01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

วิทยานิพนธ<br />

เรื่อง<br />

ผลของ 1-methylcyclopropene ที่มีตออายุการปกแจกันและคุณภาพดอกกลวยไมสกุลหวาย<br />

Effects of 1-Methylcyclopropene on Vase Life and Quality of Cut Dendrobium Flowers<br />

โดย<br />

นางสาวนริสา อุทัยฉาย<br />

เสนอ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร)<br />

พ.ศ. 2546<br />

ISBN 974-359-584-8


กิตติกรรมประกาศ<br />

กราบขอบพระคุณคณะกรรมการที่ปรึกษา ศาสตราจารย ดร.สายชล เกตุษา ประธานกรรมการ<br />

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ลพ ภวภูตานนท กรรมการสาขาวิชาเอก และ อาจารย ดร.พุทธพร สองศรี<br />

กรรการสาขาวิชารอง ที่กรุณาใหคําแนะนําปรึกษาและตรวจแกไขวิทยานิพนธอยางดียิ่งและขอกราบ<br />

ขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.นวรัตน อุดมประเสริฐ และ ผูชวยศาสตราจารย ดร.เรวัต เลิศฤทัยโยธิน<br />

ผูแทนบัณฑิตวิทยาลัย ที่กรุณาใหคําแนะนําและตรวจแกไขวิทยานิพนธใหสมบูรณยิ่งขึ้น<br />

ขอขอบพระคุณโครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว<br />

ขอขอบพระคุณเจาหนาที่งานวิจัยพืชผลหลังเก็บเกี่ยวทุกทาน ที่กรุณาใหความชวยเหลือ<br />

และอํานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน และขอขอบพระคุณคุณอภิญญา วิสุทธิอมรกุล<br />

คุณสุกันยา ชิดตระกูล คุณลําแพน ขวัญพูล และพี่ ๆ เพื่อน ๆ นอง ๆ ทุกทานที่ใหคําแนะนําและ<br />

ชวยเหลือในการทําวิทยานิพนธ<br />

สุดทายนี้กราบขอบพระคุณเปนอยางสูงสําหรับ คุณพอ คุณแม พี่ชายและครอบครัว<br />

ครอบครัววิสุทธิอมรกุล และลูกสาวสุดที่รักสี่ขาปุกกี้ ที่ใหการสนับสนุน ชวยเหลือเปนกําลังใจ<br />

ในการศึกษาและการทําวิทยานิพนธดวยดีตลอดมา<br />

นริสา อุทัยฉาย<br />

กันยายน 2546


(1)<br />

สารบาญ<br />

หนา<br />

สารบาญ (1)<br />

สารบาญตาราง (2)<br />

สารบาญภาพ (4)<br />

คํานํา 1<br />

การตรวจเอกสาร 4<br />

อุปกรณและวิธีการ 11<br />

ผลการทดลอง 22<br />

วิจารณ 70<br />

สรุป 76<br />

เอกสารอางอิง 77


(2)<br />

สารบาญตาราง<br />

ตารางที่ หนา<br />

1 ปริมาณสาร EthylBloc ® สําหรับอัตราการใหสารความเขมขนระดับ nl/l<br />

ปริมตร/ปริมาตร และปริมาณน้ํากลั่น (อัตราสวนของ EthylBloc ® :น้ํากลั่น = 1:16) 12<br />

2 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับ 1-MCP<br />

ความเขมขน 0 100 200 300 400 และ 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง<br />

ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส 24<br />

3 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับ 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l ที่ระยะเวลา 1 2 3 และ 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก 30<br />

4 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับ 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิตางกัน 3 ระดับ<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก 35<br />

5 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมทําการลดอุณหภูมิเบื้องตน<br />

ที่ 10 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที กอนไดรับ 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก 40<br />

6 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมที่ไดรับสารละลายเคมี<br />

ยืดอายุการปกแจกันและ/หรือการใช 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง<br />

ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก 45<br />

7 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวาย 4 พันธุ ที่ไดรับ 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก 50


(3)<br />

สารบาญตาราง (ตอ)<br />

ตารางที่ หนา<br />

8 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมที่ไมไดรับและ<br />

ไดรับ 1-MCP และ ACC 2.0 mM 65


(4)<br />

สารบาญภาพ<br />

ภาพที่ หนา<br />

1 ปริมาณกาซเอทิลีนภายในกลองกระดาษบรรจุดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

หลังไดรับสาร 1-MCP ที่ความเขมขนตางกัน นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ<br />

25 องศาเซลเซียส 25<br />

2 การบานของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขนตางกัน นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสโดยผาน (A)<br />

และไมผานการเลียนแบบการสงออก (B) 26<br />

3 การรวงของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขนตางกัน นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส โดยผาน (A)<br />

และไมผานการเลียนแบบการสงออก (B) 27<br />

4 การรวงของดอกบานของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขนตางกัน นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส โดยผาน (A)<br />

และไมผานการเลียนแบบการสงออก (B) 28<br />

5 การบานของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l ที่ระยะเวลาตางกัน 4 ระดับ ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก 31<br />

6 การรวงของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l ที่ระยะเวลาตางกัน 4 ระดับ ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก 32


(5)<br />

สารบาญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่ หนา<br />

7 การรวงของดอกบานในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l ที่ระยะเวลาตางกัน 4 ระดับ ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก 33<br />

8 การบานของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ที่ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิตางกัน 3 ระดับ<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก 36<br />

9 การรวงของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิแตกตางกัน 3 ระดับ<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก 37<br />

10 การรวงของดอกบานในกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมงที่อุณหภูมิตางกัน 3 ระดับ<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก 38<br />

11 การบานของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมทําการลดอุณหภูมิเบื้องตน<br />

ที่ 10 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที กอนไดรับสาร 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก 41<br />

12 การรวงของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมทําการลดอุณหภูมิเบื้องตน<br />

ที่ 10 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที กอนไดรับสาร 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส แลวผานเลียนแบบการสงออก 42


(6)<br />

สารบาญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่ หนา<br />

13 การรวงของดอกบานในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมทําการลดอุณหภูมิเบื้องตน<br />

ที่ 10 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที กอนไดรับสาร 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก 43<br />

14 การบานของดอกตูมของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม เมื่อไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และ/หรือ ใชสารละลายยืดอายุ<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก 46<br />

15 การรวงของดอกตูมของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมเมื่อไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และ/หรือ ใชสารละลายยืดอายุ<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก 47<br />

16 การรวงของดอกบานในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม เมื่อไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และ/หรือ ใชสารละลายยืดอายุ<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก 48<br />

17 การบานเพิ่มของดอกตูมในดอกกลวยไมหวาย 4 พันธุ ‘Wanna’ และ ‘Anna (A)<br />

‘Lady’ และ ‘Pompadour’ (B) ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก 51<br />

18 การรวงของดอกตูมในดอกกลวยไมหวาย 4 พันธุ ‘Wanna’ และ ‘Anna (A)<br />

‘Lady’ และ ‘Pompadour’ (B) ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก 52


(7)<br />

สารบาญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่ หนา<br />

19 การรวงของดอกบานของดอกกลวยไมหวาย 4 พันธุ ‘Wanna’ และ ‘Anna (A)<br />

‘Lady’ และ ‘Pompadour’ (B) ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก 53<br />

20 กิจกรรมของเอนไซม ACC synthase ของดอกตูมของดอกกลวยไมหวาย<br />

พันธุโซเนียบอม ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP 56<br />

21 ปริมาณ ACC ในสวนของดอกตูมของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP 57<br />

22 กิจกรรมของเอนไซม ACC synthase ในสวนเสาเกสรของดอกบานของ<br />

ดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม ที่ไม ไดรับและไดรับ 1-MCP 58<br />

23 ปริมาณ ACC ในสวนเสาเกสรของดอกบานของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP 59<br />

24 กิจกรรมของเอนไซม ACC synthase ในสวนของกลีบดอกของดอกกลวยไมหวาย<br />

พันธุโซเนียบอม ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP 60<br />

25 ปริมาณ ACC ในสวนของกลีบดอกของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP 61<br />

26 การผลิตเอทิลีนของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมทั้งที่ไมไดรับและ<br />

ไดรับ 1-MCP โดยแยกสวนดอกตูมและดอกบานออกจากกัน 62


(8)<br />

สารบาญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่ หนา<br />

27 การผลิตเอทิลีนของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมดอกตูม (A) และดอกบาน<br />

(B) ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP และ ACC 2.0 mM 66<br />

28 การบานของดอกตูมของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมทั้งที่ไมไดรับและไดรับ<br />

1-MCP และ ACC 2.0 mM 67<br />

29 การคว่ําของดอกบานของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมทั้งที่ไมไดรับและไดรับ<br />

1-MCP และ ACC 2.0 mM 68<br />

30 การรวงของดอกตูม (A) และดอกบาน (B) ของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

ทั้งที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP และ ACC 2.0 mM 69


ผลของ 1-methylcyclopropene ที่มีตออายุการปกแจกันและคุณภาพ<br />

ดอกกลวยไมสกุลหวาย<br />

Effects of 1-Methylcyclopropene on Vase Life and Quality of<br />

Cut Dendrobium Flowers<br />

คํานํา<br />

ดอกกลวยไมเปนพืชเศรษฐกิจสําคัญของประเทศไทย ซึ่งมีมูลคาการสงออกมากที่สุด<br />

ในกลุมพืชสงออกประเภทไมดอกไมประดับ ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกกลวยไมทั่วประเทศ ในป<br />

2542 ประมาณ 14,000 ไร ใหผลผลิต 29,000 ตัน (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2544)<br />

จังหวัดที่ปลูกกลวยไมมากที่สุดคือจังหวัดนครปฐม และจังหวัดใกลเคียง ไดแก สมุทรสาคร<br />

กรุงเทพฯ ราชบุรี และนนทบุรี ตามลําดับ (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2544) ผลผลิต<br />

ของดอกกลวยไมตัดดอกที่สงออกนั้นสามารถนําเงินตราตางประเทศเขาสูประเทศไทยคิดเปนมูลคา<br />

นับพันลานบาท ในชวงป 2540-2544 มีมูลคาการสงออก 744.7 1,046.6 1,061.0 1,231.2 และ<br />

1,703.8 ลานบาทตอปตามลําดับ (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2544) ตลาดตางประเทศที่สําคัญ<br />

ไดแก ญี่ปุน อิตาลี สหรัฐอเมริกา และเนเธอรแลนด เปนตน (กรมศุลกากร, 2542)<br />

กลวยไมที่ปลูกในประเทศมีหลายสกุล และหลายพันธุ เชน สกุลหวาย (Dendrobium)<br />

สกุลออนซิเดียม (Oncidium) สกุลม็อคคารา (Mokara) สกุลอะแรนดา (Aranda) และสกุลแวนดา<br />

(Vanda) โดยสกุลที่มีพื้นที่ปลูกและสงออกขายตางประเทศมากที่สุดประมาณ 80 เปอรเซนต<br />

ของกลวยไมที่ปลูกทั้งหมดคือสกุลหวาย พันธุที่นิยมปลูกและสงเปนสินคาสงออกไดแก พันธุขาวสนาน<br />

(Wanna) ขาว 5 เอ็น (5 N) มีกลีบดอกสีขาว พันธุโซเนีย (Sonia) หรือบอม (Bom) หรือโซเนียบอม<br />

(Sonia bom) เบอร 17 18 28 และ แอนนา (Anna) มีกลีบดอกสีชมพู พันธุมาดามปอมปาดัวร<br />

(Pompadour) มีกลีบดอกสีมวง และพันธุซาบิน (Sabin) มีกลีบดอกสีแดง ผลผลิตกลวยไมหวาย<br />

ตัดดอกที่ไดประมาณ 54 เปอรเซ ็นต สงออกไปจําหนายตางประเทศ<br />

ประเทศไทยสงออกกลวยไมตัดดอกเปนอันดับหนึ่งในแถบเอเชีย และมีประเทศเพื่อนบาน<br />

อยางมาเลเซียและสิงคโปรเปนประเทศคูแขงในการผลิตกลวยไมตัดดอกเขตรอนที่สําคัญ


ฉะนั้นการควบคุมและการปรับปรุงคุณภาพดอกกลวยไมที่สงออกไปยังประเทศปลายทาง จึงเปน<br />

เรื่องสําคัญ ซึ่งโดยธรรมชาติแลวดอกกลวยไมมีอายุการใชงานที่คอนขางนานกวาดอกไมชนิดอื่น<br />

แตกลับไดรับเรื่องรองเรียนจากประเทศผูรับปลายทาง ในเรื่องคุณภาพของดอกกลวยไมไมดี<br />

คือดอกเหี่ยว และดอกรวง สิ่งเหลานี้แสดงวาการปฏิบัติไมเหมาะสม ตั้งแตในแปลงปลูก<br />

และการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การผลิตกลวยไมตัดดอกเพื่อการสงออกนั้น จําเปนตองผลิตใหได<br />

ดอกที่มีคุณภาพดี บานทน และมีสีสดใส ซึ่งเปนที่ตองการของผูซื้อ ในตลาดตางประเทศ<br />

เพราะผูซื้อในตลาดตางประเทศ เชน ญี่ปุน อิตาลี และสหรัฐอเมริกา ฯ เปนประเทศที่มีฐานะ<br />

ทางเศรษฐกิจดีและสามารถซื้อไดในราคาแพง สวนใหญซื้อดอกกลวยไมดวยความพอใจเพื่อนําไป<br />

ใหเปนของขวัญ หรืออาจจะนําไปใชเอง และดอกกลวยไมที่เหลือ 46 เปอรเซนต จําหนายในตลาด<br />

ภายในประเทศทั้งขายปลีกและขายสง (อภิสิทธิ์ และคณะ, 2541) การปลูกเลี้ยงกลวยไมในปจจุบัน<br />

เกษตรกรพยายามทุกวิถีทางที่จะทําใหตนกลวยไมออกดอกเร็วและใหดอกจํานวนมาก โดยใชปุย<br />

และสารเคมีตาง ๆ เรงการออกดอก การปฏิบัติตาง ๆ เหลานี้ทําใหดอกกลวยไมที่ตัดจากตน<br />

มีลักษณะอวบน้ําและบานไมทนเมื่อถึงปลายทางในตางประเทศและเมื่อตัดดอกกลวยไมมาแลว<br />

ผูสงออกพยายามบรรจุดอกกลวยไมใหจํานวนชอตอกลองใหไดมากที่สุด เนื่องจากคาขนสงทาง<br />

เครื่องบินมีคาระวางแพงและความไมแนนอนของเที่ยวบินทําใหคุณภาพของดอกกลวยไมไมดีเมื่อ<br />

ถึงปลายทาง โดยทั่วไปดอกไมที่ตัดจากตน 1/3 ของอายุการปกแจกันหรือการบานทนขึ้นอยูกับ<br />

การปฏิบัติในแปลงปลูก และ 2/3 ของอายุการปกแจกันขึ้นอยูกับการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว<br />

(สายชล, 2531)<br />

ถึงแมวาดอกกลวยไมจะถูกตัดจากตนแมแลว แตดอกกลวยไมยังเปนของสดที่มีชีวิต<br />

มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมีหลายอยางเชนเดียวกับขณะที่อยูบนตนเดิม เชน การหายใจ<br />

การคายน้ํา การเปลี่ยนสีของกลีบดอก และการสรางเอทิลีนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้ มีผลกระทบ<br />

ตอคุณภาพและอายุการใชงานของดอกไมอยางมาก แนวทางแกไขปญหาโดยการใชกอนสําลีชุบน้ํา<br />

พันโคนกานชอดอก การใชหลอดพลาสติกบรรจุน้ําหรือน้ํายายืดอายุเสียบโคนกานสามารถชวยยืด<br />

อายุการใชงานดอกกลวยไมไดแตไมสามารถแกไขผลของเอทิลีนที่มีตอดอกกลวยไมคือ ดอกเหี่ยว<br />

และดอกรวงได (สายชล, 2531) เมื่อไมนานนี้คณะวิจัยชาวสหรัฐไดคนพบสารเคมีชนิดใหม<br />

ที่มีประสิทธิภาพยับยั้งการสรางและการทํางานของเอทิลีนไดคือ 1-methylcyclopropene (1-MCP)<br />

โดยใชที่ความเขมขนต่ํามากระดับพีพีบี (ppb) สามารถปองกันความเสียหายของไมดอกไมประดับ<br />

ที่เกิดจากเอทิลีนได (Serek et al., 1994) ดังนั้นจึงนามีการทดลองใช 1-MCP กับดอกกลวยไม<br />

เพื่อปรับปรุงคุณภาพและยืดอายุการปกแจกันของดอกกลวยไมเพื่อการสงออก<br />

2


3<br />

วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อศึกษาผลของการใชสาร 1-MCP ที่มีตอการเปลี่ยนแปลงทางสรีระและการเสื่อมสภาพ<br />

ของดอกกลวยไมหลังการเก็บเกี่ยว<br />

2. เพื่อศึกษาวิธีการที่เหมาะสมสําหรับการใช 1-MCP กับดอกกลวยไมสกุลหวาย<br />

3. เพื่อศึกษาผลของสาร 1-MCP ที่มีตอการยับยั้งเอทิลีนในดอกกลวยไมสกุลหวาย<br />

หลังการเก็บเกี่ยว


4<br />

การตรวจเอกสาร<br />

ลักษณะทางพฤกษศาสตรของกลวยไม <br />

กลวยไมเปนพืชวงศใหญมีขอบเขตของลักษณะกวางขวางมีความแตกตางกันในแตละชนิด<br />

หรือประเภทในกลุมกลวยไม (ไพบูลย, 2521)<br />

ลําตน<br />

กลวยไมมีลําตนปกติ คือมี ขอ ปลอง ตามแบบของลําตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั่ว ๆ ไป<br />

สวนเหนือที่ติดกับขอ มีตาซึ่งจะงอกเปนหนอออน กิ่งออน หรือชอดอกได ลําตนกลวยไมประเภทนี้<br />

จัดเปนประเภทเจริญทางยอด (monopodial) เชน แวนดา เอื้องกุหลาบเปนตน กลวยไมที่มีลักษณะ<br />

ลําตนตางไปจากลําตนปกติ โดยทําหนาท ี่แบบลําตน คือมีตาสามารถแตกหนอ หรือแทงชอดอก<br />

ออกจากสวนเหลานี้ได แตมีลักษณะผิดไปจากลําตนปกติ คือมีการเจริญเติบโตและรูปทรงเปนแบบ<br />

เจริญทางขาง (sympodial) เชน แคทลียา เด็นโดรเบี้ยม (หวาย) เปนตน กลาวคือ มีตนที่นอนราบ<br />

กับพื้นดิน เรียกวา เหงา (rhizome) มีใบชูตั้งขึ้นมาจากเหงา ทําหนาที่คลายกานใบ<br />

มีลักษณะอวบอวนเก็บน้ําเก็บอาหารไดมาก เรียกชื่อเฉพาะวา ลําลูกกลวย (pseudo-bulb)<br />

และสวนลําลูกกลวยนี้มีขอ ปลองและตาที่แตกหนอเปนเหงาเล็ก ๆ โตเปนตนใหมได เชน<br />

สกุลหวายเปนตน และยังมีลําตนกลวยไมที่เปลี่ยนแปรรูปไปเปนหัว ฝงอยูใตดิน ทําหนาที่คลายตน<br />

แตมีประสิทธิภาพในการสะสมอาหารไดดีและแตกตาออกมาจากหัวได และชูใบขึ้นมาเหนือพื้นดิน<br />

กลวยไมเปนพืชจําพวกใบเลี้ยงเดี่ยว เชนเดียวกับหญาที่ใบมีเสนใบขนานตามความยาว<br />

ของใบ ลําตนเสมอกันโดยตลอดไมมีแกนไม ไมมีการแบงแยกเปนเปลือกไมและเนื้อไม<br />

กลวยไมไมมีรากแกวอยางพืชใบเลี้ยวคู มีระบบรากเชนเดียวกับออยและขิงขา กลวยไมมี<br />

ความใกลชิดทางวิวัฒนาการกับพืชวงศลิลี (Liliaceae) และ พืชในวงศขิง (Zingiberaceae)<br />

ใบ<br />

ใบกลวยไมมีหลายลักษณะ ไดแก รูปทรงกระบอก เชน แวนดาใบกลม ใบแบน เชน<br />

แวนดาใบแบน ใบหนา ใบบาง ใบจีบ เชน สกุลสแพโตกล ็อตทิส (Spathoglottis) ใบเล็กมาก เชน


กลวยไมพญาไรใบ (Chiloschista usneoides LDL) หรือ ใบมีสีสันสวยงาม เชน กลวยไมรองเทานารี<br />

(Paphiopedilum) เปนตน<br />

ชอดอก<br />

5<br />

ชอดอกของกลวยไม (inflorescenes) มีลักษณะแตกตางกันไปอยางกวางขวางแลวแตสกุล<br />

และชนิดของกลวยไม เชน ในสกุลลุยเซีย (Luisia) มีกานดอกสั้นมาก แตในสกุลหวายลูกผสม<br />

ปอมปาดัวร มีชอดอกที่ยาวมากประมาณ 1 เมตร ชอดอกบางชนิดตั้งแข็ง (erect)<br />

บางชนิดหอยหัวลง บางชนิดมีการแตกแขนงชอดอกยอยแยกออกไปอีก ตาของกลวยไมอยูตามขอ<br />

ของกานสามารถแตกและเจริญออกมาเปนตนกลวยไมเล็ก ๆ ได กานชอนับจากโคนกานซึ่งชิดกับ<br />

ลําตนหรือลําลูกกลวยออกไปถึงดอกแรกหรือดอกที่ใกลโคนชอที่สุด เราเรียกสวนนี้วากานชอดอก<br />

(scape หรือ peduncle) ชอดอกชนิดที่ไมมีการแตกแขนง เรียกวา ชอกระจะ (raceme)<br />

ชอดอกอาจเกิดจากตาซึ่งอยูในสวนตาง ๆ ไดหลายสวน เชน จากตาที่ปลายของลําลูกกลวย<br />

ในแคทลียา จากขอซึ่งอยูปลายลําลูกกลวย อยางในสกุลหวาย เปนตน<br />

ดอกกลวยไม<br />

ดอกของกลวยไมเปนดอกแบบสมบูรณเพศ (bisexual flower) มีรังไขอยูใตกลีบดอก<br />

เรียกวา อีพิจีนัส (epigynous flower) กานดอกสวนที่อยูใกลดอก ก็คือสวนของรังไข<br />

สวนที่อยูเหนือรังไขทั้งหมด เรียกวา เพอริโกเนี่ยม (perigonium) นับตั้งแตกลีบนอก กลีบใน ปาก<br />

เสาเกสร และสวนตาง ๆ ที่อยูบนเสาเกสรทั้งหมดของดอกกลวยไม ดอกมีรูปแบบแบบซีกซาย<br />

และซีกขวาเหมือนกัน เรียกวา สมมาตรดานขาง (bilateral symmetry)<br />

ดอกกลวยไมเปนดอกแบบสมบูรณเพศ มีเกสรตัวผูกับยอดของตัวเมียอยูบนสวนเดียวกัน<br />

มีลักษณะเปนเดือยหรือสวนที่ยื่นออกมาจากกลางดอกเรียกวา เสาเกสร (column) โดยถือวา<br />

เสาเกสรเปนสวนของกานเกสรตัวผูและกานของยอดตัวเมียซึ่งรวมเปนกานเดียวกัน เกสรตัวผู<br />

(pollen) ของดอกกลวยไมมีลักษณะผิดไปจากดอกไมอื่น ๆ ที่จะมีลักษณะเปนละอองเล็กละเอียด<br />

แตเกสรตัวผูของดอกกลวยไมมีลักษณะเปนกอนแข็ง ๆ โดยเปนการรวมกลุมกันของเกสรเล็ก ๆ<br />

จํานวนมากมายเปนเรือนแสนเรือนลาน เรียกเกสรที่เปนกอนนี้วา พอลลิเนีย (pollinia)<br />

ภายในดอกจะมีจํานวนเปนคู บางชนิดมีเพียงคูเดียวแตบางชนิดอาจมีหลายคูก็ได หรือบางชนิด


ก็มีลักษณะเหนียวขนคลายแปงเปยกขน ฝกกลวยไมหรือที่เรียกวาผลนั้น ภายในมีเมล็ดจํานวน<br />

มากนับหมื่นหรือถึงแสน โดยมีลักษณะเล็กเปนผงละเอียดมากสามารถปลิวกระจายไปตามลม<br />

ไดงาย (ระพี, 2516)<br />

กลวยไมสกุลหวาย<br />

6<br />

กลวยไมสกุลหวาย (Dendrobium spp.) จัดอยูในวงศ Orchidaceae ซึ่งเปนสกุลที่ใหญที่สุด<br />

ในบรรดากลวยไมสกุลตาง ๆ ทั้งหมดที่พบในประเทศไทย มีการแพรกระจายพันธุออกไป<br />

ในบริเวณกวางทั้งในทวีปเอเซีย และบริเวณหมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟค กลวยไมหวาย<br />

ที่มีการเจริญเติบโตและรูปทรงแบบซิมโพเดียลมีระบบรากแบบกึ่งรากอากาศ (semi-epiphyte)<br />

โดยปกติจะอาศัยเกาะอยูตามตนไม รากบางสวนจะชอนไชไปตามเปลือกไม บางสวนเกาะยึด<br />

แนบสนิทกับตนไม (ไพบูลย, 2521) ลักษณะทั่ว ๆ ไปของดอก กลีบนอกบน และกลีบนอกคูลาง<br />

ยาวพอ ๆ กัน แตกลีบนอกบนอยูอยางอิสระเดี่ยว ๆ สวนกลีบนอกคูลางมีสวนประสาน<br />

ติดกันตรงสันหลังของเสาเกสร ซึ่งมีลักษณะยื่นออกไปทางดานหลังของสวนลางของดอก<br />

สวนโคนของกลีบนอกคูลางและสวนฐานของเสาเกสรซึ่งประกอบกันมีลักษณะคลายเดือยที่เรียกวา<br />

เดือยดอก (ระพี, 2530) มีการเจริญเติบโตแบบซิมโพเดียล (sympodial) คือ มีเหงา (rhizome)<br />

ซึ่งเปนตนที่แทจริงเจริญเติบโตตามแนวนอน โดยมีลําลูกกลวย (pseudo-bulb) เจริญเติบโต<br />

เหนือดินทําหนาที่คลายเปนลําตนที่แตกใบออน และชอดอก มีขอ ปลอง ตา อาจแตกหนอ<br />

เกิดเปนเหงาไดใหมอีก (ระพี, 2516)<br />

ขั้นตอนการสรางเอทิลีน<br />

ดอกไมทั้งที่ไมไดผสมเกสรและผสมเกสร และดอกไมที่เกิดบาดแผลมีขั้นตอน (pathway)<br />

ของการสรางเอทิลีนไมแตกตางจากผักและผลไม (Yang and Hoffman, 1984; Abeles et al., 1992)<br />

คือ เอทิลีนที่เกิดจากสารเริ่มตน (precursor) ที่เปนกรดอะมิโน คือ เมไธโอนีน (methionine)<br />

เมไธโอนีนจะถูกเปลี่ยนเปน S-adenosyl methionine (SAM) โดยมีเอนไซม S-adenosyl methionine<br />

transferase เปนตัวเรงปฏิกิริยาเคมี สาร SAM จะถูกเปลี่ยนเปน 1-aminocyclopropane-1-carboxylic<br />

acid (ACC) โดยมีเอนไซม ACC synthase เปนตัวเรงปฏิกิริยา ACC จะถูกเปลี่ยนเปนเอทิลีน<br />

ในสภาพของบรรยากาศที่มีออกซิเจน โดยมี ACC oxidase เปนตัวเรงปฏิกิริยาจุดที่มีการควบคุม<br />

การสรางเอทิลีน (rate-limiting step) ภายในดอกไมมีอยางนอย 3 ทางคือ 1) ปริมาณ ACC


ซึ่งขึ้นอยูกับกิจกรรมของ ACC synthase ในการเปลี่ยน SAM เปน ACC 2) การเกิด 1-(malonyl<br />

amino)-cyclopropane-1-carboxylic acid (MACC) ซึ่งเปนสารประกอบของ ACC (ACC<br />

congugated compound) ที่สามารถเปลี่ยนไปเปนเอทิลีนไดนอย 3) กิจกรรมของเอนไซม ACC<br />

oxidase ที่เปนตัวเรงปฏิกิริยาในการเปลี่ยน ACC เปนเอทิลีนแตจุดสําคัญในการสรางเอทิลีน<br />

ในดอกไมคือระหวาง SAM และ ACC (สายชล, 2531) โดยการเพิ่มขึ้นของเอทิลีนสัมพันธ<br />

กับการเสื่อมสภาพของดอกกลวยไม (Nair and Fong, 1987)<br />

ความเสียหายของดอกไมเนื่องจากเอทิลีน<br />

เนื่องจากดอกกลวยไมหวายที่สงออกนั้นมีลักษณะเปนชอ คือ มีทั้งดอกตูมและดอกบาน<br />

และการบรรจุดอกกลวยไมสงออกนั้นบรรจุอยูในถุงพลาสติกและกลองกระดาษปดฝามีชองระบาย<br />

อากาศ จากรายงานของ Goh et al. (1985) พบวาดอกกลวยไม Dendrobium ‘Jacquelyn Hawaii’<br />

ในวัยดอกตูมมีการสรางเอทิลีนมากกวาดอกที่กําลังรวงโรย สอดคลองกับ Yip and Hews (1988)<br />

พบวาดอกกลวยไม Aranda ‘Christine’ ดอกตูมมีการสรางเอทิลีนสูงมากและคอย ๆ เพ ิ่มมากขึ้น<br />

จนกระทั่งดอกบาน หลังจากนั้นการสรางเอทิลีนคอย ๆ ลดลง ดังนั้นเอทิลีนที่ดอกกลวยไมสรางขึ้นมา<br />

แมวาความเขมขนจะต่ําแตสะสมอยูภายในรอบ ๆ ดอกกลวยไมทําใหเอทิลีนสะสมมากถึงระดับที่<br />

เปนอันตรายตอดอกกลวยไม (Davidson, 1971)<br />

เอทิลีนเปนฮอรโมนพืชที่อยูในรูปกาซ และเปนฮอรโมนที่มีบทบาทมากที่สุดตอการเกิดชราภาพ<br />

(senescence) หรือ การเสื่อมสภาพของดอกไม (สายชล, 2531; Borochov and Woodson, 1989;<br />

Reid and Wu, 1992) ไมวาเอทิลีนจะมาจากแหลงภายนอกหรือมาจากการสรางของดอกไมเอง<br />

เมื่อดอกไมไดรับจะทําใหดอกไมมีการเสื่อมคุณภาพเร็วหรือมีอายุการใชงานสั้น อาการของดอกไม<br />

ที่ไดรับเอทิลีนมีหลายอยาง เชน การเหี่ยว การเปลี่ยนสี ดอกรวง ใบรวง และการโคงงอของ<br />

กานดอกยอยเปนตน อาการเหลานี้ขึ้นอยูกับความเขมขนของเอทิลีน ชนิดของดอกไม วัยของดอกไม<br />

และอุณหภูมิ (สายชล, 2531)<br />

ดอกไมหลายชนิด เชน คารเนชั่น แคทลียา แวนดา และฟาแลนนอฟซิส มีความสามารถ<br />

ในการสรางเอทิลีนไดเหมือนผลไมประเภท climacteric คือ ระบบการสรางเอทิลีนเปน autocatalytic system<br />

เอทิลีนที่ดอกไมไดรับจากภายนอกสามารถชักนําใหดอกไมสรางเอทิลีนขึ้นมาเองได (สายชล, 2531)<br />

7


การเสื่อมสภาพของดอกกลวยไมไมไดเกิดเฉพาะเมื่อไดรับกาซเอทิลีน แตสามารถเกิดได<br />

เมื่อดอกกลวยไมไดรับสารตัวกลาง (intermediate) ในวิถีการสรางเอทิลีนไดเชนกัน เชนการทดลอง<br />

ของฟองจันทร (2536) พบวาดอกตูม ดอกแยม และดอกบานของดอกกลวยไมหวายพันธุปอมปาดัวร<br />

ไดรับ ACC 0.5 mM โดยการแชโคนกานชอดอกเกิดการสรางเอทิลีนเพิ่มขึ้น เรงการชราภาพ และมี<br />

อายุการปกแจกันลดลง และ ACC ความเขมขนสูงขึ้นคือ 2.0 mM ทําใหดอกกลวยไมหวายพันธุ<br />

ซีซาร 4N เกิดการเสื่อมสภาพเร็วกวาดอกกลวยไมที่ไดรับ ACC ความเขมขนต่ํากวาคือ 0.5 และ 1.0 mM<br />

(ประภาพร, 2539)<br />

สารยับยั้งเอทิลีน<br />

สารหลายอยางที่มีคุณสมบัติในการยับยั้งการสรางเอทิลีน ในสวนของปฏิกิริยาเคมีระหวาง<br />

SAM และ ACC synthase เชน aminooxyacetic acid (AOA), aminoethoxyvinyl glycine (AVG),<br />

methoxyvinyl glycine (MVG), rhizobitoxine, และ canaline และสารที่สามารถยับยั้งปฏิกิริยาเคมี<br />

ระหวาง ACC oxidase และ เอทิลีน เชน โคบอลต (Co), นิกเกิล (Ni) และ เงิน (Ag) (Yang and<br />

Hoffman, 1984) ถูกนํามาผสมเปนสารละลายเคมีที่มีสารกําจัดจุลินทรียในน้ําและมีสารอาหาร<br />

สําหรับใชในการแชหรือปกแจกันดอกไม และทําใหดอกไมมีอายุการใชงานไดนานขึ้น (Halevy<br />

and Mayak, 1981) แตปญหาของการนําสารประกอบของโลหะหนักมาใช เชน Co, Ni และ Ag<br />

และมีการทิ้งของเสียลงแหลงน้ําธรรมชาติกอใหเกิดมลภาวะตอสิ่งแวดลอม<br />

จากการคนพบของ Serek et al. (1994) สาร 1-methylcyclopropene (1-MCP)<br />

อยูในรูปกาซที่มีความสามารถในการยับยั้งการทํางานของเอทิลีนโดยเขาจับที่ receptor site แยงกับ<br />

เอทิลีนทําใหเอทิลีนไมสามารถทํางานได คุณสมบัติของ 1-MCP มีสูตรทางเคมีคือ C 4 H 6 มีน้ําหนัก<br />

โมเลกุลเทากับ 54 มีสถานะเปนกาซ ไมมีผลเปนพิษกับหนูเมื่อหนูไดรับโดยการสูดดม และมีคา<br />

LD 50 มากกวา 5,000 mg ตอกิโลกรัม 1-MCP เปนอนุพันธของ cyclopropene สารในกลุมเดียวกัน<br />

เชน diazocyclopentadiene (DACP) ซึ่งสามารถยับยั้งการทํางานของเอทิลีน แต 1-MCP มีประสิทธิภาพ<br />

ในการยับยั้งการทํางานของเอทิลีนไดดีกวา ผลิตภัณฑภายใตชื่อทางการคา EthylBloc ® มีสารออกฤทธิ์<br />

0.14 เปอรเซ็นต<br />

การทดลองใช 1-MCP กับตนบีโกเนีย Begonia xelatior hybrida Fotsch. ‘Najada’ และ<br />

‘Rosa’, B. xtuber hybrida Voss. ‘Non-Stop’, กุหลาบหิน Kalanchoe blossfeldiana Poelln.<br />

8


่ี<br />

‘Tropicana’, และกุหลาบ Rosa hybrida L. ‘Victory Parade’ โดยรมสาร 1-MCP เปนเวลา 6 ชั่วโมง<br />

กอนใหเอทิลีนจากภายนอกความเขมขน 1 µl/l พบวา 1-MCP สามารถยับยั้งการหลุดรวงของใบ<br />

ดอกตูม และดอกบาน และสามารถลดการชราภาพของดอกไมเหลานี้ไดดี ผลของ การยับยั้งเอทิลีน<br />

ดวย 1-MCP นี้เพิ่มสูงขึ้นแบบเสนตรงตามความสัมพันธกับความเขมขนการใช 1-MCP ความเขมขน<br />

20 nl/l ใหผลของการปองกันความเสียหายที่เกิดจากเอทิลีน ไดดีเทา ๆ กับการพนสาร silver<br />

thiosulfate (STS) ความเขมขน 0.5 mM และเมื่อทําการทดลองใช 1-MCP 25 nl/l นาน 6 ชั่วโมง<br />

กอนใหเอทิลีน 1 µl/l นาน 12 ชั่วโมง กับดอกฟลอกซ (Phlox paniculata ‘Rembrant’)<br />

ที่มีลักษณะไวตอเอทิลีนมาก 1-MCP สามารถลดอาการดอกหลุดรวงไดอยางสมบูรณ และทําใหมี<br />

ดอกบานเพิ่มขึ้นดวย รายงานนี้ยังกลาวอีกวา 1-MCP 500 nl/l ไมเปนพิษตอดอกไม (Porat et al.,<br />

1995) สวนในดอกคารเนชั่น (Dianthus barbartud L. และ D. caryophyllus L. ‘Sandra’) ไดรับ<br />

1-MCP 20 nl/l นาน 6 ชั่วโมง กอนใหเอทิลีน 0.4 µl/l นาน 2 ชั่วโมง สามารถยับยั้ง<br />

อาการเหี่ยวที่เกิดจากเอทิลีนได ดอกไมอีก 7 ชนิด ที่มีคุณสมบัติไวตอเอทิลีนคือ Alstroemeria L.,<br />

Antirrhinum majud L., Consolida ambigua L., Dianthus barbartus L., Dianthus caryophyllus L.,<br />

‘Sandra’, Matthiola incana Stock., Penstemon hartwegii Benth. X P.cobaea Nutt. ’Fire-bird’ ท<br />

ไดรับ 1-MCP สามารถยืดอายุการปกแจกันเพิ่มขึ้นเปน 4 เทา (Serek et al., 1995) ในดอกกลวยไม<br />

Cymbidium (Cymbidium sp. ‘Trump’) เมื่อไดรับสาร 1-MCP สามารถยืดอายุการปกแจกัน<br />

ใหนานข ึ้นจาก 6-7 วันเปน 19 วัน เมื่อเทียบกับดอกกลวยไมที่ไมไดรับสาร 1-MCP (Heyes and<br />

Johnston, 1998)<br />

วิธีการรมสาร 1-MCP (application condition) เปนความสัมพันธระหวางความเขมขน เวลา<br />

และอุณหภูมิ ระยะเริ่มแรกของการนํา 1-MCP มาใช นักวิจัยสวนใหญรมสารที่อุณหภูมิต่ําในชวง<br />

5-10 องศาเซลเซียส ซึ่งใหผลการทดลองไมเต็มประสิทธิภาพกับบางพืช เชนในผักชี (Coriandrum<br />

sativum) ไดรับสาร 1-MCP ที่อุณหภูมิ 5-10 องศาเซลเซียส ไมสามารถชะลอการชราภาพได (Jiang<br />

et al., 2002) และในพืชดอกเชนตน penstemon (Penstemon) พันธุ ‘Firebird’ ไดรับ 1-MCP ความ<br />

เขมขน 5-20 nl/l ที่อุณหภูมิ 2 องศาเซลเซียส ไมมีประสิทธิภาพในการชะลอการชราภาพแตเมื่อให<br />

1-MCP ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ใหผลการชะลอการชราภาพไดอยางสมบูรณ (Serek et al.,<br />

1995) ในสวนของระยะเวลาในการรม 1-MCP จากการศึกษาที่ผานมาจะอยูในชวง 12-24 ชั่วโมง<br />

ทําใหประสิทธิภาพการตอบสนองไดอยางสมบูรณ ซึ่งความสัมพันธระหวางเวลา/อุณหภูมิที่<br />

ใหกับบรอคโคลี่ (Ku and Wills, 1999) และผลกลวย (Jiang et al., 1999) เมื่อให 1-MCP ความ<br />

เขมขนสูงสามารถใชระยะเวลาการรมสั้นลงได พันธุปลูกตางกันตองการระยะเวลารมตางกันเชน<br />

9


แอปเปลพันธุ ‘Empire’ สามารถใชระยะเวลาการรมนอยกวาที่ใชกับพันธุ ‘Cortland’ แตใหผลการ<br />

ตอบสนองตอ 1-MCP ความเขมขนเทากัน (DeEll et al., 2002)<br />

10<br />

การยับยั้งเอทิลีนดวยการลดอุณหภูมิเบื้องตน (precooling)<br />

อุณหภูมิมีผลโดยตรงตอการหายใจของดอกไม ดอกไมที่มีอัตราการหายใจสูงจะมีอายุการ<br />

ใชงานและอายุการเก็บรักษาสั้นกวาดอกไมที่มีอัตราการหายใจต่ํา เนื่องจากอาหารที่สะสมไวจะถูก<br />

ใชไปกับการหายใจ ดังนั้นการลดอุณหภูมิของดอกไมหลังการตัดออกจากตนใหต่ําลงอยางรวดเร็ว<br />

จะทําใหดอกไมอยูในสภาพสดและมีอายุการใชงานไดนานขึ้น อุณหภูมิยังมีผลตอการสรางเอทิลีน<br />

เชนกัน โดยอุณหภูมิที่สูงขึ้นทําใหพืชสรางเอทิลีนสูงขึ้นดวย และพืชจะสรางเอทิลีนนอยเมื่อ<br />

อุณหภูมิต่ํา (สายชล, 2531) ดังนั้นจึงมีการลดอุณหภูมิเบื้องตน (precooling) ของดอกไมใหมี<br />

อุณหภูมิต่ําลงเพื่อลดการสรางเอทิลีน ลดการหายใจ ลดการคายน้ํา และลดการเนาเสียจากเชื้อโรค<br />

(Nowak and Rudnicki, 1990) การลดอุณหภูมิเบื้องตนดวยหองเย็น (room cooling) ของดอก<br />

กลวยไมหวายกอนการบรรจุทําใหดอกกลวยไมหวายมีการสรางเอทิลีนลดลงไดอยางชัดเจน ดอก<br />

กลวยไมหวายลดอุณหภูมิเบื้องตนที่ 10 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที มีแนวโนมลดอัตราการสราง<br />

เอทิลีนไดดีที่สุดและใหอายุการปกแจกันนานที่สุด (สายชล และคณะ, 2542)


11<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

ดอกกลวยไมสกุลหวายที่ใชในการทดลอง คือ พันธุโซเนียบอม (Dendrobium ‘Sonia<br />

Bom’) ทุกการทดลอง และในการทดลองที่ 6 ใชพันธุอื่นที่นิยมสงออกมากอีก 4 พันธุคือ ‘Wanna’,<br />

‘Anna’, ‘Lady’, และ ‘Pompadour’ ดอกกลวยไมที่ใชในการทดลองไดจากสวนกลวยไม<br />

บริเวณพุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ใชเกรดสงออกขนาดยาว (55 เซนติเมตร)<br />

หลังจากตัดจากสวนกลวยไมแลวทําการบรรจุแหงลงในกลองกระดาษขนสงโดยรถยนตปรับอากาศ<br />

มายังหองปฏิบัติการภายใน 2 ชั่วโมง หลังการตัดคัดเลือกเฉพาะชอดอกที่มีคุณภาพสม่ําเสมอ<br />

ทั้งขนาดและสี มีดอกตูม 4±2 ดอก และ ดอกบาน 7±3 ดอก ตัดโคนกานชอดอกเฉียง<br />

ใหเหลือความยาวจากโคนกานถึงดอกลางสุด 12 เซนติเมตร เสียบโคนกานชอดอก ลงในหลอด<br />

บรรจุเปยกพลาสติกบรรจุน้ํากลั่น แลวนําไปรมควันดวย 1-MCP ในตูพลาสติกปดสนิทขนาด (37.5<br />

x 47.5 x 35.0 เซนติเมตร) ที่สรางขึ้นใหมีลักษณะปองกันการรั่วไหลของกาซไดดี (air-tight)<br />

ภายในติดตั้งพัดลมไฟฟาขนาดเล็ก และมีชอง (sampling port) ที่สามารถเก็บตัวอยางกาซ<br />

จากภายในตูพลาสติกได แบงการทดลองออกเปน 7 การทดลองดังนี้<br />

การทดลองที่ 1 ศึกษาระดับความเขมขน ของ 1-MCP ที่มีผลตอการเสื่อมสภาพของดอกกลวยไม<br />

หวายพันธุโซเนียบอม<br />

วางแผนการทดลองแบบ 2x6 factorial in completely randomized design (CRD) จํานวน<br />

12 ซ้ํา ๆ ละ 1 ชอดังนี้<br />

ปจจัยที่ 1 มี 2 ระดับคือ ไมเลียนแบบการสงออก และ เลียนแบบการสงออก<br />

ปจจัยที่ 2 มี 6 ระดับ คือ ความเขนขนของ 1-MCP ตั้งแต 0 100 200 300 400 และ 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

มี 12 treatment combination คือ<br />

ทรีทเมนตที่ 1 ไมไดรับ 1-MCP และไมเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนตที่ 2 ไมไดรับ 1-MCP และเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนตที่ 3 ไดรับ 1-MCP 100 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และไมเลียนแบบการสงออก


12<br />

ทรีทเมนตที่ 4 ไดรับ 1-MCP 100 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนตที่ 5 ไดรับ 1-MCP 200 nl/lนาน 4 ชั่วโมง และไมเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนตที่ 6 ไดรับ 1-MCP 200 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนตที่ 7 ไดรับ 1-MCP 300 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และไมเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนตที่ 8 ไดรับ 1-MCP 300 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนตที่ 9 ไดรับ 1-MCP 400 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และไมเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนตที่ 10 ไดรับ 1-MCP 400 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนตที่ 11 ไดรับ 1-MCP 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และไมเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนตที่ 12 ไดรับ 1-MCP 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และเลียนแบบการสงออก<br />

เลือกใช 1-MCP ความเขมขนตั้งแต 100 200 300 400 และ 500 nl/l เนื่องจากการศึกษาเบื้องตน<br />

พบวา 1-MCP ความเขมขนตั้งแต 600 ถึง 1,000 nl/l เมื่อใหกับดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

แลว ไมไดใหผลการทดลองแตกตางจากความเขมขน 500 nl/l ทั้งในดานอายุการปกแจกัน การหลุด<br />

รวงของดอกตูมและดอกบาน<br />

ตารางที่ 1 ปริมาณสาร EthylBloc ® สําหรับอัตราการใหสารความเขมขนระดับ nl/l ปริมาตร/ปริมาตร<br />

และปริมาตรน้ํากลั่น (อัตราสวนของ EthylBloc ® :น้ํากลั่น = 1:16)<br />

ความเขมขนของ 1-MCP (nl/l)<br />

100<br />

500<br />

1000<br />

ตอลูกบาศกเมตร<br />

mg สาร EthylBloc ® ml น้ํากลั่น<br />

160<br />

800<br />

1600<br />

3<br />

17<br />

25


ู<br />

การใหสาร 1-MCP ตามทรีทเมนตขางบน ทําโดยการคํานวณตามคูมือการใชสาร EthylBloc ®<br />

จากบริษัท Rohm and Haas (ตารางที่ 1) เมื่อชั่งสารตามที่คํานวณไดแลวใสในขวดแกว<br />

ขนาดเล็กยึดติดไวที่ผนังตูสําหรับการรมดวยเทปกาว เมื่อนําดอกกลวยไมที่ทําการเตรียมพรอมใชใน<br />

การทดลองมาวางในถาดอะลูมิเนียมเรียบรอยแลวครอบฝาตูใหสนิท เทน้ําหลอขอบตูใหสูง<br />

ประมาณ 1.5 เซนติเมตร เพื่อปองกันการรั่วออกของกาซ หลังจากนั้นใชเข็มฉีดยาดูดน้ํากลั่น<br />

ในปริมาตรที่คํานวณไดตามตารางที่ 1 หยดน้ํากลั่นผานชอง sampling port ลงในขวดแกว<br />

ที่บรรจุสารผง 1-MCP ปฏิกิริยาเคมีของสาร 1-MCP กับน้ําจะปลดปลอย 1-MCP<br />

ออกมาในรูปของกาซฟุงกระจายภายในตู เมื่อผานไปประมาณ 90 นาที จึงเปดพัดลมภายในตู<br />

เพื่อใหอากาศภายในหมุนเวียนเปนเวลา 30 วินาที เมื่อครบระยะเวลาตาม ทรีทเมนตกําหนด<br />

จึงนําตูออกมาเปดฝาในที่ที่มีอากาศถายเท ดอกกลวยไมในชุดที่ไมผานการเลียนแบบการสงออกนํา<br />

ดอกกลวยไมที่ผานการรม 1-MCP แลวมาแชโคนกานดอกในหลอดเซนติฟวบรรจุน้ํากลั่นปริมาตร<br />

12 ml ดอกกลวยไมชุดผานการเลียนแบบการสงออกนําดอกกลวยไมบรรจุลงในถุงพลาสติกใสเจาะร<br />

เพื่อนําไปบรรจุลงในกลองกระดาษลูกฟูกกลองเล็กแบบมีหนาตาง (ขนาด15.5x61.5x8.0 เซนติเมตร)<br />

บรรจุ 10 ชอตอ 1 กลอง และนํากลองเล็กบรรจุลงในกลองใหญ (ขนาด 37x62x38 เซนติเมตร)<br />

ซึ่งบรรจุได 10 กลองเล็ก โดยกําหนดให 1 กลองใหญ เทากับ 1 ซ้ํา ทําทั้งหมด 3 ซ้ํา (ทั้งหมดรวม 3<br />

กลองใหญ) นํากลองกระดาษลูกฟูกที่บรรจุดอกกลวยไมเก็บไว ภายในหองควบคุมอุณหภูมิที่ 25±1<br />

องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ 90 เปอรเซ็นต เปนเวลา 3 วัน เพื่อเลียนแบบการสงออก<br />

ทําการเก็บตัวอยางกาซในกลองกระดาษลูกฟูกขนาดเล็กที่บรรจุดอกกลวยไมทุกวัน นําดอกกลวยไม<br />

บรรจุเหมือนเดิมในกลองใหญหลังจากเก็บตัวอยางกาซเสร็จ เมื่อครบ 3 วัน เปดกลอง<br />

ทําการตรวจสอบคุณภาพดอกกลวยไม โดยประเมินลักษณะของชอดอกแตละชอ ไดแก<br />

การรวงของดอกบานและดอกตูม คิดเปนเปอรเซ็นตตอทรีทเมนต แลวจึงสุมชอดอกมา 12 ชอ<br />

ตัดโคนกานออก 2 เซนติเมตรใหเฉียงและแชโคนกานชอดอก ลงในหลอดแกวบรรจุน้ํากลั่น<br />

ปริมาตร 12 ml ตอ 1 ชอ<br />

ทําการบันทึกผลการทดลองดังนี้<br />

1. อายุการปกแจกัน โดยกําหนดวาเมื่อดอกบานเกิดการเสื่อมสภาพมากกวา 50 เปอรเซ็นต <br />

ของดอกบานทั้งหมดถือวาหมดอายุการปกแจกัน ดอกบานเสื่อมสภาพ คือ ดอกบานเกิดอาการคว่ํา<br />

สังเกตเห็น เสนเวน (vein) กลีบดอกซีดหรือเหลือง ดอกเหี่ยวหรือรวง<br />

13


2. การสรางเอทิลีนโดยเก็บตัวอยางกาซจากกลองกระดาษลูกฟูกบรรจุดอกกลวยไม ทุก ๆ<br />

กลองระหวางจําลองการสงออกจนครบ 3 วัน โดยใชเข็มฉีดยาดูดอากาศภายในกลองกระดาษบรรจุ<br />

ดอกกลวยไม 1 ml และวัดความเขมขนของกาซเอทิลีนโดยใช gas chromatograph (Shimadzu GC-<br />

14 A) ที่ติดตั้งดวย flame ionization detector (FID) มี Porapack N 80/100 บรรจุในทอเหล็กไรสนิม<br />

เสนผาศูนยกลาง 0.4 เซนติเมตร ยาว 2.1 เมตร ตั้งอุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส มีหนวยเปน µl/l<br />

3. การบานของดอกตูม โดยคิดเปนเปอรเซ็นตการบานของดอกตูมเทียบกับจํานวนดอก<br />

ของดอกตูมทั้งหมด ที่วันเริ่มตนการทดลอง<br />

4. การรวงของดอกตูมและดอกบาน โดยคิดเปนเปอรเซ็นตการรวงของดอกตูมและ<br />

ดอกบาน เทียบกับจํานวนดอกของดอกตูมและดอกบานทั้งหมดที่วันเริ่มตนการทดลอง<br />

14<br />

การทดลองที่ 2 การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมสําหรับการรม 1-MCP ที่มีผลตอการเสื่อมสภาพของ<br />

ดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมและผานการเลียนแบบการสงออก<br />

เลือกใชความเขมขนของ 1-MCP ที่สามารถลดการชราภาพไดดีที่สุดคือ สามารถลดการ<br />

ผลิตเอทิลีน ลดการหลุดรวงของดอกตูมและดอกบาน และสามารถยืดอายุดอกกลวยไมได<br />

จากการทดลองที่ 1 มาใชในการทดลองนี้ วางแผนการทดลองแบบ completely randomized design<br />

(CRD) จํานวน 12 ซ้ํา ๆ ละ 1 ชอ โดยแบงออกเปน 5 ทรีทเมนต ดังนี้<br />

ทรีทเมนตที่ 1 ไมไดรับ 1-MCP<br />

ทรีทเมนตที่ 2 ไดรับ 1-MCP นาน 1 ชั่วโมง<br />

ทรีทเมนตที่ 3 ไดรับ 1-MCP นาน 2 ชั่วโมง<br />

ทรีทเมนตที่ 4 ไดรับ 1-MCP นาน 3 ชั่วโมง<br />

ทรีทเมนตที่ 5 ไดรับ 1-MCP นาน 4 ชั่วโมง<br />

ทําการใหสาร 1-MCP และบันทึกผลการทดลองเหมือนการทดลองที่ 1 ในขอ 1 3 และ 4


15<br />

การทดลองที่ 3 การศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสมของการรม 1-MCP ที่มีตอการเสื่อมสภาพของ<br />

ดอกกลวยไม หวายพันธุโซเนียบอมและผานการเลียนแบบการสงออก<br />

เลือกความเขมขนและระยะเวลาของ 1-MCP ที่สามารถลดการชราภาพไดดีที่สุดคือ<br />

สามารถลดการหลุดรวงของดอกตูมและดอกบาน และสามารถยืดอายุดอกกลวยไมได จากการ<br />

ทดลองที่ 1 และ 2 มาใชในการทดลองนี้ วางแผนการทดลองแบบ CRD จํานวน 12 ซ้ํา ๆ ละ 1<br />

ชอโดยแบงออกเปน 4 ทรีทเมนต ดังนี้<br />

ทรีทเมนตที่ 1 ไมไดรับ 1-MCP<br />

ทรีทเมนตที่ 2 ไดรับ 1-MCP ที่ 20 องศาเซลเซียส<br />

ทรีทเมนตที่ 3 ไดรับ 1-MCP ที่ 25 องศาเซลเซียส<br />

ทรีทเมนตที่ 4 ไดรับ 1-MCP ที่ 30 องศาเซลเซียส<br />

ทําการใหสาร 1- MCP และบันทึกผลการทดลองเหมือนการทดลองที่ 1ในขอ 1 3 และ 4<br />

การทดลองที่ 4 การศึกษาการลดอุณหภูมิเบื้องตนกอนการรม 1-MCP ที่มีตอการเสื่อมสภาพของ<br />

ดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมและผานการเลียนแบบการสงออก<br />

ดอกกลวยไมหวายเสียบโคนกานในหลอดพลาสติกบรรจุน้ํากลั่น เชนเดียวกับการทดลอง<br />

ที่ 1 วางชอดอกกลวยไมในตะกราพลาสติกแลวนําไปเขาหองเย็นเพื่อลดอุณหภูมิชอดอกกลวยไม<br />

ที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ 85-90 เปอรเซ็นต เปนเวลา 60 นาที<br />

สวนดอกกลวยไม ที่ไมลดอุณหภูมิวางไวที่อุณหภูมิหอง เลือกความเขมขน ระยะเวลาและอุณหภูมิ<br />

ขณะรมของ 1-MCP ที่สามารถลดการชราภาพไดดีที่สุดคือ สามารถลดการหลุดรวงของดอกตูมและ<br />

ดอกบาน และสามารถยืดอาย ุดอกกลวยไมไดจากการทดลองที่ 1 2 และ 3 มาใชในการทดลองนี้<br />

วางแผนการทดลองแบบ CRD จํานวน 12 ซ้ํา ๆ ละ 1 ชอโดยแบงออกเปน 4 ทรีทเมนต ดังนี้<br />

ทรีทเมนตที่ 1ไมลดอุณหภูมิ ไมไดรับ 1-MCP<br />

ทรีทเมนตที่ 2 ลดอุณหภูมิ ไมไดรับ 1-MCP<br />

ทรีทเมนตที่ 3 ไมลดอุณหภูมิ ไดรับ 1-MCP<br />

ทรีทเมนตที่ 4 ลดอุณหภูมิ ไดรับ 1-MCP


16<br />

บันทึกผลการทดลองเหมือนการทดลองที่ 1ในขอ 1 3 และ 4<br />

การทดลองที่ 5 ศึกษาการใชสารละลายเคมีบรรจุเปยกและ 1-MCP ที่มีตอการเสื่อมสภาพของ<br />

ดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมและผานการเลียนแบบการสงออก<br />

นําดอกกลวยไมหวายเสียบโคนกานชอดอกในหลอดพลาสติกที่บรรจุน้ํากลั่น หรือบรรจุ<br />

สารละลายเคมีซึ่งประกอบดวย 8-hydroxyquinoline sulfate (8-HQS) 225 mg/l + Al 2 (SO 4 ) 3 25 mg/l<br />

+ น้ําตาลกลูโคส 4 เปอรเซ็นต เลือกความเขมขน ระยะเวลา และอุณหภูมิขณะรมของ 1-MCP<br />

ที่สามารถลดการชราภาพไดดีที่สุดคือสามารถลดการหลุดรวงของดอกตูมและดอกบาน และ<br />

สามารถยืดอายุดอกกลวยไมไดจากการทดลองที่ 1 2 และ 3 มาใชในการทดลองนี้<br />

วางแผนการทดลองแบบ CRD จํานวน 12 ซ้ํา ๆ ละ 1 ชอ<br />

ทรีทเมนตที่ 1 ไมไดรับ 1-MCP บรรจุน้ํากลั่น<br />

ทรีทเมนตที่ 2 ไมไดรับ 1-MCP บรรจุสารละลายเคมี<br />

ทรีทเมนตที่ 3 ไดรับ 1-MCP บรรจุน้ํากลั่น<br />

ทรีทเมนตที่ 4 ไดรับ 1-MCP บรรจุสารละลายเคม ี<br />

บันทึกผลการทดลองเหมือนการทดลองที่ 1ในขอ 1 3 และ 4<br />

การทดลองที่ 6 การศึกษาการใช 1-MCP กับดอกกลวยไมหวาย 4 พันธุคือ ‘Wanna’, ‘Anna’, ‘Lady’<br />

และ ‘Pompadour’และผานการเลียนแบบการสงออก<br />

เลือกความเขมขน ระยะเวลา และอุณหภูมิขณะรมของ 1-MCP ที่สามารถลดการชราภาพ<br />

ไดดีที่สุดคือ สามารถลดการหลุดรวงของดอกตูมและดอกบาน และสามารถยืดอายุดอกกลวยไมได<br />

จากการทดลองที่ 1 2 และ3 มาใชในการทดลองนี้ วางแผนการทดลองแบบ 4x2 factorial in CRD<br />

จํานวน 12 ซ้ํา ๆ ละ 1 ชอ<br />

ปจจัยที่ 1 มี 4 ระดับ คือ ดอกกลวยไมสกุลหวาย 4 พันธุ คือ ‘Wanna’, ‘Anna’, ‘Lady’ และ<br />

‘Pompadour’<br />

ปจจัยที่ 2 มี 2 ระดับ คือ ไมไดรับ 1-MCP และ ไดรับ 1-MCP


17<br />

มี 8 treatment combination คือ<br />

ทรีทเมนตที่ 1 ดอกกลวยไมหวาย ‘Wanna’ ไมไดรับ 1-MCP<br />

ทรีทเมนตที่ 2 ดอกกลวยไมหวาย ‘Wanna’ ไดรับ 1-MCP<br />

ทรีทเมนตที่ 3 ดอกกลวยไมหวาย ‘Anna’ ไมไดรับ 1-MCP<br />

ทรีทเมนตที่ 4 ดอกกลวยไมหวาย ‘Anna’ ไดรับ 1-MCP<br />

ทรีทเมนตที่ 5 ดอกกลวยไมหวาย ‘Lady’ ไมไดรับ 1-MCP<br />

ทรีทเมนตที่ 6 ดอกกลวยไมหวาย ‘Lady’ ไดรับ 1-MCP<br />

ทรีทเมนตที่ 7 ดอกกลวยไมหวาย ‘Pompadour’ ไมไดรับ 1-MCP<br />

ทรีทเมนตที่ 8 ดอกกลวยไมหวาย ‘Pompadour’ ไดรับ 1-MCP<br />

บันทึกผลการทดลองเหมือนการทดลองที่ 1ในขอ 1 3 และ 4<br />

การทดลองที่ 7 ศึกษาผลของการใช 1-MCP ตอกิจกรรมเอนไซม ACC synthase ปริมาณ ACC<br />

และผลของ ACC ที่มีตอการเสื่อมสภาพของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

เลือกความเขมขน ระยะเวลา และอุณหภูมิขณะรมของ 1-MCP ที่สามารถลดการชราภาพ<br />

ไดดีที่สุดคือ สามารถลดการหลุดรวงของดอกตูมและดอกบาน และสามารถยืดอายุการปกแจกัน<br />

ดอกกลวยไมไดจากการทดลองท ี่ 1 2 และ3 มาใชในการทดลองนี้<br />

การทดลองท ี่ 7.1 การเปลี่ยนแปลงของกิจกรรมของเอนไซม ACC synthase และปริมาณ ACC<br />

วางแผนการทดลองแบบ CRD มีทรีทเมนตดังตอไปนี้<br />

ทรีทเมนตที่ 1 ไมไดรับ 1-MCP<br />

ทรีทเมนตที่ 2 ไดรับ 1-MCP<br />

ดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม แบงออกเปน 2 สวน สวนที่หนึ่งนํามาแยก<br />

ดอกตูมและดอกบาน เพื่อเก็บตัวอยางกาซเอทิลีนในโหลพลาสติกปริมาตร 7,870 ลูกบาศก<br />

เซนติเมตร ที่ปดสนิทนาน 2 ชั่วโมง หลังจากนั้นเก็บตัวอยางกาซ 1 ml โดยใชหลอดฉีดยา


แลวนําไปวิเคราะหปริมาณเอทิลีนดวยเครื่อง Gas Chromatograph (GC) เก็บตัวอยางกาซวันละ 1<br />

ครั้ง เปนเวลา 5 วัน หลังจากเก็บตัวอยางกาซแลวเปดโหลออกทุกครั้ง อัตราการผลิตเอทิลีนมี<br />

หนวยเปนนาโนลิตรตอกรัมตอชั่วโมง ในการวัดอัตราการผลิตเอทิลีนนี้ทําทั้งหมด 5 ซ้ํา ๆ ละ 1 โหล<br />

แตละโหลบรรจุดอกกลวยไม 2 ชอ<br />

อีกสวนหนึ่งนําใชเปนตัวอยางวิเคราะหหากิจกรรมเอนไซม ACC synthase และปริมาณ<br />

ACC ตามวิธีของ Hoffman and Yang (1982) รายงานผลการวิเคราะหกิจกรรมเอนไซม ACC<br />

synthase และปริมาณ ACC โดยแยกเปนดอกตูม เสาเกสรและกลีบดอกของดอกบาน<br />

1. วิเคราะหกิจกรรมของ ACC synthase ตามวิธีการของ Hoffman และ Yang (1982)<br />

การสกัด นําตัวอยางดอกกลวยไมที่แชแข็งมาชั่งน้ําหนักแลวเติมสารละลาย homologenization<br />

buffer (ประกอบดวย N-(2-hydroxyethyl)piperazine-N’-(3-propane-sulfonic acid) (EPPS) buffer<br />

ความเขมขน 100 mM dithiothreitol (DTT) ความเขมขน 4 mM และ pyridoxal phosphate<br />

ความเขมขน 0.5 µM แลวปรับ pH เปน 8.5 ดวยโพแทสเซียมไฮดรอกไซด (KOH) ในอัตราสวน<br />

1:2 (น้ําหนักตอปริมาตร) ใชโกรงและสากที่เย็นจัดบดตัวอยางใหละเอียด กรองดวยผากรอง<br />

ที่มีความหนา 4 ชั้น นําไปเหวี่ยงดวยเครื่องเหวี่ยงที่แรงเหวี่ยง 12,000 xg นาน 20 นาที<br />

นําเฉพาะสวนใสที่สกัดไดมาทํา dialysis สารละลายเอนไซม ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

นานประมาณ 24 ชั่วโมง บันทึกน้ําหนักดอกกลวยไมที่ใชในการสกัด และปริมาตรสารละลาย<br />

หลังจากการ dialysis ของดอกกลวยไม<br />

การวิเคราะห นําสารละลายเอนไซมที่ dialysis แลวปริมาตร 400 µl<br />

ใสในหลอดทดลองขนาด 7 ml 6 หลอด เติม incubation buffer (ประกอบดวย EPPS ความเขมขน<br />

600 mM ที่ pH 8.5) ปริมาตร 50 µl สารละลาย SAM ความเขมขน 0.5 mM ปริมาตร 60 µl<br />

และน้ํากลั่นปริมาตร 90 µl เขยาเบา ๆ ใหเขากัน แลวอบที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส นาน 3 ชั่วโมง<br />

นําหลอดทดลอง แชในอางน้ําแข็ง โดย 3 หลอดแรกเปนตัวอยาง เติม HgCl 2 ความเขมขน 10 mM<br />

ปริมาตร 100 µl และน้ํากลั่นปริมาตร 200 µl สวน 3 หลอดหลังเปน internal standard<br />

มีสวนผสมของสารละลายเอนไซมที่อบแลว SAM และ HgCl 2 เชนเดียวกันแตเพิ่มน้ํากลั่นปริมาตร<br />

150 µl และสารละลาย ACC มาตรฐานความเขมขน 0.04 mM ปริมาตร 50 µl<br />

หลังจากเติมสารแลวปดปากหลอดดวยจุกยางใหแนน แลวใชหลอดฉีดยาฉีดสารละลายผสมที่เย็น<br />

18


ของ NaOH อิ่มตัวและ NaOCl เขมขน 5.25 เปอรเซ็นต อัตราสวน 1:2 (ปริมาตรตอปริมาตร)<br />

ปริมาตร 100 µl (ประมาณ 10 หยด) ลงในหลอดทดลอง ผสมใหเขากันโดยใชเครื่องเขยา<br />

แลวนําหลอดทดลองแชในอางน้ําแข็ง เพื่อใหปฏิกิริยาดําเนินไป เปนเวลา 3 นาที จากน ั้น<br />

ผสมใหเขากันโดยใชเครื่องเขยาอีกครั้ง แลวใชหลอดฉีดยาดูดอากาศ ภายในหลอดทดลอง<br />

เหนือสารละลายเขาออก 10-15 ครั้ง กอนเก็บตัวอยางอากาศปริมาตร 1 ml ฉีดเขาเครื่อง GC<br />

เพื่อตรวจสอบปริมาณเอทิลีนจากตัวอยางอากาศ ซึ่งมีคาเปนสวนในลานสวน (พีพีเอ็ม)<br />

แลวนําคาเอทิลีนที่ไดไปคํานวณหากิจกรรมของเอนไซม ACC synthase มีหนวยเปนนาโนโมลของ<br />

ACC ตอกรัมตอชั่วโมง<br />

2. วิเคราะหปริมาณ ACC ตามวิธีการของ Hoffman and Yang (1982)<br />

การสกัด นําดอกกลวยไมที่แชแข็งมาไวที่อุณหภูมิหองประมาณ 5-10 นาที<br />

เพื่อใหเนื้อเยื่อออนตัวลง จากนั้นชั่งน้ําหนักดอกกลวยไมและสกัดดวย trichloroacetic acid (TCA)<br />

เขมขน 9 เปอรเซ็นต ในอัตราสวน 1:2 (น้ําหนักตอปริมาตร) (เพื่อให TCA เขาสูเนื้อเยื่อประมาณ 6<br />

เปอรเซ็นต) โดยปนดวยเครื่อง homogenizer ใหละเอียด และเก็บไวที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

เปนเวลา 24 ชั่วโมง แลวนําไปเหวี่ยงดวยเครื่องเหวี่ยง 27,000 xg เปนเวลา 20 นาที<br />

รินเฉพาะสารละลาย ACC ของดอกกลวยไมที่สกัดได (เปนสารละลายสีชมพู มีลักษณะหนืด)<br />

มาทําใหเปนกลาง โดยคอย ๆ หยดสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) เขมขน 1 N<br />

ลงไปทีละหยด พรอมทั้งวัด pH และคนสารละลายตลอดเวลา จนกระทั่งได pH ประมาณ 7-8<br />

(สารละลายจะคอย ๆ เปลี่ยนจากสีชมพูเปนสีเขียว) บันทึกน้ําหนักดอกกลวยไมที่ใชในการสกัด<br />

และปริมาตรสารละลาย ACC ของดอกกลวยไมที่สกัดไดซึ่งปรับใหเปนกลางแลว<br />

การวิเคราะห ใสสารละลายตัวอยางลงในหลอดทดลองขนาด 7 ml ตัวอยางละ 6 หลอด ๆ<br />

ละ 500 µl โดย 3 หลอดแรกเปนตัวอยาง เติมสารละลาย HgCl 2 เขมขน 10 mM ปริมาตร 100 µl<br />

และน้ํากลั่นปริมาตร 300 µl สวน 3 หลอดหลังเปน internal standard ซึ่งเติมสวนผสมเทากับ 3<br />

หลอดแรกแตลดปริมาณน้ํากลั่นลงเหลือ 250 µl และเติมสารละลาย ACC มาตรฐาน เขมขน 0.04 mM<br />

ปริมาตร 50 µl หลังจากเติมสารแลวปดปากหลอดดวยจุกยางใหแนน แลวใชหลอดฉีดยา<br />

ฉีดสารละลายผสมที่เย็นของ NaOH อิ่มตัว และ NaOCl เขมขน 5.25 เปอรเซ็นต อัตราสวน 1:2<br />

(ปริมาตรตอปริมาตร) ปริมาตร 100 µl (ประมาณ 10 หยด) ลงในหลอดทดลอง ผสมใหเขากัน<br />

โดยใชเครื่องเขยา แลวนําหลอดทดลองแชในอางน้ําแข็งเพื่อใหปฏิกิริยาดําเนินไปเปนเวลา 3 นาที<br />

19


จากน ั้นผสมใหเขากันโดยใชเครื่องเขยาอีกครั้ง แลวใชหลอดฉีดยาดูดอากาศภายในหลอดทดลอง<br />

เหนือสารละลายเขาออก 10-15 ครั้ง กอนเก็บตัวอยางอากาศปริมาตร 1 ml ฉีดเขาเครื่อง GC<br />

เพื่อตรวจสอบปริมาณเอทิลีนจากตัวอยางอากาศซึ่งมีคาเปนสวนในลานสวน (พีพีเอ็ม) แลวนําคาเอทิลีน<br />

ที่ไดไปคํานวณหาความเขมขนของ ACC ซึ่งหนวยเปนนาโนโมลของ ACC ตอกรัม<br />

การทดลองที่ 7.2 ผลของ ACC ที่มีตอการเสื่อมสภาพของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

วางแผนการทดลองแบบ 2x2x2 factorial in CRD จํานวน 5 ซ้ํา ๆ ละ 2 ชอ<br />

ปจจัยที่ 1 มี 2 ระดับ คือ ดอกตูมและดอกบาน<br />

ปจจัยที่ 2 มี 2 ระดับ คือไมไดรับหรือไดรับ 1-MCP<br />

ปจจัยที่ 3 มี 2 ระดับ คือ ไดรับน้ํากลั่นหรือไดรับ ACC 2.0 mM<br />

มี 8 treatment combination ดังตอไปนี้<br />

ทรีทเมนตที่ 1 ดอกตูมที่ไมไดรับ 1-MCP และไดรับน้ํากลั่น<br />

ทรีทเมนตที่ 2 ดอกตูมที่ไมไดรับ 1-MCP และไดรับ ACC 2.0 mM<br />

ทรีทเมนตที่ 3 ดอกตูมที่ไดรับ 1-MCP และไดรับน้ํากลั่น<br />

ทรีทเมนตที่ 4 ดอกตูมที่ไดรับ 1-MCP และไดรับ ACC 2.0 mM<br />

ทรีทเมนตที่ 5 ดอกบานที่ไมไดรับ 1-MCP และไดรับน้ํากลั่น<br />

ทรีทเมนตที่ 6 ดอกบานที่ไมไดรับ 1-MCP และไดรับ ACC 2.0 mM<br />

ทรีทเมนตที่ 7 ดอกบานที่ไดรับ 1-MCP และไดรับน้ํากลั่น<br />

ทรีทเมนตที่ 8 ดอกบานที่ไดรับ 1-MCP และไดรับ ACC 2.0 mM<br />

ดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมนํามาตัดออกเปนสองสวนคือ ดอกตูมและดอกบาน<br />

กําหนดใหมีจํานวนดอกเทา ๆ กัน คือ 4 ดอก มีความยาวจากโคนดานลางสุดถึงปลายกานยาว 6<br />

เซนติเมตร แชโคนกานชอดอกในขวดแกวกลมที่มีน้ํากลั่นหรือสารละลาย ACC ความเขมขน 2.0<br />

mM ขวดละ 40 ml เพื่อเก็บตัวอยางกาซเอทิลีนในโหลพลาสติกปริมาตร 7,870 ลูกบาศกเซนติเมตร<br />

ที่ปดสนิทนาน 2 ชั่วโมง หลังจากนั้นเก็บตัวอยางกาซ 1 ml โดยใชหลอดฉีดยา<br />

แลวนําไปวิเคราะหปริมาณเอทิลีนดวยเครื่อง GC เก็บตัวอยางกาซวันละ 1 ครั้ง เปนเวลา 5 วัน<br />

หลังจากเก็บตัวอยางกาซแลวเปดโหลและชั่งน้ําหนักชอดอกกลวยไมทุกครั้ง อัตราการผลิตเอทิลีน<br />

20


มีหนวยเปน นาโนลิตรตอกรัมตอชั่วโมง ในการวัดอัตราการผลิตเอทิลีนนี้ ทําทั้งหมด 5 ซ้ํา ๆ ละ<br />

1 โหล แตละโหลบรรจุดอกกลวยไม 2 ชอ ทําการวัดอัตราการสรางเอทิลีน บันทึกอายุการปกแจกัน<br />

โดยนับวันตั้งแตเริ่มปกแจกันจนกระทั่งดอกเสื่อมสภาพประมาณ 50 เปอรเซ็นต<br />

การวิเคราะหทางสถิติ<br />

21<br />

วิเคราะหขอมูลทางสถิติดวยโปรแกรม Statistic Analysis System และเปรียบเทียบความแตกตาง<br />

ของคาเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s New Multiple Range Test (DMRT)<br />

สถานที่ทําการทดลอง<br />

สถานที่และระยะเวลาทําการทดลอง<br />

ทําการทดลอง ณ งานวิจัยพืชผลหลังเก็บเกี่ยว ฝายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม<br />

ระยะเวลาทําการทดลอง<br />

ตั้งแตเดือนมกราคม 2544 – มิถุนายน 2545


22<br />

ผลการทดลอง<br />

การทดลองที่ 1 ศึกษาระดับความเขมขนของ 1-MCP ท ี่มีผลตอการเสื่อมสภาพของ<br />

ดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

อายุการปกแจกัน<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP และไมผานการเลียนแบบการสงออกมี<br />

อายุการปกแจกันนาน 18.8 วัน ซึ่งนานกวาดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP<br />

ที่ผานการเลียนแบบการสงออกซึ่งมีอายุการปกแจกัน 10.5 วัน ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP<br />

และผานการเลียนแบบการสงออกมีอายุการปกแจกันสั้นที่สุดคือ 3 วัน สั้นกวา ดอกกลวยไมที่ไดรับ<br />

1-MCP และผานการเลียนแบบการสงออกคือ 7-15 วัน ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ความเขมขน<br />

200-500 nl/l และผานการเลียนแบบการสงออกมีอายุการปกแจกันนานกวา ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ<br />

1-MCP นอกจากนี้ยังพบวาการไดรับ 1-MCP และการเลียนแบบการสงออกมีปฏิกิริยารวมกัน<br />

(ตารางที่ 2)<br />

ความเขมขนของเอทิลีน<br />

กาซเอทิลีนภายในกลองบรรจุเลียนแบบการสงออก ที่มีดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ<br />

1-MCP มีความเขมขนของกาซเอทิลีนเพิ่มสูงข ึ้นจากวันที่ 0 และเพิ่มถึงจุดสูงสุดในวันที่ 2 แลว<br />

ลดลงในวันที่ 3 ของการทดลอง กลองบรรจุที่มีดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP 200 nl/l<br />

มีความเขมขนของเอทิลีนสูงสุดประมาณ 1.1 µl/l ขณะที่กลองบรรจุที่มีดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP<br />

100 และ 300-500 nl/l มีความเขมขนของเอทิลีนนอยกวาดอกกลวยไมในกลองที่มีดอกกลวยไม<br />

ที่ไมไดรับ 1-MCP และกลองที่บรรจุดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP 400 nl/l มีความเขมขน<br />

ของเอทิลีนนอยที่สุดในวันที่ 2 (ภาพที่ 1)<br />

การบานของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP แตไมผานการเลียนแบบการสงออก มีการบาน<br />

ของดอกตูม (ภาพที่ 2A) มากกวาดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP และ ผานการเลียนแบบ


การสงออก (ภาพที่ 2B) ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ความเขมขน 300-500 nl/l มีการบานของดอกตูม<br />

เพิ่มมากขึ้น ทั้งที่ไมผานและผานการเลียนแบบการสงออก (ภาพที่ 2) แตดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-<br />

MCP และไมผานการเลียนแบบการสงออกมีการบานของดอกตูม ใกลเคียงกับดอกกลวยไมที่ไดรับ<br />

1-MCP ความเขมขน 500 nl/l และไมผานการเลียนแบบการสงออก (ภาพที่ 2A)<br />

แตดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP และผานการเลียนแบบการสงออกมีการบานของดอกตูม<br />

นอยที่สุด (ภาพที่ 2B)<br />

การรวงของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP และไมผานการเลียนแบบการสงออก มีการรวง<br />

ของดอกตูมนอยกวา (ภาพที่ 3A) ดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก (ภาพที่ 3B) ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP และผานการเลียน<br />

แบบการสงออกมีการรวงของดอกตูมเร็วและมากกวาดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP (ภาพที่ 3B)<br />

ขณะที ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP แตไมผานการเลียนแบบการสงออกสามารถชะลอและลด<br />

การรวงของดอกตูมไดเล็กนอย (ภาพที่ 3A)<br />

การรวงของดอกบาน<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP และไมผานการเลียนแบบการสงออก<br />

มีการรวงของดอกบานใกลเคียงกัน (ภาพที่ 4A) ดอกกลวยไม ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก (ภาพที่ 4B) ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP และผานการ<br />

เลียนแบบการสงออกมีการรวงของดอกบานเร็วและมากที่สุดคือ ภายใน 5 วัน การรวงเกิดขึ้น 100<br />

เปอรเซ ็นต (ภาพที่ 4B) ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ความเขมขนตาง ๆ กันทั้งที่ไมผาน<br />

และผานการเลียนแบบการสงออกมีการรวงของดอกบานใกลเคียงกัน (ภาพที่ 4)<br />

จากการทดลองนี้พบวา ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP และผานการเลียนแบบการสงออก<br />

ตั้งแตความเขมขนที่ 100-500 nl/l สามารถยืดอายุการปกแจกันไดไมแตกตางกันทางสถิติ ขณะที่<br />

ความเขมขนตั้งแต 300-500 nl/l สามารถลดการสรางเอทิลีนไดมากที่สุด โดยที่ความเขมขนที่ 500<br />

nl/l สามารถลดการหลุดรวงของดอกตูมและดอกบานไดมากที่สุด ดังนั้นจึงใช 1-MCP ความเขมขน<br />

500 nl/l ในการทดลองตอ ๆ ไป<br />

23


ตารางที่ 2 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวายพันธุ โซเนียบอม หลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 0 100 200 300 400 และ 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

ความเขมขน<br />

0 nl/l<br />

100 nl/l<br />

200 nl/l<br />

300 nl/l<br />

400 nl/l<br />

500 nl/l<br />

อายุการปกแจกัน<br />

ไมเลียนแบบการสงออก เลียนแบบการสงออก<br />

18.3<br />

3.0<br />

19.1<br />

7.2<br />

18.5<br />

15.0<br />

19.1<br />

12.5<br />

21.0<br />

11.8<br />

16.8<br />

12.9<br />

เฉลี่ย 1/<br />

10.6 b<br />

13.1 ab<br />

16.8 a<br />

15.8 a<br />

16.4 a<br />

14.8 a<br />

เฉลี่ย 1/ 18.8 a 10.5 b 14.6<br />

ANOVA<br />

การเลียนแบบการสงออก<br />

ความเขมขนของ 1-MCP<br />

การเลียนแบบการสงออกxความเขมขนของ 1-MCP<br />

**<br />

**<br />

**<br />

cv (%) 42.87<br />

24<br />

1/<br />

ตัวอักษรที่เหมือนกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยโดยวิธี DMRT<br />

** = แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99%


1.4<br />

25<br />

1.2<br />

1.0<br />

Ethylene Production (µl/l)<br />

0.8<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0.0<br />

0 1 2 3<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l<br />

100 nl/l<br />

200 nl/l<br />

300 nl/l<br />

400 nl/l<br />

500 nl/l<br />

ภาพที่ 1 ปริมาณกาซเอทิลีนภายในกลองกระดาษบรรจุดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

หลังไดรับสาร 1-MCP ที่ความเขมขนตางกัน นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส


26<br />

80<br />

A<br />

B<br />

60<br />

Flower Bud Opening (%)<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12<br />

Days after Treatments<br />

non-simulated shipment<br />

0 nl/l<br />

100 nl/l<br />

200 nl/l<br />

300 nl/l<br />

400 nl/l<br />

500 nl/l<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12<br />

Days after Treatments<br />

simulated shipment<br />

0 nl/l<br />

100 nl/l<br />

200 nl/l<br />

300 nl/l<br />

400 nl/l<br />

500 nl/l<br />

ภาพที่ 2 การบานของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขนตางกัน นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสโดยผาน (A)<br />

และไมผานการเลียนแบบการสงออก (B)


27<br />

80<br />

A<br />

B<br />

60<br />

Flower Bud Dropping(%)<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 3 6 9 12 15 18<br />

Days after Treatments<br />

non-simulated shipment<br />

0 nl/l<br />

100 nl/l<br />

200 nl/l<br />

300 nl/l<br />

400 nl/l<br />

500 nl/l<br />

0 3 6 9 12 15 18<br />

Days after Treatments<br />

simulated shipment<br />

0 nl/l<br />

100 nl/l<br />

200 nl/l<br />

300 nl/l<br />

400 nl/l<br />

500 nl/l<br />

ภาพที่ 3 การรวงของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขนตางกัน นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส โดยผาน (A)<br />

และไมผานการเลียนแบบการสงออก (B)


28<br />

120<br />

100<br />

A<br />

B<br />

Open Floret Dropping (%)<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 3 6 9 12<br />

Days after Treatments<br />

non-simulated shipment<br />

0 nl/l<br />

100 nl/l<br />

200 nl/l<br />

300 nl/l<br />

400 nl/l<br />

500 nl/l<br />

0 3 6 9 12<br />

Days after Treatments<br />

simulated shipment<br />

0 nl/l<br />

100 nl/l<br />

200 nl/l<br />

300 nl/l<br />

400 nl/l<br />

500 nl/l<br />

ภาพที่ 4 การรวงของดอกบานของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขนตางกัน นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส โดยผาน (A)<br />

และไมผานการเลียนแบบการสงออก (B)


การทดลองที่ 2 การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมสําหรับการรม 1-MCP ที่มีผลตอการเสื่อมสภาพ<br />

ของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมและผานการเลียนแบบการสงออก<br />

อายุการปกแจกัน<br />

ดอกกลวยไมที่ผานการเลียนแบบการสงออกทั้งไมไดรับและไดรับ 1-MCP ที่ความเขมขน<br />

500 nl/l นาน 2 3 และ 4 ชั่วโมง มีอายุการปกแจกันไมแตกตางกันทางสถิติ (ตารางที่ 3)<br />

การบานของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP นานเปนระยะเวลาตาง ๆ กัน มีการบานของดอกตูมใกลเคียงกัน<br />

และมากกวาดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP (ภาพที่ 5)<br />

การรวงของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ที่ทุกระยะเวลามีการรวง ของดอกตูมใกลเค ียงกันและนอยกวา<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง<br />

สามารถลดการรวงของดอกตูมไดดีที่สุด (ภาพที่ 6)<br />

การรวงของดอกบาน<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l นาน 2 และ 4 ชั่วโมง และผานการเลียนแบบ<br />

การสงออก มีแนวโนมสามารถลดการรวงของดอกบานไดดีที่สุด (ภาพที่ 7)<br />

จากการทดลองนี้พบวา ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP นาน 2 3 และ 4 ชั่วโมง มีอายุการปก<br />

แจกันไมแตกตางกันทางสถิติ แตเมื่อพิจารณาจากการรวงของดอกตูมและดอกบานพบวาดอก<br />

กลวยไมที่ไดรับ 1-MCP นาน 4 ชั่วโมง มีการรวงของดอกตูมและดอกบานนอยที่สุด ดังนั้นจึงใช<br />

ระยะเวลาการรม 1-MCP นาน 4 ชั่วโมง ในการทดลองตอไป<br />

29


30<br />

ตารางที่ 3 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l ที่ระยะเวลา 1 2 3 และ 4 ชั่ วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนต อายุการปกแจกัน (วัน) 1/<br />

ความเขมขน 0 nl/l 0 ชั่วโมง 10.5 ab<br />

ความเขมขน 500 nl/l 1 ชั่วโมง 8.5 b<br />

ความเขมขน 500 nl/l 2 ชั่วโมง 11.9 a<br />

ความเขมขน 500 nl/l 3 ชั่วโมง 11.3 a<br />

ความเขมขน 500 nl/l 4 ชั่วโมง 11.7 a<br />

F-test *<br />

1/<br />

ตัวอักษรที่เหมือนกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยโดยวิธี DMRT<br />

ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %<br />

* แตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญยิ่งที่ระดับความเชื่อมั่น 95%


80<br />

31<br />

60<br />

Flower Bud Opening (%)<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l<br />

500 nl/l/1 h<br />

500 nl/l/2 h<br />

500 nl/l/3 h<br />

500 nl/l/4 h<br />

ภาพที่ 5 การบานของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l ที่ระยะเวลาตางกัน 4 ระดับ ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก


32<br />

80<br />

60<br />

Flower Bud Dropping (%)<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l<br />

500 nl/l/1 h<br />

500 nl/l/2 h<br />

500 nl/l/3 h<br />

500 nl/l/4 h<br />

ภาพที่ 6 การรวงของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l ที่ระยะเวลาตางกัน 4 ระดับ ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก


33<br />

80<br />

60<br />

Open Floret Dropping (%)<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l<br />

500 nl/l/1 h<br />

500 nl/l/2 h<br />

500 nl/l/3 h<br />

500 nl/l/4 h<br />

ภาพที่ 7 การรวงของดอกบานในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l ที่ระยะเวลาตางกัน 4 ระดับ ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก


34<br />

การทดลองที่ 3 การศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสมของการรม 1-MCP ที่มีตอการเสื่อมสภาพของ<br />

ดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมและผานการเลียนแบบการสงออก<br />

อายุการปกแจกัน<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง<br />

ที่ระดับอุณหภูมิ 20 25 และ 30 องศาเซลเซียส มีอายุปกแจกันไมแตกตางกันทางสถิติ (ตารางที่ 4)<br />

การบานของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP ที่ระดับอุณหภูมิตาง ๆ มีการบานของดอกตูมมากกวา<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ยกเวนวันที่ 13 ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ที่อุณหภูมิ 25 และ 30<br />

องศาเซลเซียส มีการบานของดอกตูมใกลเคียงกันแตมากกวา ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ที่อุณหภูมิ<br />

20 องศาเซลเซียส (ภาพที่ 8)<br />

การรวงของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP มีการรวงของ ดอกตูมเร็วและมากกวาดอกกลวยไมที่ไดรับ<br />

1-MCP ความเขมขน 500 nl/l ที่ระด ับอุณหภูมิตาง ๆ โดยที่ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ที่อุณหภูมิ<br />

20 25 และ 30 องศาเซลเซียส มีการรวงของดอกตูมใกลเคียงกัน (ภาพที่ 9)<br />

การรวงของดอกบาน<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP เริ่มมีการรวงของดอกบานชากวาดอกกลวยไมที่ไดรับ<br />

1-MCP ที่อุณหภูมิ 25 และ 30 องศาเซลเซียส (ภาพที่ 10) และมีการรวงของดอกบาน<br />

ใกลเคียงกันในวันที่ 10 ขณะที่ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส<br />

มีการรวงของดอกบานชาและนอยที่สุด (ภาพที่ 10)<br />

จากการทดลองนี้พบวา ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ที่อุณหภูมิ 25 และ 30 องศาเซลเซียส<br />

มีอายุการปกแจกันไมแตกตางกันทางสถิติ และมีการรวงของดอกตูมและดอกบานใกลเคียงกัน แต


ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส มีอายุการปกแจกันนานที่สุด จึงเลือก<br />

อุณหภูมินี้มาใชในการทดลองตอไป<br />

35<br />

ตารางที่ 4 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิตางกัน 3 ระดับ และผานการเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนต<br />

อายุการปกแจกัน (วัน)<br />

0 nl/l ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส 10.3<br />

500 nl/l ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส 10.3<br />

500 nl/l ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส 11.7<br />

500 nl/l ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส 10.7<br />

F-test<br />

ns<br />

ns<br />

ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ


36<br />

100<br />

80<br />

Flower Bud Opening (%)<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l<br />

500 nl/l/20C<br />

500 nl/l/25C<br />

500 nl/l/30C<br />

ภาพที่ 8 การบานของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ที่ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิตางกัน 3 ระดับ<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก


37<br />

50<br />

40<br />

Flower Bud Dropping (%)<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l<br />

500 nl/l/20C<br />

500 nl/l/25C<br />

500 nl/l/30C<br />

ภาพที่ 9 การรวงของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิแตกตางกัน 3 ระดับ<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก


38<br />

50<br />

40<br />

Open Floret Dropping (%)<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l<br />

500 nl/l/20C<br />

500 nl/l/25C<br />

500 nl/l/30C<br />

ภาพที่ 10 การรวงของดอกบานในกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมหลังไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมงที่อุณหภูมิตางกัน 3 ระดับ<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก


การทดลองที่ 4 การศึกษาการลดอุณหภูมิเบื้องตนกอนการรม 1-MCP ที่มีตอการเสื่อมสภาพของ<br />

ดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมและผานการเลียนแบบการสงออก<br />

อายุการปกแจกัน<br />

ดอกกลวยไมที่ลดอุณหภูมิเบื้องตนและไมไดรับ 1-MCP กอนบรรจุเลียนแบบการสงออก<br />

มีอายุการปกแจกันนานกวาดอกกลวยไมที่ไมไดลดอุณหภูมิเบื องตนและไมไดรับ 1-MCP<br />

ขณะที่ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ทั้งที่ไมลดและลดอุณหภูมิเบื้องตนมีอายุการปกแจกัน<br />

ไมแตกตางกันทางสถิติ (ตารางที่ 5)<br />

การบานของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมทั้งที่ไมลดและลดอุณหภูมิเบื้องตนที่ไมไดรับ 1-MCP กอนการเลียนแบบ<br />

การสงออก มีการบานของดอกตูมมากกวาดอกกลวยไมทั้งที่ไมลดและลดอุณหภูมิเบื้องตนและ<br />

ไดรับ 1-MCP ยกเวนในวันที่ 12-13 (ภาพที่ 11)<br />

การรวงของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมที่ไมลดและลดอุณหภูมิเบื้องตนทั้งที่ไมไดรับ 1-MCP กอนการเลียนแบบ<br />

การสงออก มีการรวงของดอกตูมมากกวาดอกกล วยไมทั้งที่ไมลดและลดอุณหภูมิเบื้องตนที่ไดรับ<br />

1-MCP ดอกกลวยไมที่ไมลดอุณหภูมิเบื้องตนและไดรับ 1-MCP มีการรวงของดอกตูมนอยที่สุด<br />

รองลงมาคือดอกกลวยไมที่ลดอุณหภูมิเบื้องตนและไดรับ 1-MCP (ภาพที่ 12)<br />

การรวงของดอกบาน<br />

ดอกกลวยไมที่ไมลดและลดอุณหภูมิเบื้องตนและไมไดรับ 1-MCP มีการรวงของดอกบานชากวา<br />

ดอกกลวยไมที่ไมลดอุณหภูมิเบื้องตนและไดรับ 1-MCP ขณะที่ดอกกลวยไมที่ลดอุณหภูมิเบื้องตน<br />

และไดรับ 1-MCP มีการรวงของดอกบานชาและนอยที่สุด (ภาพที่ 13)<br />

39


จากการทดลองนี้พบวา ดอกกลวยไมที่ลดอุณหภูมิเบื้องตนและไมไดรับ 1-MCP<br />

สามารถยืดอายุการปกแจกันไดนานที่สุด ขณะที่ดอกกลวยไมที่ไมลดและลดอุณหภูมิเบื้องตนและ<br />

ไดรับ 1-MCP สามารถลดการรวงของดอกตูมและดอกบานไดดีกวาดอกกลวยไมที่ไมลดและลด<br />

อุณหภูมิเบื้องตนและไมไดรับ 1-MCP<br />

40<br />

ตารางที่ 5 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมทําการลดอุณหภูมิเบื้องตนที่<br />

10 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที กอนไดรับสาร 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนต อายุการปกแจกัน (วัน) 1/<br />

0 nl/l ไมลดอุณหภูมิเบื้องตน 10.3 b<br />

0 nl/l ลดอุณหภูมิเบื้องตน 14.1 a<br />

500 nl/l ไมลดอุณหภูมิเบื้องตน 11.7 ab<br />

500 nl/l ลดอุณหภูมิเบื้องตน 11.5 ab<br />

F-test **<br />

1/<br />

ตัวอักษรที่เหมือนกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยโดยวิธี DMRT<br />

ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %<br />

** แตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญยิ่งที่ระดับความเชื่อมั่น 99 %


41<br />

100<br />

80<br />

Flower Bud Opening (%)<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l+non-precooling<br />

0 nl/l+precooling<br />

500 nl/l+non-precooling<br />

500 nl/l+precooling<br />

ภาพที่ 11 การบานของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุ โซเนียบอมทําการลดอุณหภูมิเบื้องตน<br />

ที่ 10 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที กอนไดรับสาร 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก


42<br />

50<br />

40<br />

Flower Bud Dropping (%)<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l+non-precooling<br />

0 nl/l+precooling<br />

500 nl/l+non-precooling<br />

500 nl/l+precooling<br />

ภาพที่ 12 การรวงของดอกตูมในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมทําการลดอุณหภูมิเบื้องตน<br />

ที่ 10 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที กอนไดรับสาร 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส แลวผานการเลียนแบบการสงออก


43<br />

50<br />

40<br />

Open Floret Dropping (%)<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l+non-precooling<br />

0 nl/l+precooling<br />

500 nl/l+non-precooling<br />

500 nl/l+precooling<br />

ภาพที่ 13 การรวงของดอกบานในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมทําการลดอุณหภูมิเบื้องตน<br />

ที่ 10 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที กอนไดรับสาร 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก


44<br />

การทดลองที่ 5 ศึกษาการใชสารละลายเคมีบรรจุเปยกและ 1-MCP ที่มีตอการเสื่อมสภาพของ<br />

ดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมและผานการเลียนแบบการสงออก<br />

อายุการปกแจกัน<br />

ดอกกลวยไมที่ไดัรับสารละลายเคมีมีอายุการปกแจกันไมแตกตางกันทางสถิติกับดอกกลวยไม<br />

ที่ไดรับ 1-MCP ขณะที่ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP และสารละลายเคมีมีอายุการปกแจกัน<br />

นานที่สุดคือ 18.8 วัน (ตารางที่ 6)<br />

การบานของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับสารละลายเคมีเพียงอยางเดียวมีการบานของดอกตูมมากกวาดอกกลวยไม<br />

ที่ไดรับ 1-MCP เพียงอยางเดียว ดอกกลวยไมที่ไดร ับทั้ง 1-MCP และสารละลายเคมี<br />

มีการบานของดอกตูมนอยที่สุด (ภาพที่ 14)<br />

การรวงของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP สามารถชะลอและลดการรวงของดอกตูมไดมากกวา<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP และดอกกลวยไมที่ไดรับสารละลายเคมีเพียงอยางเดียว ดอกกลวยไม<br />

ที่ไดรับทั้ง 1-MCP และสารละลายเคมีมีการรวงของดอกตูมนอยที่สุด (ภาพที่ 15)<br />

การรวงของดอกบาน<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับสารละลายเคมีมีการรวงของดอกบานเร็วกวาดอกกลวยไมที่ไดรับ<br />

1-MCP เพียงอยางเดียว ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP ทั้งที่ไมไดรับและไดรับสารละลายเคมี<br />

มีการรวงของดอกบานใกลเคียงกัน (ภาพที่ 16)


จากการทดลองนี้พบวา ดอกกลวยไมที่ไดรับสารละลายเคมีทั้งที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP<br />

มีอายุการปกแจกันมากกวาดอกกลวยไมที่ไมไดรับสารละลายเคมี<br />

45<br />

ตารางที่ 6 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมที่ไดรับสารละลายเคมียืดอายุ<br />

การปกแจกันและ/หรือการใช 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25<br />

องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก<br />

ทรีทเมนต<br />

อายุการปกแจกัน (วัน)<br />

0 nl/l 1-MCP น้ํากลั่น 13.9<br />

0 nl/l 1-MCP สารละลายเคมี 17.0<br />

500 nl/l 1-MCP น้ํากลั่น 16.5<br />

500 nl/l 1-MCP สารละลายเคมี 18.8<br />

F-test<br />

ns<br />

ns<br />

ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ


46<br />

80<br />

Flower Bud Opening (%)<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l<br />

0 nl/l+solution<br />

500 nl/l+non-solution<br />

500 nl/l+solution<br />

ภาพที่ 14 การบานของดอกตูมของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม เมื่อไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และ/หรือ ใชสารละลายยืดอายุ<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก


47<br />

80<br />

Flower Bud Dropping (%)<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l<br />

0 nl/l+solution<br />

500 nl/l+non-solution<br />

500 nl/l+solution<br />

ภาพที่ 15 การรวงของดอกตูมของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมเมื่อไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และ/หรือ ใชสารละลายยืดอายุ<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก


48<br />

80<br />

60<br />

Open Floret Dropping (%)<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l<br />

0 nl/l+solution<br />

500 nl/l+non-solution<br />

500 nl/l+solution<br />

ภาพที่ 16 การรวงของดอกบานในดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม เมื่อไดรับสาร 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง และ/หรือ ใชสารละลายยืดอายุ<br />

และผานการเลียนแบบการสงออก


การทดลองที่ 6 การศึกษาการใช 1-MCP กับดอกกลวยไมหวาย 4 พันธุคือ ‘Wanna’, ‘Anna’, ‘Lady’<br />

และ ‘Pompadour’ และผานการเลียนแบบการสงออก<br />

อายุการปกแจกัน<br />

ดอกกลวยไมพันธุ ‘Wanna’ และ ‘Anna’ ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP มีอายุการปกแจกัน<br />

ไมแตกตางกันทางสถิติ ดอกกลวยไมพันธุ ‘Lady’ และ ‘Pompadour’ มีอายุการปกแจกันแตกตางจาก<br />

ดอกกลวยไมพันธุ ‘Wanna’ และ ‘Anna’ (ตารางที่ 7)<br />

การบานของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมหวายพันธุ ‘Wanna’, ‘Lady’ และ ‘Pompadour’ ที่ไดรับ 1-MCP<br />

มีการบานของดอกตูมลดลง เมื่อเทียบกับดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP ขณะที่ดอกกลวยไมหวาย<br />

พันธุ ‘Anna’ มีการบานของดอกตูมเพิ่มขึ้น (ภาพที่ 17)<br />

การรวงของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมหวายทั้ง 4 พันธุที่ไดรับ 1-MCP กอนการเลียนแบบการสงออกมีการรวง<br />

ของดอกตูมนอยกวาดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP กอนการเลียนแบบการสงออก (ภาพที่ 18)<br />

การรวงของดอกบาน<br />

ดอกกลวยไมหวายทั้งพันธุ 4 พันธุที่ไดรับ 1-MCP กอนการเลียนแบบการสงออก<br />

มีการรวงของดอกบานนอยกวาดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP กอนการเลียนแบบการสงออก<br />

อยางเห็นไดชัด โดยดอกกลวยไมพันธุ ‘Wanna’ ที่ได รับ 1-MCP มีการรวงของดอกตูมชาและนอยที่สุด<br />

(ภาพที่ 19)<br />

49


จากการทดลองนี้พบวา ดอกกลวยไมหวายทั้ง 4 พันธุ ตอบสนองตอ 1-MCP เปนอยางดีคือ<br />

1-MCP สามารถยืดอายุการปกแจกัน และลดการรวงของดอกตูมและดอกบานได<br />

50<br />

ตารางที่ 7 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวาย 4 พันธุที่ไดรับสาร 1-MCP ความเขมขน<br />

500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก<br />

พันธุ<br />

‘Wanna’<br />

‘Anna’<br />

‘Lady’<br />

‘Pompaduar’<br />

อายุการปกแจกัน<br />

ไมไดรับ 1-MCP ไดรับ 1-MCP<br />

12.8<br />

13.1<br />

11.2<br />

13.0<br />

14.2<br />

16.9<br />

9.8<br />

11.3<br />

เฉลี่ย 1/<br />

12.9 b<br />

12.1 bc<br />

15.5 a<br />

10.6 c<br />

เฉลี่ย 1/ 12.0 b 13.6 a 12.8<br />

ANOVA<br />

พันธุ<br />

1-MCP<br />

พันธุx1-MCP<br />

**<br />

*<br />

ns<br />

cv (%) 28.0<br />

1/<br />

ตัวอักษรที่เหมือนกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยโดยวิธี DMRT<br />

ns = ไมแตกตางทางสถิติ<br />

* = แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%<br />

** = แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99%


51<br />

100<br />

80<br />

A<br />

B<br />

Flower Bud Opening (%)<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12<br />

Days after Treatments<br />

Wanna-1-MCP<br />

Wanna+1-MCP<br />

Anna-1-MCP<br />

Anna+1-MCP<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12<br />

Days after Treatments<br />

Lady-1-MCP<br />

Lady+1-MCP<br />

Pompadour-1MCP<br />

Pompadour+1-MCP<br />

ภาพที่ 17 การบานเพิ่มของดอกตูมในดอกกลวยไมหวาย 4 พันธุ ‘Wanna’ และ ‘Anna’ (A)<br />

‘Lady’ และ ‘Pompadour’ (B) ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก


52<br />

100<br />

80<br />

A<br />

B<br />

Flower Bud Dropping (%)<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12<br />

Days after Treatments<br />

Wanna-1-MCP<br />

Wanna+1-MCP<br />

Anna-1-MCP<br />

Anna+1-MCP<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12<br />

Days after Treatments<br />

Lady-1-MCP<br />

Lady+1-MCP<br />

Pompadour-1MCP<br />

Pompadour+1-MCP<br />

ภาพที่ 18 การรวงของดอกตูมในดอกกลวยไมหวาย 4 พันธุ ‘Wanna’ และ ‘Anna’ (A)<br />

‘Lady’ และ ‘Pompadour’ (B) ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก


53<br />

100<br />

80<br />

A<br />

B<br />

Open Floret Dropping (%)<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12<br />

Days after Treatments<br />

Wanna-1-MCP<br />

Wanna+1-MCP<br />

Anna-1-MCP<br />

Anna+1-MCP<br />

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12<br />

Days after Treatments<br />

Lady-1-MCP<br />

Lady+1-MCP<br />

Pompadour-1MCP<br />

Pompadour+1-MCP<br />

ภาพที่ 19 การรวงของดอกบานของดอกกลวยไมหวาย 4 พันธุ ‘Wanna’ และ ‘Anna’ (A)<br />

‘Lady’ และ ‘Pompadour’ (B) ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP ความเขมขน 500 nl/l<br />

นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และผานการเลียนแบบการสงออก


การทดลองที่ 7 ศึกษาผลของการใช 1-MCP ตอกิจกรรมเอนไซม ACC synthase ปริมาณ ACC<br />

และผลของ ACC ที่มีตอการเสื่อมสภาพของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

การทดลองที่ 7.1 การเปลี่ยนแปลงของกิจกรรมของเอนไซม ACC synthase และปริมาณ ACC<br />

กิจกรรมของเอนไซม ACC synthase ของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP มีกิจกรรมของเอนไซม ACC synthase เพิ่มสูงขึ้น<br />

และลดลงพรอม ๆ กันวันที่ 1 ของการทดลอง หลังจากนั้นกิจกรรมของเอนไซมเพิ่มขึ้นสูงที่สุด<br />

ในวันที่ 2 และลดลงพรอม ๆ กัน โดยดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP มีกิจกรรมของเอนไซม ACC<br />

synthase ใกลเคียงกับดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP ยกเวนในวันที่ 1 (ภาพที่ 20)<br />

ปริมาณ ACC ของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP มีปริมาณ ACC คอย ๆ เพิ่มขึ้นสูงสุดในวันที่ 2<br />

และ 3 ตามลําดับ และคอย ๆ ลดลงหลังจากนั้น แตความเขมข นของ ACC ในดอกกลวยไมที่ไดรับ<br />

1-MCP มีนอยกวาดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP ตลอดการทดลอง (ภาพที่ 21)<br />

กิจกรรมของเอนไซม ACC synthase ของเสาเกสรของดอกบาน<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP มีกิจกรรมของเอนไซมเพิ่มสูงขึ้นจากวันเริ่มตนการทดลอง<br />

และมีกิจกรรมของเอนไซมสูงสุด ในวันที่ 2 แลวลดลงต่ําที่สุดในวันที่ 4 ในขณะที่ดอกกลวยไม<br />

ที่ไดรับ 1-MCP มีกิจกรรมของเอนไซม ACC synthase นอยมากตั้งแตวันเริ่มตนและคอย ๆ<br />

เพิ่มสูงขึ้นในวันที่ 1 จนกระทั่งสูงสุดในวันที่ 5 (ภาพที่ 22)<br />

ปริมาณ ACC ของเสาเกสรของดอกบาน<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP มีปริมาณ ACC สูงกวาดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP<br />

ยกเวนในวันที่ 5 ของการทดลอง โดยมีปริมาณ ACC เพิ่มสูงสุดในวันที่ 3 หลังจากนั้นจึงลดลง<br />

อยางรวดเร็ว ในวันที่ 4 ถึง 5 ขณะที่ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ที่มีปริมาณ ACC นอยกวา<br />

54


ดอกกลวยไม ที่ไมไดรับ 1-MCP และเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยจนถึงวันที่ 5 มีปริมาณ ACC สูงที่สุด (ภาพที่ 23)<br />

กิจกรรมของเอนไซม ACC synthase ของกลีบดอกของดอกบาน<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP มีกิจกรรมของเอนไซม ACC synthase มากกวา<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP และเพิ่มถึง จุดสูงสุดในวันที่ 2 และลดลงหลังจากนั้น ดอกกลวยไม<br />

ที่ไดรับ 1-MCP โดยมีกิจกรรมของเอนไซมสูงที่สุดในวันที่ 4 แลวลดลงหลังจากนั้น (ภาพที่ 24)<br />

ปริมาณ ACC ของกลีบดอกของดอกบาน<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP มีแนวโนมของปริมาณ ACC เหมือนกัน<br />

คือมีปริมาณ ACC นอยในชวงแรกของการทดลองแลวเพิ่มสูงขึ้นพรอม ๆ กัน แตกลวยไมที่ไดรับ<br />

1-MCP มีปริมาณนอยกวาดอกกลวยไมที่ไมไดรับ1-MCP ในวันที่ 1 และ 4 ของการทดลอง (ภาพที่ 25)<br />

การผลิตเอทิลีน<br />

ดอกตูมของดอกกลวยไมทั้งที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP มีการผลิตก าซเอทิลีน<br />

ในวันเริ่มตนของการทดลองใกลเคียงกันและลดลงพรอม ๆ กันในวันที่ 1 ของการทดลอง ดอกตูมของ<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP มีการผลิตเอทิลีนเพิ่มสูงขึ้นสูงสุด ในวันที่ 3 ของการทดลอง<br />

ขณะที่ดอกตูมของดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP มีการผลิตเอทิลีนเพิ่มขึ้นสูงสุด ในวันที่ 5<br />

ของการทดลอง ดอกบานของดอกกลวยไมมีการผลิตเอทิลีนนอยกวาดอกตูม โดยดอกบานของ<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP มีการผลิตเอทิลีนสูงกวาดอกบานของดอกกลวยไม ที่ไดรับ 1-MCP<br />

และมีการผลิตสูงที่สุดในวันที่ 4 ของการทดลอง (ภาพที่ 26)<br />

จากการทดลองนี้พบวา ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP มีกิจกรรมของเอนไซม ACC<br />

synthase และปริมาณ ACC มากกวาและเกิดเร็วกวาดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ทั้งในดอกตูม เสา<br />

เกสรและกลีบดอกของดอกบาน<br />

55


56<br />

1.6<br />

1.4<br />

ACC synthase activity (nmol ACC/g/h)<br />

1.2<br />

1.0<br />

0.8<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l 1-MCP 500 nl/l 1-MCP<br />

ภาพที่ 20 กิจกรรมของเอนไซม ACC synthase ของดอกตูมของดอกกลวยไมหวาย<br />

พันธุโซเนียบอม ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP<br />

แสดงคา + SE


57<br />

5<br />

4<br />

ACC Content (nmol ACC/g)<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l 1-MCP 500 nl/l 1-MCP<br />

ภาพที่ 21 ปริมาณ ACC ในสวนของดอกตูมของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP


58<br />

1.6<br />

1.4<br />

ACC synthase activity (nmol ACC/g/h)<br />

1.2<br />

1.0<br />

0.8<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l 1-MCP 500 nl/l 1-MCP<br />

ภาพที่ 22 กิจกรรมของเอนไซม ACC synthase ในสวนเสาเกสรของดอกบานของ<br />

ดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม ที่ไม ไดรับและไดร ับ 1-MCP


59<br />

5<br />

4<br />

ACC Content (nmol ACC/g)<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l 1-MCP 500 nl/l 1-MCP<br />

ภาพที่ 23 ปริมาณ ACC ในสวนเสาเกสรของดอกบานของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP


60<br />

1.6<br />

1.4<br />

ACC synthase activity (nmol ACC/g/h)<br />

1.2<br />

1.0<br />

0.8<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0.0<br />

0 1 2 3 4 5<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l 1-MCP 500 nl/l 1-MCP<br />

ภาพที่ 24 กิจกรรมของเอนไซม ACC synthase ในสวนของกลีบดอกของดอกกลวยไมหวาย<br />

พันธุโซเนียบอม ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP


61<br />

5<br />

4<br />

ACC Content (nmol ACC/g)<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5<br />

Days after Treatments<br />

0 nl/l 1-MCP 500 nl/l1-MCP<br />

ภาพที่ 25 ปริมาณ ACC ในสวนของกลีบดอกของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP


62<br />

100<br />

80<br />

Ethylene Production (nl/g/h)<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5<br />

Days after Treatments<br />

Flower Bud<br />

Flower Bud+1-MCP<br />

Open Floret<br />

Open Floret+1-MCP<br />

ภาพที่ 26 การผลิตเอทิลีนของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมทั้งที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP<br />

โดยแยกสวนดอกตูมและดอกบานออกจากกัน


63<br />

การทดลองที่ 7.2 ผลของ ACC ที่มีตอการเสื่อมสภาพของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

อายุการปกแจกัน<br />

ดอกกลวยไมที่แชโคนกานชอดอกในสารละลาย ACC มีอายุการปกแจกันสั้นกวา<br />

ดอกกลวยไมที่แชโคนกานในน้ํากลั่นอยางมีนัยสําคัญยิ่ง ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP<br />

กอนไดรับสารละลาย ACC มีอายุการปกแจกันนานกวาดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP<br />

กอนไดรับสารละลาย ACC ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ทั้งในดอกตูมและดอกบาน<br />

มีอายุการปกแจกันนานที่สุด นอกจากนี้ยังพบวามีอิทธิพลรวมกันระหวางวัยของดอกคือ ดอกตูม<br />

และดอกบานกับการไมไดรับและไดรับ 1-MCP โดยมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 8)<br />

การผลิตเอทิลีน<br />

ดอกตูมของดอกกลวยไมผลิตเอทิลีนในวันเริ่มตนของการทดลองใกลเคียงกัน ดอกตูมของ<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP ทั้งที่ไมไดรับและไดรับสารละลาย ACC มีการผลิตเอทิลีน<br />

เพิ่มสูงขึ้น โดยดอกตูมของดอกกลวยไมที่ไดรับสารละลาย ACC มีการผลิตเอทิลีนเพิ่มสูงมากที่สุด<br />

ตั้งแตวันที่ 2 และถึงจุดสูงสุดในวันที่ 5 ของการทดลอง ขณะที่ดอกตูมของดอกกลวยไม<br />

ที่ไมไดรับทั้ง 1-MCP และสารละลาย ACC มีการผลิตเอทิลีน เพิ่มสูงขึ้นในวันที่ 2<br />

และถึงจุดสูงสุดในวันที่ 3 ของการทดลองแลวคอย ๆ ลดลง ดอกตูมของดอกกลวยไมที่ไดรับ<br />

1-MCP ทั้งที่ไดรับน้ํากลั่นหรือไดรับสารละลาย ACC มีการผลิตเอทิลีนต่ํากวาดอกตูมของ<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP โดยดอกตูมของดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP เพียงอยางเดียว<br />

มีการผลิตเอทิลีนนอยที่สุด (ภาพที่ 27A) ดอกบานของดอกกลวยไมมีการผลิตเอทิลีนนอยกวา<br />

ในดอกตูม ดอกบานของดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP และแชโคนกานในน้ํากลั่น<br />

มีการผลิตเอทิลีนนอยกวาดอกบานของดอกกลวยไมทั้งที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP และแชโคนกาน<br />

ในสารละลาย ACC ดอกบานของดอกกลวยไมที่ไดรับ ACC เพียงอยางเดียวมีการผลิตเอทิลีนสูงที่<br />

สุดตั้งแตวันเริ่มตนการทดลอง แลวลดลงในวันที่ 1 ของการทดลอง ตอมาเพิ่มขึ้นสูงสุดอีกครั้งใน<br />

วันที่ 4 ของการทดลอง ในขณะที่ดอกบานของดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP และดอกกลวยไมที่ได<br />

รับทั้ง 1-MCP และ ACC มีการผลิตเอทิลีนเพิ่มสูงขึ้นจากวันเริ่มตนของการทดลองจนเพิ่มสูงที่สุด<br />

ในวันที่ 4 และ 5 ตามลําดับ ดอกบานของดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP เพียงอยางเดียวมีการผลิต<br />

เอทิลีนต่ําที่สุด (ภาพที่ 27B)


64<br />

การบานของดอกตูม<br />

ดอกกลวยไมทั้งที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP และสารละลาย ACC มีการบานเพิ่มของ<br />

ดอกตูมใกลเคียงกัน โดยดอกกลวยไมที่ไมไดรับทั้ง 1-MCP และสารละลาย ACC มีการบาน<br />

ของดอกตูมนอยที่สุด (ภาพที่ 28)<br />

การคว่ําของดอกบาน<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับสารละลาย ACC เพียงอยางเดียว แสดงอาการคว่ําของดอกบานเร็ว<br />

และมากกวาดอกกลวยไมทั้งที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP และดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP กอน<br />

ไดรับสารละลาย ACC ขณะท ี่ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP เพียงอยางเดียวมีการคว่ําของดอกบาน<br />

นอยที่สุด (ภาพที่ 29)<br />

การรวงของดอกตูมและดอกบาน<br />

การรวงของดอกตูมเกิดขึ้นเร็วและมากกวาดอกบาน โดยดอกกลวยไมที่ไดรับสารละลาย<br />

ACC เพียงอยางเดียวมีการรวงของดอกตูมและดอกบานมากที่สุด รองลงมาคือดอกกลวยไมที่ไดรับ<br />

1-MCP และสารละลาย ACC ดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP และแชโคนกานในน้ํากลั่นตามลําดับ<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP เพียงอยางเดียวมีการรวงของดอกตูมและดอกบานนอยที่สุด<br />

(ภาพที่ 30A และ B)<br />

จาการทดลองนี้พบวา ดอกกลวยไมที่ไดรับสารละลาย ACC 2.0 mM เกิดการชราภาพเร็วกวา<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับน้ํากลั่น ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP กอนไดรับสารละลาย ACC สามารถลด<br />

การผลิตเอทิลีนและการชราภาพไดทั้งในดอกตูมและดอกบาน


ตารางที่ 8 อายุการปกแจกันของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP<br />

และ ACC 2.0 mM<br />

65<br />

อายุการปกแจกัน<br />

ไมไดรับ 1-MCP ไดรับ 1-MCP<br />

ดอกตูม<br />

น้ํากลั่น<br />

12.6<br />

15.2<br />

ACC 2.0 mM 4.2<br />

9.4<br />

ดอกบาน<br />

น้ํากลั่น<br />

18.2<br />

19.4<br />

ACC 2.0 mM 11.2<br />

11.4<br />

เฉลี่ย 1/ 11.6 b 13.9 a<br />

น้ํากลั่น<br />

ดอกตูม 12.6<br />

15.2<br />

ดอกบาน 18.2<br />

19.4<br />

ACC 2.0 mM<br />

ดอกตูม 4.2<br />

9.4<br />

ดอกบาน 11.2<br />

11.4<br />

เฉลี่ย 1/ 11.6 b 13.9 a<br />

ANOVA<br />

วัยของดอก<br />

**<br />

1-MCP<br />

**<br />

ACC<br />

**<br />

วัยของดอกx1-MCP<br />

*<br />

1-MCP x ACC<br />

ns<br />

วัยของดอกxACC<br />

ns<br />

วัยของดอกx1-MCPxACC<br />

ns<br />

cv (%) 18.78<br />

เฉลี่ย 1/<br />

10.4 b<br />

15.1 a<br />

16.4 b<br />

9.1 a<br />

1/<br />

ตัวอักษรที่เหมือนกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยโดยวิธี DMRT<br />

ns = ไมแตกตางทางสถิติ<br />

* = แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%<br />

** = แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99%


66<br />

Ethylene Production (nl/g/h)<br />

140<br />

120<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

A<br />

B<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5<br />

Days after Treatments<br />

Flower Bud<br />

Flower Bud+ACC<br />

Flower Bud+1-MCP<br />

Flower Bud+1-MCP+ACC<br />

0 1 2 3 4 5<br />

Days after Treatments<br />

Open Floret<br />

Open Floret+ACC<br />

Open Floret+1-MCP<br />

Open Floret+1-MCP+ACC<br />

ภาพที่ 27 การผลิตเอทิลีนของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมดอกตูม (A) และดอกบาน (B)<br />

ที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP และ ACC 2.0 mM


67<br />

80<br />

60<br />

Flower Bud Openning (%)<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7<br />

Days after Treatments<br />

Bud<br />

Bud+ACC<br />

Bud+1-MCP<br />

Bud+1-MCP+ACC<br />

ภาพที่ 28 การบานของดอกตูมของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมท ั้งที่ไมไดรับและไดรับ<br />

1-MCP และ ACC 2.0 mM


68<br />

80<br />

Open Floret Epinasty (%)<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 1 2 3 4 5 6 7<br />

Days after Treatments<br />

Open<br />

Open+ACC<br />

Open+1-MCP<br />

Open+1-MCP+ACC<br />

ภาพที่ 29 การคว่ําของดอกบานของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมทั้งที่ไมไดรับและไดรับ<br />

1-MCP และ ACC 2.0 mM


69<br />

120<br />

100<br />

A<br />

B<br />

80<br />

Flower Dropping (%)<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 3 6 9 12<br />

Days after Treatments<br />

Bud<br />

Bud+ACC<br />

Bud+1-MCP<br />

Bud+1-MCP+ACC<br />

0 3 6 9 12<br />

Days after Treatments<br />

Open<br />

Open+ACC<br />

Open+1-MCP<br />

Open+1-MCP+ACC<br />

ภาพที่ 30 การรวงของดอกตูม (A) และดอกบาน (B) ของดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

ทั้งที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP และ ACC 2.0 mM


70<br />

วิจารณ<br />

ดอกกลวยไมที่ผานการบรรจุกลองเลียนแบบการสงออก 3 วัน (อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

ความชื้นสัมพัทธ 80-90 เปอรเซ็นต) มีอายุการปกแจกันสั้นกวา (ตารางที่ 2) และมีการรวง<br />

ของดอกตูม (ภาพที่ 3) และดอกบาน (ภาพที่ 4) มากกวาดอกกลวยไมที่ไมไดผานการเล ียนแบบ<br />

การสงออก แสดงวาการผานการเลียนแบบการสงออกทําใหดอกกลวยไมมีคุณภาพลดลง<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งการรวงของดอกนั้นเห็นไดชัดเจนกวาอาการอื่น ๆ การเสื่อมสภาพของดอกกลวยไม<br />

หลังจากการตัดจากตนเดิมมีสาเหตุมาจากหลายปจจัย เชน การขาดน้ํา ขาดอาหาร อุณหภูมิสูง<br />

และเอทิลีน ฯลฯ (สายชล, 2531) ดอกกลวยไมที่ไมไดอยูในภาชนะบรรจุเลียนแบบการสงออก<br />

นั้นกานชอดอกแชอยูในน้ํากลั่นทันทีหลังการเตรียมดอกกลวยไมแลว และอยูในหองที่มีอุณหภูมิ<br />

25+2 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ 80-90 เปอรเซ็นต ระดับเดียวกันกับดอกกลวยไม ที ผานการ<br />

เลียนแบบการสงออกที่โคนกานชอดอกเสียบอยูในหลอดพลาสติกบรรจุน้ํากลั่น ดังนั้นดอกกลวยไม<br />

ทั้งที่ไมไดผานและผานการเลียนแบบการสงออกในชวง 3 วันแรกไมนาจะแตกตางกัน ในเรื่องของ<br />

การขาดน้ํา ขาดอาหาร และอุณหภูมิรอบ ๆ ดังนั้นสาเหตุดังกลาวไมนาเปนสาเหตุสําคัญ<br />

ที่ทําใหดอกกลวยไมที่อยูในภาชนะบรรจุเลียนแบบการสงออกมีอายุการปกแจกันสั้นกวา และดอกรวง<br />

มากกวาดอกกลวยไมที่ไมไดผานการเลียนแบบการสงออก แตสาเหตุสําคัญนาจะเกี่ยวของกับ<br />

เอทิลีน แมวาดอกกลวยไมที่ไมไดผสมเกสรมีอัตราการสรางเอทิลีนต่ําเมื อเปรียบเทียบกับดอกไม<br />

ชนิดอื่น (Goh et al., 1985) อยางไรก็ตามดอกกลวยไมสกุลหวายที่ตัดสงออกนั้น ชอดอก<br />

มีทั้งดอกตูมและดอกบาน ซึ่งทั้งดอกตูมและดอกบานของดอกกลวยไมสกุลหวายมีความสามารถ<br />

ในการสรางเอทิลีน แตดอกตูมมีอัตราการสรางเอทิลีนมากกวาดอกบาน (Ketsa and Thampitakorn,<br />

1995) ชอดอกกลวยไมเหลานี้เมื่อบรรจุรวมกันในภาชนะบรรจุเพื่อการสงออกบรรจุอยูใน<br />

ถุงพลาสติกหุมอีกชั้นหนึ่งกอนบรรจุลงในกลองกระดาษ ทําใหเอทิลีนที่สรางและปลดปลอยจาก<br />

ดอกกลวยไมถูกระบายผานมายังชองระบายอากาศของกลองกระดาษไดยาก จึงทําให มีการสะสม<br />

ความเขมขนของเอทิลีนภายในภาชนะบรรจุรอบ ๆ ดอกกลวยไม ซึ่งระดับความเขมขนของเอทิลีน<br />

ที่เพิ่มขึ้นแตกตางกันตามชนิด พันธุ ขนาดภาชนะบรรจุ และจํานวนชอดอกกลวยไมที่บรรจุ<br />

โดยความเขมขนของเอทิลีนเพียง 0.2-0.4 µl/l สามารถทําใหดอกกลวยไมเสื่อมคุณภาพได เชน เกิด<br />

การโคงงอของกานของดอกยอย กลีบดอกเหี่ยว กลีบดอกมีสีซีด ดอกตูมและดอกบานรวง (สายชล<br />

และคณะ, 2542) ดอกกลวยไมที่ไมไดผานการเลียนแบบการสงออกและระหวางที่โคนกาน<br />

แชอยูในน้ํานั้น ยังคงมีความสามารถสรางเอทิลีนไดเชนเดียวกับดอกกลวยไมที่บรรจุอย ูใน<br />

ภาชนะเลียนแบบการสงออก แตเอทิลีนที่ดอกกลวยไมสรางขึ้นมานั้นถูกปลดปลอยออกสู


บรรยากาศรอบ ๆ ดอกกลวยไมและแพรกระจายออกไปไกลจากดอกกลวยไม ไมทําใหเกิด<br />

การสะสมจนมีความเขมขนสูงขึ้นถึงจุดที่จะเปนอ ันตรายตอดอกกลวยไมได (Davidson, 1971)<br />

ดอกกลวยไม ท ี่ไดรับ 1-MCP กอนการบรรจุกลองเลียนแบบการสงออกมีอายุการปกแจกัน<br />

นานกวาดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP และผานการเลียนแบบการสงออก (ตารางที่ 2)<br />

สอดคลองกับรายงานของ Heyes and Johnston (1998) พบวา 1-MCP สามารถยืดอายุการปกแจกัน<br />

ของดอกกลวยไมสกุลซิมบิเด ียม จาก 6-7 วัน เปน 19 วัน และสอดคลองกับปริมาณกาซเอทิลีน<br />

ภายในกลองบรรจุเลียนแบบการสงออก (ภาพที่ 1) ของดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP ความเขมขน<br />

300-500 nl/l สามารถลดปริมาณกาซเอทิลีนลงได เนื่องจาก 1-MCP เปนสารยับยั้งการทํางาน<br />

ของเอทิลีน 1-MCP มีสถานะเปนกาซเหมือนกับเอทิลีน มีสูตรทางเคมีคือ C 4 H 6 1-MCP ทํางานโดย<br />

เขาแยงจับที่ตําแหนง receptor sites แทนที่เอทิลีน ทําใหเอทิลีนไมสามารถทํางานได 1-MCP<br />

มีประสิทธิภาพในการเขาจับที่ตําแหนง receptor sites มากกวาเอทิลีนถึง 10 เทา นอกจากนี้ 1-MCP<br />

ยังมีผลตอการสังเคราะหเอทิลีนไดในพืชบางชนิด โดยทํางานแบบการยับยั้งยอนกลับ (feedback<br />

inhibition) (Blankenship and Dole, 2003) ความเขมขนของสาร 1-MCP ที่มีประสิทธิภาพยับยั้ง<br />

การทํางานของเอทิลีนไดเหมาะสมกับดอกกลวยไมอยูที่ระดับ 400-500 nl/l (ตารางที่ 2) 1-MCP<br />

มีประสิทธิภาพในการใชงานไดที่ความเขนขนตั้งแต 2.5 nl/l ถึง 1 µl/l เมื่อเปรียบเทียบกับ<br />

สารยับยั้งการทํางานของเอทิลีนชนิดอื่นที่ใชในลักษณะเดียวกันนี้เชน 2,5-norbornadiene (NBD)<br />

ซึ่งความเขมขนของ NBD ที่ใชกับดอกกลวยไมสูงถึง 2,000-3,000 µl/l และตองใชอยางตอเนื อง<br />

(สายชล และคณะ, 2542) ซึ่งแตกตางจาก 1-MCP ที่ใชในชวงเวลาที่สั้น (pretreatment)<br />

กอนนําดอกกลวยไมไปบรรจุ ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP กอนการเลียนแบบการสงออกมีดอกตูม<br />

(ภาพที่ 3) และดอกบาน (ภาพที่ 4) รวงนอยกวาดอกกลวยไมที่ไมไดรับ 1-MCP และบรรจุ<br />

เล ียนแบบการสงออก เนื่องจาก 1-MCP มีผลยับยั้งการทํางานของเอทิลีนที่ปลดปลอยออกมาจาก<br />

ดอกกลวยไม ซึ่งจะไปมีผลทําใหดอกตูมและดอกบานรวงได (Serek et al., 1994; Serek et al.,<br />

1995)<br />

ระยะเวลาสําหรับการรม (fumigation) นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เพียงพอ<br />

สําหรับดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมในการทดลองที่ 2 และ 3 ตามลําดับ จากรายงานของ<br />

Blankenship and Dole (2003) สรุปไววาที่อุณหภูมิ และแรงดันมาตรฐาน (standard temperature<br />

and pressure) 1-MCP ที่ปลดปลอยจาก EthylBloc ® powder ใชเวลาประมาณ 20-30 นาที สามารถ<br />

ปลดปลอย 1-MCP ไดอยางสมบูรณ เมื่อให 1-MCP ความเขมขนหนึ่งรมที่อุณหภูมิต่ํา (5-10 องศา<br />

71


เซลเซียส) ตองใชระยะเวลาการรมนาน 12-24 ชั่วโมง แตถารมที่อุณหภูมิที่สูงขึ้น (20-25<br />

องศาเซลเซียส) ระยะเวลาที่ใชรมสามารถลดลงได โดยยังใหประสิทธิภาพการชะลอการชราภาพได<br />

เทากัน อาจเชื่อไดวาที่อุณหภูมิต่ํามีผลทําใหการเขาจับที่ receptor sites ลดต่ําลง<br />

ดอกกลวยไมที่ผานการลดอุณหภูมิที่ 10 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที มีอายุการปกแจกัน<br />

นานกวาดอกกลวยไมที่ไมไดลดอุณหภูมิอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (ตารางที่ 5) เนื่องจากการลดอุณหภูมิ<br />

เปนการยับยั้งการผลิตเอทิลีนและ/หรือยับยั้งการทํางานของเอทิลีน (สายชล, 2532) และการลดอุณหภูมิ<br />

เบื้องตนทําใหดอกกลวยไมมีอัตราการหายใจต่ํา และปลดปลอยพลังงานความรอนออกมานอย<br />

เพราะพลังงานความรอนถูกกําจัดออกระหวางการลดอุณหภูมิ (สายชล, 2531; Nowak and<br />

Rudnicki, 1990) เมื่ออัตราการหายใจลดลงจึงทําใหมีการใชอาหารสะสม (น้ําตาล หรือแปง)<br />

ภายในดอกลดลงดวย เพราะการหายใจเปนกระบวนการเปลี่ยนอาหารสะสมเพื่อนําพลังงานมาใช<br />

สําหรับทํากิจกรรมตาง ๆ (จริงแท, 2538) ดังนั้นดอกกลวยไมที่ผานการลดอุณหภูมิ<br />

กอนการเลียนแบบการสงออกทั้งที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP มีการบานของดอกตูมมากกวา<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดผานการลดอุณหภูมิ (ภาพที่ 11) ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP<br />

แตไมไดลดอุณหภูมิ มีการรวงของดอกตูมและการรวงของดอกบานนอยกวาดอกกลวยไม<br />

ที่ไดลดอุณหภูมิแตไมไดรับ 1-MCP ดังนั้น 1-MCP มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการหลุดรวง<br />

ของดอกตูมและดอกบานไดดีกวาการลดอุณหภูมิ แตทั้งน ี้การลดอุณหภูมิของดอกไมกอนให<br />

1-MCP ไมไดทําใหประสิทธิภาพของ 1-MCP เปลี่ยนไป (ภาพที่ 12 และ 13 ตามลําดับ)<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับสารละลายเคมีระหวางบรรจุกลองเลียนแบบการสงออกนาน 3 วัน<br />

มีองคประกอบของ HQS 225 mg/l Al 2 (SO 4 ) 3 25 mg/l และน้ําตาลกลูโคส 4 เปอรเซ็นต<br />

ซึ่งเปนสารละลายที่เหมาะกับดอกกลวยไมสกุลหวาย (กรรณารัตน, 2544) มีอายุการปกแจกัน<br />

ไมแตกตางกันทางสถิติกับดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP (ตารางที่ 6) โดย HQS และ<br />

Al 2 (SO 4 ) 3 มีคุณสมบัติยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย HQS มีประสิทธิภาพ<br />

ในการตานทานแบคทีเรีย ยีสต และราไดดี (Larsen and Cromarty, 1967) และมีประสิทธิภาพ<br />

ในการยับยั้งแบคทีเรีย และการอุดตันของระบบทอลําเลียง (Marousky, 1969, 1971) สวน Al 2 (SO 4 ) 3<br />

ทําใหสารละลายมี pH ต่ําลง ซึ่ง pH ที่ต่ําเปนสภาพที่ไมเหมาะสมตอการเจริญของจุลินทรีย (Aarts,<br />

1957) Al 2 (SO 4 ) 3 มีคุณสมบัติเปนโลหะเชนเดียวกับ AgNO 3 แตแตกตางกันที่ AgNO 3<br />

เปนโลหะหนักจึงนําเอา Al 2 (SO 4 ) 3 มาใชแทน AgNO 3 เพื่อลดปญหามลภาวะจากโลหะหนัก<br />

(กรรณารัตน, 2544) และน้ําตาลกลูโคสชวยไปแทนที่ endogenous carbohydrate ที่สูญเสียไป<br />

72


และการแบงปนอาหารทั้งระหวางและหลังการเก็บรักษา การใหน้ําตาลกลูโคสชวยให metabolic<br />

activity ภายหลังการเก็บรักษาดําเนินตามปกติ ดอกกลวยไมที่ไดรับสารละลายเคมี<br />

ขณะเลียนแบบการส งออก มีการบานของดอกตูมมากกวาดอกกลวยไมที่ไมไดรับสารละลายเคมี<br />

ทั้งที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP (ภาพที่ 14) นอกจากนี้น้ําตาลสามารถชะลอการเกิดการเสื่อมสภาพ<br />

(senescence) โดยไปชะลอการเสื่อมสภาพของโปรตีน การใหน้ําตาลจะไปยับยั้งการสรางเอทิลีน<br />

ในดอกไมและลดความไวตอเอทิลีน (Goszcynska and Rudnicki, 1988)<br />

เมื่อทดลองใช 1-MCP ที่ความเขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

กับดอกกลวยไมหวายพันธุอื่น ๆ 4 พันธุคือ ‘Wanna’, ‘Anna’, ‘Lady’ และ ‘Pompadour’<br />

พบวาการใช 1-MCP มีแนวโนมทําใหดอกกลวยไม มีคุณภาพดีขึ้น โดยแตละพันธุ ตอบสนอง<br />

ไดไมเทากัน ทั้งในดานอายุการปกแจกัน (ตารางที่ 7) การบานของดอกตูม (ภาพที่ 17)<br />

การรวงของดอกตูม (ภาพที่ 18) และการรวงของดอกบาน (ภาพที่ 19) การที่ดอกกลวยไม<br />

แตละพันธุตอบสนองตอ 1-MCP ไมเหมือนกัน อาจจะเปนเพราะวาดอกกลวยไมแตละพันธุตองการ<br />

1-MCP ที่มีความเขมขน เหมาะสมแตกตางกัน นอกจากนี้สายชล และ นริสา (2543) ยังพบอีกวา<br />

ดอกกลวยไมสกุลหวายพันธุเดียวกัน แตตัดจากสวนกลวยไมในชวงฤดูกาลตางกันในรอบป<br />

ตอบสนองตอ 1-MCP ไมเหมือนกันอีกดวย ดอกกลวยไมสกุลหวายที่ปลูกในประเทศไทย<br />

เพื่อการสงออกนั้นอยูในสภาพกลางแจงโดยไมควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ ในแปลงปลูก<br />

มีเพียงการใชวัสดุพรางแสงจากดวงอาทิตย ทําใหดอกกลวยไมมีการเจริญเติบโตและใหดอกที่มี<br />

คุณภาพแตกตางกันไปตามฤดูกาล ในชวงที่ดอกกลวยไมมีคุณภาพไมดีซึ่งให ดอกในชวงรอยตอ<br />

ระหวางฤดูรอนและฤดูฝน เชนในการทดลองที่ 1 จะเห็นชัดเจนวาดอกกลวยไมที่ผลิตได<br />

ในชวงฤดูกาลนี้ เมื่อไดรับ 1-MCP จะมีการตอบสนองตอ 1-MCP ทั้งในแงการเพิ่มอายุการ<br />

ปกแจกัน (ตารางที่ 2) และลดการรวงของดอกตูมและดอกบาน (ภาพที่ 3 และ 4) ไดดีกวา<br />

ดอกกลวยไมที่ตัดจากตนกลวยไมในชวงฤดูกาลอื่น ๆ เชนการทดลองที่ 3 และ 4<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP นั้นทําใหดอกตูมมีการบานลดลง ซึ่งเกิดกับดอกกลวยไม<br />

ทุกพันธุที่มีการทดลองคือพันธุโซเนียบอม (ภาพที่ 4) ‘Wanna’, ‘Anna’, ‘Lady’ และ ‘Pompadour’<br />

(ภาพที่ 17) ซึ่งเปนไปไดวาเอทิลีนที่ดอกกลวยไมสรางขึ้นนั้นอาจมีสวนเกี่ยวของกับการทําให<br />

ดอกตูมมีการบานและ 1-MCP ยับยั้งไมใหเอทิลีนทําใหดอกตูมบาน บทบาทของเอทิลีน<br />

ที่ดอกกลวยไมสรางขึ้นภายใน (endogenous ethylene) ที่มีผลทําใหดอกตูมของกลวยไมบานนั้น<br />

มีขอมูลที่สนับสนุนเรื่องน ี้คือ ดอกกลวยไมสกุลหวายวัยตาง ๆ มีอัตราการสรางเอทิลีนที่ตางกัน<br />

73


ดอกตูมมีอัตราการสรางเอทิลีนมากกวาดอกบาน และดอกกลวยไมที่กําลังแยมหรือเริ่มบานมีอัตรา<br />

การสรางเอทิลีนมากกวาวัยอื่น ๆ (Ketsa and Thampitakorn, 1995) ดอกที่กําลังเริ่มบาน และมี<br />

อัตราการสรางเอทิลีนมากอาจจะชวยใหดอกตูมบานไดเร็วขึ้น สวนบทบาทของเอทิลีน<br />

ตอการบานของดอกไมชนิดอื่น ๆ นั้นมีทั้งทําใหดอกไมมีการบานเร็วขึ้น เชน ดอกกุหลาบบางพันธุ<br />

(Reid et al., 1989) และดอกสม (Zacarias et al., 1991) สวนดอกไมที่เอทิลีน ไมมีสวนเกี่ยวของ<br />

ทําใหดอกบานเร็วขึ้น เชน ดอกกุหลาบบางพันธุ (Reid et al., 1989) ดอกแกลดิโอลัส (Serek et al.,<br />

1994)<br />

อัตราการสรางเอทิลีนของดอกกลวยไมหวายในสวนตาง ๆ ของดอกกลวยไมมีความ<br />

สัมพันธโดยตรงกับปริมาณ ACC และกิจกรรม ACC synthase และ ACC oxidase สาร ACC<br />

เปนสารตัวกลาง (intermediate) ในกระบวนการสรางเอทิลีนของพืชชั้นสูง ACC synthase และ<br />

ACC oxidase เปน key enzyme ที่ควบคุมการสรางเอทิลีน (rate-limiting step) ในพืชชั้นสูง<br />

(Yang and Hoffman, 1984) ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP สามารถชะลอการผลิตเอทิล ีนได<br />

ทั้งในดอกตูมและดอกบานของดอกกลวยไม (ภาพที่ 26) เหมือนกับในสตรอเบอรี่ (Jiang et al.,<br />

2001) แอปปริคอทและพลัม (Dong et al., 2002) ประสิทธิภาพของ 1-MCP มีผลอยูไดประมาณ 5<br />

ถึง 6 วัน เนื่องจากพืชจะมีการสราง ethylene binding sites ใหม ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลาและ binding<br />

sites ที่ถูกสรางขึ้นมาใหมนี้จะไมไดถูกจับดวย 1-MCP เมื่อเวลาผานไป การยับยั้งเอทิลีนดวย<br />

1-MCP ก็จะลดลงเนื้อเยื่อจะสามารถผลิตเอทิลีนไดอีกครั้ง (Blankenship and Dole, 2003)<br />

แตใหผลขัดแยงกับในผักชีที่ 1-MCP สามารถจับที่ตําแหนง binding sites ไดนานเมื่อเก็บรักษาที่<br />

อุณหภูมิต่ํา (Jiang et al., 2002) เมื่อดอกกลวยไมไดรับ 1-MCP ทําใหการผลิตเอทิลีนลดลง โดย<br />

1-MCP ไปยับยั้งที่เอนไซม ACC synthase ทําใหกิจกรรมของ ACC synthase ลดลง ทั้งในดอกตูม<br />

(ภาพที่ 20) เสาเกสร (ภาพที่ 22) กลีบดอก (ภาพที่ 24) ส งผลใหปริมาณ ACC ลดลง ทั้งในดอกตูม<br />

(ภาพที่ 21) เสาเกสร (ภาพที่ 23) กลีบดอก (ภาพที่ 25)<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับสารละลาย ACC 2.0 mM ทําใหดอกบานแสดงอาการคว่ําอยางรวดเร็ว (ภาพที่<br />

29) และดอกตูมรวงเร็วกวาดอกบาน (ภาพที่ 30) ซึ่งเปนผลจากการให ACC ซึ่งเปนสารต ัวกลาง<br />

ทําใหดอกกลวยไมผลิตเอทิลีนมากและแสดงอาการเสื่อมสภาพอยางรวดเร็ว การที่ดอกกลวยไมไดรับ<br />

ACC ในสารละลายที่แชโคนกานชอดอก สามารถกระตุนใหดอกกลวยไม มีอัตราการสรางเอทิลีน<br />

เพิ่มมากขึ้นและทําใหดอกกลวยไมเสื่อมสภาพได เชนเดียวกับเอทิลีนที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ<br />

และจากการใหจากภายนอก แสดงวาดอกกลวยไมมีกิจกรรมของ ACC oxidase อยูบางแลว<br />

74


้ี<br />

จึงสามารถเรงปฏิกิริยาเปลี่ยน ACC เปนเอทิลีนในสภาพที่มีออกซิเจนได (Cameron et al., 1979;<br />

Ketsa and Luangsuwalai, 1996) เมื่อให 1-MCP กับดอกกลวยไม พบวาดอกกลวยไมที่ไดรับ<br />

1-MCP มีการผลิตเอทิลีนนอยกวาดอกกลวยไมที่ไดรับ ACC เพียงอยางเดียว<br />

แสดงวาดอกกลวยไมมีกิจกรรมของ ACC oxidase ลดลง (ภาพที่ 27) มีผลใหการผลิตเอทิลีนลดลง<br />

ซึ่งสอดคลองกับการทดลองของ Dong et al. (2001), Mathooko et al. (2001), Owino et al. (2002),<br />

Shiomi et al. (1999) ที่พบวา 1-MCP จะเขายับยั้งการสราง mRNA ของทั้ง ACC synthase และ<br />

ACC oxidase การยับยั้งการสะสม mRNA ของ ACC synthase และ ACC oxidase ดวย 1-MCP น<br />

เชื่อวาเกิดจาก positive feedback regulation ที่รุนแรงของ 1-MCP เขาไปลดกระบวนการในชวง<br />

transcription level ของ ripening-related genes (Hoeberichts et al., 2002) แตจากการทดลองในผล<br />

กลวยพันธุ Cavendish กลับพบวา 1-MCP มีผลไปเพิ่มการผลิตเอทิลีนได (Golding et al., 1998) ซึ่ง<br />

สามารถสรุปไดวาเกิดจาก negative feedback regulation ของการสรางเอทิลีนเอง ( (Nakatsuka et al.,<br />

1997; Blankenship and Dole, 2003)<br />

75


76<br />

สรุป<br />

การศึกษาผลของการใช 1-methylcyclopropene (1-MCP) ที่มีตออายุการปกแจกันและคุณภาพ<br />

ดอกกลวยไมหวายสามารถสรุปผลการทดลองไดดังนี้<br />

1. การให 1-MCP โดยการรมควันดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอมตั้งแตความเขมขน<br />

300-500 nl/l นาน 2-4 ชั่วโมง สามารถยืดอายุการปกแจกัน ลดการสรางเอทิลีน และ<br />

การหลุดรวงของดอกตูมและดอกบาน<br />

2. การให 1-MCP ที่ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เปน<br />

สภาพที่เหมาะสมกับดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม<br />

3. การลดอุณหภูมิดอกกลวยไมที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที กอนไดรับ 1-MCP<br />

ไมมีผลทําใหประสิทธิภาพของ 1-MCP แตกตางจากการใช 1-MCP เพียงอยางเดียว<br />

4. การใชสารละลายเคมียืดอายุปกแจกันสําหรับบรรจุเปยก (8-HQS 225 mg/l, Al 2 (SO 4 ) 3<br />

25 mg/l และน้ําตาลกลูโคส 4 เปอรเซ็นต) รวมกับการใช 1-MCP ระหวางการเลียนแบบการสงออก<br />

พบวาคุณภาพและอายุการปกแจกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการใช 1-MCP<br />

เพียงอยางเดียว<br />

5. ดอกกลวยไมหวายพันธุ ‘Wanna’ , ‘Anna’, ‘Lady’ และ ‘Pompadour’ ไดรับ 1-MCP<br />

ความเขมขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส สามารถยืดอายุการปกแจกันและ<br />

ลดการรวงของดอกกลวยไมหวายทั้ง 4 พันธุ โดยพันธุ ‘Lady’ และ ‘Pompadour’ ตอบสนองตอ<br />

1-MCP ไดดีที่สุด ขณะที่พันธุ ‘Wanna’ และ ‘Anna’ ตอบสนองไดนอยกวา<br />

6. ดอกกลวยไมหวายพันธุโซเนียบอม ที่ไดรับ 1-MCP 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ<br />

25 องศาเซลเซียส มีกิจกรรมของเอนไซม ACC synthase และปริมาณ ACC ของกลีบดอก เสาเกสร<br />

และดอกตูมลดลง และการสรางเอทิลีนของดอกตูมและดอกบานเมื่อไดรับ ACC 2.0 mM ลดลง


77<br />

เอกสารอางอิง<br />

กรมศุลกากร. 2544. ปริมาณและมูลคาการสงออกไมดอก-ไมประดับ. กระทรวงการคลัง,<br />

กรุงเทพฯ. 1 น.<br />

กรรณารัตน เริงมงคล. 2544. ผลของการใชอะลูมินัมซัลเฟต ทดแทนซิลเวอรไนเตรท<br />

ในสารละลายเคมียืดอายุการปกแจกันของดอกกลวยไมสกุลหวาย.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 72 น.<br />

จริงแท ศิริพานิช. 2538. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม. โรงพิมพ<br />

ศูนยสงเสริมและผึกอบรมการเกษตรแหงชาติ, นครปฐม. 396 น.<br />

ประภาพร ไชยเจริญ. 2539. ความสัมพันธระหวางการผสมเกสร การผลิตเอทิลีน และการเสื่อม<br />

สภาพของดอกกลวยไมหวายซีซาร 4N. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 82 น.<br />

ไพบูลย ไพรีพายฤทธิ์. 2521. ตํารากลวยไมสําหรับผูเริ่มเลน. อาทรการพิมพ, กรุงเทพฯ. 432 น.<br />

ฟองจันทร ธรรมพิทักษกร. 2536. ผลของการสังเคราะหเอทิลีนและการควบคุมการสรางเอทิลีนที่<br />

มีตออายุการปกแจกันของดอกกลวยไมสกุลหวาย. วิทยานิพนธปริญญาโท.<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 70 น<br />

ระพี สาคริก. 2516. การเพาะปลูกกลวยไมในสภาพแวดลอมของประเทศไทย. โรงพิมพ<br />

ชวนพิมพ, กร ุงเทพฯ. 869 น.<br />

__________. 2530. กลวยไม. ชอนนทรี, กรุงเทพฯ. 140 น.<br />

สายชล เกตุษา. 2531. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของดอกไม. สารมวลชน, กรุงเทพฯ. 291 น.


สายชล เกตุษา และ นริสา อุทัยฉาย. 2543. ผลของ 1-Methylcyclopropene ที่มีผลตออายุการปกแจกัน<br />

และคุณภาพดอกกลวยไมสกุลหวาย. รายงานฉบับสมบูรณ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,<br />

กรุงเทพ. 41 น.<br />

สายชล เกตุษา, ฟองจันทร ธรรมพิทักษกร, จิตรา ตระกูลนาเลื่อมใส และวชิรญา อิ่มสบาย.<br />

2542. การศึกษาควบคุมการสรางและการทํางานของเอทิลีนที่มีผลตอคุณภาพและ<br />

อายุการปกแจกันของกลวยไมหวายเพื่อการสงออก. รายงานการวิจัยสํานักงาน<br />

คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพ. 151 น.<br />

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2544. ขอมูลเบื้องตนดานการผลิตกลวยไม. ศูนยสารสนเทศ<br />

การเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณการเกษตร. 1 น.<br />

อภิสิทธิ์ อิสริยานุกูล, นภาภรณ พรหมชนะ และจุฑาทิพย ภัทราวาท. 2541. โครงการศึกษาสินคา<br />

ยุทธศาสตร : ไมดอกไมประดับ. คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,<br />

กรุงเทพฯ. 363 น.<br />

Aarts, J. F. T. 1957. Over de houdbaarheid van sninbloemen. Med. Landbouw. Hogesch.<br />

Wageningen, 57: 1-62.<br />

Abeles, F. B., P. W. Morgan and M. E. Saltveit, Jr. 1992. Ethylene in Plant Biology. Academic<br />

Press, Inc., San Diego. 414 p.<br />

Blankenship, S. M. and J. M. Dole. 2003. 1-Methylcyclopropene: a review. Postharvest Biol.<br />

Technol. 28: 1-25<br />

Borochov, A. and W. R. Woodson. 1989. Physiology and biochemistry of flower petal<br />

senescence. Hort. Rev. 11: 15-43.<br />

78


Cameron, A. C., C. A. L. Fenton, Y. Yu, D. O. Adams and S. F. Yang. 1979. Increased<br />

production of ethylene by plant tissues treated with 1-aminocyclopropane-1-carboxylic<br />

acid. HortSci. 14: 178-180.<br />

79<br />

Davidson, O. W. 1971. Three common causes of orchid flower damage. Orchid Digest<br />

35: 148-149.<br />

DeEll, J. R., D. P. Murr, M. D. and Porteous, H. P. V. 2002. Influence of temperature and<br />

duration of 1-methylcyclopropene (1-MCP) treatment on apple quality. Postharvest<br />

Biol. Technol. 24: 349-353.<br />

Dong, L., H. W. Zhou, L. Sonego, A. Lers and S. Lurie. 2001. Ethylene involement in the cold<br />

storage disorder of ‘Flavortop’ nectarine. Postharvest Biol. Technol. 23: 105-115<br />

Dong, L., S. Lurie and H. Zhou. 2002. Effect of 1-methylcyclopropene on ripening of<br />

‘Canino’ apricots and ‘Royal Zee’ plums. Postharvest Biol. Technol. 24: 135-145.<br />

Goh, C. J., A. H. Halevy, R. Engel and A. M. Kofranek. 1985. Ethylene evolution and<br />

sensitivity in cut orchid flowers. Scientia Hortic. 26: 57-67.<br />

Golding, J. B., D. Shearer, S. G. Wyllie. and W. B. McGlasson. 1998. Application of 1-MCP<br />

and propylene to identify ethylene-dependent ripening processes in mature banana fruit.<br />

Postharvest Biol. Technol. 14: 87-98.<br />

Goszczynska, D. and R. M. Rudnicki. 1988. Storage of cut flowers. Hort. Rev. 10: 35-62.<br />

Halevy, A. H. and S. Mayak. 1981. Senescence and postharvest physiology of cut flowers-<br />

Part 2. Hort. Rev. 3: 59-142.


Heyes, J. A. and J. W. Johnston. 1998. 1-Methycyclopropene extends Cymbidium orchid vase<br />

life and prevents damaged pollinia from accelerating senescence. NZJ Crop Hort. Sci.<br />

26: 319-324.<br />

Hoeberichts, F. A., V. D. Plas, L. H. W., and E. J. Woltering. 2002. Ethylene perception is<br />

required for the expression of tomato ripening-related genes and associated physiological<br />

changes even at advanced stages of ripening. Postharvest Biol. Technol. 26: 125-133.<br />

Hoffman, N. E. and S. F. Yang. 1982. Enhancement of wound-induced ethylene synthesis by<br />

ethylene in preclimacteric cantaloupe. Plant Physiol. 69: 317-322.<br />

Jiang, W., Q. Sheng, X Zhou, M. Zhang and X. Liu. 2002. Regulation of coriander senescence<br />

by 1-methylcyclopropene and ethylene. Postharvest Biol. Technol. 26: 339-345.<br />

Jiang, Y., D. C. Joyce and A. J. Macnish. 1999. Responses of banana fruit to treatment with<br />

1-methylcyclopropene. Plant Growth Regul. 28: 77-82.<br />

Jiang, Y., D. C. Joyce and L. A. Terry. 2001. 1-Methylcyclopropene treatment affects<br />

strawberry fruit decay. Postharvest Biol. Technol. 23: 227-232.<br />

Ketsa, S. and K. Luangsuwalai. 1996. The relationship between 1-aminocyclopropane-1-<br />

carboxylic acid content in pollinia, ethylene production and senescence of pollinated<br />

Dendrobium orchid flowers. Postharvest Biol. Technol. 8: 57-64.<br />

Ku, V. V. V., R. B. H. Wills. 1999. Effect of 1-methylcyclopropene on the storage life of<br />

broccoli. Postharvest Biol. Technol. 17: 127-132.<br />

Larsen, F. E. and R. W. Cromarty. 1967. Microorganism inhibited by 8-hydroxyquinoline citrate<br />

as related to cut flower senescence. Proc. Amer. Soc. Hort. Sci. 90: 546-549.<br />

80


Marousky, F. J. 1969. Vascular blockage, water absorption, stomatal opening and respiration of<br />

cut ‘Better Times’ roses treated with 8-hydroxyquinoline citrate and sucrose. J.Amer.<br />

Soc. Hort. Sci. 94: 223-226.<br />

_____________. 1971. Inhibition of vascular blockage and increased moisture retention in cut<br />

roses induced by 8-hydroxyquinoline citrate and sucrose. J.Amer. Soc. Hort. Sci.<br />

96: 38-41.<br />

Mathooko, F. M., Y Tsunashima, W. Z. O. Owino, Y. Kubo and A. Inaba. 2001. Regulation<br />

of genes encoding ethylene biosynthetic enzymes in peach (Prunus persica L.) fruit by<br />

carbon dioxide and 1-methylcyclopropene. Postharvest Biol. Technol. 21: 265-281.<br />

Nair, H. and T. H. Fong. 1987. Ethylene production and 1-aminocyclopropane-1-carboxylic acid<br />

levels in detached orchid flowers of Dendrobium ‘Pompadour’. Scientia Hortic.<br />

32: 145-151.<br />

Nakatsuka, A., S. Shiomi, Y. Kubo and A. Inaba. 1997. Expression and internal feedback<br />

regulation of ACC synthase and ACC oxidase genes in ripening tomato fruit. Plant Cell<br />

Physiol. 38: 1103-1110.<br />

Nowak, J. and R. M. Rudnicki. 1990. Postharvest Handling and Storage of Cut Flowers, Florist<br />

Greens, and Potted Pants. Timber Press Inc., Oregon. 210 p.<br />

Owino, W. O., R. Nakano, Y. Kubo and A. Inaba. 2002. Differential regulation of genes<br />

encoding ethylene biosynthesis enzymes and ethylene response sensor ortholog during<br />

ripening and in respones to wounding in avocado. J. Amer. Soc. Hort. Sci.<br />

127: 520-527.<br />

Porat R., E. Shlomo, M. Serek, E. C. Sisler and A. Borochov. 1995. 1-Methylcyclopropene<br />

inhibits ethylene action in cut phlox flowers. Postharvest Biol. Technol. 6: 313-319.<br />

81


82<br />

Reid, M. S., L. L. Dodge, Y. Mor and R. Y. Evans. 1989. Effect of ethylene on rose opening.<br />

Acta Hortic. 261: 215-220.<br />

Reid, M. S. and M. J. Wu. 1992. Ethylene and flower senescence. Plant Growth Regul.<br />

11: 37-43.<br />

Reid, M. S. and R. Y. Evans. 1986. Control of cut flwer opening. Acta Hortic. 181: 45-54.<br />

Serek, M., E. C. Sisler and M. S. Reid. 1994. Novel gaseous ethylene binding inhibitor prevents<br />

ethylene effects in potted flowering plants. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 119 (6): 1230-1233.<br />

Serek, M., E. C. Sisler and M. S. Reid. 1995. Effects of 1-MCP on the vase life and ethylene<br />

response of cut flowers. Plant Growth Regul. 16: 93-97.<br />

Shiomi, S., M. Yamamoto, R. Nakamure and A. Inaba. 1999. Expression of ACC synthase<br />

and ACC oxidase genes in melons harvested at different stages of maturity. J. Jpn. Soc.<br />

Hort. Sci. 68: 10-17.<br />

Yang, S. F. and N. E. Hoffman. 1984. Ethylene biosynthesis and its regulation in higher<br />

plants. Ann. Rev. Plant Physiol. 35: 155-189.<br />

Yip, K. C. and C. S. Hew. 1988. Ethylene production by young Aranda orchid flowers and buds.<br />

Plant Growth Regul. 7: 217-222.<br />

Zacarias, L., D. Tudela and E. Primo-Millo. 1991. Role of ethylene in the opening and<br />

senescence of citrus flowers. Scientia Hortic. 16: 55-60.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!