ไดกลาวมาแลวขางตน


23<br />

ผลและการวิจารณ<br />

1. ผลการทดลองในระดับหองปฏิบัติการ<br />

1.1 ผลการทดลองเปรียบเทียบรอยละผลได (% yield) ของการสกัดดวยเอทิลแอลกอฮอล<br />

85% และ 95% ที่อัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล เทากับ 1:16<br />

ผลการทดลองเปรียบเทียบรอยละผลไดของการสกัดดวยเอทิลแอลกอฮอล 85 % และ<br />

95 %รายงานในตารางที่ 6 คาที่แสดงในตารางเปนคาเฉลี่ยจากการทดลองซ้ํา 3 ครั้ง พบวารอยละ<br />

ผลไดของการสกัดมีคาประมาณเทากับ 98 % เมื่อใชเอทิลแอลกอฮอล 85 % และเทากับ 83 % เมื่อ<br />

ใชเอทิลแอลกอฮอล 95 % เปนตัวทําละลาย โดยมีคารอยละความแตกตางดุลมวลเทากับ – 3.0 %<br />

และ 6.5 % ตามลําดับ ซึ่งอยูในเกณฑที่นาพอใจ การทดลองในลําดับถัดไปจึงใช<br />

เอทิลแอลกอฮอล 85 % ซึ่งใหรอยละผลไดสูงกวากรณีที่ใชเอทิลแอลกอฮอล 95 % อยางชัดเจน<br />

ตารางที่ 6 แสดงปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในวัตถุดิบในกากและในสารละลายเมื่อสิ้นสุดการ<br />

สกัดและรอยละความแตกตางดุลมวล เมื่อสกัดดวยตัวทําละลายเอทิลแอลกอฮอล 85 %<br />

และ 95 %<br />

ความเขมขนของ<br />

เอทิลแอลกอฮอล<br />

ปริมาณ แอนโดรกราโฟไลด<br />

(มิลลิกรัม/กรัมแหงวัตถุดิบ)<br />

(%) วัตถุดิบ สารสกัด กาก<br />

รอยละ<br />

ผลได<br />

(%)<br />

รอยละ ความ<br />

แตก ตางดุลมวล<br />

(%)<br />

85 15.98 15.61 0.84 97.7 -3.0<br />

95 16.07 13.29 1.64 83.2 6.5


24<br />

การสกัดในระบบของแข็ง-ของเหลว จะประกอบดวยกระบวนการสําคัญ 3 กระบวนการ<br />

ไดแก ขั้นที่หนึ่งคือการแพรของตัวทําละลายเขาสูภายในผนังเซลลฟาทะลายโจรทําใหผนังเซลล<br />

เปยกและบวมเพื่อจับตัวถูกละลาย ขั้นที่สองคือเกิดการละลายของตัวถูกละลายในตัวทําละลาย<br />

เอทิลแอลกอฮอล และขั้นสุดทายคือสารละลายที่ละลายตัวถูกละลายจะแพรออกมาภายนอกผิวผนัง<br />

เซลล(P.H. List, 1989) ดังนั้นการที่เอทิลแอลกอฮอล 85% ใหเปอรเซ็นตการสกัดสูงกวาการสกัด<br />

ดวยเอทิลแอลกอฮอล 95% เนื่องมาจากเอทิลแอลกอฮอล 85% ประกอบดวยน้ํา 15% ซึ่งมีปริมาณ<br />

น้ํามากกวาเอทิลแอลกอฮอล 95% ซึ่งมีปริมาณน้ําเพียง 5% หนาที่ของน้ําคือชวยเพิ่มความสามารถ<br />

ในการซึมผาน(permeability)ผนังเซลลฟาทะลายโจรทําใหเอทิลแอลกอฮอลแพรเขาไปยังภายใน<br />

ผนังเซลลไดดีขึ้น<br />

1.2 ผลการทดลองเปรียบเทียบรอยละผลไดของการสกัดที่ใชอัตราสวนวัตถุดิบตอ<br />

เอทิลแอลกอฮอล 85 % เปน 1:5 และ 1:10<br />

ตารางที่ 7 แสดงรอยละผลไดของการสกัดที่ใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิล<br />

แอลกอฮอล 85% เทากับ 1:10 และ 1:5 รอยละผลไดของการสกัดสองขั้นตอนที่อัตราสวน 1:5 ถูก<br />

รายงานดวย คาที่แสดงในตารางเปนคาเฉลี่ยจากการทดลองซ้ํา 3 ครั้ง รอยละผลไดมีคาเทากับ<br />

ประมาณ 95 % สําหรับการสกัดหนึ่งขั้นตอนที่อัตราสวน 1:10 ซึ่งใกลเคียงกับกรณีการสกัดสอง<br />

ขั้นตอนที่อัตราสวน 1:5 ที่ไดรอยละผลไดเทากับประมาณ 96 % ในขณะที่การสกัดเพียงขั้นตอน<br />

เดียวที่อัตราสวน 1:5 ใหคารอยละผลไดเทากับประมาณ 77 % รอยละความแตกตางดุลมวลอยูใน<br />

เกณฑดี ดังนั้นถือไดวาการสกัดแบบหนึ่งขั้นตอนที่อัตราสวน 1:10 จะสิ้นเปลืองคาใชจายนอย<br />

กวาการสกัดแบบสองขั้นตอนที่อัตราสวน 1:5 ทั้งในสวนเวลาที่ใชในการสกัดและพลังงานไฟฟาที่<br />

ใหแกมอเตอรในการกวน


25<br />

ตารางที่ 7 แสดงปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในวัตถุดิบในกากและในสารละลายเมื่อสิ้นสุดการ<br />

สกัดและรอยละความแตกตางดุลมวลของการสกัดที่อัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอล<br />

กอฮอล 85 % เทากับ 1:10 และ 1:5<br />

อัตราสวน<br />

วัตถุดิบตอ<br />

ปริมาณ แอนโดรกราโฟไลด<br />

(มิลลิกรัม/กรัมแหงของวัตถุดิบ)<br />

แอลกอฮอล วัตถุดิบ สารสกัด กาก<br />

รอยละ<br />

ผลได<br />

(%)<br />

รอยละความ<br />

แตกตางดุลมวล<br />

(%)<br />

1:10 14.68 13.94 1.27 94.9 -3.6<br />

1:5<br />

(1 ขั้นตอน)<br />

1:5<br />

(2 ขั้นตอน)<br />

2. ผลการทดลองในระดับกอนโรงงานตนแบบ<br />

14.68 12.02 2.79 76.8 5.5<br />

14.68 14.08 0.57 95.9 0.19<br />

2.1 ผลการทดลองการสกัดดวยอัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล 85 % เปน 1:5 และ<br />

1:10 ที่อัตราเร็วของใบกวนเทากับ 1,120 และ 560 รอบตอนาที เพื่อหาระยะเวลาปฏิบัติการที่เหมาะ<br />

สมเมื่อระบบเขาสูสมดุล<br />

ภาพที่ 5 แสดงผลการทดลองที่ใชเอทิลแอลกอฮอล 85 % ที่อัตราสวนของฟาทะลาย<br />

โจรตอเอทิลแอลกอฮอล เทากับ 1 :10 และ 1:5 ที่ความเร็วของใบกวนเทากับ 560 และ 1,120 รอบตอ<br />

นาที ในที่นี้ความเขมขนที่เวลาตางๆ(C) ถูกหารดวยความเขมขนสมดุล (C eq ) ซึ่งเปนคาเฉลี่ยของ<br />

ความเขมขนที่ชั่วโมงที่ 6, 7 และ 8 ทําใหสามารถเปรียบเทียบความกาวหนาของการสกัดในแตละ<br />

การทดลองที่ใหความเขมขนในสารละลายที่ไมเทากันไดงายขึ้น เห็นไดวาโคงทุกโคงใกลเคียงกัน<br />

มากและ การสกัดถือไดวาสมดุลที่เวลาประมาณ 6 ชั่วโมง ซึ่งใกลเคียงกับผลลัพธของ ยรรยง, 2547<br />

การสกัดเขาสูสมดุลที่เวลาประมาณ 5 ชั่วโมง นอกจากนี้การทดลองหลังจากการกวนครบ 8<br />

ชั่วโมงโดยการแชและกวนเปนครั้งคราว เปนเวลาหลายชั่วโมง อีก 4 วัน พบวาไมชวยเพิ่มความ<br />

เขมขนของสารละลาย


26<br />

1<br />

0.8<br />

0.6<br />

C/C eq<br />

0.4<br />

0.2<br />

1:5 (560 รอบตอนาที)<br />

1:5 (1,120 รอบตอนาที)<br />

1:10 (560 รอบตอนาที)<br />

1:10 (1,120 รอบตอนาที)<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9<br />

เวลา(ชั่วโมง)<br />

ภาพที่5 อัตราสวนความเขมขนตอความเขมขนสมดุลของแอนโดรกราโฟไลดในสารละลายสกัด<br />

ที่เวลาตางๆ เมื่ออัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล 85 % เทากับ 1:5 และ 1:10 ที่<br />

ความเร็วรอบของใบกวนเทากับ 560 และ1,120 รอบตอนาที<br />

นอกจากนี้ ผูวิจัยยังไดทดลองแชวัตถุดิบใน 85 % เอทิลแอลกอฮอลเปนเวลา 24 ชั่วโมง<br />

กอนเริ่มการกวน และเปรียบเทียบกับกรณีที่ไมมีการแช ดังแสดงในภาพที่ 6 จุดตัวอยางจุดแรก<br />

(เวลาเทากับศูนย) ของโคงที่มีการแชไดจากการดึงตัวอยางหลังจากการกวนเปนเวลา 10 วินาที เพื่อ<br />

ใหความเขมขนของสารละลายสม่ําเสมอ จะเห็นไดวาเมื่อมีการแช อัตราสวนความเขมขนเริ่มตน<br />

เทากับประมาณ 0.7 และ 0.75 ในกรณีที่อัตราสวนวัตถุดิบตอ 85 % เอทิลแอลกอฮอลเทากับ 1:10<br />

และ 1:5 ตามลําดับ อยางไรก็ดี โคงของกรณีที่มีการแชและไมมีการแชเคลื่อนเขาหากันอยางรวด<br />

เร็วในเวลาประมาณครึ่งชั่วโมง การแชจึงไมมีผลตอการประหยัดเวลาหรือพลังงานที่ใชสําหรับ<br />

การกวน


27<br />

1.2<br />

1<br />

0.8<br />

C/C eq<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

1:5<br />

1:10<br />

1:5 แช 24 ชั่วโมง<br />

1:10 แช 24 ชั่วโมง<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9<br />

เวลา(ชั่วโมง)<br />

ภาพที่ 6 การเปรียบเทียบอัตราสวนความเขมขนตอความเขมขนสมดุลที่เวลาตางๆ ในกรณีที่มี<br />

และไมมีการแชวัตถุดิบในเอทิลแอลกอฮอล 85% เปนเวลา 24 ชั่วโมงกอนเริ่มการกวน<br />

เมื่ออัตราสวนวัตถุดิบเทากับ 1:5 และ 1:10 และความเร็วรอบของใบกวนเทากับ 560<br />

รอบตอนาที<br />

ขอมูลที่นาสนใจคือ รอยละของแอนโดรกราโฟไลดในของแข็งทั้งหมดที่ละลายในสาร<br />

สกัด (คํานวณไดจากรอยละของแข็งในสารละลายและความเขมขนแอนโดรกราโฟไลดในสาร<br />

ละลาย) พบวาจากตัวอยาง 19 ตัวอยาง รอยละแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง มีคาอยูในชวง<br />

11.7-19.5 % (117 – 195 มิลลิกรัมแอนโดรกราโฟไลดตอกรัมของแข็ง) โดยมีคาเฉลี่ยอยูที่ 13.6<br />

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 2.2 รายละเอียดแสดงอยูในตารางที่ 8 คามิลลิกรัมแอนโดรกราโฟ<br />

ไลดตอกรัมของแข็งที่แสดงในสดมภสุดทายคํานวณจากคาที่วัดไดจากตัวอยางสารสกัด ไดแก<br />

ความเขมขนแอนโดรกราโฟไลดในสารสกัด (สดมภที่ 2) และรอยละของแข็ง (สดมภที่ 3) ในสาร<br />

สกัด ในขณะที่คุณภาพของผลิตภัณฑสารสกัดแหง มักจะกําหนดเปนรอยละของแอนโดรกราโฟ<br />

ไลด และในขั้นตอนการอบแหงจะผสมแลคโตส เพื่อใหสารสกัดแหงไดงายขึ้น ปริมาณแลคโตส<br />

ที่ใชผสมแตละงวดการผลิต จึงตองสอดคลองกับรอยละของแอนโดรกราโฟไลดในผลิตภัณฑสุด<br />

ทาย ในแตละงวดการผลิตจําเปนตองทราบรอยละของแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง จึงจะ<br />

คํานวณปริมาณแลคโตสที่ตองใชไดอยางถูกตอง


28<br />

นอกจากนี้ยังพบวา จากขอมูล 44 ขอมูล รอยละแอนโดรกราโฟไลดตอแลคโตนรวมมีคา<br />

อยูในชวง 28-75 % คาเฉลี่ยอยูที่ 50.2 โดยมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 10.3 (ตารางผนวกที่ ข7)<br />

ตารางที่ 8 แสดงปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในสารสกัด รอยละของแข็งในสารสกัด และปริมาณ<br />

แอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง<br />

จํานวน<br />

ตัวอยาง<br />

การทดลอง<br />

ปริมาณแอนโดรกรา<br />

โฟไลดในสารสกัด<br />

(มิลลิกรัม/กรัมสารสกัด)<br />

รอยละของแข็ง<br />

ในสารสกัด<br />

(%)<br />

ปริมาณแอนโดรกรา<br />

โฟไลดในของแข็ง<br />

(มิลลิกรัม/กรัมของแข็ง)<br />

1 3.23 2.19 162<br />

2 4.84 2.69 180<br />

3 2.60 2.22 117<br />

4 2.66 2.23 119<br />

5 3.51 2.23 157<br />

6 2.81 2.25 125<br />

7 2.82 2.25 125<br />

8 2.74 2.25 122<br />

9 2.70 2.30 118<br />

10 3.16 2.38 133<br />

11 3.15 2.25 140<br />

12 3.18 2.34 136<br />

13 3.07 2.38 129<br />

14 2.87 2.25 128<br />

15 2.95 2.34 126<br />

16 3.04 1.56 195<br />

17 1.57 1.27 124<br />

18 1.59 1.22 131<br />

19 1.57 1.26 124


29<br />

สรุปผลการทดลอง<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาการสกัดสารสําคัญจากสมุนไพรฟาทะลายโจรใน<br />

ระดับหองปฏิบัติการ และการสกัดโดยใชถังกวนขนาดกอนโรงงานตนแบบ เพื่อหาสภาวะการ<br />

ปฏิบัติการที่เหมาะสมในการสกัด ไดแก ความเขมขนของตัวทําละลายเอทิลแอลกอฮอล อัตรา<br />

สวนของวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล ความเร็วรอบของใบกวน เวลาปฏิบัติการที่เหมาะสมเมื่อ<br />

ระบบเขาสูสมดุล จากการศึกษาสามารถสรุปผลไดดังนี้<br />

1. การทดลองในหองปฏิบัติการแสดงวาการสกัดโดยใชเอทิลแอลกอฮอล 85 % ใหรอยละ<br />

ผลไดสูงกวาการสกัดดวยเอทิลแอลกอฮอล 95 % อยางเห็นไดชัด โดยพบวารอยละผลไดของการ<br />

สกัดมีคาประมาณเทากับ 98 % เมื่อใชเอทิลแอลกอฮอล 85 % และเทากับ 83 % เมื่อใช<br />

เอทิลแอลกอฮอล 95 % เปนตัวทําละลาย ที่อัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล เทากับ 1:16<br />

2. การทดลองในหองปฏิบัติการแสดงวาการสกัดที่อัตราสวนวัตถุดิบฟาทะลายโจรตอ<br />

เอทิลแอลกอฮอล 85 % เปน 1:5 และ 1:10 พบวารอยละของแอนโดรกราโฟไลดที่ถูกสกัดได<br />

เทากับ 77 % และ 95 % ตามลําดับ<br />

3 . นอกจากนี้ยังพบวาการสกัดแบบสองขั้นตอนที่อัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล<br />

85 % เทากับ 1:5 ใหผลรวมของคารอยละผลไดเทากับ 96 % ซึ่งใกลเคียงกับกรณีการสกัดแบบหนึ่ง<br />

ขั้นตอนที่อัตราสวน 1:10 ที่ไดคารอยละผลไดเทากับ 95 %<br />

4. ผลการทดลองการสกัดในระดับกอนโรงงานตนแบบในถังกวนขนาด 50 ลิตร ที่อัตรา<br />

สวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล 85 % เปน 1:5 และ 1:10 โดยวัตถุดิบฟาทะลายโจรแหงที่มีขนาด<br />

อนุภาคเฉลี่ยเทากับ 0.09 มิลลิเมตร แสดงใหเห็นวาอัตราเร็วของการสกัดที่อัตราสวนวัตถุดิบตอ<br />

แอลกอฮอล เปน 1:5 และ 1:10 ไมขึ้นกับความเร็วรอบของการกวนในชวงระหวาง 560 และ 1,120<br />

รอบตอนาที การสกัดถือไดวาสมดุลเมื่อใชเวลาปฏิบัติการ 6 ชั่วโมง


30<br />

ขอเสนอแนะ<br />

ขอเสนอแนะเบื้องตนสําหรับการขยายขนาดในระดับโรงงานตนแบบ<br />

จากขอมูลที่ไดในระดับหองปฏิบัติการ และในระดับกอนโรงงานตนแบบ พบวาการสกัด<br />

ที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:10 ใหเปอรเซ็นตการสกัดที่เหมาะสม<br />

ดังนั้นเพื่อใหไดขอมูลที่เปนประโยชนประกอบการพิจารณาการขยายขนาด จึงไดประมาณคาใช<br />

จายเบื้องตนดานวัตถุดิบ และคาพลังงานในกระบวนการผลิตซึ่งแสดงโดยแผนผังกระบวนการสกัด<br />

ฟาทะลายโจรในภาพที่ 7<br />

1. การประมาณคาใชจายดานวัตถุดิบ<br />

กระบวนการสกัดฟาทะลายโจรที่กําลังการผลิต 500 ลิตรตอการผลิต 1 งวด ที่อัตราสวน<br />

วัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:10 ใชวัตถุดิบ 37 กิโลกรัมโดยน้ําหนักแหง และ<br />

เอทิลแอลกอฮอล 370 กิโลกรัม จากคาใชจายของฟาทะลายโจรบดแหง(ภาคผนวก ค.1) เทากับ<br />

2,035 บาท เนื่องจากในสวนของกระบวนการอบแหงสารสกัดฟาทะลายโจร (ศิวะรักษ, 2549) จะ<br />

ตองเติมแลคโตสลงไปเพื่อทําใหผลิตภัณฑแหงที่อัตราสวนปริมาณแลคโตสตอปริมาณของแข็ง เทา<br />

กับ 2 :1 จากการทําดุลมวลพบวาจะไดปริมาณของแข็ง เทากับ 4.1 กิโลกรัม ดังนั้นจะตองเติม<br />

ปริมาณแลคโตส เทากับ 8.2 กิโลกรัม ไดผลิตภัณฑ 11.9 กิโลกรัมโดยน้ําหนักแหง (ความชื้น 3.2%)<br />

ดังนั้นจากขอมูลราคาตนทุนแลคโตสที่แสดงในตารางผนวกที่ ค.1 คิดเปนเงินคาใชจายทั้งหมด<br />

เทากับ 738 บาท<br />

2. การประมาณคาใชจายดานพลังงาน<br />

2.1 การประมาณคาพลังงานไฟฟาที่ใหแกมอเตอรของใบกวน<br />

จากขอมูลการทดลองสกัดฟาทะลายโจรในถังกวนขนาด 50 ลิตร ที่อัตราสวนวัตถุ<br />

ดิบตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:10 และความเร็วรอบของใบกวนเทากับ 560 รอบตอนาที<br />

การสกัดเขาสูสมดุลภายในเวลา 6 ชั่วโมง วัดกระแสไฟฟาในขณะที่มอเตอรทํางานไดเทากับ 0.39


31<br />

ฟาทะลายโจรบดแหง<br />

37 กิโลกรัมโดยน้ําหนักแหง<br />

เอทิลแอลกอฮอล 85%<br />

370 กิโลกรัม<br />

การสกัด<br />

ของผสม 407 กิโลกรัม<br />

กาก<br />

79 กิโลกรัม<br />

แลคโตส<br />

8.2 กิโลกรัม<br />

การกรอง<br />

การตมระเหย<br />

45 o C<br />

การอบแหง<br />

55 o C<br />

สารละลายสกัด 328 กิโลกรัม<br />

1.25% solid<br />

เอทิลแอลกอฮอล 203.6 กิโลกรัม<br />

น้ํา 36 กิโลกรัม<br />

สารสกัดเขมขน 88.4 กิโลกรัม<br />

ของแข็ง 4.1 กิโลกรัม<br />

4.64% solid<br />

เอทิลแอลกอฮอล 71.7 กิโลกรัม<br />

น้ํา 12.2 กิโลกรัม<br />

ผลิตภัณฑ 11.9 กิโลกรัม โดยน้ําหนักแหง<br />

ความชื้น 3.2%<br />

ภาพที่ 7 แผนผังกระบวนการสกัดฟาทะลายโจร


32<br />

แอมแปร คิดเปนกําลังไฟฟา เทากับ 85.8 วัตต ถาขยายขนาดกําลังการผลิตเปน 10 เทา จะตองใช<br />

กําลังงานไฟฟา เทากับ 858 วัตต ดังนั้นที่อัตราคาพลังงานไฟฟา 1.666 บาท/ยูนิต(กําหนดโดยการ<br />

ไฟฟานครหลวง ตั้งแต พ.ศ. 2543 จนถึงปจจุบัน) คิดเปนเงินคาใชจาย เทากับ 9 บาท (รายละเอียด<br />

ในการคํานวณแสดงในภาคผนวก ค.)<br />

2.2 การประมาณคาใชจายดานพลังงานไฟฟาที่ใหแกเครื่องตมระเหย<br />

สารสกัดที่ผานการกรองแยกกากแลวจะถูกทําใหเขมขนขึ้นโดยกระบวนการตม<br />

ระเหยที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส (ศิวะรักษ, 2549) คํานวณหาพลังงานไฟฟาที่ใชในการตม<br />

ระเหยเอทิลแอลกอฮอลดวยวิธีการดุลมวลและพลังงาน ซึ่งไดแสดงรายละเอียดในการคํานวณใน<br />

ภาคผนวก ค. พลังงานความรอนทั้งหมดที่ใชในการระเหยแอลกอฮอลเมื่อคิดเปอรเซ็นตการสูญ<br />

เสียความรอน 50% เทากับ 200,886 kJ ถาอัตราคาพลังงานไฟฟา เทากับ 1.666 บาท/ยูนิต คิดเปน<br />

เงินคาใชจาย เทากับ 93 บาท<br />

2.3 การประมาณคาใชจายดานพลังงานไฟฟาที่ใหแกเครื่องควบแนน<br />

ถาทําการควบแนนเอทิลแอลกอฮอลที่ไดจากเครื่องตมระเหยและเครื่องอบแหง<br />

กลับมาใชใหมอีกครั้ง จากการทําดุลมวลและพลังพบวาจะตองใชพลังงานในการควบแนน<br />

เอทิลแอลกอฮอล เทากับ 183,155 กิโลจูล ดังนั้นที่อัตราคาพลังงานไฟฟา 1.666 บาท/ยูนิต คิดเปน<br />

เงิน เทากับ 85 บาท เนื่องจากสามารถควบแนนเอทิลแอลกอฮอลกลับคืนมาได 324 กิโลกรัม<br />

ดังนั้นคิดเปนคาใชจายดานพลังงานไฟฟาที่ใหแกเครื่องควบแนนตอกิโลกรัมของเอทิลแอลกอฮอล<br />

ที่สามารถควบแนนกลับมาไดเปนเงิน 0.26 บาทตอกิโลกรัมของเอทิลแอลกอฮอล (รายละเอียดวิธี<br />

การคํานวณแสดงในภาคผนวก ค.)<br />

2.4 การประมาณคาใชจายดานพลังงานไฟฟาที่ใหแกเครื่องอบแหง<br />

จากขอมูลของ ศิวะรักษ, 2549 แสดงวาในกระบวนการอบแหงสารสกัดฟา<br />

ทะลายโจร แลคโตสจะถูกเติมลงในสารสกัดเขมขนเพื่อทําใหผลิตภัณฑแหงที่อัตราสวนปริมาณ<br />

แลคโตสตอของแข็งในสารละลายสกัด เทากับ 2:1 และทําการอบแหงที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส<br />

เปนเวลา 22 ชั่วโมง ผลิตภัณฑที่ไดมีความชื้น 3.2% และมีคารอยละแอนโดรกราโฟไลดในผลิต


33<br />

ภัณฑโดยน้ําหนักแหง เทากับ 4.4 % จากการทําดุลมวลและพลังงานโดยสมมุติใหเปอรเซ็นตการ<br />

สูญเสียความรอน เทากับ 50% พบวาจะตองใชพลังงานในกระบวนการอบแหง เทากับ 187,700 kJ<br />

ดังนั้นที่อัตราคาพลังงานไฟฟา เทากับ 1.666 บาท/ยูนิต คิดเปนเงิน เทากับ 89 บาท ถาสมมุติให<br />

สามารถควบแนนเอทิลแอลกอฮอลจากกระบวนการอบแหงได 100% จากการทําดุลมวล พบวา<br />

สามารถควบแนนเอทิลแอลกอฮอลกลับคืนมาได 84 กิโลกรัม ดังนั้นคิดเปนคาใชจายดานพลังงาน<br />

ไฟฟาที่ใหแกเครื่องอบแหงตอกิโลกรัมของเอทิลแอลกอฮอลที่สามารถควบแนนกลับมาไดเปนเงิน<br />

1.06 บาทตอกิโลกรัมเอทิลแอลกอฮอล (รายละเอียดวิธีการคํานวณทั้งหมดแสดงในภาคผนวก ค.)<br />

2.5 การประมาณคาใชจายดานพลังงานในการควบแนนเอทิลแอลกอฮอลจากกาก<br />

จากขอมูลที่ไดจากการทดลองในระดับหองปฏิบัติการที่อัตราสวนวัตถุดิบตอ<br />

เอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:10 พบวาเปอรเซ็นตเอทิลแอลกอฮอลที่สูญเสียไปกับกาก เทากับ<br />

12% เมื่อทําการขยายขนาดการผลิตเปน 500 ลิตรตอการผลิต 1 งวด ใชวัตถุดิบ 37 กิโลกรัมโดย<br />

น้ําหนักแหง และเอทิลแอลกอฮอล 370 กิโลกรัม ถาสมมุติใหสามารถควบแนนเอทิลแอลกอฮอล<br />

กลับคืนมาได 100% ดังนั้นจะสามารถควบแนนเอทิลแอลกอฮอลกลับคืนมาได 44.4 กิโลกรัม<br />

จากขอมูลการประมาณคาใชจายดานพลังงานไฟฟาที่ใหแกเครื่องอบแหงในหัวขอ<br />

3.2.5 แสดงวาคาใชจายดานพลังงานไฟฟาที่ใหแกเครื่องอบแหงตอกิโลกรัมของเอทิลแอลกอฮอลที่<br />

ควบแนนกลับมาไดเทากับ 1.06 บาทตอกิโลกรัมเอทิลแอลกอฮอล อยางไรก็ดีเมื่อนํามาคิดเทียบกับ<br />

คาใชจายดานพลังงานที่ใชในการควบแนนเอทิลแอลกอฮอลจากกากจะได เทากับ 47 บาท<br />

ตารางที่ 9 แสดงคาใชจายเบื้องตนดานวัตถุดิบและพลังงานในกระบวนการตางๆ<br />

ที่กําลังการผลิต 500 ลิตร ตอ 1 งวดการผลิต พบวาคาใชจายดานวัตถุดิบเปน 9 เทาของคาใชจาย<br />

ดานพลังงาน โดยเสียคาใชจายดานพลังงานไฟฟาที่ใชในการกวนต่ําสุดเมื่อเทียบกับคาพลังงานไฟ<br />

ฟาที่ใชในการตมระเหย การควบแนน และการอบแหง จากการทําดุลมวลพบวาจะไดผลิตภัณฑ<br />

เทากับ 11.9 กิโลกรัมโดยน้ําหนักแหง ดังนั้นคิดเปนเงินคาใชจายดานตนทุนการผลิตทั้งหมดตอ<br />

ผลิตภัณฑ 1 กิโลกรัม เทากับ 260 บาทตอกิโลกรัมผลิตภัณฑ


34<br />

ตารางที่ 9 แสดงคาใชจายเบื้องตนของวัตถุดิบ และอัตราคาพลังงานไฟฟาในกระบวนการตางๆ ที่<br />

กําลังการผลิต 500 ลิตร<br />

รายการ<br />

คาใชจายตอ 1 งวด<br />

การผลิต (บาท)<br />

1. ฟาทะลายโจรบดแหง 2,035<br />

2. แลคโตส 738<br />

3.อัตราคาพลังงานไฟฟาที่ใหแกมอเตอรของใบกวน 9<br />

4. อัตราคาพลังงานไฟฟาทั้งหมดที่ใหแกเครื่องตมระเหย 93<br />

5. อัตราคาพลังงานไฟฟาทั้งหมดที่ใหแกเครื่องควบแนน 85<br />

6. อัตราคาพลังงานไฟฟาทั้งหมดที่ใหเครื่องอบแหง 87<br />

7.อัตราคาพลังงานที่ใชในการควบแนนเอทิลแอลกอฮอลที่สูญเสีย<br />

ไปในกาก 12%<br />

47


35<br />

เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

กนกวรรณ ศักดิ์ตระกูล และ พิชาสิรี เธียรถาวร, 2543. การสกัดสารแอนโดรกราโฟไลดจากฟา<br />

ทะลายโจรโดยใชคอลัมนแบบพัลสประเภทวงแหวนและจาน. คณะวิทยาศาสตร. จุฬาลง<br />

กรณมหาวิทยาลัย.<br />

คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแหงชาติ. 2542. บัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ.2542 (บัญชียาจาก<br />

สมุนไพร). กระทรวงสาธารณสุข.<br />

นาฎยา ยิ่งยืน และ สมสมร สุขเณศกุล. 2541. การหาเกณฑมาตรฐานของสารสกัดแหงจากฟา<br />

ทะลายโจร. คณะเภสัชศาสตร. มหาวิทยาลัยรังสิต.<br />

นาถฤดี สิทธิสมวงศ, เจษฎา เพ็งชะตา, ทรงพล ชีวะพัฒน, เอมมนัส หวังหมัด, พัชรินทร รักษามั่น,<br />

จรินทร จักรฉาย, ปรียา สุวรรณคีรี. 2532. ไทยเภสัชสาร 14 : 109.<br />

พเยาว เหมือนวงศญาติ. 2529. ตําราวิทยาศาสตรสมุนไพร. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเมดัลมีเดีย.<br />

พรพินธุ ผลพานิชย, วชิราภรณ เวชพันธ และ รุงทิพย คําจันทร. 2540. การเปรียบเทียบตัวทําละลาย<br />

เพื่อใชสกัดตัวยาสําคัญจากฟาทะลายโจร (Andrographis paniculata). ปญหาพิเศษภาค<br />

วิชาเภสัชเคมี. คณะเภสัชศาสตร. มหาวิทยาลัยรังสิต.<br />

พรรณทิพา ดงแสง และ ณัฐพล นิ่มนวลดี. 2544. การพัฒนาวิธีวิเคราะห Andrographolide ในฟา<br />

ทะลายโจร(Andrographis paniculata) โดยใชรีเวิรสเฟสเอชพีแอลซีบนคอลัมน Inertsil<br />

ODS-3, ปญหาพิเศษดานเภสัชเคมี. คณะเภสัชศาสตร. มหาวิทยาลัยรังสิต.<br />

ยรรยง สุขคลาย. 2547. การสกัดสารสําคัญจากสมุนไพรฟาทะลายโจรโดยใชถังกวน.<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

เรณู โกสุโข. 2531. งานวิจัยสมุนไพรในประเทศไทย.


36<br />

วันวิสาข เอี่ยมวิเชียร และ ศิริรัตน งามจิตรวิทยากุล. 2542. การศึกษากระบวนการสกัดฟาทะลาย<br />

โจรในระดับหองปฏิบัติการ. คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

ศิวะรักษ สีดานนท. 2549. การอบแหงสารสกัดฟาทะลายโจร. คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร<br />

Jain, D.C., Gupta, M.M. and Saxena, S. 2000. LC analysis of hepatoprotective diterpeniods from<br />

Andrographis panicalat. Journal of pharmaceutical Biomedical Analysis. 22 : 705<br />

709.<br />

List P.H. and Schmidt P.C. 1989. Phytopharmaceutical Technology. Institute for Pharmaceutical<br />

Technology University of Marburg, Germany.<br />

Thai Herbal Pharmacopoeia. 1995. Bangkok : Prachachon co.Ltd.<br />

Wongkittipong, R., Prat, L., Damronglerd, S. and Gourdon, C. 2004. Solid–liquid extraction of<br />

androgragrapholide from plants—experimental study, kinetic reaction and model.<br />

Separation and Purification Technology 40 : 147–154.


ภาคผนวก<br />

37


ภาคผนวก ก<br />

ขอมูลการสกัดสารสําคัญจากฟาทะลายโจร<br />

ในระดับหองปฏิบัติการ<br />

38


39<br />

ตารางผนวกที่ ก1 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 95 %<br />

เทากับ 1:16 โดยน้ําหนักแหง<br />

ตัวอยาง จํานวนครั้ง<br />

การทดลอง<br />

สารสกัด 1<br />

กาก<br />

2<br />

3<br />

1<br />

2<br />

3<br />

วัตถุดิบ 1<br />

จํานวนครั้ง ปริมาณแอนโดรกราโฟไลด<br />

การฉีด HPLC (mg/ตัวอยาง 1 g) เฉลี่ย<br />

1 0.843<br />

0.844<br />

2 0.845<br />

1 0.831<br />

0.829<br />

2 0.827<br />

1 0.849<br />

0.843<br />

2 0.838<br />

1 1.700<br />

2 1.890<br />

1.788<br />

3 1.774<br />

1 1.468<br />

2 1.517<br />

1.671<br />

3 2.028<br />

1 1.717<br />

2 1.931<br />

1.803<br />

3 1.760<br />

1 15.441<br />

2 16.066<br />

15.98<br />

3 16.419


40<br />

ตารางผนวกที่ ก2 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดทั้งหมดในสารสกัด วัตุดิบ และ<br />

กากที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 95 % เทากับ 1:16<br />

จํานวน<br />

ครั้งการ<br />

ทดลอง<br />

น้ําหนัก<br />

สารสกัด<br />

ทั้งหมด<br />

(g)<br />

น้ําหนักกาก<br />

หลังหัก<br />

ความชื้น<br />

(g)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

สารสกัดทั้งหมด<br />

(mg)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

วัตถุดิบทั้งหมด<br />

(mg)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

กากทั้งหมด<br />

(mg)<br />

1 79.12 4.534 66.77 79.88 8.11<br />

2 79.71 4.753 66.07 79.88 7.94<br />

3 78.87 4.754 66.51 79.88 8.57<br />

เฉลี่ย 79.23 4.680 66.45 79.88 8.21<br />

1. ตัวอยางการคํานวณหาเปอรเซ็นตความแตกตางดุลมวล<br />

ดุลมวลสาร : คิดบนพื้นฐานของวัตถุดิบ 1 กรัม<br />

วัตถุดิบ ≡ กาก + สารสกัด<br />

79.88 ≡ 8.21 + 66.45<br />

− −<br />

79.88<br />

เปอรเซ็นตความแตกตางดุลมวล = 79.88 66.45 8.21 × 100 = 6.5%<br />

เปอรเซ็นตการสกัด = 66.45 100 83.2%<br />

79.88 × =<br />

มวลวัตถุดิบที่สูญเสีย = 5 − 4.68 × 100 = 6.4%<br />

5<br />

ความหนาแนนเอทิลแอลกอฮอล 95 % เทากับ 0.8035 g/ml<br />

เอทิลแอลกอฮอล 100 ml มีน้ําหนัก 80.35 g<br />

−<br />

80.35<br />

ปริมาตรสารละลายที่สูญเสีย = 80.35 79.23 × 100 = 1.4%


ตารางผนวกที่ ก3 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง1 กรัม และเปอรเซ็นต<br />

ของแข็งในสารสกัดที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 95% เทากับ<br />

1:16<br />

จํานวน<br />

ครั้งการ<br />

ทดลอง<br />

ปริมาณของ<br />

แข็งในสาร<br />

สกัด 20 มล.<br />

ปริมาตร<br />

สารสกัด<br />

ทั้งหมด<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในสาร<br />

สกัด<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในสาร<br />

สกัดทั้งหมด<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในของ<br />

แข็ง1 กรัม<br />

เปอรเซ็นต<br />

ของแข็ง<br />

ครั้งที่ (g solid ) (ml) (mg/ gsoltion ) (mg) (mg/g solid ) (%)<br />

1 1 0.1120 92 0.844 66.77 130.31 0.65<br />

2 0.1080 92 0.844 66.77 135.13 0.62<br />

2 1 0.0889 95 0.829 66.07 157.30 0.53<br />

2 0.0896 95 0.829 66.07 156.07 0.53<br />

3 1 0.0890 94 0.843 66.51 159.85 0.53<br />

2 0.0889 94 0.843 66.51 160.03 0.53<br />

เฉลี่ย 0.0961 93 0.834 66.45 149.78 0.56<br />

41<br />

2. ตัวอยางการคํานวณหาปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง 1 กรัม<br />

ปริมาณแอนโดรกราโฟไลดตอ 1 กรัมของแข็ง =<br />

20ml<br />

66.77mg<br />

×<br />

0.1120g<br />

× 92ml<br />

= 130.31 mg / g<br />

solid<br />

solid<br />

3. ตัวอยางการคํานวณหาเปอรเซ็นตของแข็ง<br />

% solid<br />

0.1120gsolid<br />

0.844mg 92ml<br />

= × × × 100 = 0.65%<br />

20ml g 66.77mg<br />

solution


42<br />

ตารางผนวกที่ ก4 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85 %<br />

เทากับ 1:16 โดยน้ําหนักแหง<br />

ตัวอยาง จํานวนครั้ง<br />

การทดลอง<br />

สารสกัด<br />

กาก<br />

1<br />

2<br />

3<br />

1<br />

2<br />

3<br />

วัตถุดิบ 1<br />

จํานวนครั้ง ปริมาณแอนโดรกราโฟไลด<br />

การฉีด HPLC (mg/ตัวอยาง 1 g) เฉลี่ย<br />

1 0.983<br />

0.992<br />

2 1.001<br />

1 0.975<br />

0.975<br />

2 0.975<br />

1 0.920<br />

0.967<br />

2 1.014<br />

1 1.117<br />

2 1.135<br />

1.126<br />

3<br />

1 0.888<br />

2 1.067<br />

0.977<br />

3<br />

1 0.952<br />

2 0.959<br />

0.956<br />

3<br />

1 15.441<br />

2 16.066<br />

15.98<br />

3 16.419


43<br />

ตารางผนวกที่ ก5 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดทั้งหมดในสารสกัด วัตุดิบ และ<br />

กากที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85 % เทากับ 1:16 โดยน้ํา<br />

หนักแหง<br />

จํานวน<br />

ครั้งการ<br />

ทดลอง<br />

น้ําหนัก<br />

สารสกัด<br />

ทั้งหมด<br />

(g)<br />

น้ําหนักกาก<br />

หลังหัก<br />

ความชื้น<br />

(g)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

สารสกัดทั้งหมด<br />

(mg)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

วัตถุดิบทั้งหมด<br />

(mg)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

กากทั้งหมด<br />

(mg)<br />

1 79.87 4.124 79.25 79.88 4.64<br />

2 79.12 4.153 77.16 79.88 4.06<br />

3 80.38 4.153 77.72 79.88 3.97<br />

เฉลี่ย 79.79 4.143 78.04 79.88 4.22<br />

ตารางผนวกที่ ก6 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง1 กรัม และเปอรเซ็นต<br />

ของแข็งในสารสกัดที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85 %<br />

เทากับ 1:16 โดยน้ําหนักแหง<br />

จํานวน<br />

ครั้งการ<br />

ทดลอง<br />

1<br />

2<br />

ปริมาณของ<br />

แข็งในสาร<br />

สกัด 20 มล.<br />

ปริมาตร<br />

สารสกัด<br />

ทั้งหมด<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในสาร<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในสาร<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในของ<br />

เปอรเซ็นต<br />

ของแข็ง<br />

สกัด สกัดทั้งหมด แข็ง1 กรัม<br />

ครั้งที่ (g solid ) (ml) (mg/ gsoltion ) (mg) (mg/g solid ) (%)<br />

1 0.1397 94 0.992 79.15 120.55 0.823<br />

2 0.1415 94 0.992 79.34 119.30 0.832<br />

1 0.1417 93 0.975 77.25 117.24 0.832<br />

2 0.1426 93 0.975 77.07 116.24 0.839<br />

1 0.1415 94.5 0.967 77.69 116.21 0.832<br />

3<br />

2 0.1422 94.5 0.967 77.75 115.72 0.836<br />

เฉลี่ย 0.1415 94 0.978 78.04 117.54 0.832


44<br />

ตารางผนวกที่ ก6 ปริมาณแอนโดรกราฟไลดในวัตถุดิบคิดเทียบโดยน้ําหนักแหง<br />

จํานวน<br />

ตัวอยาง<br />

วัตถุดิบ<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลด<br />

(mg/ตัวอยาง 1 g)<br />

1 13.02<br />

2 15.52<br />

3 15.57<br />

4 15.59<br />

5 13.64<br />

6 15.44<br />

7 16.07<br />

8 16.42<br />

9 12.68<br />

10 12.76<br />

เฉลี่ย 14.68


45<br />

ตารางผนวกที่ ก7 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85 %<br />

เทากับ 1:10 โดยน้ําหนักแหง<br />

ตัวอยาง จํานวนครั้ง<br />

การทดลอง<br />

สารสกัด<br />

กาก<br />

1<br />

2<br />

3<br />

1<br />

2<br />

3<br />

จํานวนครั้ง ปริมาณแอนโดรกราโฟไลด<br />

การฉีด HPLC (mg/ตัวอยาง 1 g) เฉลี่ย<br />

1 1.559<br />

1.571<br />

2 1.582<br />

1 1.565<br />

1.586<br />

2 1.601<br />

1 1.567<br />

1.575<br />

2 1.583<br />

1 1.522<br />

2 1.597<br />

1.576<br />

3 1.609<br />

1 1.386<br />

2 1.385<br />

1.384<br />

3 1.382<br />

1 1.370<br />

2 1.446<br />

1.509<br />

3 1.712


46<br />

ตารางผนวกที่ ก8 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดทั้งหมดในสารสกัด วัตุดิบ และ<br />

กากที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85 % เทากับ 1:10<br />

โดยน้ําหนักแหง<br />

จํานวน<br />

ครั้งการ<br />

ทดลอง<br />

น้ําหนัก<br />

สารสกัด<br />

ทั้งหมด<br />

(g)<br />

น้ําหนักกาก<br />

หลังหัก<br />

ความชื้น<br />

(g)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

สารสกัดทั้งหมด<br />

(mg)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

วัตถุดิบทั้งหมด<br />

(mg)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

กากทั้งหมด<br />

(mg)<br />

1 74.91 7.21 117.68 123.83 11.3<br />

2 73.96 7.18 117.29 123.83 9.93<br />

3 74.76 7.15 117.73 123.83 10.79<br />

เฉลี่ย 74.55 7.18 117.57 123.83 10.69<br />

ตารางผนวกที่ ก9 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง 1 กรัม และเปอรเซ็นต<br />

ของแข็งในสารสกัดที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85 % เทากับ<br />

1:10 โดยน้ําหนัก<br />

จํานวน<br />

ครั้งการ<br />

ทดลอง<br />

1<br />

2<br />

ปริมาณของ<br />

แข็งในสาร<br />

สกัด 20 มล.<br />

ปริมาตร<br />

สารสกัด<br />

ทั้งหมด<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในสาร<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในสาร<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในของ<br />

เปอรเซ็นต<br />

ของแข็ง<br />

สกัด สกัดทั้งหมด แข็ง1 กรัม<br />

ครั้งที่ (g solid ) (ml) (mg/ gsoltion ) (mg) (mg/g solid ) (%)<br />

1 0.2163 88 1.571 117.63 123.59 1.27<br />

2 0.2146 88 1.571 117.73 124.69 1.26<br />

1 0.2026 87 1.586 117.26 133.06 1.19<br />

2 0.211 87 1.586 117.31 127.81 1.24<br />

1 0.2126 88 1.575 117.74 125.86 1.25<br />

3<br />

2 0.2163 88 1.575 117.72 123.69 1.27<br />

เฉลี่ย 0.2122 88 1.577 117.56 126.45 1.25


47<br />

ตารางผนวกที่ ก10 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85 %<br />

เทากับ 1:5 โดยน้ําหนักแหง<br />

ตัวอยาง จํานวนครั้ง<br />

การทดลอง<br />

สารสกัด<br />

กาก<br />

1<br />

2<br />

3<br />

1<br />

2<br />

3<br />

จํานวนครั้ง<br />

การฉีด HPLC<br />

ปริมาณแอนโดรกราโฟไลด<br />

(mg/ตัวอยาง 1 g) เฉลี่ย<br />

1 3.500<br />

2 3.513<br />

1 3.445<br />

2 2.181<br />

1 3.018<br />

2 2.614<br />

1 3.293<br />

2 2.644<br />

3 3.351<br />

1 3.329<br />

2 3.404<br />

3 2.065<br />

1 3.350<br />

2 3.282<br />

3 3.827<br />

3.507<br />

2.813<br />

2.816<br />

3.096<br />

2.933<br />

3.486


48<br />

ตารางผนวกที่ ก11 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดทั้งหมดในสารสกัด วัตุดิบ และ<br />

กากที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85 % เทากับ 1:5<br />

โดยน้ําหนักแหง<br />

จํานวน<br />

ครั้งการ<br />

ทดลอง<br />

น้ําหนัก<br />

สารสกัด<br />

ทั้งหมด<br />

(g)<br />

น้ําหนักกาก<br />

หลังหัก<br />

ความชื้น<br />

(g)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

สารสกัดทั้งหมด<br />

(mg)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

วัตถุดิบทั้งหมด<br />

(mg)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

กากทั้งหมด<br />

(mg)<br />

1 66.88 14.82 234.48 265.27 45.89<br />

2 66.80 14.85 187.91 265.27 43.55<br />

3 66.95 14.91 188.54 265.27 51.98<br />

เฉลี่ย 66.87 14.86 203.64 265.27 47.14<br />

ตารางผนวกที่ ก12 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง 1 กรัม และเปอรเซ็นต<br />

ของแข็งในสารสกัดที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85 % เทากับ<br />

1:5 โดยน้ําหนักแหง<br />

จํานวน<br />

ครั้งการ<br />

ทดลอง<br />

1<br />

2<br />

ปริมาณของ<br />

แข็งในสาร<br />

สกัด 20 มล.<br />

ปริมาตร<br />

สารสกัด<br />

ทั้งหมด<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในสาร<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในสาร<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในของ<br />

เปอรเซ็นต<br />

ของแข็ง<br />

สกัด สกัดทั้งหมด แข็ง1 กรัม<br />

ครั้งที่ (g solid ) (ml) (mg/ gsoltion ) (mg) (mg/g solid ) (%)<br />

1 0.3843 78 3.506 234.40 156.39 2.24<br />

2 0.3808 78 3.506 234.40 157.83 2.22<br />

1 0.3883 78 2.813 187.46 123.79 2.27<br />

2 0.3808 78 2.813 187.46 126.22 2.23<br />

1 0.3803 78 2.816 187.67 126.53 2.23<br />

3<br />

2 0.3877 78 2.816 187.66 124.11 2.27<br />

เฉลี่ย 0.3837 78 3.045 203.18 135.81 2.24


49<br />

ตารางผนวกที่ ก13 ขอมูลผลการสกัดแบบสองขั้นตอนที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิล<br />

แอลกอฮอล 85 % เทากับ 1:5 โดยน้ําหนักแหง<br />

ตัวอยาง จํานวนครั้ง<br />

การทดลอง<br />

สารสกัด<br />

(ขั้นตอน<br />

แรก)<br />

สารสกัด<br />

(ขั้นตอน<br />

ที่สอง)<br />

กาก<br />

1<br />

2<br />

3<br />

1<br />

2<br />

3<br />

1<br />

2<br />

3<br />

จํานวนครั้ง<br />

การฉีด HPLC<br />

ปริมาณแอนโดรกราโฟไลด<br />

(mg/ตัวอยาง 1 g) เฉลี่ย<br />

1 3.070<br />

2 3.074<br />

1 2.875<br />

2 2.865<br />

1 2.952<br />

2 2.954<br />

1 0.680<br />

2 0.672<br />

1 0.568<br />

2 0.580<br />

1 0.620<br />

2 0.618<br />

1 0.710<br />

2 0.738<br />

3 0.729<br />

1 0.640<br />

2 0.631<br />

3 0.634<br />

1 0.730<br />

2 0.678<br />

3 0.753<br />

3.072<br />

2.870<br />

2.953<br />

0.676<br />

0.574<br />

0.619<br />

0.726<br />

0.635<br />

0.720


ตารางผนวกที่ ก14 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดทั้งหมดในสารสกัด วัตุดิบ และ<br />

กากของการสกัดแบบสองขั้นตอนที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิล<br />

แอลกอฮอล 85 % เทากับ 1:5 โดยน้ําหนักแหง<br />

จํานวน<br />

ครั้งการ<br />

ทดลอง<br />

น้ําหนัก<br />

สารสกัด<br />

ทั้งหมด<br />

(g)<br />

น้ําหนักกาก<br />

หลังหัก<br />

ความชื้น<br />

(g)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

สารสกัดทั้งหมด<br />

(mg)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

วัตถุดิบทั้งหมด<br />

(mg)<br />

ปริมาณแอนโดร<br />

กราโฟไลดใน<br />

กากทั้งหมด<br />

(mg)<br />

1 141.07 13.72 245.43 247.65 9.961<br />

2 147.30 14.06 234.18 247.65 8.931<br />

3 144.39 13.95 232.98 247.65 10.043<br />

เฉลี่ย 144.25 13.91 237.53 247.65 9.645<br />

ตารางผนวกที่ ก15 ผลการวิเคราะหปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในของแข็ง 1 กรัม และเปอรเซ็นต<br />

ของแข็งในสารสกัดแบบสองขั้นตอนที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิล<br />

แอลกอฮอล 85 % เทากับ 1:5 โดยน้ําหนัก<br />

จํานวน<br />

ครั้งการ<br />

ทดลอง<br />

1<br />

2<br />

ขั้นตอนที่หนึ่ง<br />

ปริมาณของ<br />

แข็งในสาร<br />

สกัด 20 มล.<br />

ปริมาตร<br />

สารสกัด<br />

ทั้งหมด<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในสาร<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในสาร<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในของ<br />

เปอรเซ็นต<br />

ของแข็ง<br />

สกัด สกัดทั้งหมด แข็ง1 กรัม<br />

ครั้งที่ (g solid ) (ml) (mg/ gsoltion ) (mg) (mg/g solid ) (%)<br />

1 0.4021 73 3.0718 192.19 130.95 2.35<br />

2 0.4160 73 3.0718 192.69 126.91 2.42<br />

1 0.3969 76 2.8696 187.04 124.01 2.31<br />

2 0.3743 76 2.8696 187.09 131.54 2.18<br />

1 0.3997 72 2.9533 181.55 126.17 2.34<br />

3<br />

2 0.4016 72 2.9533 181.82 125.76 2.35<br />

เฉลี่ย 0.3984 74 2.9649 187.06 127.56 2.33<br />

50


51<br />

ตารางผนวกที่ ก15(ตอ)<br />

จํานวน<br />

ครั้งการ<br />

ทดลอง<br />

1<br />

2<br />

ขั้นตอนที่สอง<br />

ปริมาณของ<br />

แข็งในสาร<br />

สกัด 20 มล.<br />

ปริมาตร<br />

สารสกัด<br />

ทั้งหมด<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในสาร<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในสาร<br />

ปริมาณแอน<br />

โดรกราโฟ<br />

ไลดในของ<br />

เปอรเซ็นต<br />

ของแข็ง<br />

สกัด สกัดทั้งหมด แข็ง1 กรัม<br />

ครั้งที่ (g solid ) (ml) (mg/ gsoltion ) (mg) (mg/g solid ) (%)<br />

1 0.1322 92 0.6756 52.99 87.13 0.78<br />

2 0.1364 92 0.6756 52.97 84.43 0.80<br />

1 0.1307 96 0.5739 47.13 75.12 0.76<br />

2 0.1295 96 0.5739 47.12 75.81 0.76<br />

1 0.1344 97 0.6188 51.24 78.61 0.79<br />

3<br />

2 0.1401 97 0.6188 51.32 75.53 0.82<br />

เฉลี่ย 0.1339 95 0.6228 50.46 79.44 0.78


ภาคผนวก ข<br />

ขอมูลการสกัดสารสําคัญจากฟาทะลายโจร<br />

ในระดับกอนโรงงานตนแบบ<br />

52


53<br />

ตารางผนวกที่ ข1 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85%<br />

เทากับ 1:10 โดยน้ําหนักแหง ที่ความเร็วของใบกวน 560 รอบตอนาที<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

0.33<br />

0.67<br />

1<br />

1.5<br />

2<br />

2.5<br />

3<br />

3.5<br />

4<br />

5<br />

6<br />

8<br />

จํานวนครั้ง ปริมาณแอนโดรกราโฟไลด<br />

การฉีด HPLC (mg/ตัวอยาง1 g) เฉลี่ย<br />

1 2.653<br />

2.649<br />

2 2.645<br />

1 2.662<br />

2.663<br />

2 2.664<br />

1 2.615<br />

2.628<br />

2 2.640<br />

1 2.647<br />

2.654<br />

2 2.662<br />

1 2.682<br />

2.663<br />

2 2.644<br />

1 2.691<br />

2.666<br />

2 2.641<br />

1 2.725<br />

2.715<br />

2 2.705<br />

1 2.717<br />

2.678<br />

2 2.639<br />

1 2.715<br />

2.706<br />

2 2.698<br />

1 2.664<br />

2.686<br />

2 2.709<br />

1 2.764<br />

2.792<br />

2 2.819<br />

1 2.831<br />

2.829<br />

2 2.826


54<br />

ตารางผนวกที่ ข2 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85 %<br />

เทากับ 1:10 โดยน้ําหนักแหง ที่ความเร็วของใบกวน 1,120 รอบตอนาที<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

0.33<br />

0.67<br />

1<br />

1.5<br />

2<br />

2.5<br />

3<br />

3.5<br />

4<br />

4.5<br />

5<br />

6<br />

8<br />

จํานวนครั้ง ปริมาณแอนโดรกราโฟไลด<br />

การฉีด HPLC (mg/ตัวอยาง1 g) เฉลี่ย<br />

1 1.249<br />

1.251<br />

2 1.252<br />

1 1.297<br />

1.287<br />

2 1.277<br />

1 1.313<br />

1.299<br />

2 1.285<br />

1 1.272<br />

1.289<br />

2 1.306<br />

1 1.329<br />

1.348<br />

2 1.367<br />

1 1.373<br />

1.339<br />

2 1.304<br />

1 1.299<br />

1.315<br />

2 1.331<br />

1 1.377<br />

1.343<br />

2 1.309<br />

1 1.454<br />

1.315<br />

2 1.434<br />

1 1.338<br />

1.323<br />

2 1.307<br />

1 1.396<br />

1.413<br />

2 1.430<br />

1 1.392<br />

1.395<br />

2 1.398<br />

1 1.488<br />

1.496<br />

2 1.505


55<br />

ตารางผนวกที่ ข3 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85%<br />

เทากับ 1:5 โดยน้ําหนักแหง ที่ความเร็วของใบกวน 560 รอบตอนาที<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

0.67<br />

1<br />

1.5<br />

2<br />

2.5<br />

3<br />

3.5<br />

4<br />

4.5<br />

6<br />

8<br />

จํานวนครั้ง ปริมาณแอนโดรกราโฟไลด<br />

การฉีด HPLC (mg/ตัวอยาง1 g) เฉลี่ย<br />

1 2.446<br />

2.462<br />

2 2.478<br />

1 2.471<br />

2.433<br />

2 2.395<br />

1 2.409<br />

1.299<br />

2 2.571<br />

1 2.592<br />

2.524<br />

2 2.457<br />

1 2.581<br />

2.512<br />

2 2.442<br />

1 2.563<br />

2.605<br />

2 2.648<br />

1 2.582<br />

2.557<br />

2 2.533<br />

1 2.598<br />

2.521<br />

2 2.444<br />

1 2.547<br />

2.593<br />

2 2.638<br />

1 2.720<br />

2.718<br />

2 2.717<br />

1 2.518<br />

2.578<br />

2 2.637


56<br />

ตารางผนวกที่ ข4 ขอมูลผลการสกัดเมื่อใชอัตราสวนฟาทะลายโจรตอเอทิลแอลกอฮอล 85%<br />

เทากับ 1:5 โดยน้ําหนักแหง ที่ความเร็วของใบกวน 1,120 รอบตอนาที<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

0.33<br />

0.67<br />

1<br />

1.5<br />

2<br />

2.5<br />

3<br />

3.5<br />

4<br />

4.5<br />

6<br />

8<br />

จํานวนครั้ง ปริมาณแอนโดรกราโฟไลด<br />

การฉีด HPLC (mg/ตัวอยาง1 g) เฉลี่ย<br />

1 2.804<br />

2.804<br />

2 2.804<br />

1 2.865<br />

2.905<br />

2 2.945<br />

1 2.925<br />

2.854<br />

2 2.784<br />

1 2.939<br />

2.923<br />

2 2.907<br />

1 2.985<br />

3.001<br />

2 3.018<br />

1 2.981<br />

2.952<br />

2 2.924<br />

1 3.075<br />

3.078<br />

2 3.082<br />

1 3.039<br />

3.029<br />

2 3.019<br />

1 3.004<br />

2.989<br />

2 2.974<br />

1 3.131<br />

3.109<br />

2 3.088<br />

1 3.156<br />

3.165<br />

2 3.174<br />

1 3.256<br />

3.228<br />

2 3.120


ตารางผนวกที่ ข5 ขอมูลผลการสกัดเมื่อแชทิ้งไวเปนเวลา 24 ชั่วโมง ที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอ<br />

เอทิลแอลกอฮอล 85 % เทากับ 1:5 โดยน้ําหนักแหง และความเร็วของใบกวน<br />

560 รอบตอนาที<br />

เวลา จํานวนครั้ง ปริมาณแอนโดรกราโฟไลด<br />

(ชั่วโมง) การฉีด HPLC (mg/ตัวอยาง1 g) เฉลี่ย<br />

0<br />

1 3.522<br />

2 3.585<br />

3.554<br />

0.33<br />

1 4.169<br />

2 4.153<br />

4.161<br />

0.67<br />

1 4.354<br />

2 4.382<br />

4.368<br />

1<br />

1 4.305<br />

2 4.507<br />

4.406<br />

2<br />

1 4.616<br />

2 4.630<br />

4.623<br />

3<br />

1 4.592<br />

2 4.211<br />

4.402<br />

4<br />

1 4.746<br />

2 4.832<br />

4.789<br />

5<br />

1 4.744<br />

2 4.679<br />

4.711<br />

6<br />

1 4.803<br />

2 4.719<br />

4.761<br />

7<br />

1 4.704<br />

2 4.671<br />

4.688<br />

8<br />

1 4.849<br />

2 4.822<br />

4.836<br />

144<br />

1 4.823<br />

2 4.796<br />

4.810<br />

57


ตารางผนวกที่ ข6 ขอมูลผลการสกัดเมื่อแชทิ้งไวเปนเวลา 24 ชั่วโมง ที่อัตราสวนฟาทะลายโจรตอ<br />

เอทิลแอลกอฮอล 85 % เทากับ 1:10 โดยน้ําหนักแหง และความเร็วของใบกวน<br />

560 รอบตอนาที<br />

58<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

0<br />

0.33<br />

0.67<br />

1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

6<br />

7<br />

8<br />

จํานวนครั้ง ปริมาณแอนโดรกราโฟไลด<br />

การฉีด HPLC (mg/ตัวอยาง1 g) เฉลี่ย<br />

1 2.132<br />

2.119<br />

2 2.106<br />

1 2.749<br />

2.843<br />

2 2.937<br />

1 2.940<br />

2.933<br />

2 2.926<br />

1 3.097<br />

3.074<br />

2 3.050<br />

1 3.029<br />

3.024<br />

2 3.020<br />

1 3.072<br />

3.088<br />

2 3.104<br />

1 3.102<br />

3.104<br />

2 3.105<br />

1 3.125<br />

3.166<br />

2 3.207<br />

1 3.054<br />

3.090<br />

2 3.125<br />

1 2.974<br />

3.014<br />

2 3.055<br />

1 3.134<br />

3.038<br />

2 2.941


ตารางผนวกที่ ข7 แสดงปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในสารสกัด ปริมาณแลคโตนรวมในสารสกัด<br />

และรอยแอนโดรกราโฟไลดตอแลคโตนรวม<br />

59<br />

จํานวน ปริมาณแอนโดรกรา ปริมาณแลคโตนรวม รอยละแอนโดรกรา<br />

ตัวอยางขอมูล โฟไลดในสารสกัด โฟไลดตอแลคโตนรวม<br />

(มิลลิกรัม/กรัมสารสกัด) (มิลลิกรัม/กรัมสารสกัด) (%)<br />

1 2.83 4.05 69.88<br />

2 1.50 2.61 57.47<br />

3 13.01 26.49 49.11<br />

4 3.23 10.25 31.51<br />

5 3.04 4.02 75.62<br />

6 4.84 6.48 74.69<br />

7 0.84 1.49 56.38<br />

8 0.83 1.47 56.46<br />

9 0.84 1.54 54.55<br />

10 0.98 1.74 56.32<br />

11 0.99 1.80 55.00<br />

12 0.97 1.80 53.89<br />

13 0.99 2.29 43.23<br />

14 0.98 2.32 42.24<br />

15 0.97 2.25 43.11<br />

16 1.60 3.67 43.60<br />

17 1.75 4.42 39.59<br />

18 1.84 3.55 51.83<br />

19 1.57 3.79 41.42<br />

20 1.59 3.82 41.62<br />

21 1.57 3.81 41.21<br />

22 3.56 6.62 53.78<br />

23 3.37 5.85 57.61


60<br />

ตารางผนวกที่ ข7 (ตอ)<br />

จํานวน ปริมาณแอนโดรกรา ปริมาณแลคโตนรวม รอยละแอนโดรกรา<br />

ตัวอยางขอมูล โฟไลดในสารสกัด โฟไลดตอแลคโตนรวม<br />

(มิลลิกรัม/กรัมสารสกัด) (มิลลิกรัม/กรัมสารสกัด) (%)<br />

25 2.60 7.31 35.57<br />

26 2.66 6.10 43.61<br />

27 3.51 7.63 46.00<br />

28 3.11 6.59 47.19<br />

29 3.10 6.44 48.14<br />

30 2.74 9.16 29.91<br />

31 0.84 2.34 35.90<br />

32 2.70 5.71 47.29<br />

33 0.82 2.94 27.89<br />

34 3.16 5.79 54.58<br />

35 0.66 1.22 54.10<br />

36 3.15 5.78 54.50<br />

37 0.60 1.11 54.05<br />

38 3.18 5.76 55.21<br />

39 3.25 6.06 53.63<br />

40 0.71 1.46 48.63<br />

41 3.33 6.14 54.23<br />

42 0.62 1.04 59.62<br />

43 3.19 5.86 54.44<br />

44 0.75 1.30 57.69


ภาคผนวก ค<br />

ดุลมวล (mass balance), ดุลพลังงาน (energy balance)<br />

และการคํานวณตนทุนวัตถุดิบเบื้องตน<br />

61


62<br />

ดุลมวล (mass balance)<br />

การทําดุลมวลของกระบวนการสกัดสารแอนโดรกราโฟไลดดวยเอทิลแอลกอฮอล 85 % ที่<br />

อัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอลเทากับ 1:10 และที่ความเร็วรอบของใบกวนเทากับ 560 รอบ<br />

ตอนาที ในถังกวนขนาด 500 ลิตรตอการผลิต 1 งวด ใชวัตถุดิบ 37 กิโลกรัม โดยน้ําหนักแหง และ<br />

เอทิลแอลกอฮอล 370 กิโลกรัม (439 ลิตร) โดยอาศัยขอมูลที่ไดจากการทดลองการสกัดในระดับ<br />

หองปฏิบัติการที่อัตราสวนของวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:10 ดังนี้<br />

1. เปอรเซ็นตการสกัด(percentage yield) เทากับ 95%<br />

2. ปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในวัตถุดิบ 8.44 กรัมโดยน้ําหนักแหง เทากับ 14.68 มิลลิกรัม/กรัม<br />

แหงของวัตถุดิบ<br />

3. ปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในสารสกัด 74.55 กรัมโดยน้ําหนักแหง เทากับ 13.94 มิลลิกรัม/กรัม<br />

แหงของวัตถุดิบ<br />

4. ปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในกาก 7.18 กรัมโดยน้ําหนักแหง เทากับ 1.27 มิลลิกรัม/กรัมแหง<br />

ของวัตถุดิบ<br />

5. เปอรเซ็นตเอทิลแอลกอฮอลที่สูญเสียไปในกาก เทากับ 12%<br />

6. ความหนาแนนของแอลกอฮอล 85% เทากับ 0.8435 กรัมตอมิลลิลิตร<br />

จากขอมูลที่ไดจากการอบแหงสารสกัดฟาทะลายโจร (ศิวะรักษ, 2549) ที่อุณหภูมิ 55 องศา<br />

เซลเซียส เปนเวลา 22 ชั่วโมง ที่อัตราสวนแลคโตสตอของแข็งในสารละลายเขมขนเทากับ 2:1 เปน<br />

ดังนี้<br />

1. รอยละความเขมขนแอนโดรกราโฟไลดในผลิตภัณฑโดยน้ําหนักแหง เทากับ 4.40%<br />

2. เปอรเซ็นตความชื้นของสารผลิตภัณฑเทากับ 3.2%<br />

3. เปอรเซ็นตของแข็งในสารสกัดกอนเขาเครื่องตมระเหยสุญญากาศเทากับ 1.25%<br />

4. เปอรเซ็นตของแข็งในสารสกัดหลังออกจากเครื่องตมระเหยสุญญากาศ เทากับ 4.64%


63<br />

ดุลมวลรอบถังกวน (Extraction Unit) และเครื่องกรอง (Filter Unit)<br />

วัตถุดิบ 37 kg<br />

1.25% solid<br />

516 g Andrographolide 95% yield<br />

ถังกวน ของผสม 407 kg เครื่องกรอง สารสกัด328kg<br />

เอทิลแอลกอฮอล<br />

490 g<br />

370 kg Andrographolide<br />

กาก 79 kg<br />

26 mg Andrographolide<br />

วิธีการคํานวณ<br />

จากขอมูลที่ไดจากการทดลอง แสดงวา<br />

ในวัตถุดิบ 8.44 กรัม มีแอนโดรกราโฟไลด 117.56 มิลลิกรัม<br />

ดังนั้น ในวัตถุดิบ 37 กิโลกรัม จะมีแอนโดรกราโฟไลด 117.56 × 37 = 516 กรัม<br />

8.44<br />

จากขอมูลที่ไดจากการทดลอง พบวาเปอรเซ็นตการสกัด เทากับ 95 %<br />

ดังนั้น จะมีปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในสารสกัด เทากับ 490 กรัม<br />

และ<br />

เหลือปริมาณแอนโดรกราโฟไลดในกาก เทากับ 26 กรัม


64<br />

ดุลมวลรอบเครื่องตมระเหย (Evaporator Unit) และเครื่องอบแหง (Dryer Unit)<br />

จากขอมูลการอบแหงสารสกัดฟาทะลายโจร(สิวลักษณ และคณะ, 2549) ผลิตภัณฑ 1 กรัม<br />

ประกอบดวยปริมาณแลคโตสตอปริมาณของแข็งคิดเปนอัตราสวนเทากับ 2 :1 และผลิตภัณฑมี<br />

ความชื้น 3.2 %<br />

ดุลมวล (mass balance)<br />

Lactose 8.2 kg<br />

สารสกัด 328 kg<br />

สารสกัดเขมขน88.4 kg<br />

ของแข็ง 4.1 kg<br />

ของแข็ง 4.1 kg<br />

แอลกอฮอล 275.3 kg เครื่องตมระเหย แอลกอฮอล 71.7kg เครื่องอบแหง ผลิตภัณฑ11.9 kg<br />

น้ํา 48.6 kg 45 C น้ํา 12.6kg o<br />

55 C<br />

น้ํา 0.4 kg<br />

(1.25% solid) (4.64% solid) (ความชื้น 3.2%)<br />

แอลกอฮอล 203.6 kg แอลกอฮอล 71.7 kg<br />

น้ํา 36 kg น้ํา 12.2 kg<br />

วิธีการคํานวณ<br />

จากขอมูลที่ไดจากการทดลอง เปอรเซ็นตของแข็งในสารสกัดกอนเขาเครื่องตมระเหย<br />

เทากับ 1.25 % โดยที่ปริมาณสารสกัดทั้งหมด เท ากับ 328 กิโลกรัม ซึ่งประกอบไปดวย<br />

ปริมาณของแข็งทั้งหมด เทากับ 1.25 328 4.1<br />

100 × = กิโลกรัม<br />

ปริมาณเอทิลแอลกอฮอล 85% ทั้งหมด เทากับ 85 (328 4.1) 275.3<br />

100 × − = กิโลกรัม<br />

และปริมาณน้ําทั้งหมด เทากับ 328 4.1 275.3 48.6<br />

− − = กิโลกรัม


กําหนดใหปริมาณสารสกัดเขมขนที่ไดหลังจากผานเครื่องตมระเหย เทากับ x กิโลกรัม<br />

และเปอรเซ็นตของแข็งในสารสกัดเขมขนหลังจากผานเครื่องตมระเหย เทากับ 4.64%<br />

ดังนั้น ปริมาณสารสกัดเขมขนทั้งหมดหลังจากผานเครื่องตมระเหย เทากับ<br />

65<br />

100<br />

4.1 88.4<br />

4.64<br />

x = × = กิโลกรัม<br />

ในสารสกัดเขมขนประกอบดวยเอทิลแอลกอฮอล 85% ทั้งหมด เทากับ<br />

85<br />

× (88.4 − 4.1) = 71.7<br />

100<br />

กิโลกรัม<br />

และปริมาณน้ําทั้งหมด เทากับ 88.4 4.1 71.7 12.6<br />

− − = กิโลกรัม<br />

ดังนั้น ปริมาณเอทิลแอลกอฮอลที่ถูกระเหยออกไป เทากับ 275.3 71.7 203.6<br />

− = กิโลกรัม<br />

และปริมาณน้ําที่ถูกระเหยออกไปทั้งหมด เทากับ 48.6 − 12.6 = 36 กิโลกรัม<br />

จากขอมูลการอบแหงสารสกัดฟาทะลายโจร(ศิวะรักษ, 2549) กําหนดใหผลิตภัณฑ 1 กรัม<br />

ประกอบดวยปริมาณแลคโตสตอปริมาณของแข็งคิดเปนอัตราสวน เทากับ 2 :1 และอบแหงที่<br />

อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส เปนเวลา 22 ชั่วโมง ผลิตภัณฑที่ไดมีความชื้น 3.2 %<br />

−<br />

100<br />

ดังนั้น ผลิตภัณฑทั้งหมดหลังหักความชื้น เทากับ (100 3.2) × 12.3 = 11.9 กิโลกรัม<br />

และปริมาณน้ําที่ถูกระเหยออกทั้งหมดจากเครื่องอบแหง เทากับ 12.6 − 0.4 = 12.2 กิโลกรัม


66<br />

ดุลพลังงาน (Energy Balance)<br />

กําหนดให :<br />

- Cp ของสารทุกชนิดมีคาคงที่<br />

โดยที่ Cp, น้ํา = 60.24 J/mol ° C<br />

Cp, ethyl alcohol = 13.64 J/mol ° C<br />

Cp, Fah-thalia-chone = 532 J/mol ° C<br />

- อุณหภูมิสิ่งแวดลอม = 30 องศาเซลเซียส<br />

- อุณหภูมิที่ใชในการระเหยแอลกอฮอล เทากับ 45 ° C<br />

- อุณหภูมิที่ใชในการอบแหง เทากับ 55 ° C<br />

- จุดเดือดของเอทิลแอลกอฮอล เทากับ 78 ° C<br />

- heat loss = 50 %<br />

ดุลพลังงานรอบเครื่องตมระเหย (Evaporator Unit) และเครื่องอบแหง (Dryer Unit)<br />

กําหนดให : เปอรเซ็นตการสูญเสียความรอน เทากับ 50%<br />

Q = 200,886 kJ<br />

แลคโตส 8.2 kg<br />

สารสกัด 328 kg<br />

สารสกัดเขมขน88.4 kg<br />

ของแข็ง 4.1 kg<br />

ของแข็ง 4.1 kg<br />

แอลกอฮอล 275.3 kg เครื่องตมระเหย แอลกอฮอล 71.7kg เครื่องอบแหง ผลิตภัณฑ 11.9 kg<br />

น้ํา 48.6 kg o<br />

45 C น้ํา 12.6kg<br />

o<br />

55 C น้ํา 0.4 kg<br />

(1.25% solid) (4.64% solid) (ความชื้น 3.2%)<br />

แอลกอฮอล 203.6 kg Q =187,700kJ แอลกอฮอล 71.7 kg<br />

น้ํา 36 kg น้ํา 12.2 kg


67<br />

1. คํานวณหาพลังงานความรอนที่ใหแกเครื่องตมระเหย<br />

กําหนดให : เปอรเซ็นตการสูญเสียพลังงานความรอน เทากับ 50%<br />

Net heat = Sensible heat + Latent heat<br />

Sensible heat :<br />

สําหรับเอทิลแอลกอฮอล<br />

สําหรับน้ํา<br />

สําหรับฟาทะลายโจร<br />

Q ethanol = mCp ∆ T<br />

Q ethanol = 275.3 kg × 2840 J/kg K × (318 – 303) K<br />

Q ethanol = 11,728 kJ<br />

Q water = 48.6 kg × 60.24 J/mol ° C × (45-30) ° C<br />

Q water = 44 kJ<br />

Q ethanol = 4.1 kg × 532 J/mol ° C × (45-30) ° C<br />

= 33 kJ<br />

Latent Heat :<br />

สําหรับเอทิลแอลกอฮอล<br />

Q = m ∆ _________(1)<br />

Hv<br />

จาก Perry’s Chemical Engineers’ Handbook, 7 th edition, 1997<br />

v<br />

2<br />

C2+ C3Tr+<br />

C4Tr<br />

1<br />

(1 )<br />

∆ H = C + −T<br />

r<br />

__________(2)<br />

โดยที่ C1 = 5.69 x 10 7 , C2 = 0.3359 และ C3 = C4 = 0


68<br />

แทนคาลงในสมการ(1) และ (2) จะได<br />

318<br />

∆ H v<br />

= 5.69× 10 + (1 − )<br />

513.9<br />

7 0.3359<br />

และ<br />

∆ = 56,900 kJ / kmol<br />

H v<br />

203.6 kg × 56,900 kJ / kmol<br />

Q =<br />

46.069<br />

Q<br />

= 88,557 kJ<br />

สําหรับน้ํา :<br />

36kg×<br />

40.656 kJ / mol<br />

Q =<br />

18.016<br />

Q<br />

= 81 kJ<br />

ดังนั้น พลังงานความรอนทั้งหมดที่ใชในการระเหยแอลกอฮอล เทากับ 11,728 + 44 + 33<br />

+ 88,557 + 81 = 100,443 kJ เมื่อสมมุติใหเปอรเซ็นตการสูญเสียความรอน 50% จะไดวาพลังงาน<br />

ความรอนทั้งหมดที่ใชในการระเหยแอลกอฮอล เทากับ 200,886 kJ<br />

2. คํานวณหาพลังงานความรอนที่ใหแกเครื่องอบแหง<br />

เนื่องจากในสวนของการอบแหงจะตองเติมแลคโตสลงไปเพื่อทําใหผลิตภัณฑแหง ดังนั้น<br />

จะตองคํานวณคาความรอนที่ใหแกแลคโตสดวย โดยคํานวณคาความจุความรอนจาก Kopp’s rule<br />

(Elementary Principles Of Chemical Process, 3 rd ed., 2000)<br />

( Cp) = 12( Cpa) + 22( Cpa) + 11( C<br />

pa)<br />

C12H22O11<br />

C H O<br />

( ) ( ) ( )<br />

488.2 /( ) J mol C<br />

= ⋅ o<br />

กําหนดให : เปอรเซ็นตการสูญเสียความรอน เทากับ 50%<br />

o<br />

= ⎡⎣<br />

12× 7.5 + 22× 9.6 + 11× 17 ⎤⎦J /( mol⋅<br />

C)


69<br />

Sensible heat :<br />

สําหรับเอทิลแอลกอฮอล :<br />

สําหรับน้ํา :<br />

สําหรับฟาทะลายโจร:<br />

สําหรับแลคโตส :<br />

Q ethanol = mCp ∆ T<br />

Q ethanol = 71.7 kg × 2840 J/kg K × (328 – 303) K<br />

Q ethanol = 5,091 kJ<br />

Q water = 12.6 kg × 60.24 J/mol ° C × (55-30) ° C<br />

Q water = 19 kJ<br />

Q ethanol = 4.1 kg × 532 J/mol ° C × (55-30) ° C<br />

= 55 kJ<br />

Q ethanol = 8.2 kg × 488.2 J/mol °C × (55-30) ° C<br />

= 100 kJ<br />

Latent Heat :<br />

สําหรับเอทิลแอลกอฮอล :<br />

Q = m ∆ _________(1)<br />

Hv<br />

จาก Perry’s Chemical Engineers’ Handbook, 7 th edition, 1997<br />

2<br />

C2+ C3Tr+<br />

C4Tr<br />

∆ Hv<br />

= C1 + (1 −Tr) __________(2)<br />

โดยที่ C1 = 5.69 x 10 7 , C2 = 0.3359 และ C3 = C4 = 0


70<br />

แทนคาลงในสมการ(1) และ (2) จะได<br />

328<br />

∆ H v<br />

= 5.69× 10 + (1 − )<br />

513.9<br />

7 0.3359<br />

∆ = 56,900 kJ / kmol<br />

H v<br />

จะได<br />

71.7 kg × 56,900 kJ / kmol<br />

Q =<br />

46.069<br />

Q<br />

= 88,557 kJ<br />

สําหรับน้ํา :<br />

12.2kg×<br />

40.656 kJ / mol<br />

Q =<br />

18.016<br />

Q<br />

= 28 kJ<br />

ดังนั้น พลังงานความรอนทั้งหมดที่ใชในการอบแหง เทากับ 5,091 + 19 + 55 + 100<br />

+ 88,557 + 28 = 93,850 kJ เมื่อกําหนดใหเปอรเซ็นตการสูญเสียความรอน เทากับ 50% จะไดวา<br />

พลังงานความรอนทั้งหมดที่ใชในการระเหยแอลกอฮอล เทากับ 187,700 kJ


71<br />

3. คํานวณหาพลังงานความรอนที่ใหแกเครื่องควบแนน (Condensor)<br />

กําหนดให : ละเลยการคํานวณ sensible heat และ latent heat และสามารถควบแนนเอทิลแอล<br />

กอฮอลจากกระบวนการตมระเหยและกระบวนการอบแหงได 100% โดยที่ Evaporating<br />

temperature = −30 o C และ Condensing temperature = 30 o C<br />

W = 183,196 kJ<br />

แอลกอฮอล 275.3 kg<br />

เครื่องควบแนน<br />

−30 o C<br />

แอลกอฮอล 275.3 kg<br />

คํานวณหางานสุทธิที่ตองการในการควบแนนเอทิลแอลกอฮอล โดยกําหนดใหคา ω<br />

(coefficient of performance, COP) เทากับ 1.6 ดังสมการ<br />

heat absorbed at the lower temperature ⎢ ⎥<br />

ω ≡ =<br />

⎣ ⎦<br />

net work<br />

W<br />

Q c<br />

วิธีการคํานวณหาคา<br />

Sensible heat :<br />

Qc<br />

สําหรับเอทิลแอลกอฮอล :<br />

Q ethanol = mCp ∆ T<br />

Q ethanol = 275.3 kg × 2840 J/kg K × (243 – 303) K<br />

Q ethanol = -46,911 kJ


72<br />

Latent Heat :<br />

สําหรับเอทิลแอลกอฮอล :<br />

Q = m ∆ _________(1)<br />

Hv<br />

จาก Perry’s Chemical Engineers’ Handbook, 7 th edition, 1997<br />

v<br />

2<br />

C2+ C3Tr+<br />

C4Tr<br />

1<br />

(1 )<br />

∆ H = C + −T<br />

r<br />

__________(2)<br />

โดยที่ C1 = 5.69 x 10 7 , C2 = 0.3359 และ C3 = C4 = 0<br />

แทนคาลงในสมการ(1) และ (2) จะได<br />

243<br />

∆ H v<br />

= 5.69× 10 + (1 − )<br />

513.9<br />

7 0.3359<br />

∆ = 56,900 kJ / kmol<br />

H v<br />

จะได<br />

275.3 kg × 56,900 kJ / kmol<br />

Q = = 340,024 kJ<br />

46.069<br />

แทนคาลงในสมการ จะได<br />

Q c<br />

⎢ ⎥ 293,113<br />

W =<br />

⎣ ⎦<br />

= = 183,196 kJ<br />

ω 1.6


73<br />

4. การคํานวณคาใชจายดานพลังงาน<br />

กําหนดใหโรงงานใชกระแสไฟฟาที่มีแรงดันตั้งแต 69 กิโลโวลทขึ้นไป และเสียคาพลัง<br />

งานไฟฟาคิดเปนเงิน 1.666 บาท/หนวย (กําหนดใหบังคับใชโดยการไฟฟานครหลวง ตั้งแต พ.ศ.<br />

2543 จนถึงปจจุบัน) โดยที่ 1 ยูนิต = 1 kW⋅ h และ 1 J = 2.778 X 10 -7 kW⋅ h<br />

4.1 การคํานวณคาใชจายดานพลังงานที่ใหแกเครื่องตมระเหย<br />

จากการคํานวณขางตน แสดงวาพลังงานไฟฟาที่ใชในกระบวนการระเหยเอทิล<br />

แอลกอฮอล เทากับ 200,866 kJ ดังนั้น จะตองเสียคาใชจายดานพลังงานไฟฟาที่ใหแกเครื่องตม<br />

ระเหยทั้งหมด เทากับ<br />

−7<br />

1,000J 2.778× 10 kW ⋅h 1.666bath<br />

200,866 kJ × × × = 93<br />

1kJ 1J 1kW ⋅ h<br />

บาท<br />

สมมุติใหสามารถควบแนนเอทิลแอลกอฮอลจากกระบวนการตมระเหยได 100% จาก<br />

การทําดุลมวลพบวาสามารถควบแนนเอทิลแอลกอฮอลกลับคืนมาไดทั้งหมด 240 กิโลกรัม ดังนั้น<br />

คิดเปนคาใชจายดานพลังงานไฟฟาที่ใหแกเครื่องตมระเหยตอกิโลกรัมของเอทิลแอลกอฮอลที่<br />

สามารถควบแนนกลับมาไดทั้งหมด เปนเงิน 0.39 บาทตอกิโลกรัมเอทิลแอลกอฮอล<br />

4.2 การคํานวณคาใชจายดานพลังงานที่ใหแกเครื่องอบแหง<br />

จากการทําดุลพลังงาน พบวาจะตองใชพลังงานไฟฟาในกระบวนการอบแหงทั้งหมด<br />

เทากับ 187,700 kJ ดังนั้นจะตองเสียคาใชจายดานพลังงานไฟฟาที่ใหแกเครื่องอบแหง เทากับ<br />

−7<br />

1,000J 2.778× 10 kW ⋅h 1.666bath<br />

187,700 kJ × × × = 89 บาท<br />

1kJ 1J 1kW ⋅ h<br />

สมมุติใหสามารถควบแนนเอทิลแอลกอฮอลจากกระบวนการอบแหงได 100% จาก<br />

การทําดุลมวลพบวาสามารถควบแนนเอทิลแอลกอฮอลกลับคืนมาไดทั้งหมด 84 กิโลกรัม ดังนั้น


คิดเปนคาใชจายดานพลังงานไฟฟาที่ใหแกเครื่องอบแหงตอกิโลกรัมของเอทิลแอลกอฮอลที่<br />

สามารถควบแนนกลับมาไดทั้งหมด เปนเงิน 1.06 บาทตอกิโลกรัมเอทิลแอลกอฮอล<br />

4.3 การคํานวณคาใชจายดานพลังงานที่ใหแกเครื่องควบแนน<br />

จากการทําดุลพลังงาน พบวาจะตองใชพลังงานไฟฟาในกระบวนการควบแนน เทากับ<br />

183,196 kJ ดังนั้นจะตองเสียคาใชจายดานพลังงานไฟฟาที่ใหแกเครื่องควบแนน เทากับ<br />

74<br />

−7<br />

1,000J 2.778× 10 kW ⋅h 1.666bat<br />

183,196 kJ × × × h = 85 บาท<br />

1kJ 1J 1kW ⋅ h<br />

สมมุติใหสามารถควบแนนเอทิลแอลกอฮอลที่ไดมาจากกระบวนการตมระเหยและ<br />

กระบวนการอบแหงได 100% จากการทําดุลมวลพบวาสามารถควบแนนเอทิลแอลกอฮอลกลับ<br />

คืนมาไดทั้งหมด 324 กิโลกรัม ดังนั้นคิดเปนคาใชจายดานพลังงานไฟฟาที่ใหแกเครื่องควบแนน<br />

ตอกิโลกรัมของเอทิลแอลกอฮอลที่สามารถควบแนนกลับมาไดทั้งหมด เปนเงิน 0.26 บาทตอ<br />

กิโลกรัมของเอทิลแอลกอฮอล<br />

5. การคํานวณอัตราคาไฟฟาที่ใหแกมอเตอรของใบกวน<br />

การสกัดที่อัตราสวนวัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:10 และที่ความเร็วรอบ<br />

ของใบกวนเทากับ 560 รอบตอนาที ในถังกวนขนาด 50 ลิตร จากการวัดกระแสไฟฟา พบวาที่<br />

ความเร็วของใบกวนที่เทากับ 560 รอบตอนาที ใชกระแสไฟฟา เทากับ 0.39 แอมแปร คิดเปนกําลัง<br />

ไฟฟาเทากับ 0.39× 220 = 85.8 วัตต ถาทําการผลิตที่กําลังการผลิต 500 ลิตร จะใชกําลังงานไฟฟา<br />

เทากับ 858 วัตต และใชเวลาในการกวนเทากับ 6 ชั่วโมง<br />

ดังนั้นคิดเปนเงินทั้งหมด เทากับ<br />

858 1.666bath<br />

1kW<br />

W × 6h<br />

9<br />

1kW ⋅h<br />

× × 1000W<br />

=<br />

บาท


75<br />

6. การคํานวณคาใชจายเบื้องตนดานวัตถุดิบ<br />

กระบวนการสกัดฟาทะลายโจรที่กําลังการผลิต 500 ลิตรตอการผลิต 1 งวด ที่อัตราสวน<br />

วัตถุดิบตอเอทิลแอลกอฮอล 85% เทากับ 1:10 ใชวัตถุดิบ 37 กิโลกรัมโดยน้ําหนักแหง และ<br />

เอทิลแอลกอฮอล 370 กิโลกรัม (439 ลิตร) จากขอมูลตนทุนฟาทะลายโจรที่แสดงในตารางผนวก<br />

ที่ ค.1 คิดเปนเงินคาใชจายของฟาทะลายโจรบดแหง เทากับ 37× 55 = 2,035 บาท<br />

เนื่องจากในสวนของกระบวนการอบแหงสารสกัดฟาทะลายโจรจะตองเติมแลคโตสลงไป<br />

เพื่อทําใหผลิตภัณฑแหงที่อัตราสวนปริมาณแลคโตสตอปริมาณของแข็ง เทากับ 2 :1 จากการทํา<br />

ดุลมวลพบวาจะไดปริมาณของแข็งทั้งหมด เทากับ 4.1 กิโลกรัม ดังนั้นจะตองเติมปริมาณแลคโตส<br />

ทั้งหมด เทากับ 8.2 กิโลกรัม จากขอมูลราคาตนทุนแลคโตสที่แสดงในตารางผนวกที่ ค.1 คิดเปน<br />

เงินคาใชจายของแลคโตส เทากับ 8.2 × 90 = 738 บาท<br />

ตารางผนวกที่ ค1 ขอมูลราคาตนทุนของวัตถุดิบ<br />

รายการ<br />

ราคา (บาท)<br />

1. ฟาทะลายโจรแหง กิโลกรัมละ 55<br />

2. เอทิลแอลกอฮอล 95% (จากองคการสุรา กรมสรรพสามิต) ถังละ 552<br />

(1 ถังบรรจุเอทิลแอลกอฮอล 18 ลิตร)<br />

3. แลคโตส กิโลกรัมละ 90


ภาคผนวก ง<br />

ขอมูลความเปนขั้ว(Polarity)ของตัวทําละลายอินทรีย<br />

76


77<br />

ตารางผนวกที่ ง1 คาความเปนขั้ว (Polarity index) ของตัวทําละลายอินทรียชนิดตางๆ<br />

Name Structure bp, o C<br />

Polarity index<br />

(Syder)<br />

i-propyl ether CH 3 CH 2 CH 2 O CH 2 CH 2 CH 3 68.3 2.2<br />

chloroform CHCl 3 61.2 3.4-4.4<br />

ethyl alcohol CH 3 CH 2 -OH 78 5.2<br />

acetone 56 5.4<br />

methyl alcohol CH 3 -OH 68 6.6<br />

water H-O-H 100 9


ภาคผนวก จ<br />

ขอมูลคุณสมบัติทางกายภาพและโครงสรางของเอทิลแอลกอฮอลและน้ํา<br />

78


79<br />

ตารางผนวกที่ จ1 สมบัติทางกายภาพและโครงสรางของเอทิลแอลกอฮอล และน้ํา<br />

Molecular<br />

size<br />

Molar<br />

mass<br />

Density<br />

and phase<br />

Melting<br />

point<br />

Boiling<br />

point<br />

Heat<br />

capacity<br />

เอทิลแอลกอฮอล น้ํา<br />

bond angles :(H--C--H) =108.6;<br />

(C--O--H) = 108.5;<br />

(C--C--C) = 109.5<br />

bond length : R(C--C) = 154 pm;<br />

R(C--H) =109 pm;<br />

R(C--O) = 1.43 pm;<br />

R(O--H) = 0.94 pm<br />

46.07 g/mol 18.02 g/mol<br />

0.789 g/cm 3 , liquid 1 g/cm 3 , liquid<br />

-114.3 °C (158.8 K) 32 °F, 0 °C (273.15 K)<br />

78.4 °C (351.6 K) 212 °F, 100 °C (373.15 K)<br />

13.64 J/mol ° C<br />

60.24 J/mol ° C<br />

Molecular<br />

non-linear bent<br />

non-linear bent<br />

shape<br />

Dipole<br />

1.69 D (gas) 1.85 D<br />

moment<br />

Viscosity 1.200 cP at 20 °C 1 mPa·s at 20 °C


80<br />

ประวัติการศึกษาและการทํางาน<br />

ชื่อ นายกิตติศักดิ์ พงศพิสิฐสันต<br />

เกิดวันที่ 23 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2524<br />

สถานที่เกิด อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช<br />

ประวัติการศึกษา วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (พ.ศ. 2546)<br />

ตําแหนงปจจุบัน -<br />

สถานที่ศึกษาปจจุบัน ภาควิชาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

ทุนการศึกษาที่ไดรับ ทุนวิจัยจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย(สกว.) ภายใตโครงการ<br />

“ การผลิตสารสกัดฟาทะลายโจรในระดับกอนโรงงานตนแบบ ”

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!