22.11.2016 Views

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว ฉบับที่ 4

Download ISSUU: https://issuu.com/terforissuu/docs/tourism_economic_review_issue_4



Download ISSUU:
https://issuu.com/terforissuu/docs/tourism_economic_review_issue_4

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

มิใช่เป็นเพียงการไปเยือนเท่านั้น หากเป็นการปฏิบัติธรรมเพื่อ<br />

ปรับเปลี่ยนภายใน โดยได้ยกมหาปรินิพพานสูตรที่ทรงแสดงถึง<br />

สังเวชนียสถานว่าเพื่อ “ได้เห็น และเป็นสิ่งบันดาลใจให้เกิดการ<br />

เรียนรู้ แล้วเปลี่ยนแปลง เป็นกระบวนการภายในที่นาสู่ความตื่น<br />

และตระหนักรู้ผ่านการปฏิบัติมากกว่าเพียงการได้ผ่านพบ ทุกการ<br />

เดินทางท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนา พึงสร้างเสริมให้ผู้เข้าร่วม<br />

ได้ค้นพบความหมาย และคุณค่าที่แท้ของสถานที่ แล้วสามารถนา<br />

มาเพื่อการขับเคลื่อนเพื่อการคลี่คลายภายในตน ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง<br />

ของศรัทธา สู่ความเอาจริงเอาจังในการปฏิบัติธรรม ทั้ง ทาน ศีล<br />

สมาธิ จิต และปัญญา” 2<br />

การเดินทางจาริกแสวงบุญ การเดินทางเชิงศาสนา เป็นการเดินทาง<br />

นับตั้งแต่โบราณในพุทธศาสนา เกิดขึ้นมานับแต่ครั้งพุทธกาล โดย<br />

ชาวพุทธจาริกแสวงบุญ เพื่อเดินทางมาเข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

ต่อมาพระอานนท์ทูลถามพระพุทธเจ้าว่า เมื่อพระองค์เสด็จ<br />

ดับขันธปรินิพพานไปแล้วควรไป ณ สถานที่ใดจึงจะจ าเริญใจเหมือน<br />

ได้เฝ้าพระพุทธเจ้า ซึ่งได้ตรัสตอบว่า สถานที่ควรไปเพื่อยังให้เกิด<br />

ความแช่มชื่น เบิกบานใจ เจริญใจ และสังเวชใจ คือ สังเวชนียสถาน<br />

ทั้ง 4 ตาบล (ลุมพินีวัน พุทธคยา สารนาถ กุสินารา)<br />

นายแพทย์บัญชา พงษ์พานิช กรรมการและเลขานุการมูลนิธิ<br />

หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญได้มีมุมมองของการท่องเที่ยว<br />

ทางศาสนา โดยใช้กรณีศึกษาจากท่านพระพุทธทาสภิกขุ ที่<br />

สวนโมกขพลาราม จังหวัดสุราษฏร์ธานี คือ ท่านพุทธทาสมองว่ามนุษย์<br />

ต้องเดินทางเพื่อศึกษาและเรียนรู้ เติมเต็มสิ่งที่มนุษย์ควรจะได้<br />

ให้เกิดประโยชน์ เมื่อมาที่สวนโมกข์แล้วก็สามารถให้มนุษย์เติมก าลังใจ<br />

มีความผ่อนคลาย มีความเบิกบานทั้งทางกาย และทางใจ เป็น<br />

การเที่ยวให้ถึงธรรม คือ เที่ยวแล้วได้แง่คิด ได้ข้อธรรม ได้ซึมซับ<br />

ได้สัมผัส และได้กลับไปใช้ เกิดปัญญาทางพระพุทธศาสนา<br />

มูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ ได้ศึกษาถึงเรื่องการ<br />

เดินทางท่องเที่ยวทางศาสนา พึงมีลักษณะสาคัญ คือ เป็นการ<br />

ท่องเที่ยวแบบจาริกในทางที่ดีงามหรือบุญจาริกคือ จาริกที่เป็นบุญ<br />

กล่าวคือ เป็นการจาริกไปพร้อมกับการบาเพ็ญบุญ เพื่อความเจริญ<br />

ทั้งในทาน ศีล สมาธิปัญญา ศรัทธาในพระพุทธศาสนาให้ยิ่งๆ ขึ้น<br />

ทั้งเป็นการเดินทางตามคุณลักษณะแห่งชาวพุทธคือ ใฝ่รู้ใฝ่ศึกษา<br />

และนามาปฏิบัติเพื่อประโยชน์ทั้งของตน และของส่วนรวม สาหรับ<br />

สิ่งที่ควรให้ความสนใจจากการท่องเที่ยวทางธรรมคือ สิ่งที่เกี่ยวเนื่อง<br />

กับประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา และหลักธรรมคาสอน 3<br />

รูปแบบของการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ได้จาแนก<br />

ออกเป็น 2 ลักษณะคือ การเดินทางท่องเที่ยวเชิงศาสนาเพื่อความ<br />

สบายใจ และการเดินทางท่องเที่ยวเชิงศาสนาเพื่อยกระดับจิตใจ<br />

การเดินทางท่องเที่ยวทางศาสนาเพื่อความสบายใจ เป็นการ<br />

เดินทางท่องเที่ยวที่อยู่ในระดับที่ไม่ลึกซึ้งเท่ากับในอีกรูปแบบหนึ ่ง<br />

ผู้เดินทางท่องเที ่ยวพึงพอใจเพียงแค่ได้ไปถึง ได้สักการะบูชา ใน<br />

สถานที่อันศรัทธา ในบางครั้งมีการเน้นจานวนโดยไปให้ได้จานวน<br />

สถานที่มากๆ อาจจะใช้เวลาภายใน 1 วัน เป็นการท่องเที่ยวที่เน้น<br />

ถึงความสบายใจ การแก้ไขความไม่สบายใจ ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์<br />

ความรื่นเริงบรรเทิงในประเพณีวัฒนธรรมทางศาสนา ซึ่งในบางครั้ง<br />

2<br />

มูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ .กรอบแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงศาสนา<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) โดย ภูมิภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ,2557<br />

3<br />

นายแพทย์บัญชา พงษ์พานิช. กรรมการและเลขานุการมูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ.สัมภาษณ์<br />

,29มิถุนายน 2559<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

47

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!