12.01.2015 Views

6DyiXO6Df

6DyiXO6Df

6DyiXO6Df

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

้<br />

้<br />

​6 พุ ท ธ ว จ น<br />

หากแต่มีได้ หลากหลายได้ ภายใต้พุทธบัญญัติซึ ่งมีลักษณะเชื ่อมโยงสอดคล้องเป็นหนึ ่ง<br />

ผลอานิสงส์มุ ่งหมายในที ่สุด ก็สามารถเข้าถึงได้ ด้วยวิธีอันหลากหลายภายใต้ความเป็นหนึ ่งนี<br />

ในวาระนี ้ จะขอยกหมวดของ จิตตานุปัสสนา คือการตามเห็นในกรณีของจิต ขึ ้นเป็นตัวอย่าง<br />

ปัจจุบัน มีผู ้ที ่ดูจิต หรือดูอาการของจิต โดยใช้คำาอธิบายสภาวะของจิตซึ ่งบัญญัติขึ ้นใหม่เอง<br />

แล้วหลงเข้าใจไปว่า การฝึกตามดูตามรู ้สภาวะนั ้นๆ ไปเรื ่อยๆ คือการเจริญสติ คือการดูจิต<br />

หากพิจารณาโดยแยบคายแล้ว คำาเรียกอาการของจิต ที ่คิดขึ ้นใหม่เองทั ้งหลายเหล่านั ้น<br />

เป็นเพียงการตั ้งชื ่อเรียกอารมณ์อันมีประมาณต่างๆ และการตามเห็นสภาวะนั ้นๆ ไปเรื ่อยๆ<br />

ก็คือการฝึกผูกจิตติดกับอารมณ์ด้วยอำานาจแห่งความเพลิน (ฝึกจิตให้มีสัญโญคะ)<br />

จะด้วยเหตุอย่างไรก็ตามแต่ ระบบคำาเรียกที ่ต่างกันตรงนี ้ อาจดูเหมือนเป็นเรื ่องเล็กน้อย<br />

แต่หากเทียบในระดับความละเอียดของจิตแล้ว องศาที ่เบี ่ยงเพียงเล็กน้อย ณ จุดตรงนี<br />

สามารถนำาไปสู ่ผลลัพธ์ที ่สุดในการปฏิบัติ คืออานิสงส์มุ ่งหมาย ที ่แตกต่างกันโดยสิ ้นเชิง<br />

นัยยะหนึ ่ง ที ่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติให้เราตามเห็นจิต (จิตฺตานุปสฺสนา) แท้จริงแล้วก็เพื ่อ<br />

ให้เห็นเหตุเกิดและเสื ่อมไป โดยอาศัยการตามเห็น “อาการของจิต” เพียงแค่ ๘ คู ่อาการเท่านั ้น

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!